25
Guide Book

Tutor ferry guide book

Embed Size (px)

Citation preview

Guide Book

www.tutorferry.com

วงจรแหงความสําเร็จ

Planning การวางแผนการเรียนรู กําหนดโปรแกรมการเรียนรู

และแนวทางทีด่ีที่สุดที่จะบรรลุวัตถุประสงคการเรียน Implementation การจัดเตรยีมและดําเนนิการ การจัดแบบฝกหัดและ

การกําหนดความสัมพันธของแบบฝกหัดซึง่จะเปน

เครื่องมือทีท่ําใหนักเรียนบรรลุวัตถุประสงคการเรียน

Evaluation การประเมินผล การวัดผลและประเมินผลการเรียนจากแบบฝกหัดทาย

เลมและแบบทดสอบระดับชั้น

Refinement การแกปญหาและพัฒนา นําขอมูลจากการประเมนิผล

มาปรับปรุงและพัฒนาเพื่อใหเปนไปตามโปรแกรมที่วางไว

Planning การกําหนดเปาหมาย

Implementation การจัดเตรียม

Refinement การแกปญหาและพฒันา

Evaluation การประเมินผล

www.tutorferry.com

การวางแผนการเรียน ( Planning ) นักเรียนจะไดรับการวางแผนการเรียนใหเหมาะสมกับความสามารถของนักเรียนและพัฒนาไปตาม

ขั้นตอนอยางเปนระดับ ซึง่การวางแผนโปรแกรมการเรียนนี้มกีารกาํหนดเปาหมายใหเรียนทนักับระดับชั้นที่

เรียนหรือเรียนลวงหนา 1 เทอม

ทั้งนี้หากนักเรยีนมาเรียนทกุสัปดาหกจ็ะเปนไปตามโปรแกรมที่ตั้งไวแตถาหากขาดเรียนไปอาจจะไม

เปนไปตามโปรแกรมที่ตั้งไวควรจะหาเวลามาเรียนชดเชยเพื่อใหเปนไปตามโปรแกรมที่ตั้งไว

การจัดเตรียมและการดําเนินการสอน ( Implementation )

แบบฝกหัดเนื้อหาในแบบฝกหัดเปนการฝกทักษะและวิเคราะหโจทยคณิตศาสตรเบื้องตนสาํหรบันักเรียน มเีนื้อหา

ตรงตามหลกัสูตรกระทรวงศึกษาธกิารไทย

ลําดับขั้นของครูผูสอน1. กอนสอน

2. ระหวางสอน2.1 ดแูลและใหคําปรึกษาแกนักเรียน

2.2 ดกูารทําแบบฝกหัดของนักเรียนใหเปนไปตามโปรแกรมที่ตั้งไวเพื่อใหไปถึงเปาหมายตามทีก่ําหนด

หากนักเรียนเรียนแลวไมเปนไปตามโปรแกรมในครั้งนั้นใหครูผู ไขตอไปเพื่อที่

จะใหโปรแกรมที่ตั้งไวเปนไปตามเป

สอน วางแนวทางแก

าหมาย

3. หลังสอน 3.1 พูดคุยกับผูปกครอง อีกทัง้รายงานความคบืหนาและวิเคราะหผลการเรยีนของนักเรียนใหผูปกครอง

ทราบ

www.tutorferry.com

เตรียมเนื้อหาการสอน และเตรียมเอกสารการสอน

การประเมินผล ( Evaluation )

การประเมินผลมี 2 แบบไดแก[1] ประเมินผลความเขาใจในแบบฝกหัดแตละหนวยการเรยีน

[2] ประเมินผลความเขาใจในระดับชั้น

การพัฒนาและแนวทางแกไขปญหา ( Refinement )

[1 ] แนวทางการพัฒนาที่ทําใหนักเรียนมีความคิดอยางเปนระบบ ชัดเจนและรัดกุมตลอดจนสรางความ

เชื่อมั่นใหกบันักเรียนและพัฒนาใหนกัเรียนมีการเรียนรูอยางตอเนื่องและสูงขึ้น เชน

1.1 สรางความเชื่อมั่นใหกบันักเรียนในขณะที่นักเรียนทําแบบฝกหัด

1.2 เสริมสรางกระบวนการคิด โดยการสอนที่เปนระบบ

1.3 สงเสริมใหนักเรียนเรียนรูในระดับที่สูงขึ้นอยางตอเนื่อง เชน เมื่อนักเรียนฝกทําแบบฝกหัดครบ

แลวแตเวลาในการเรียนยังคงเหลืออยูก็ควรที่จะใหนักเรียนเรียนรูตอไปอยางตอเนื่องโดยไม

หยุดนิ่ง

1.4 ควรที่จะเรียนรูและเขาใจนักเรียนแตละคน เพื่อที่จะไดกระตุนและดึงความสามารถของนักเรียน

ออกมาไดอยางเต็มที่

[ 2 ] แนวทางในการแกไขขอบกพรองและปญหาที่ทําใหนักเรียนเรียนไมเปนไปตามโปรแกรมที่ตั้งไว เชน

1.1 ใหมาเรียนชดเชยในครั้งที่ขาดเรียนไป

1.2 ใหนาํแบบฝกหัดทีท่ําไมเสร็จกลับไปทําเปนการบานโดยครูผูสอนจะตองอธิบายเนื้อหาที่เหลือให

นักเรียนเขาใจกอนใหนํากลบัไป

www.tutorferry.com

หลักสูตรที่สามารถพัฒนาศักยภาพในการเรียนรูอยางตอเนื่อง

การพัฒนาศักยภาพในการเรียนรูของนกัเรียนทาํไดโดยใหนกัเรียนไดรับความรู

พื้นฐานครบถวน ดวยความเขาใจ จากนั้นนักเรียนนําความรูพืน้ฐานดังกลาว

มาเชื่อมโยงอยางเปนระบบ เพื่อใชในการเรียนและการแกปญหาอยางเปน

ระบบ สามารถพฒันาศักยภาพในการเรียนรูของนกัเรียน โดยมุงเนนในเร่ืองต

1. หลักสูตร มุงเนนที่ตัวนกัเรียน ( FOCUS ON STUDENT )

นกัเรียนแตละคนมีความสามารถในการเรียนรูไมเทากนั การที่จะพัฒนา

ศักยภาพในการเรียนรูของนกัเรียนแตละคน จะตองมุงเนนการจัดหลกัสูตร

และเทคนิคการสอน ใหเหมาะสมกับนักเรียนแตละคน

เนื้อหาครบถวนตามหลักสูตรกระทรวงและยืดหยุนได

( COMPREHENSIVE AND FLXIBILITY)

เนื้อหาการเรียนของหลักสูตร ับใหสอดคลองกบัเนื้อหาการเรียนที่โรงเรี

วงเวลาสอบ เพื่อเนนใหนกัเรียนนําเนื้อหาเหลานี้ไปใชไดจริง

มีเนื้อหาครบถวนตามหลักสูตรของกระทรวงศึกษาธิการไทย

ปูพื้นฐานดานโจทยปญหา ( BASIC PROBLEM SOLVING ) โจทยปญหาเปนรูปแบบการเรียนรูทางคณิตศาสตรที่นาํเอาเนื้อหาตางๆ

ของ

หลักสูตรคณิตศาสตร มาเช่ืองโยงกันเพื่อใชในการแกปญหา

2. ระบบการเรียน

การวางโปรแกรมการเรียนรู ( PROGRAM PLANING ) เปนการกําหนดเปาหมายการเรียนของนักเรียนแตละคน และเสมือนหนึง่เป

งัที่ ใหนักเรียนเดินตามเป

างๆ

ปร ยน

ในช

แผนผ าหมาย

การวัดผลและปรับปรุงตลอดเวลา ( EVALUATE AND CONTINUOUS DEVELOPMENT ) การวัดผลการเรียนรูของนกัเรียน และนําผลนั้นไปปรับปรุงโปรแกรมการเรียนรู

ปรับเทคนิคการสอนและเนื้อหาที่ใชในการสอนของนักเรียนแตละคน เพื่อ

พัฒนาคุณภาพของการเรียนการสอน

www.tutorferry.com

3. การเรียนการสอน

การฝกแบบฝกหัดจากระดับท่ีงาย ( START ON EASY LEVEL )

เพื่อเพิ่มความมัน่ใจในการเรียน ลดความกดดันในการเรียน ซึ่งจะส

นกัเรียนสามารถเรียนรูไดอยางเต็มศักยภาพ

การฝกฝนใหเกิดความชาํนาญ ถูกตอง แมนยาํและรวดเร็ว ( ACCURACY AND SPEED )

เนนความเขาใจในเนือ้หา การทําแบบฝกหัดทีห่ลากหลายและสม่ําเสมอ

เพื่อเพิ่มความถูกตองแมนยาํ และความรวดเร็วในการทําแบบฝกหัด

4. ครูผูสอน

ิคการสอน TEACHING TECHNIQUE )

ครูจะทําหนาที่อธิบายในเนื้อหาทีน่ักเรียนไมเขาใจ เปนครูที่มคีวามรูในเร่ื

เนื้อหาวิชาและเทคนิคการสอน เปนอยางดี

เอาใจใส ดูแลนักเรยีน ( STUDENT CARE )

กระตุน

เอาใจใสและดูแลนักเรียนอยางใกลชิด ซึ่งครูที่ผ ไดรั

กฝนใหเขาใจในพฤติกรรมของนักเรียน เพื่อที่จะกระตุนและดึ

กัเรียนไดอยางเต็มที่ ซึ่งจะทาํใหนักเรียนพฒันาศักยภาพในการเรียนรูได

อยางไรขีดจํากัด

งผล

ให

องของ

านการอบรม บ

การฝ งความสามารถ

ของน

ส่ิงที่นักเรียนได

1. ไดรับการพัฒนาศักยภาพของนักเรยีนและสามารถเรียนรูดวยตนเองมากขึ้น

2. มีความเขาใจในทักษะพื้ อยางครบถวน

3. มคีวามคิดอยางมีระบบ ชัดเจนและรัดกุม

4. มีความเชือ่มั่นในตวัเองมากขึ้น

5. สามารถนําความรู และทักษะที่ได มาเชื่อมโยง เพื่อใชในการเรียนรูสิ่ง

ตางๆ อยางตอเนื่อง

6. สามารถเรียนเกนิระดับชั้นเรียนทีโ่รงเรียนได

รับ

www.tutorferry.com

เทคน

นฐาน

MATH

การสอนคณิตศาสตรเพียงเพือ่ใหนกัเรียนเกิดความรูความเขาในใจเนื้อหาหลักของคณิตศาสตร เทานั้นยงัไมเพียงพอ

แตครูคณิตศาสตรจําเปนตองสอนใหนักเรยีนเห็นคุณคาและเกิดทักษะในการคิดคํานวณ จนสามารนําไปใชในชวีิตประจําวนั

การนําประสบการณไปใชในชีวิตประจําวัน ซ่ึงเปนสวนที่เกี่ยวของกับการแกโจทยปญหา ดังนั้นการเรียนการสอนคณติศาสตรจึงจําเปนตองเนนการพัฒนาความสามารถของนักเรียนในการแกโจทยปญหา การแกปญหาเปนพฤติกรรมพื้นฐานของมนุษย ทุกขณะที่มนษุยมีสติสัมปชญัญะอยูกับตวัจะตองเกี่ยวของกับปญหา เพราะวาขณะที่มนษุยรูสึกตัว สมองของมนุษยรูสึกตัว สมองของมนุษยจะคดิอยูตลอดเวลา

และ

การคิดนัน้ตองมีเปาหมาย แตการจะไปสูเปาหมายไดมนุษยจะตองมีการแกปญหา นอกจากนี้สมาคมครูผูสอนคณิตศาสตรแหงชาติ (National Council Teachers of Mathematics) ไดกลาวไววา การเรยีนการแกโจทยปญหาเปน

จุดประสงคหลักของการเรียนวชิาคณติศาสตร หรือ

จุดมุงหมายที่แทจริงในการสอนคณิตศาสตรก็คือ การทําใหนักเรียนสามารถแกปญหาในชีวิต ประจําวันได

จิตวิทยาที่ควรรูสาํหรับครูคณิตศาสตร

ลักษณะเด็กวัยประถมศึกษา (อายุ 6-12 ป)

พัฒนาการทางรางกาย

1.

การเจริญเติบโตของรางกายของเด็กวยัประถมศึกษา

จะชากวาเด็กวัยอนุบาล

โดยทั่วไปเด็กจะมีรูปรางสูง

และ

คอนขางจะผอมลงกวาวัยอนุบาล

ตอนแรกๆ

อายุ 6-7 ปของวัยนีเ้ด็กชายจะโตกวาเด็กหญิง

แตตอนหลังระหวางอายุ 12-13 ปเด็กหญงิจะโต

กวาเดก็ชายเพราะเดก็หญิงจะเขาสูวัยรุนเรว็กวาเด็กชายราวๆ 2 ป 2.

ความแตกตางระหวางบุคคลในความสูง

และน้ําหนกัจะเห็นไดชัดเจนในวัยนี้

ถาหากครูสอนนกัเรียนที่มาจากฐานะเศรษฐกิจ

และ

สังคมที่คลายคลึงกันมากแตมีเดก็ที่ตัวเล็กผิดปกติครูควรจะสอบถามเรื่องอาหารที่เด็กรับประทานเพราะอาหารที่ถูกสวนมีความสําคัญในการเจริญเติบโตของเด็กมากจนสังเกตได

3.

เด็กหญิงมีความเจริญเติบโตทางดานรางกายเร็วกวาเพื่อนวัยเดียวกนั

มักมีปญหาทางดานการปรับตัวจะรูสึกวาตนโตกวาเพื่อนและแยกตวัออกจากเพื่อน

สําหรับเด็กชายที่มีความเจริญเติบโตเร็วกวาเพื่อนมกีารปรับตัวไดดี

4.

พฒันาการของกลามเนื้อกระดูกและประสาทจะเพิ่มขึ้น

เด็กชายมีพัฒนาการของกลามเนื้อเร็วกวาเด็กหญิง

การใชทักษะการเคลื่อนไหวเกี่ยวกับกลามเนื้อใหญใชการไดดี

อายุประมาณ 7 ป

การใชและบังคับกลามเนื้อตางๆ

ทั้งกลามเนื้อใหญและกลามเนื้อยอยจะดีข้ึนมาก

และสามารถประสานงานกนัไดดี

เด็กวัยนีจ้งึสนุกในการลองความสามารถในการกระโดดสูง

กระโดดระยะไกลๆ

กระโดดเชือก

เลนฟุตบอล

เด็กวยันีจ้ะพยายามฝกทักษะทางการเคลื่อนไหวเพื่อไมใหนอยหนาเพื่อน

เดก็บางคนอาจทดลองโดยลืมคิดถึงอันตรายจงึมีอุบัติเหตุในการเลนบอยครั้ง

www.tutorferry.com

5.

การประสานระหวางมือและตาของเด็กวัยนี้จะดีข้ึน

เดก็สามารถที่จะอาน

เขียนและวาดรูปไดดีขึ้น

กิจกรรมในโรงเรียนควรสนบัสนุนใหเด็กไดใชความคิดสรางสรรคในดานศิลปะตางๆ 6.

เด็กวัยนีจ้ะมีบางทีที่ทํากิจกรรมอยางไมเหน็ดเหนื่อย

และมักจะประกอบกิจกรรมใดกจิกรรมหนึ่งอยูเสมอ

เด็กวัยนี้มกัใชเวลาสวนมากอยูกับเพื่อนทั้งในโรงเรียนและนอกโรงเรียน

พัฒนาการทางเชาวปญญา

พีอาเจต

เรียกวัยประถมศึกษาวา Concrete Operation ซ่ึงสรุปไดวาวยันี้เด็กชายจะมคีวามสามารถคิดเชิงเหตุผล

เชิงตรรกได

สามารถที่จะรับรูส่ิงแวดลอมไดตามความเปนจริง

สามารถที่จะพิจารณาเปรียบเทียบโดยใชเกณฑหลายๆ

อยาง

โดยเฉพาะในการจดัของเปนกลุม

นอกจากนี้เดก็วัยประถมมีความเขาใจเกี่ยวกับความคงตัวของสสาร

มีความเขาใจวาการเปลีย่นแปลงรูปรางภายนอกของสสารไมมีผลตอสภาพเดิมตอปริมาณน้ําหนกัและปริมาตร

นอกจากนี้เดก็จะสามารถเปรียบเทียบส่ิงของวามากกวา

ใหญกวา

ยาวกวา

เขมกวา

พัฒนาการทางดานภาษาและการใชสัญลักษณเจริญกาวหนามาก

เด็กจะเริ่มเขาใจกฎเกณฑตางๆ

อยางมีเหตุผล

และ

เขาใจความหมายของบทเรียน

ทั้งทางคณิตศาสตร

ภาษา

การอาน

มีความคิดรวบยอด

เกี่ยวกับส่ิงแวดลอม

และ

สามารถอธิบายได

เด็กวัยนี้มกัจะสนใจปญหาตางๆ

ที่ตองแกดวยความคิด

เหตุผล

ถา

แกไดเด็กจะเกดิความภูมิใจ

ความแตกตางระหวางบุคคลเกี่ยวกับพฒันาการทางเชาวปญญา

เปนสิง่ที่ครูควรตระหนกั

และ

ควร

คํานึงถึงความสามารถเฉพาะของเด็ก

และ

พยายามสงเสริมใหเด็กแตละคนพฒันาตาม ศักยภาพของตน

นักเรียนบางคนอาจมีความสามารถทางเชาวปญญาแตกตางกนั

บางคนอาจจะเกงทางคณิตศาสตร

บางคน

อาจจะเกงทางภาษา

พัฒนาการทางบุคลิกภาพ

ทฤษฎทีางการพัฒนาการทางบุคลิกภาพของเด็กในวยัประถมศึกษา

คือ

ทฤษฎีของฟรอยด

และ

อีริคสัน

ฟรอยด

เรียกเด็กวยัประถมวาขั้นแฝงเปนระยะที่ความตองการทางเพศสงบลง

เด็กมักจะรวมกลุมกับเพื่อนเพศเดียวกัน

เด็กวัย

นี้จะมมีโนธรรมรูจักวาอะไรผิดอะไรถูกโดยใชมาตรฐานจริยธรรมของผูใหญเปนเกณฑ อีริคสันอธิบายวาความ

ตองการทางเพศของเด็กวยันี้ยงัคงอยู

แตเปลี่ยนเปนพลงังานอยางอื่น

เด็กวยันี้จะไมอยูเฉยมคีวามคลองแคลวทีจ่ะ

ประกอบกิจกรรมตางๆ

อยูเสมอ

ตองการมสีมรรถภาพทีจ่ะทาํอะไรไดสําเร็จ

ฉะนั้นผูใหญควรหาทางที่จะสงเสริม

สนับสนนุใหเด็กวัยนี้ไดประสบความสาํเร็จ

เพื่อสรางมโนทัศนที่ดี

และ

ความภูมิใจใหแกเด็กถาเด็กวัยนี้ประสบความ

ลมเหลวก็จะเปนปมดอย

และ

มโนทัศนทีไ่มดีไปจนโต

พัฒนาการทางอารมณ

และ

สังคม

แมวาเด็กวัยประถมศึกษาจะเรียนรูการควบคุมอารมณ

แตผูใหญควรคาํนึงถึงความแตกตางกันของเด็ก

เด็กบางคนอาจกลัวสัตว

กลัวความมดื

กลัวที่สูง

แตส่ิงที่เด็กวัยนีก้ลัวที่สุดก็คือกลัวจะถูกลอเพราะแตกตางจากเพื่อน

นอกจากนี้เดก็ในวยันีย้ังมีความวิตกกังวลเกี่ยวกับการเรยีน

กลัวจะสอบไมได

กลัวถูกทําโทษหรือกลัววาเพื่อนจะไมชอบ

ถาเด็กมี

www.tutorferry.com

ความวิตกกังวลมากจะแสดง พฤติกรรมที่แตกตางกนั

บางคนอาจซึมไมตั้งใจเรยีน

นอนหลับในหองเรยีน

บางคนอาจแสดงออกโดยการไมอยูนิ่งมีอารมณเปลี่ยนแปลงงาย

หรือแสดงพฤติกรรมที่แปลกจากคนอืน่

เด็กวยันี้มีอารมณโกรธอาจมีการตอสูกันทางดานรางกายหรืออาจกลาววาจาโดยการลอเลียนพูดจาถากถาง

หรือบางครั้งอาจทําใหไมพูดกับคนที่โกรธไปเลย

การแสดงอารมณโกรธจะแตกตางกนัระหวางเดก็หญิงและเด็กชาย

เดก็หญิงอาจจะรองไหเวลาโกรธ

ถาเด็กที่แสดงความโกรธและทํารายผูอ่ืนควรอธิบายใหเด็กเขาใจวาพฤติกรรมที่แสดงนั้นไมเปนที่ยอมรับของสังคม

และควรหาตัวอยางของเพื่อนวยัเดยีวกันที่มพีฤติกรรมที่ดีที่เด็กสามารถเรียนแบบได

นอกจากนี้ครูควรพยายามใหแรงเสริมเวลาเด็กสามารถระงับความโกรธได

การลงโทษโดยเฉพาะการตีหรือทําใหเจ็บกายจะเปนการสงเสริมใหเด็กแสดง พฤติกรรมกาวราวมากขึ้น

นอกจากอารมณตางๆ

เด็กวยันีย้ังเต็มไปดวยความราเริงสนุกในการเลน

พอใจกับความสําเร็จในการกิจกรรม ทั้งในดานการเรียนและการเลนเกมตางๆ

เด็กที ่ ประสบความสําเร็จจะรูสึกวาตนมีสมรรถภาพสําหรับพัฒนาการดานสังคมเดก็วยันี้จะมีสังคมพิเศษเฉพาะของเด็ก

เด็กมักรวมกลุมตามเพศเลนเกมตางๆ

เพื่อนมีความสาํคัญและอิทธิพลตอพฤติกรรมของเด็กในวัยนี้

เด็กที่สามารถปรับตัวใหเขากับเพื่อนในวยันีไ้ดจะไมมีปญหาในการปรับตัวเวลาเปนผูใหญ

สําหรับเด็กที่มีปญหาควรไดรับการชวยเหลือจากครู

เด็กที่ถูกทุกคนไม

ยอมรับมักจะมีปญหาดานพฤติกรรมซึ่งจําเปนตองไดรับการแกไขและชวยเหลือจากครู

ความแตกตางระหวางบุคคล

ความแตกตางระหวางบุคคล

นักเรียนยอมมีความแตกตางกันทั้งในดานสติปญญา

อารมณ

จิตใจ

และลักษณะนิสัย

ดังนั้น

ในการจัดการเรียนการสอนครูจะตองคํานึงถึงเรื่องนี้

ในการจัดชั้นเรียนนั้น

โดยทั่วไปครูมักจะจัดชั้นเรียนโดยมีนักเรียนซึ่งมีความสามารถคละกันไป

โดยมิไดคํานึงถึงวานักเรียนนั้นมีความแตกตางกัน

ซ่ึงจะทําใหผลการสอนไมดีเทาที่ควร

ดังนั้นในการจัดชั้นเรียนครูควรจะไดคํานึงถึง

1.

ความแตกตางของนักเรียนภายในกลุมเดียวกัน 2.

ความแตกตางระหวางกลุมของนักเรียน การสอนนั้นนอกจากคํานึงถึงความแตกตางระหวางกลุมแลวตัวครูเองจะตองพยายามที่จะสอนบุคคลเหลานี้

เพราะนักเรียนแตละคนไมเหมือนกัน

นักเรียนที่เรียนเกงจะทําโจทยคณิตศาสตรไดคลอง

แตนักเรียนที่เรียนออนจะทําไมทันเพื่อนซึ่งอาจทําให นักเรียนทอถอย

ครูตองคอยใหกําลังใจแกเขา

การสอนนั้นครูตองพยายามดังนี้

ศึกษา นักเรียนแตละคนดูความแตกตางและวางแผนการสอนใหสอดคลองกับความแตกตางของนักเรียน

ถาเด็กเกงก็สงเสริมใหกาวหนา

สวนเด็กออนก็พยายามชวยเหลือโดยการสอนเสริม

ทําแบบฝกหัดที่สนุกไมนาเบื่อ

การสอนเด็กที่แตกตางกันนั้น

ส่ิงสําคัญครูตองมีความอดทน

เสียสละ

จึงสามารถสอนนักเรียนที่แตกตางกันไดอยางมีประสิทธภิาพ

การสอนเด็กที่เรียนชาใหไดผลดีครูอาจใชหลักการสอนดังตอไปนี้

1.

กอนอื่นครูตองแสดงใหนักเรียนทราบวาครูเต็มใจที่จะชวยใหนกัเรียนเกิดการเรยีนรู

2.

พยายามหลีกเลี่ยงสภาพที่จะกอใหนักเรยีนที่เรียนชา

เกดิความคับของใจ

โดยอาจจัดบทเรียนใหเหมาะสมกับความสามารถ

เชน

ลดจํานวนงานใหนอยลงกวานักเรียนปกติ

www.tutorferry.com

3.

ในเวลาถามคําถาม

ครูควรเลือกคําถามที่นักเรียนเรยีนชาจะตอบได

และใหเวลาในการตอบโดยครูอาจถามซํ้าหรืออธิบายคําถามใหนักเรียนที่เรียนชาเขาใจ

4.

พยายามจัดหนวยการเรียนใหส้ันและจบในตัวโดยคํานึงถึงความสามารถของ นักเรียนที่เรียนชาดวย

5.

ทุกครั้งที่เร่ิมบทเรียนใหมครูควรจะทบทวนบทเรียนที่เรียนมาแลว

โดยใชวิธีการใหนักเรยีนที่เรียนชาไดแสดงออกและรูสึกวาตนทําได

จิตวิทยาในการฝก

การฝกเปนเรื่องที่จําเปนสําหรับนักเรียน

การใหนักเรียนฝกซ้ําๆ

บางครั้งก็ทําใหนักเรียนเกิดการเบื่อหนาย

ครูจะตองดูใหเหมาะสมโดยพิจารณาดังนี้

1.

การฝกจะใหไดผลดีตองฝกเปนรายบุคคล

เพราะคํานึงถึงความแตกตางระหวางบุคคลได 2.

ควรจะฝกไปทีละเรื่องเมื่อจบบทเรียนหนึ่งๆ

และเมื่อเรียนไดหลายบทก็ควรฝกรวบยอดอีกครั้ง

3.

ควรมีการตรวจแบบฝกหัดแตละครั้งที่นักเรียนทําเพื่อเปนการประเมินผลนักเรียน

ตลอดจนประเมินผลการสอนของครูดวย 4.

เลือกแบบฝกหัดใหสอดคลองกับบทเรียนและใหแบบฝกหัดพอเหมาะไมมากเกินไป 5.

แบบฝกหัดนั้นควรจะฝกหลายๆ

ดาน

คํานึงถึงความยากงายเพื่อใหนักเรียนเขาใจและทําได

6.

พึงตระหนักอยูเสมอวากอนที่นักเรียนจะทําโจทยนั้นไดนักเรียนจะตองเขาใจวิธีการทําโจทยนั้น

โดยถองแทเสียกอน

การเรียนโดยการกระทํา

ทฤษฎีนี้

จอหน

ดิวอ้ี (John Dewey) กลาววาในการสอนคณิตศาสตรนั้นปจจุบันมีส่ือการสอนรูปธรรมชวยมากมาย

ครูจะตองใหนักเรียนไดลองกระทําหรือปฏิบัติจริงแลวจึงใหสรุปมโนคติ (Concept) ครูไมควรเปนผูบอก

เพราะถานักเรียนไดพบดวยตัวเขาเอง

แลวเขาจะจดจําไปไดนาน

อยางไรก็ตามเนื้อหาบางอยางก็ไมมีส่ือการเรียนการสอนเปนรูปแบบ

ครูก็จะตองใหนักเรียนฝกทําโจทยดวยตัวเขาเองจนเขาใจและสามารถทําได

การเรียนเพื่อรู

การเรียนเพื่อรูเปนการเรียนรูจริงทําใหไดจริง

นกัเรียนนัน้เมื่อมาเรียนคณิตศาสตรบางคนกท็ําไดตาม

จุดประสงคทีค่รูกําหนดไว

แตบางคนก็ไมสามารถทาํได

นักเรียนประเภทหลงันี้ควรไดรับการสอนซอมเสริมใหเขา

เกิดการเรียนรูเหมือนคนอืน่

แตเขาอาจตองเสียเวลาและใชเวลานานกวาคนอืน่

ในการที่จะเรยีนเนือ้หาเดียวกนั

ครูผูสอนจะตองพิจารณาเรือ่งนีท้ําอยางไรจึงจะสนองความแตกตางระหวางบุคคลไดใหนักเรยีนทกุคนไดเรียนรู

จนครบจุดประสงคทีก่ําหนดไว

เมื่อนกัเรยีนเกิดการเรียนรูและสําเร็จตามความประสงคเขาจะเกดิความพอใจมี

กําลังใจ

และเกิดแรงจูงใจอยากจะเรียนตอไป

www.tutorferry.com

ความพรอม

เร่ืองนี้เปนเรื่องสําคัญเพราะถานักเรียนไมมีความพรอม

เขาก็ไมสามารถจะเรียนตอไปได

ครูจะตองสํารวจความพรอมของนักเรียนกอน

นักเรยีนที่มวีัยตางกัน

ความพรอมยอมไมเหมือนกนั

ในการสอนคณติศาสตรครูจึงตองสํารวจความพรอมของนักเรียนอยูเสมอ

ครูจะตองดูความรูพื้นฐานของนักเรียนวาพรอมที่จะเรียนตอไปหรือเปลา

ถานักเรียนยงัไมพรอมครูจะตองทบทวนเสียกอนเพื่อใชความรูพื้นฐานในการอางองิในบทเรียนตอไป

นักเรียนที่มีความพรอมก็จะทําใหนกัเรียนเรียนไดดี

แรงจูงใจ

แรงจูงใจเปนเรื่องที่ครูควรเอาใจใสอยางยิง่

เพราะธรรมชาติของวิชาคณิตศาสตรนั้นเปนเรื่องยากอยูแลว

ในการใหนักเรยีนทํางานหรือโจทยปญหาครูตองคํานึงถึงความสําเร็จดวย

การที่ครูคอยๆ

ทําใหนกัเรียนเกิดความสําเร็จเพิ่มขึ้นเรื่อยๆ

ซ่ึงตองคํานึงถึงความแตกตางระหวางบคุคลจะทําใหเกิดการแขงขนัหรือการเสริมกําลังใจเปนกลุมเปนการสรางแรงจูงใจใหแกนักเรียน

การสรางแรงจูงใจในการเรียนการสอน

หนาที่สําคัญอันเปนบทบาทที่ครูผูสอนพึงปฏิบัติและไมอาจหลีกเลี่ยงไดคือ

การกระตุนใหผูเรียนมีแรงจูงใจในการเรียนเกดิขึ้น

ครูผูสอนจึงควรปฏิบัติเพื่อสรางแรงจูงใจใหกับผูเรียนดงันี้

1.

กระตุนใหผูเรียนเกดิความสนใจและมีความอยากรูอยากเห็นเกดิขึ้น

โดยใหผูเรียนไดคนหาคําตอบใหมากที่สุดดวยตนเอง

2.

สรางความเชื่อมั่นใหตนเองใหกับผูเรียนในความสามารถที่เขามี เพื่อใหผูเรียนนําความรูความสามารถที่มีอยูทั้งหมด

ไปใชในการเรยีนรูใหมีประสิทธิภาพ

อาจทําไดโดย

2.1ใหผูเรียนไดเรียนหรือไดทํางานที่เหมาะสมกับระดับความ

สามารถ

เพื่อใหผูเรียนไดพบกับความสําเร็จในชั้นตนเสียกอนเพื่อชวยใหเขามีความเชื่อมั่นในตนเองเกิดขึ้น

ตอจากนั้นคอย

เพิ่มระดับความยากหรือความสลับซับซอนของงานหรือส่ิงที่เรียนขึ้นไปเรื่อย

2.2 แบงจุดประสงคการเรียนรูออกเปนชวงสั้น

เพื่อใหผูเรียนประสบความสาํเร็จในการเรียน

ในชวงระยะเวลาไมนานนัก

และ

ทาํใหผูเรียนไดทราบถึงความกาวหนาในการเรียนของตนเอง

3.

สรางเจตคติที่ดีตอการเรียนและใหผูเรียนเห็นความสําคญัของสิ่งที่เรียน

ทั้งที่เปนประโยชนในปจจุบัน

และประโยชนในอนาคต

อาจทําไดโดย

3.1 ทําใหการเรียนสนุกสนาน

บางบทเรียนอาจจัดการเรียนการสอนในรูปของเกม

ซ่ึงผู

เรียนจะไดท้ังความรูและความสนุกสนานควบคูกันไปดวย

3.2 สอนใหคลายคลึงกับสถานการณในชวีติจริง

และ

อธิบายใหเห็นความสําพันธ

ระหวางสิ่งที่เรียนในปจจุบนั

กับ

ชีวิตจริงในสังคม

3.3 ใชเครื่องลอ

หรือ

ส่ิงลอใจที่เหมาะสม

คุมคากับเวลาและความพยายามของผูเรียน

4.

สนองความตองการเบื้องตนของผูเรียนอาจทําไดโดย

www.tutorferry.com

4.1 สรางบรรยากาศในหองเรียนใหเกิดความอบอุน

ไมทําใหผูเรียนแบงพรรคแบงพวกกัน

ครูผูสอนใหความสนใจและใหความสําคัญแกผูเรียนในหองเรียนอยางทั่วถึงมวาผูเรียนจะมีความสามารถสูงหรือมีความสามารถต่ํา

4.2 มอบหมายใหกับผูเรียนทํางานที่ทาทายความสามารถ

โดยงานนั้นจะตองไมยากหรืองายจนเกินไป

5.

ใหผูเรียนไดเห็นตัวแบบที่ประสบความสําเร็จ

โดยใชตัวแบบที่มีความสามารถระดับใกลเคียงกับผูเรียน

ตัวแบบดังกลาวจะชวยใหผูเรียนไดเห็นวา

ถาเขามีความพยายามก็มีโอกาสประสบความสําเร็จไดดวย

การเสริมกําลังใจ

การใหแรงเสริมเปนสิ่งหนึ่งที่ครูควรใชอยางรอบคอบ

ควรเลือกวาควรใชแรงเสริมอะไรจะเหมาะสมกับผูเรียนแตละคน

จากการวิจัยพบวาครูอาจใหแรงเสริมได 3 ประเภท

ดังนี้

1.

การใหความสนใจและคําชมเปนแรงเสริม

ครูทุกคนควรสนใจใหคําชมแกนักเรียนเพราะ

เปนสิ่งที่ครูใชไดทุกโอกาส

และใชไดทันทีที่เด็กเปลี่ยนพฤติกรรมตามวัตถุประสงคที่ตั้งไว

ขอสําคัญครูควรระลึกอยูเสมอวาการใหความสนใจหรือคําชมนั้นเปนสิ่งที่ทุกคนปรารถนาทั้งนักเรียนที่เกงและออน

2.

การใชกิจกรรมที่ผูเรียนชอบทําเปนแรงเสริม 3.

การใหแรงเสริมท่ีเปนสิ่งของ

เชน

ดาวหรือเบี้ย

วิธีการที่จะใชการใหแรงเสริมแบบนี้มีประสิทธิภาพสูงขึ้นมีดังนี้

1.

กอนจะใชควรแนใจวาสามารถที่จะมีของที่จะแลกกับเบี้ยตามที่สัญญากับนักเรียน 2.

เวลาใชเบี้ยเปนแรงเสริมควรใชคูกับคําชม 3.

ควรจะระวังในการใชอยาใหถึงขั้นอิ่มตัว

4.

ควรจะพยายามลดการใชเบี้ยและเปลี่ยนมาใชคําชมแทน

ทักษะการเราความสนใจ

ทักษะการเราความสนใจ

หมายถึง

การกระตุนใหนักเรียนเกิดความสนใจที่จะเรียนและติดตามกิจกรรม

โดยตลอด

มีการเปลี่ยนเทคนิคการสอนแบบตางๆ

อยูเสมอกอนที่นักเรียนจะเบื่อหนาย

ทักษะนี้จึงเปนสิ่งสําคัญสําหรับครูที่จะปรับปรุงวิธีการสอนใหมีประสิทธิภาพมากขึ้นเปนการชวยใหนักเรียนไมเบื่อหนายการเรียน

มีความกระตือรือรนและมีความสนใจอยูตลอดเวลาตั้งแตเร่ิมตนจนกระทั้งการสอนสิ้นสุดลง

เทคนิคการเราความสนใจมีหลายวิธี

ครูจะตองพิจารณาเลือกเทคนิควิธีการที่เหมาะสมกับจุดมุงหมาย

ในการสอน

ในการสอนแตละครั้ง

ครูอาจใชกี่วิธีก็ได

แตจะตองใหสัมพันธสอดคลองและเหมาะสมกับบทเรียน

จึงจะเกิดประโยชนตอนักเรียน

การเราความสนใจมีดังนี้

1.1.1

การใชส่ือการเรียนการสอน

www.tutorferry.com

1.1.4

การเลาเรื่องสั้น 1.1.5

การตั้งปญหา 1.1.6

การแสดงบทบาทสมมติ 1.1.7

การเลนเกม 1.1.8

การสาธิต 1.1.9

การใชเหตุการณปจจุบัน 1.1.10

การเลนคําสัมผัส

ทักษะการเสริมกําลังใจ

การเสริมกําลังใจ

หมายถึง

การใหรางวัลหรือคําพูดชมเชยหลังจากที่นักเรียนแสดงพฤติกรรมที่ครูตองการ

เชน

ใหนักเรียนทําการบาน

ตอบคําถาม ครูควรจะเลือกการเสริมกําลังใจมาใชใหเหมาะกับแตละสถานการณ

วัยและระดับชั้นของนักเรียนการเสริมกําลังใจที่ครูควรนํามาใช

มีดังนี้

1.

การเสริมกําลังใจดวยวาจา 2.

การเสริมกําลังใจดวยทาทาง

เปนการแสดงออกทางสีหนาทาทาง 3.

การเสริมกําลังใจดวยการใหรางวัลและสัญลักษณตางๆ 4.

การเสริมกําลังใจดวยการใหผูเรียนเห็นความกาวหนาของตนเอง

หลักเกณฑในการนําไปใช 1.

เสริมกําลังใจในจังหวะที่เหมาะสม 2.

เสริมกําลังใจยอนหลัง 3.

ไมพูดเกินความจริง 4.

ไมใชคําพูดที่จํากัดอยูในวงแคบ 5.

ไมควรใชการเสริมกําลังใจบางประเภทบอยเกินไป 6.

พยายามหาโอกาสเสริมกําลังใจใหทั่วถึงกัน 7.

การเสริมกําลังใจในทางบวก

จะไดผลดีกวาทางลบ

8.

การเสริมกําลังใจไมควรมาจากครูฝายเดียว

ควรใชวิธีเสริมกําลังใจดวยส่ิงแวดลอม 9.

เสริมกําลังใจโดยใชคําพูดใหเหมาะกับวัยและระดับชั้นของนักเรียน 10.

หาวิธีเสริมกําลังใจใหเหมาะกับลักษณะของนักเรียน 11.

ควรเสริมกําลังใจโดยใชวาจาและทาทางประกอบกันและแสดงทาทางที่จริงจัง

12.

ใชปายนิเทศ

คําพังเพย

หรือผลงานของนักเรียนเพื่อกระตุนใหนักเรียนอยากเรียน

การลงโทษ ( Punishment )

การลงโทษเปนการใหส่ิงที่ไมพึงประสงคแกบุคคล

หรือ

การนําเอาสิ่งที่พึงประสงคออกไปจากตัวบุคคล

หลังจากที่บุคคลมีพฤติกรรมไมดี

ไมเปนที่ตองการของสังคม

การลงโทษจึงเปนการยับยั้ง

การลดความถี่

หรือขจัดพฤติกรรมที่ไมพึงปรารถนาใหหมดไป ( Kazdin, 1975:33-34)

1.1.2 การแสดงทาทางประกอบ 1.1.3 การรองเพลง

www.tutorferry.com

ในอดีตครูผูสอนจะนิยมใชการลงโทษกับผูเรียนที่มีพฤติกรรมไมตองการ

เชน

ลงโทษเมื่อผูเรียนไมสนใจเรียน

ไมทําการบาน

หรือ

ไมทํางานตามที่ไดรับ มอบหมายสงครูผูสอนตามกําหนด

เปนตน

ตอมาเมื่อครูผูสอนมีความรูความเขาใจจิตวิทยาที่เกี่ยวของกับการจูงใจมากขึ้น

จึงเห็นวาการลงโทษนั้นเปนการใชจิตวิทยาที่ผิดหลักจิตวิทยา

และถาจําเปนจะตองใชก็ควรเลือกเปนโอกาสสุดทาย

เมื่อหาวิธีการอื่นไมไดแลว

วิธีการลงโทษโดยทั่ว

ไป

มีอยู 3 วิธดัีงนี้

1.

การลงโทษทางรางกาย หมายถึงการทําใหผูถูกลงโทษเหน็ดเหนื่อยเมื่อยลา

เจ็บปวด

เชน

การหยิก

เฆี่ยนตี

เขกโตะ

วิดพื้น หรือวิ่งรอบสนาม

เปนตน

2.

การลงโทษทางวาจา

หมายถึง

การใชวาจาลงโทษ

โดยมุงหวังใหยุติการกระทํา

หรือ

พฤติกรรมที่ไมพึงปรารถนา

เชน

การดุ

การขมขู

การวาราย

หรือการตําหนิ

เปนตน ( การตําหนิเปนการใหขอสังเกตของตนเองแกผูอ่ืน

เปนการใหขอมูลที่สะทอนใหเห็นจุดบกพรอง

หรือ

จุดออนของผูนั้น ) 3.

การลงโทษทางจิต

เปนการลงโทษทางสังคมอยางหนึ่ง

เปนการใชสังคมเปนเครื่องมือในการยับยั้งพฤติกรรมที่ไมพึงปรารถนาของบุคคล

เชน

การทําใหอับอายหรือทําใหเสียหนา

ทําทัณฑบน

เพิกถอนสิทธิบางอยาง

ใหพักการเรียน

ตลอดจนการเพิกเฉย สมพร สุทัศนีย ( 2523 : 69 ) ไดสรุปถึงวิธีการลงโทษที่ครูผูสอนสามารถนํามาใชปฏิบัติกับนักเรียนใน

ช้ันเรียนใหมีประสิทธิภาพดังนี้

1.

วิธีการแยกตัว ( Time out ) คือ

การนําผูเรียนออกไปจากสิ่งแวดลอมที่นาพึงพอใจ

หรือ

เปนการนําเอาผูเรียนออกไปจากกิจกรรมที่ผูเรียนชอบ

2.

ใชวิธีการปรับสินไหม

หรือ

เรียกแรงเสริมคืน ( Respond Cost ) ซ่ึงเปนวิธีหนึ่งของการลงโทษ

โดยครูผูสอนใหการเสริมแรงทุกครั้งเมื่อผูเรียนมีพฤติกรรมที่พึงประสงค

แตถาผูเรียนมีพฤติกรรมที่ไมพึงประสงค

ก็จะเรียกเอาสิ่งที่เคยใหการเสริมแรงแกผูเรียนกลับคืนมา

3.

การตําหนิติเตียน ( Reprimand ) เปนการใชคําพูดตําหนิติเตียนเมื่อผูเรียนมี พฤติกรรมที่ไมเหมาะสม

สรุปหลักการปฏิบัติในการลงโทษไดดังนี้

1.

ใชการลงโทษเปนวิธีสุดทาย

เมื่อแกไขดวยวิธีการอื่นใดไมไดแลว

2.

ใชการลงโทษเปนการแกไข

มิใชเพื่อการขูขวัญผูเรียน

3.

ใชการลงโทษใหเหมาะสมกบัผูเรียนและลงโทษใหเหมาะสมกับความผิด 4.

กอนการลงโทษทุกครั้ง

ควรใหผูเรียนรับทราบ

และยอมรับความผิดของตนดวย

5.

ใชการลงทาใหเปนการลงโทษจริง

ๆ 6.

ควรลงโทษในกรณีที่จงใจทําความผิดเทานัน้

7.

ควรลงโทษทันที

และลงโทษใหเสร็จสิ้นไปในระยะเวลาอันรวดเรว็

8.

ไมควรลงโทษในลักษณะการประจานผูถูกลงโทษ

9.

ในการลงโทษแตละครั้งไมควรพูดถึงความผิดในครั้งกอน

ๆ 10.

ไมควรลงโทษในขณะที่ผูลงโทษกําลังอยูในอารมณโกรธ

www.tutorferry.com

ขอควรระมดัระวังในการลงโทษมีดังนี้

1.

การลงโทษเปนการกระตุนใหเกิดแรงจูงใจที่ผิดหลักจิตวทิยา

เพราะวาบุคคลจําใจกระทําในภาวะจาํยอม

ไมไดเกิดจากความสมัครใจ

2.

การลงโทษทําใหเกิดเจตคตทิี่ไมดีตอครูผูสอนและวิชาที่เรียน

ทําใหการเรียนไมเกิดผลดีเทาที่ควรได

3.

การลงโทษเปนการทําลายสมัพันธภาพอันดีระหวางบานกับสถานศึกษา

4.

การลงโทษไมเปนการเสริมสรางเสรีภาพทางดานจิตใจ

ผูเรียนที่กลัวการลงโทษมาก

จะขาดความเชื่อมั่นในตนเองจนไมกลาคดิกลาทําอะไรเลย

การแขงขัน

มีผูไมเห็นดวยกับการสรางแรงจูงใจในการเรียนดวยการแขงขันอยูบาง

โดยใหเหตุผลวามีขอเสีย

คือ

กอใหเกิดความตึงเครียดทางดานอารมณ

มีผลดีตอผูเรียนเปนสวนนอย

กลาวคือ

ผูเรียนที่คิดวาตนเองมีโอกาสชนะเทานั้นที่รูสึกสนุกกับการแขงขัน

ซ่ึงมีอยูไมมากนัก

สวนใหญจะรูสึกทอถอยเพราะโอกาสชนะมีนอย

สําหรับผูที่สนับสนุนการสรางแรงจูงใจในการเรียนดวยวิธีการแขงขันกลับคิดวา

ถาการแขงขันดําเนินการไปถูกวิธีแลว

จะสามารถกระตุนใหเกิดแรงจูงใจในการเรียนไดดีวิธีหนึ่ง

กลาวคือ

ควรเปดโอกาสใหแตละคนไดแขงขันตามความเหมาะสม

ชนิดของการแขงขัน

การแขงขันมีไดใน 3 ชนดิดังนี้

1.

การแขงขันกันทั้งชั้น

หรือ

เรียกวาใครดีใครได

การแขงขันชนิดนี้ทุกคนเปนคูแขงขันกันหมด

และมักมีการเอารัดเอาเปรียบทุกวิถีทางเพื่อเอาชนะใหได

นักจิตวิทยาจึงไมสนับสนุนการแขงขันวิธีนี้

ถาจะแขงขันกันดวยวิธีนี้ใหเกิดผลดีก็ตองใหผูเขาแขงขันทุกคนมีความสามารถใกลเคียงกัน

2.

การแขงขันกันเปนกลุม

การแขนขันชนิดนี้ตองอาศัยความรวมมือของผูที่เปนสมาชิกภายในกลุมทุกคนเปนสําคัญ

วิธีนี้จะเปนการกระตุนใหผูเรียนเกิดแรงจูงใจในการเรียนไดดีมาก

อาจเกิดผลเสียบาง

ถาแตละกลุมตั้งหนาตั้งตาที่จะแขงขันกันเพียงอยางเดียว

เพื่อใหผลเสียในการแขงกันเปนกลุมมีนอยที่สุด

จึงควรเปลี่ยนแปลงสมาชิกภายในกลุมอยูเสมอ

ทั้งนี้เพื่อปองกันไมใหสมาชิกภายในกลุมมีความผูกพันธกันมากจนเกินไป

เพราะจะกอใหเกิดความขัดแยงขึ้นมาไดเมื่อกลุมของตนตองแพ

และยังเปนการเปดโอกาสใหผูที่มีความรูความสามารถต่ําหรือประสบแตความลมเหลวไดพบความสําเร็จ

เมื่อไปรวมกลุมกับผูที่มีความสามารถสูงอีกดวย

3.

การแขงขันกับตนเอง

เปนวิธีการแขงขันที่ดีที่สุดสําหรับผูเรียนที่มีความตองการผลสัมฤทธ์ิสูงเพราะเปนวิธีการจูงใจภายใน การแขงขันแบบนี้ผูเรียนจะไดมีโอกาสเปรียบเทียบผลงานหรือความสามารถของตนเองวามีพัฒนาการสูงขึ้นหรือไม พัฒนาการที่เพิ่มขึ้นจะทําใหผูเรียนเกิดความภาคภูมิใจ

มีความเชื่อมั่นในตนเองเพิ่มขึ้นดวย

www.tutorferry.com

สาเหตุที่ทําใหเด็กไมชอบเรียนคณิตศาสตร

เด็กแตละคนมีความสามารถในการเรียนรูทีแ่ตกตางกัน ดงันั้นเด็กจึงควรมี

แนวทางในการเรียนรูทีเ่หมาะสมกับแตละคน ในทางตรงกนัขามสภาพที่เรา

พบคือ การเรียนทั่วๆไปที่มนีกัเรียนจํานวนมากๆในหอง แตกลับมีครูเพียง

คนเดียว ซึง่วธิีนี้ไมสามารถทําใหนกัเรียนทุกคนในหองเขาใจเนื้อหาทีส่อนได

แมวาคุณครูผูสอนจะเกงเพยีงใดก็ตาม ผลคือ นกัเรียนที่สามารถเขาใจ

เนื้อหาไดทนักจ็ะสนุกกับการเรียนในชัน้เรยีน สวนนักเรียนที่เรียนไมรูเร่ืองก็

จะเริ่มเบื่อข้ึนเร่ือยๆ จนทําใหไมชอบเรียนคณิตศาสตร หรืออาจถึงขั้น

เกลียดเลยก็ได เมื่อเด็กมีปญหา ผูปกครองจําเปนตองหาทางใหเดก็ไดเรียน

เสริมนอกเวลาเรียน เพื่อแกปญหาดงักลาว แตในหลายๆกรณีคงตองเจอ

กบัปญหาใหมๆ ขึ้นมาอีก เชน

1. เด็กไดเรียนเนือ้หาที่เหมาะกบัความสามารถของตัวเอง แตเนื้อหาที่

กาํลังเรียนไมสอดคลองกับเนื้อหาทีจ่ะใชสอบ ซึง่เราปฏิเสธไมไดวาการ

สอบไดคะแนนดี ทาํใหเด็กมีกําลงัใจเรียน

2. เด็กไดเรียนเนือ้หาที่ตองนําไปสอบ แตไมมคีวามเขาใจในเนื้อหานัน้

เพราะมพีืน้ฐานไมเพยีงพอ

3. เด็กไดเรียนเนือ้หาที่เหมาะกบัตัวเอง แตเนื้อหาทีเ่รียนไมครบตาม

หลักสูตรที่กระทรวงกาํหนด การแกปญหาดังกลาวตองการความ

รวมมือทัง้ผูเรียน ผูสอนและแบบฝกหัดทางคณิตศาสตร

www.tutorferry.com

ลักษณะสําคัญของวิชาคณติศาสตรเมื่อมนุษยเร่ิมมีการสังเกตสิ่งตางๆรอบตัว พวกเขาเกิดความสงสัยในสิง่รอบตัวเขา ปรากฏการณตางๆที่

เกิดขึ้น พวกเขาจึงพยายามหาเหตุผลที่จะอธิบายสิ่งเหลานั้นอยางเปนขัน้ตอนและเปนระบบ จากนั้นพยายามสรางสัญลักษณเพื่อทําใหคําอธิบายเปนรูปธรรมและสื่อสารใหพวกเขาเขาใจตรงกนั ส่ิงเหลานี้เปนตนกําเนิดของวิชาคณิตศาสตร ดังนั้นจึงสามารถสรุปลักษณะสําคัญของวิชาคณิตศาสตรไดดังนี้

1. วิชาคณิตศาสตรเปนวิชาที่เกี่ยวกับการใชเหตุผล เราใชคณิตศาสตรพิสูจนอยางมีเหตุผลวาสิ่งที่เรา

คิดขึ้นนั้น เปนจริงหรือไม คณิตศาสตรชวยใหคนเปนผูมีเหตุผล เปนคนใฝหาความรู ตลอดจนพยายามคิดคนส่ิงที่แปลกและใหม ฉะนัน้คณิตศาสตรจึงเปนพื้นฐานแหงความเจริญของเทคโนโลยีดานตางๆ

2. วิชาคณิตศาสตรเปนวิชาที่เกี่ยวกับความคิดของมนุษย มนุษยสรางสัญลักษณแทนความคดินั้นๆและสรางกฎในการนําสัญลักษณมาใช เพือ่ส่ือความหมายใหเขาใจตรงกัน คณิตศาสตรจึงมีภาษาเฉพาะของตัวมันเอง เปนภาษาที่กําหนดขึน้ดวยสัญลักษณที่รัดกุมและสื่อความหมายไดถูกตอง เปนภาษาที่มตีัวอักษรตัวเลข และสญัลักษณแบบความคิด เปนภาษาที่ทกุชาตทิี่เรียนคณติศาสตรจะเขาใจตรงกัน เชน a + 3 = 15 ทุกคนที่เขาใจคณติศาสตรจะอานประโยคสัญลักษณนีไ้ดและเขาใจความหมายตรงกัน

3. คณิตศาสตรเปนวิชาที่มีรูปแบบ เราจะเห็นวาการคิดทางคณิตศาสตรนั้นจะตองมีแบบแผน มีรูปแบบ

ไมวาจะเปนเรื่องใดก็ตาม ทกุขั้นตอนจะตอบไดและจําแนกออกมาใหเห็นไดจริง

4. คณิตศาสตรเปนวิชาที่มีโครงสราง คณิตศาสตรจะเริ่มตนดวยเร่ืองงายกอน เชน เร่ิมตนดวยการบวก

การลบ การคูณ การหาร เร่ืองงายๆ นี้จะเปนพื้นฐานนําไปสูเร่ืองอื่นๆ ตอไป เชน เร่ืองเศษสวน ทศนิยม รอยละ เปนตน

5. คณิตศาสตรเปนศิลปะอยางหนึ่ง เชน เดียวกับศิลปะอ่ืนๆ ความงามของคณิตศาสตร ก็คือ ความมี

ระเบียบและความกลมกลืน นักคณิตศาสตรไดพยายามแสดงความคิด มีความคิดสรางสรรค มีจินตนาการ มีความคิดริเร่ิมที่จะแสดงความคิดใหมๆ และแสดงโครงสรางใหมๆ ทางคณิตศาสตรออกมา

ความสําคัญในการพัฒนาทักษะคณิตศาสตร

วิชาคณิตศาสตรเปนวิชาหนึง่ในกลุมทักษะที่เปนเครื่องมือในการเรียนรู คือ เปนวิชาที่จะนําไปสูการเรียนรูในกลุมประสบการณอ่ืนๆ และการเรียนในระดับสูง เปนวิชาทีช่วยพัฒนาคนใหรูจักคดิ และ คิดเปน คือ คิดอยางมีเหตุผล มีระเบยีบขั้นตอนในการคิด นอกจากนั้นยังชวยสรางเสริมคุณลักษณะที่จําเปนตอการดํารงชีวิตอื่นๆ เชน การสังเกต ความละเอียด ถ่ีถวน แมนยํา มีสมาธิและรูจักแกปญหา และโดยเฉพาะอยางยิ่งในชีวติประจําวนั เราตองใชความรู และ ทักษะทางคณิตศาสตรเกือบตลอดเวลา เชน การประมาณคา การซื้อขาย การดูเวลา การชั่ง การตวง การวดั และ อ่ืนๆ อีกมากที่เกีย่วกับจาํนวน และ ตวัเลข อาจกลาวไดวา คณิตศาสตรเปนวิชาทักษะทีสํ่าคัญ และสัมพันธกับชีวิตประจําวนัอยางแยกกันไมได ดวยความสําคัญดังกลาวมาแลวขางตน

www.tutorferry.com

การสอนการแกโจทยปญหาทางคณติศาสตร

องคประกอบที่มีอิทธิพลตอการแกโจทยปญหา

1.

องคประกอบเกี่ยวกับภาษา ไดแก คําและความหมายตางๆ ในโจทยปญหาแตละขอวามีความหมาย

อยางไร คําคําเดียวกันอยูตางสถานการณกันอาจมีความหมายตางกนั ซ่ึงนักเรียนตองเขาใจเรื่องราวและสถานการณของโจทยปญหาแตละขอเปนอยางดี ฉะนัน้เทคนิควิธีการสอนแกโจทยปญหา ครูผูสอนจําเปนอยางยิ่งที่จะฝกใหนักเรยีนคุนเคยกับคําตางๆ และ

ความหมายของคาํทุกคําในโจทยปญหา เปดโอกาสใหนักเรียนอานโจทยหลายๆ คร้ัง และ

วิเคราะหโจทยปญหาทั้งหมดวามีกีต่อน ตอนใดเปนตอนที่โจทยกําหนด ตอนไหนเปนสิง่ที่โจทยตองการทราบ

และ

ส่ิงที่โจทยกําหนดใหมาทั้งหมดมีความเกี่ยวพันธ เชื่อมโยง หรือสัมพันธกันอยางไร จะตองแปลความ ตีความ เพื่อหาคําตอบของปญหาไดดวยวิธีใด ซ่ึงครูผูสอนตองฝกให นกัเรียนคิดไดดวยตนเอง

2.

องคประกอบเกี่ยวกับความเขาใจ เปนขั้นตีความและแปลความจากขอความทั้งหมดของโจทยปญหา

มาเปนประโยคสัญลักษณที่นําไปสูการหาคําตอบดวยวิธีใด ซ่ึงนักเรียนตองคิดไดดวยตนเอง ถานักเรียนสามารถแปลความจากโจทยปญหาเปนประโยคสัญญลักษณไดถูกตอง แสดงวามีความเขาใจและแกโจทยปญหาไดอยางแนนอน

3.

องคประกอบเกี่ยวกับการคิดคํานวณ ข้ันนี้นักเรียนตองมีทักษะ บวก ลบ คูณ หาร จํานวนตางๆ

ไดอยางรวดเรว็และแมนยํา

4.

องคประกอบเกี่ยวกับการแสดงวิธีทํา

ครูผูสอนตองฝกใหนกัเรียนสรุปความจากสิ่งที่โจทยกําหนดให

ทั้งหมดมาเปนความรูใหม

5.

องคประกอบในการฝกทักษะการแกโจทยปญหา ผูสอนตองเริ่มฝกทักษะการแกโจทยปญหา ใหแก

นักเรียนจากงายไปหายาก คือ

เร่ิมฝกตามตัวอยางหรือ

เลียนแบบตวัอยาง ฝกทักษะจากการแปลความ และ

ฝกทักษะจากหนังสือเรียน

ปญหาอุปสรรคและสาเหตุที่นักเรียนทําโจทยปญหาไมได

บรุคเนอร และครอสสนิกเกิล

ไดกลาวถึงอุปสรรคในการทําโจทยปญหาของนักเรียนดังนี้

1.

นักเรียนไมสามารถเขาใจโจทยปญหาทั้งหมดหรือบางสวนเนื่องจากขาดประสบการณและขาดความเขาใจในโจทยปญหาคณิตศาสตร

2.

นักเรียนบกพรองในการอานและทําความเขาใจโจทย

3.

นักเรียนไมสามารถคิดคํานวณไดซ่ึงมีสาเหตุมาจากนกัเรยีนลืมวิธีทําหรือไมเคยเรียนมากอน

4.

นักเรียนขาดความเขาใจกระบวนการและวิธีการจึงทําใหหาคําตอบโดยการเดาสุม

5.

นักเรียนขาดความรูในเรื่องกฎเกณฑและสูตร

6.

นักเรียนขาดความเปนระเบียบเรียบรอยในการเขียนอธิบาย

www.tutorferry.com

7.

นักเรียนไมทราบความสัมพนัธเชิงปริมาณวิเคราะหอาจมสีาเหตุมาจากการเรียนรูศัพทเพียงจํานวนจํากัด

หรือ

ขาดความเขาใจหลักเกณฑตางๆ

8.

นักเรียนขาดความสนใจ 9.

ระดับสติปญญาของนักเรียนต่ําเกินไป

10.

ขาดการฝกฝนในการทําโจทยปญหา

แนวทางในการแกปญหาการเรียนการสอนโจทยปญหาคณิตศาสตร

1.

ความเขาใจ ( Understanding ) หมายถึงความเขาใจแจมแจง อันไดแก ความสามารถในการนิยาม

ปญหา คือ

อะไรที่ไมรู หรือ

อะไรคือส่ิงที่โจทยตองการ ซ่ึงจะชวยในการตัดสินใจวาขอมูลอะไรจําเปนหรือไมจําเปนตอการแกปญหา วิธีการอะไรเหมาะสมและไมเหมาะสมในการแกปญหา

2.

ทักษะในการแกปญหา ( Problem solving skills ) เมื่อเผชิญกับโจทยที่ไมคุนเคยสิ่งที่จะชวยในการวิเคราะหปญหาไดดีขึน้ก็

คือ การวาดภาพ แผนผัง หรือแผนภูมิ โดยจะชวยใหนักเรียนสามารถนิยามปญหา ตัดสินใจเลือกวิธีแกปญหาไดอยางถูกตอง

3.

แรงขับ ( Drive ) ในการแกปญหาแปลก

ๆ ใหม

ๆ นักเรียนจะตองมีศักยภาพในการเขาใจและทักษะ

ในการวิเคราะหมากขึ้น นัน่คือนักเรียนตองมีแรงขับและความพยายามตั้งใจที่จะแกโจทยนัน้

4.

ความยืดหยุน ( Flexibility ) หัวใจของการแกโจทยปญหาก็คือ ความยืดหยุนในการปรับเอาความรู

มาใชในการแกโจทยปญหาใหม

ๆ ได

หลักการสอน

ในการเรยีนการสอนคณิตศาสตรนักเรียนสวนมากมีปญหาในการทําโจทยมากกวาการฝกทักษะ

การ บวก ลบ

คูณ หาร ดังนั้น

การสอนการแกโจทยปญหาใหไดผลดีควรคํานึงถึงหลักสําคัญ ดังนี้คือ

1.

การวิเคราะหปญหา ครูควรสอนใหนักเรียนสามารถแยกแยะปญหาไดวาโจทยปญหาแตละขอนัน้

กําหนดสิ่งใดใหบาง และ

โจทยตองการทราบอะไร ส่ิงที่โจทยใหนั้นมีความสัมพันธกันอยางไร

2.

การเขียนประโยคสัญลักษณ เมื่อนักเรียนสามารถวิเคราะหโจทยปญหาไดแลว

ขัน้ตอไปนักเรียน

ควรมีความสามารถในการเขยีนประโยคสัญลักษณ ประโยคสัญลักษณหมายถึง

ประโยคที่ใชสัญลักษณซ่ึงประกอบดวยตัวเลขและเครือ่งหมายแทนขอความและจาํนวน

3.

การใชสื่อการสอน ส่ือการสอนเปนสิ่งจําเปนที่ครูควรใชประกอบในการสอนการแกโจทยปญหา

การ

ใชส่ือจะชวยใหนักเรยีนเขาใจส่ิงที่เปนนามธรรมในโจทยปญหามากขึ้น ส่ือการสอนอาจเปนของจริง รูปภาพ หรือแผนภูมิได ส่ือเหลานี้เปนเครื่องชวยในการจิตนาการและคิดคนหาคําตอบ ส่ือการสอนที่เปนประโยชนในการสอนการแกโจทยปญหาอยางมาก คือ เสนจํานวน

www.tutorferry.com

4.

ความสามารถในการอาน สาเหตุหนึ่งทีน่ักเรียนไมสามารถทําโจทยปญหาคณิตศาสตรได คือ

นักเรียนขาดทกัษะในการอาน เนื่องจากโจทยคณติศาสตรประกอบดวยตวัเลข

และ

ขอความ ดังนั้นนักเรียนจําเปนตองมีทกัษะในการอานสามารถเขาใจความหมายของคําศัพทตางๆ และสามารถตีความวาโจทยกําหนดสิ่งใดใหและตองการทราบอะไร ซ่ึงตางจากการอานทั่วๆ ไป

5.

ทักษะในการคํานวณ ในการแกโจทยปญหาคณิตศาสตร

นอกจากนกัเรียนจะตองมีความสามารถใน

การอานโจทย เขาใจสิ่งที่โจทยสามารถกําหนดใหและสิ่งที่โจทยตองการทราบแลว การมีทักษะในการคํานวณคือ การที่นักเรียนสามารถบวก ลบ

คูณ

และหารไดถูกตองแมนยําและรวดเรว็

ดังนั้นเมื่อนักเรียนทราบประโยคสัญลักษณของโจทยปญหาแลว

นักเรยีนทีม่ีทักษะในการคํานวณจะสามารถหา คําตอบของปญหานั้นไดถูกตองและรวดเร็วกวาผูที่ไมมีทักษะ

การจดัและดําเนนิการในหองเรียน

พฤติกรรมของครูและบรรยากาศของหองเรียน

การศึกษาเกี่ยวกับบรรยากาศของหองเรียนที่เอื้อการเรียนรู

พบวาพฤติกรรมของครูสําคัญมาก

ในหองเรียนที่มีบรรยากาศเอื้อการเรียนรูมักจะมีครูที่มีความสามารถและพฤติกรรมดังตอไปนี้

1.

ครูจะตองเปนผูที่ทราบความเคลื่อนไหวของหองเรียนอยูตลอดเวลา 2.

ครูเปนผูที่มีความสามารถที่จะดูแลชั้นเรียนไดทั่วถึง 3.

ครูเปนผูมีความสามารถที่จะรักษาระดับความสนใจ

และความใสใจในบทเรียนที่ครูกําลังสอนอยางราบรื่น (Smoothness) โดยสามารถที่จะเปลี่ยนกิจกรรมตางๆ

ที่ครูสอนโดยไมรบกวนหรือทําลายความสนใจของนักเรียน 4.

ครูเปนผูที่สามารถเปลี่ยนแปลงเทคนิคของการสอนใหเหมาะสมกับความตองการของนักเรียนและวิชาที่เรียน (Variety) มีความกระตือรือรนในเรื่องที่ตนสอน

และพยายามเปลี่ยนพฤติกรรมของตนเองเพื่อไมใหพูดส่ิงที่ซํ้าๆ

เปนประจํา 5.

ครูพยายามที่จะหลีกเลี่ยงการพูดซ้ําซาก

และหยุมหยิมเกี่ยวกับการสั่งงานให นักเรียนทํา

หรือ

ใหนักเรียนประกอบกิจกรรมที่ไมจําเปนตอส่ิงที่นักเรียนตองการ

หรือคาดหวังที่จะทําใหเกิดขึ้นเร็วๆ 6.

ครูจะตองระวังที่จะไมทําโทษ

หรือ

คาดโทษนักเรียนคนใดคนหนึ่ง

อยางไมมีเหตุผล

แลวเปนผลกระทบกระเทือนตอนักเรียนทั้งชั้น

ทําใหนักเรียนทั้งชั้นไมมีความสุขจนทํางานไมได

7.

ครูควรจะเปนผูสงเสริมระเบียบขอบังคับของหองเรียนดวยความยุติธรรมสม่ําเสมอ

ถาหากครูแสดงใหนักเรียนเห็นวาครูมีความหวังดีตอนักเรียน

ตองการใหนักเรียนมีผลสัมฤทธ์ิในการเรียนและมีพัฒนาการทางบุคลิกภาพพรอมที่จะเปนสมาชิกที่ดีของสังคมในอนาคต

นักเรียนก็จะใหความรวมมือกับครู

และมีปฎิสัมพันธที่ดีตอครู

www.tutorferry.com

การปองกันการทําความผิดทางวนิยัในหองเรียน

ดังไดกลาวแลววาวินยัมีผลตอการเรียนของเด็กอยูมาก

หากผูสอนปลอยปละ

ละเลย

ไมเอาใจใสตอพฤติกรรมการเรียนของเดก็

ผลที่ตามมาคือการเรียนของเด็กยอมออนลง

และจะเกดิปญหาที่จะตองสอนซอมเสริมในภายหลัง

วิธีปองกันการกระทําผิดทางวินยัมีดังนี้

1.

การสรางแรงจูงใจในบทเรียน

เพื่อชวยใหเด็กเอาใจใสการเรียน

2.

การใหนักเรียนมีสวนในการสรางระเบียบของหองเรียนและชวยกันรักษาระเบียบ

3.

ผูสอนตองใหความเอาใจใสนักเรียนอยางทั่วถึง

เด็กจะเกิดความรักและเชื่อฟง

4.

จัดสภาพแวดลอม

ที่สงเสริมบรรยากาศในการเรียน

5.

ใหการชมเชยยกยองเด็กที่ประพฤติดี

และมีรางวัลบางเปนบางครั้ง

6.

ขอความรวมมือจากผูปกครองเด็ก

เมื่อพบวาเด็กมีปญหา

7.

สงเสริมประชาธิปไตย

โดยการทํางานรวมกัน

การแบงความรับผิดชอบกัน

ปลูกฝงการเสียสละแกสวนรวม

จะเห็นไดวาวนิัยเปนเรื่องที่เกี่ยวกับพฤติกรรม

วินัยในหองเรียน

จึงเกี่ยวกับพฤติกรรมของเด็กขณะที่อยูใน

หองเรียน

ซ่ึงเกี่ยวกับการเรยีนเปนสวนใหญ

นอกเหนือจากการเรียน

เชน

ระหวางพักหรือเลิกเรียน

ก็ควรจะใหเดก็

ไดประพฤติในสิ่งที่เหมาะสม

เพื่อรักษาความเปนระเบยีบเรียบรอยและปลอดภยัในหองเรียนดวย

ตัวอยางปญหาการปกครองชั้นเรียน

1.

นักเรียนเลนและคุยกันในขณะที่ครูสอน

อาจมีสาเหตุมาจาก

เร่ืองที่ครูสอนนักเรียนเคยเรียนมาแลว

นักเรียนที่สนิทกันนั่งใกลกัน

นักเรียนมี

จํานวนมากเกินไป

การสอนของครูนาเบื่อหนาย

ครูใจดีเกินไป

ไมดุ

และอื่นๆ

การแกปญหาก็เชน

1.1

ครูและนักเรียนรวมกันตั้งกฎเกณฑวาควรปฏิบัติอยางไรในเวลาเรียน

1.2

แยกนักเรียนที่ชอบคุยและเลนกันใหหางกัน

1.3

มอบหมายงานใหนักเรียนทุกคนไดทํา

1.4

หยุดสอนชั่วขณะจนกวานักเรียนจะเรียบรอย

หรือ

ถามเรื่องที่คุย

1.5

เรียกนักเรียนที่คุยหรือเลนกันใหตอบคําถาม

ถาตอบไมไดก็ใหยืนอยูกอน

1.6

ใหออกไปยืนหนาหอง (สําหรับคนที่กลัวการยืน

อยาใชวิธีนี้กับคนที่ชอบเดน) 1.7

ตักเตือนและพูดชี้แจงใหนักเรียนเกิดความละอายใจ

2.

นักเรียนไมเรียนและชอบแหยเพื่อน

อาจมีสาเหตุมาจาก

ตองการดึงดูดความสนใจของครู

ไมสนใจบทเรียนที่สอนขาดเรียนบอยทําให

เรียนไมทัน

เพื่อใหการสอนชาลงหรือหยุดชะงัก

และอื่นๆการแกปญหาก็เชน

2.1

ปรับปรุงกิจกรรมการสอนใหนาสนใจ

และสอนพิเศษเพิ่มเติมใหนักเรียน

www.tutorferry.com

2.2

ใหงานตามความสามารถของนักเรียน

เพื่อใหมีโอกาสทํางานไดสําเร็จ

เกิดความภูมิใจและคิดวาตัวเขามีความสําคัญ

2.3

แยกใหนั่งตางหาก

หรือใหนั่งขางหนา

2.4

ครูตองเอาใจใสนักเรียนอยางทั่วถึงและเปนกันเอง

2.5

ใหกําลังใจดวยการยกยองชมเชยเมื่อนักเรียนทําดี

3.

นักเรียนชอบลุกจากที่นั่งและเดิน

อาจมีสาเหตุมาจาก

ชอบทําตัวเปนจุดเดนเพื่อเรียกรองความสนใจ

ตองการแกลงครู

ไมสนใจการเรียนเพื่อไปเลนกับเพื่อน

และอื่นๆ

การแกปญหาก็เชน

3.1

ตักเตือนและแนะนําทุกครั้งที่นักเรียนทํา

3.2

ครูและนักเรียนชวยกันวางระเบียบของหองวาตองมีการขออนุญาตกอน

3.3

ครูตองดูแลนักเรียนในชั้นใหทั่วถึงอยูเสมอ

3.4

ครูตั้งคําถาม

ถามนักเรียนบอยๆ 3.5

ควรจัดกิจกรรมใหนักเรียนไดเปลี่ยนอิริยาบถบาง

3.6

อนุญาตใหนักเรียนยายที่นั่งตามความพอใจ

ในบางโอกาส

หรือเมื่อมีเหตุผลพอสมควร

4.

นักเรียนไมเคารพครูและไมรักษาวินัยในหองเรียน

อาจจะมีสาเหตุมาจากครูใจดีเกินไป

ครูใหความสนใจเฉพาะนักเรียนที่เรียนเกง

ครูวางตัวไมเหมาะสม

ครูไมเอาใจใสนักเรียน

ครูเปนคนขี้บน

นักเรียนขาดความรับผิดชอบ

นักเรียนไมไดรับการอบรมที่ดี

และอื่นๆ

การแกปญหาก็เชน

4.1

การแกไขบุคลิกภาพของครูและปรับปรุงวิธีสอน

4.2

ทําความตกลงกันระหวางครูกับนักเรียน

4.3

สรางบรรยากาศที่ดี

สรางความสัมพันธระหวางครูกับนักเรียน 4.4

สรางความศรัทธาใหแกนักเรียน

เชน

เตรียมการสอนอยางดี 4.5

จัดสิ่งแวดลอมใหเหมาะสม

เชน

จัดหองเรียนใหสะอาดเรียบรอยและสรางบรรยากาศที่ดีในหองเรียน

5.

นักเรียนชอบขัดแยงและลองภูมิครูในเนื้อหาวิชาที่สอน

อาจมีสาเหตุมาจาก

ครูไมมีความแมนยําในเนื้อหาวิชาที่สอน

ครูไมมีความ เชื่อมั่นในตนเอง

นักเรียน

ตองการทดสอบความรอบรูของครู

ครูไมมีมนุษยสัมพันธกับนกัเรียน

และอืน่ๆ

การแกปญหาก็เชน

5.1

ครูตองมีความแมนยําในเนื้อหา

เชื่อมั่นในตนเอง

มีความรูรอบตัวกวางขวางและตองเตรียมการสอน

5.2

ครูอาจใชกลวิธียอนถามนักเรียน

ใหเห็นความสามารถของครู

5.3

ครูไมควรแสดงอาการโกรธนักเรียนเมื่อนักเรียนซักถาม

5.4

บอกแหลงวิชาใหนักเรียนไปคนควาดวยตนเอง

5.5

ครูอาจนัดหมายใหไปพบเพื่อบอกคําตอบเปนการสวนตัว

www.tutorferry.com

6.

นักเรียนแสดงความเบื่อหนายการเรียนเนื่องจากระดับสติปญญาตางกัน

อาจมีสาเหตุมาจาก

ครูสอนเร็วเกินไปโดยไมคํานงึถงึความสนใจ

ความสามารถของนกัเรียน

ครูใชวธิี

สอนยากเกนิไป

ขาดสื่อการเรียนที่ดี

ขณะสอนไมสามารถสอบถามความเขาใจของนักเรียน

ใหงาน

เหมือนกนัทัง้ชั้นทาํใหนักเรยีนที่เรียนออนทําไมได

และอื่นๆ

การแกปญหากเ็ชน

6.1

แบงกลุมเรียนวิชาตางๆ

ตามระดับความสามารถ

6.2

เตรียมงานไวใหนักเรียนที่เรียนเกง

ปานกลาง

และ

ออนตางๆ

กัน

6.3

สําหรับนักเรียนที่เรียนเกง

เมื่อทํางานเสร็จแลวควรใหงานที่เสริมบทเรียน หรือใหชวยสอนนักเรยีนทีอ่อนก็ได

6.4

สําหรับนักเรียนที่เรียนออน

ครูควรใหงานที่ไมยากหรืองายจนเกินไป

6.5

สงเสริมความสามารถของนักเรียนเปนรายบุคคลและใหกําลังใจนักเรียนเสมอ

www.tutorferry.com