19
หนวยที3 การตัดตอและแกไขไฟลวิดีโอ (Edit) สําหรับงานตัดตอและแกไขไฟลวิดีโอ เพื่อใหผลงานของเราที่ตัดตอออกมาดูนาสนใจนั้น ไม ใชเรื่องยาก เพียงจัดเรียงลําดับขั้นตอนใหถูกตอง ไมสับสนยอนไปยอนมาก็พอแลว รวมไปถึงการ ตัดตอวิดีโอในชวงเวลาที่ไมตองการออก สุดทายเปนการใสลูกเลนดวย Transition และ Filter ให คลิปวิดีโอ เทานี้งานของคุณก็นาดูนาชมแลว 1. การเรียกไฟลวิดีโอเขามาใชใน Project Timeline หลังจากที่เราไดเพิ่มไฟลมีเดีย เชน วิดีโอและภาพนิ่งเขามาในสวนของ Library แลว ตอไปเราจะนําไฟลมีเดียมาใชงานในสวนของ Project Timeline ตามลําดับเรื่องราวที่ตองการ เริ่ม จากไฟลวิดีโอหรือรูปภาพนิ่งก็ได เพียงเปลี่ยนโหมดการเลือกจากสวนของ Library 1 แดรกเมาสาคลิปวิดีโอเขามาใชงา2 ไฟลวิดีโอถูกนําเขามาใชงาน

หน่วยที่ 3 การตัดต่อและแก้ไขไฟล์วิดีโอ (Edit)

Embed Size (px)

Citation preview

Page 1: หน่วยที่ 3 การตัดต่อและแก้ไขไฟล์วิดีโอ (Edit)

หนวยที่ 3 การตัดตอและแกไขไฟลวิดีโอ (Edit) สําหรับงานตัดตอและแกไขไฟลวิดีโอ เพ่ือใหผลงานของเราที่ตัดตอออกมาดูนาสนใจนั้น ไม

ใชเร่ืองยาก เพียงจัดเรียงลําดับขั้นตอนใหถูกตอง ไมสับสนยอนไปยอนมาก็พอแลว รวมไปถึงการ

ตัดตอวิดีโอในชวงเวลาที่ไมตองการออก สุดทายเปนการใสลูกเลนดวย Transition และ Filter ใหคลิปวิดีโอ เทานี้งานของคุณก็นาดูนาชมแลว

1. การเรียกไฟลวิดีโอเขามาใชใน Project Timeline

หลังจากที่เราไดเพ่ิมไฟลมีเดีย เชน วิดีโอและภาพนิ่งเขามาในสวนของ Library แลว

ตอไปเราจะนําไฟลมีเดียมาใชงานในสวนของ Project Timeline ตามลําดับเรื่องราวที่ตองการ เร่ิมจากไฟลวิดีโอหรือรูปภาพนิ่งก็ได เพียงเปลี่ยนโหมดการเลือกจากสวนของ Library

1 แดรกเมาสนําคลิปวิดีโอเขามาใชงาน

2 ไฟลวิดีโอถูกนําเขามาใชงาน

Page 2: หน่วยที่ 3 การตัดต่อและแก้ไขไฟล์วิดีโอ (Edit)

13

3 ดึงไฟลวิดีโอเขามาใชงานตามลําดับ

การเพิ่มไฟลมีเดียที่นํามาใชใน Project Timeline สามารถเพิ่มไดทั้งไฟลวิดีโอ ภาพนิ่ง

และภาพพื้นสีตางๆ

2. การกําหนดคาตางๆ ในสวนของ Options Panel

การกําหนดคาตางๆ ในสวนของ Options Panel นั้นจะแตกตางกันไปในการเลือกไฟลมีเดียเขามาใช เชน คลิปวิดีโอ ก็จะตองไปกําหนดในแท็บของ Video สําหรับภาพนิ่งตองไปกําหนดใน

แท็บของ Image แตการที่จะกําหนดได จําเปนตองดึงไฟลมีเดียมาลงในสวนของ Project Timeline กอนเสมอ แท็บ Video เมื่อคลิกท่ีคลิปวิดีโอในสวนของ Project Timeline แลว แท็บ Options Panel จะแสดงแท็บ Video

Page 3: หน่วยที่ 3 การตัดต่อและแก้ไขไฟล์วิดีโอ (Edit)

14

กลุมคําสั่ง/รปูสัญลักษณ ความหมาย

จะแสดงเวลาของคลิปวิดีโอ

ปรับระดบัเสียงคลิปวิดีโอ

ปดเสียงคลิปวดิีโอ

กําหนดใหเสียงคอยๆ ดังหรือคอยๆ เบาลง

จับภาพวิดโีอใหเปนภาพนิ่ง

Split Audio แยกเสียงออกจากคลิปวดิีโอ

ตัดแบงวิดโีอออกเปน Scene

ตัดแบงวิดโีอเฉพาะสวนทีต่องการ

กําหนดใหเลนวิดีโอยอนจากสวนทายมาหาสวนหนา

กําหนดความเร็วในการแสดงผลวิดีโอ

กําหนดความสวางและเปลีย่นแปลงสีของวิดีโอ

หมุนวิดีโอไปทางซายหรือขวา 90 องศา

แท็บ Image เมื่อคลิกท่ีภาพนิ่งในสวนของ Project Timeline แลว แท็บ Options Panel จะแสดงแท็บ Image

รูปสัญลักษณ ความหมาย

จะแสดงเวลาของภาพนิ่ง

หมุนภาพนิ่งไปทางซายหรือขวา 90 องศา

กําหนดความสวางและเปลีย่นแปลงสีของภาพนิ่ง

เลือกรูปแบบการแสดงผลภาพ 2 ตัวเลือก Keep aspect ratio = ใหแสดงภาพขนาดจริง Fit to Project size = ใหแสดงภาพเต็มจอแสดงผล

กําหนดใหใชเอฟเฟกต Pan & Zoom

Page 4: หน่วยที่ 3 การตัดต่อและแก้ไขไฟล์วิดีโอ (Edit)

15

แท็บ Color เมื่อคลิกท่ีภาพสีในสวนของ Project Timeline แลวแถบ Options Panel จะแสดงแท็บ Color ข้ึนมาใหกําหนดคาดังนี ้

รูปสัญลักษณ ความหมาย

จะแสดงเวลาของภาพสี

กําหนดส ี

แท็บ Attribute เม่ือคลิกท่ีคลิปวิดีโอในสวนของ Project Timeline แลวคลิกแท็บ Attribute แลวลาก Filter จากสวนของ Library มาวางไวในคลิปดังกลาว จากนั้นใหกําหนดคาตางๆ ในแท็บของ Attribute ดังนี้

Page 5: หน่วยที่ 3 การตัดต่อและแก้ไขไฟล์วิดีโอ (Edit)

16

รูปสัญลักษณ ความหมาย

กําหนดแทนที ่ Filter เกาดวย Filter ใหม

ช่ือ Filter ที่เลือกใช

สลับตาํแหนง Filter

ลบ Filter ออกจากคลิป

กําหนดคาเอฟเฟกตให Filter เพ่ิมเติม

ปรับขนาดและมุมของคลิป

กําหนดใหแสดงเสนกริดวัดระยะ

เมื่อคลิกเลือก Show grid lines ผลลัพธที่ไดคือ คลิปวิดีโอท่ีใส Filter จะแสดง

รายละเอียดเสนวัดระยะใหเห็นอยางชัดเจน เพ่ือชวยในการแกไขและปรับแตงคา Filter ใหแมนยําและแสดงผลออกมาสวยงาม ดังภาพตัวอยาง

3. การจัดเรียงคลิปวิดีโอ

เมื่อเรานําคลิปวิดีโอมาวางบน Project Timeline บางครั้งเราอาจจัดวางผิดตําแหนง เราสามารถที่จะจัดลําดับคลิปวิดีโอที่จัดวางไปแลวใหมไดดังนี ้

1 แดรกเมาสยายคลิปวิดีโอที่ตองการ

Page 6: หน่วยที่ 3 การตัดต่อและแก้ไขไฟล์วิดีโอ (Edit)

17

2 คลิปวิดีโอที่ถูกยายตําแหนงใหม

4. การลบคลิปวิดีโอ

ถาหากเรานําคลิปวิดีโอ ภาพนิ่ง หรือภาพสีมาวางผิด ก็สามารถที่จะลบจากสวน Project Timeline ได 2 วิธี คือ การลบออกจาก Project Timeline และการลบออกจาก Library วิธีที่ 1 ลบออกจาก Project Timeline คลิกขวาบนคลิปวิดีโอที่ตองการลบ แลวคลิกเลือก Delete หรือจะลบโดยการกดปุม <Delete> บนคียบอรดก็ได คลิปวิดีโอก็จะถูกลบออกจาก Project Timeline โดยทันที

วิธีที่ 2 ลบออกจาก Library

การลบคลิปวิดีโอออกจาก Library สามารถทําไดโดยคลิกขวาบนวิดีโอที่ตองการลบ แลว

เลือก Delete ยืนยันการลบดวยการคลิกปุม OK คลิปวิดีโอนั้นจะถูกลบออกจาก Library โดย

ทันที แตคลิปวิดีโอนั้นยังมีเก็บไวในฮารดดิสก

Page 7: หน่วยที่ 3 การตัดต่อและแก้ไขไฟล์วิดีโอ (Edit)

18

5. การตรวจสอบคุณสมบตัิของคลิปวิดีโอ

คลิปวิดีโอที่ไดมานั้นอาจจะมีความแตกตางกันทั้งความคมชัดและรูปแบบของไฟล ในหัวขอ

นี้ เราจึงมาตรวจสอบรายละเอียดตางๆ ของคลิปวิดีโอกัน

1 คลิกขวาบนคลิปวิดีโอ

2 คลิกเลือก Properties

3 ตรวจรายละเอียดตางๆ ของคลิปวิดีโอ

4 คลิกปุม OK

เราสามารถตรวจสอบรายละเอียดตางๆ ของคลิปวิดีโอไดอีกวิธี โดยคลิกขวาที่คลิปวิดีโอ

> Properties

Page 8: หน่วยที่ 3 การตัดต่อและแก้ไขไฟล์วิดีโอ (Edit)

19

6. เทคนิคการตัดวิดีโอ

การตัดวิดีโอนั้นนิยมตัดกัน 2 แบบ คือ แบบแรกตัดสวนที่ไมตองการทิ้ง สวนแบบที่สอง

ตัดออกเปนสวนๆ เพ่ือแยกคลิปวิดีโอที่ยาวๆ ใหส้ันลง จึงงายสําหรับนําไปตัดตอ

1) การตัดวิดีโอสวนที่ไมตองการ ข้ันตอนการตัดวิดีโอแบบตัดสวนที่ไมตองการออกไปนั้น สวนมากแลวจะตัดสวนที่

เร่ิมตน เชน หัวมวนเทป และตัดสวนปลาย เชน ปลายมวนเปนเทปเกาติดงานอื่นอยู ดังนั้น จึง

จําเปนตองตัด 2 สวนออก 2) การตัดวิดีโอออกเปนสวนๆ การตัดวิดีโอออกเปนสวนๆ หัวใจหลักเปนการแบงซอยคลิปวิดีโอที่มีความยาวมากๆ

ออกโดยการใชเคร่ืองมือ Cut Clip ซึ่งมีสัญลักษณเหมือนกรรไกร เพ่ือใหงายในการนําคลิปยอย

ดังกลาวไปใชในงานตัดตอ

7. การแยกเสียงออกจากคลิปวิดีโอ

โปรแกรม VideoStudio Editor มีความสามารถในการแยกเสียงออกจากคลิปวิดีโอ ซึ่งเปน

ผลดีมากสําหรับงานตัดตอที่ตองการนําเสียงออกมาปรับแตงเพ่ิมเติมซึ่งจะชวยใหเสียงที่ไดมีคุณภาพ

มากยิ่งข้ึน ใหเลือกคลิปวิดีโอ แลวแยกเสียงออกจากคลิปวิดีโอโดยใชคําส่ัง Split Audio

8. การแบงวิดีโอออกเปน Scene

Scene คือ การแบงวิดีโอจากการถายออกเปนหลายๆ คลิป เชน ถาถายวิดีโอเพื่อนๆ แลว

กดปุม Record เพ่ือหยุด หลังจากนั้นก็เปล่ียนไปถายวิวทิวทัศนตอ ซึ่งสวนนี้โปรแกรมจะแบง

ออกเปน 2 สวน หรือเรียกวา 2 Scene นั่นเอง

หากเรารูสึกวาโปรแกรมแยก Scene มากเกินไป เราก็สามารถรวม Scene เขาไวดวยกัน

ซึ่งจะรวม Scene นั้นเขากับ Scene กอนหนา ดังตัวอยาง

Page 9: หน่วยที่ 3 การตัดต่อและแก้ไขไฟล์วิดีโอ (Edit)

20

9. การกําหนดความเร็วในการแสดงผลวิดีโอ

งานตัดตอวิดีโอบางครั้งก็ตองเพ่ิมลูกเลนใหบาง เพ่ือใหภาพรวมออกมาดูแลวสนุกหรือสราง

บรรยากาศใหดูโรแมนติก ที่กลาวไปถาจะใหสนุกก็จะตองเพ่ิมความเร็วใหคลิปวิดีโอ แตถาสราง

บรรยากาศโรแมนติกก็จะตองลดความเร็วใหคลิปวิดีโอ

การกําหนดความเร็วในการแสดงผลวิดีโอ ในหัวขอนี้จะมาลดความเร็วในการแสดงผล ใหคลิปวิดีโอนี้ข่ีจักรยานแบบชาๆ ก็จะได

อารมณโรแมนติกไปอีกแบบ

2 คลิกที่ Playback Speed

1 คลิกเลือกคลิปวิดีโอที่

ตองการกําหนดความเร็ว

2 เล่ือนแถบสไลดบารไปที่ตําแหนง Slow

คลิกปุม Preview เพื่อดูตัวอยาง 4

แสดงตัวอยางที่ปรับความเร็วแลว 5

Page 10: หน่วยที่ 3 การตัดต่อและแก้ไขไฟล์วิดีโอ (Edit)

21

เม่ือเราไดตัดตอหรือเปล่ียนแปลงคาตางๆ ของคลิปวิดีโอไปแลวพอสมควร ข้ันตอนตอไปที่

จําเปนตองทํา คือ การบันทึกคลิปวิดีโอสวนที่แกไขไปแลวเก็บไวกอน เราสามารถทําไดโดย

การบันทึกคลิปวิดีโอจากการตัดตอ

การกําหนดความเร็วในงานวิดีโอ จะมีผลตอขนาดไฟลของคลิปวิดีโอนั้น ซึ่งหมายความวา

หากลดความเร็วของคลิปวิดีโอ คลิปวิดีโอนั้นก็จะชาลง ไฟลก็จะมีขนาดใหญข้ึนดวย ตรงกันขาม

กับการเพิ่มความเร็วใหคลิปวิดีโอ คลิปวิดีโอนั้นก็จะเร็วข้ึน ขนาดไฟลจึงเล็กลง

10. การบันทึกคลิปวิดีโอจากการตัดตอ

คลิกปุม Stop เพื่อหยุดการดูตัวอยาง 6

7 คลิกปุม OK

2 คลิกเมนู Clip>Save Trimmed Video

1 คลิกเลือกคลิปวิดีโอที่ตองการบันทึก

Page 11: หน่วยที่ 3 การตัดต่อและแก้ไขไฟล์วิดีโอ (Edit)

22

โปรแกรมกําลังบันทึกคลิปวิดีโอ 3 11. การจับภาพวิดีโอเปนภาพนิ่ง

การตัดตอวิดีโอบางครั้งเราจําเปนตองการภาพนิ่งจากคลิปวิดีโอ เพ่ือนําไปใชงานอ่ืนๆ เชน

การทําปกหรือสกรีนซีดี เราก็สามารถจับภาพนิ่งดวยโปรแกรม VideoStudio Editor ได ข้ันตอนก็ไมยุงยาก เพียงแตภาพที่ไดจะไมคมชัดเหมือนกับการถายภาพนิ่งจากกลองดิจิตอล โดยจะตอง

เลือกภาพวิดีโอที่ตองการนํามาเปนภาพนิ่ง แลวจึงจับภาพดวยคําส่ัง Save as Still Image

การจับภาพวิดีโอเปนภาพนิ่ง

คลิก Save as Still Image 3

2 เล่ือน Jog Slider ไปตรงตําแหนงที่ตองการจับภาพ

1 คลิกเลือกคลิปวิดีโอที่ตองการ

4 ภาพนิ่งที่จับไดและนํามาเก็บไวใน Library

12. ปรับแตงวิดีโอและภาพนิ่งใหนาสนใจดวย Filter

การที่เราจะใส Filter เพ่ือเพ่ิมความนาสนใจใหกับคลิปวิดีโอและภาพนิ่ง Filter ที่จะ

นํามาใชงานมีดวยกันหลายรูปแบบ เชน ทําใหภาพเบลอ ทําใหภาพสวางข้ึน และทําใหเปนฟองน้ํา

เปนตน ซึ่งเมื่อใส Filter ใหงานวิดีโอและภาพนิ่งแลว ก็ยังสามารถที่จะปรับแตงรายละเอียดของ Filter ที่ใสไปไดอีกตามความพอใจ

Page 12: หน่วยที่ 3 การตัดต่อและแก้ไขไฟล์วิดีโอ (Edit)

23

ใส Filter ใหคลิปวิดีโอ เปนการดึง Filter จาก Filter Library มาใสใหคลิปวิดีโอตามความเหมาะสมใหเขากับ

อารมณในการตัดตอวิดีโอ

คลิกเลือก Video Filter จาก Gallery 1

นํา Filter มาใสบนคลิปวิดีโอที่ตองการ 2

Page 13: หน่วยที่ 3 การตัดต่อและแก้ไขไฟล์วิดีโอ (Edit)

24

คลิปวิดีโอที่ใส Filter จะแสดงขึ้นมา 3

เลือกรูปแบบยอยของ

Filter ประเภทนั้น

คลิกที่ Customize Filter

ใส Filter ใหภาพนิ่ง การใส Filter ใหภาพนิ่งก็เหมือนกับการใส Filter ใหคลิปวิดีโอ จะตางกันก็ตรงที่คลิป

วิดีโอมีการเคลื่อนไหวได

4 5

6 ปรับแตง Filter ตามความตองการ

7 แสดงตัวอยางเปรียบเทียบการปรับแตง Filter

8 เมื่อเสร็จแลวใหคลิกปุม OK

Page 14: หน่วยที่ 3 การตัดต่อและแก้ไขไฟล์วิดีโอ (Edit)

25

คลิกเลือกภาพนิ่งที่จะ

นํามาใส Filter 1

นํา Filter มาใสบนภาพนิ่งที่ตองการ 2

3 ภาพนิ่งที่ใส Filter จะแสดงขึ้นมา

Page 15: หน่วยที่ 3 การตัดต่อและแก้ไขไฟล์วิดีโอ (Edit)

26

5 คลิกที่ Customize Filter

4 เลือกรูปแบบยอยของ Filter ประเภทนั้น

ปรับแตง Filter ตามความตองการ 6

แสดงตัวอยางเปรียบเทียบการปรับแตง Filter 7

เมื่อเสร็จแลวใหคลิกปุม OK 8

หลังจากใส Filter ไปแลวเราสามารถที่จะปรับแตงคาตางๆ เพ่ิมไดอีก แตถาไมตองการ

เราก็สามารถลบทิ้งได โดยคลิกปุม Delete Filter

13. การใชงานรูปภาพสี Color Clip

การนําภาพพ้ืนสีเขามาใชงาน นิยมนํามาใชรวมกับงานวิดีโอ เชน การสรางไตเติลหนัง

หรือ Credit หนังตอนจบ แตตองใชงานรวมกับขอความ (Title)

Page 16: หน่วยที่ 3 การตัดต่อและแก้ไขไฟล์วิดีโอ (Edit)

27

การใชงานภาพพื้นสี เปนการเรียกใชภาพพ้ืนสีจาก Gallery โดยคลิกเลือก Color แลวจึงดึงภาพพ้ืนสีเขามาใชงาน

และสามารถปรับแตงสีไดตามตองการ ทําใหงานตัดตอมีความหลากหลายมากขึ้น

คลิกเลือก Color จาก Gallery 1

แดรกเมาสนําภาพพื้นสีมาใสใน Storyboard 2

แสดงภาพพื้นสีที่นํามาใชงาน 3

Page 17: หน่วยที่ 3 การตัดต่อและแก้ไขไฟล์วิดีโอ (Edit)

28

คลิกแท็บ Title จาก Step Panel 4

ดับเบิลคลิกเพ่ือเขียนขอความที่

ตองการ 5

จุดเริ่มเขียนขอความ 6

ขอความที่เขียนเสร็จแลว 7

คลิกปุม Play ทดลองเลน 8

Page 18: หน่วยที่ 3 การตัดต่อและแก้ไขไฟล์วิดีโอ (Edit)

29

14. การแปลงไฟลวิดีโอใหเปนฟอรแมตตางๆ

ข้ันตอนการแปลงไฟลวิดีโอใหเปนไฟลวิดีโอในฟอรแมตตางๆ เชน AVI, MPEG, DAT, VOB, MP4 หรือ WMV ฯลฯ เหมาะสําหรับการแปลงไฟลจากชนิดหนึ่งไปเปนอีกชนิดหนึ่งโดยไม

ตองดึงเขามาในโปรแกรมตัดตอใหเสียเวลา

การแปลงไฟลวิดีโอใหเปนฟอรแมตตางๆ

คลิกเมนู Tools>Batch Convert 1

คลิกปุม Add 2

คลิกเลือกคลิปวิดีโอ 3

คลิกเลือกคลิปวิดีโอ 4

Page 19: หน่วยที่ 3 การตัดต่อและแก้ไขไฟล์วิดีโอ (Edit)

30

คลิปวิดีโอจะถูกนําเขามาในโปรแกรม 5

คลิกปุม Options 6

คลิกเลือก Save to Library 7

คลิกแท็บ Compression 8

ปรับคาตางๆ ของคลิปวิดีโอ 10

คลิกปุม OK 11