18
หมอนรองกระดูกคอเสื่อม (Cervical Spondylosis) นพ.ธเนศ วรรธนอภิสิทธิ

หมอนรองกระดูกคอเสื่อม (Cervical Spondylosis)

Embed Size (px)

DESCRIPTION

หมอนรองกระดูกคอเสื่อม (Cervical Spondylosis)

Citation preview

Page 1: หมอนรองกระดูกคอเสื่อม (Cervical Spondylosis)

หมอนรองกระดูกคอเสื่อม (Cervical Spondylosis)

นพ.ธเนศ วรรธนอภิสิทธิ์

Page 2: หมอนรองกระดูกคอเสื่อม (Cervical Spondylosis)

โรคกระดูกคอเสื่อม เป็นโรคที่พบบ่อยในคนสูงอายุ พบว่า อุบัติการณ์ของโรคนี้ประมาณ 50% ในคนที่อายุมากกว่า 50ปี อาการที่เกิดจากโรคกระดูกเสื่อมได้แก่ อาการปวดต้นคอ (axial neck pain) อาการการกดทับเส้นประสาท (radicular pain) อาการการกดทับไขสันหลัง(myelopathy) และอาการอื่น ๆ เช่น การกลืนล าบาก การกดทับเส้นเลือดแดง(cerlebrobasilar insufficuncy)

Page 3: หมอนรองกระดูกคอเสื่อม (Cervical Spondylosis)

รูปแสดงลักษณะทางกายวิภาคของกระดูกสันหลังส่วนคอที่มีไขสันหลังและเส้นประสาทอยู่ภายในช่องกระดูกสันหลัง

Page 4: หมอนรองกระดูกคอเสื่อม (Cervical Spondylosis)

อาการปวดต้นคอ (Axial Neck Pain)ผู้ป่วยจะมีอาการปวดบริเวณต้นคอหรือบริเวณสะบัก รู้สึกว่าคอแข็งและเคลื่อนไหวคอได้น้อยลง บางครั้งอาจมีอาการปวดศีรษะบริเวณท้ายทอยหรือบริเวณขมับร่วมด้วย สาเหตุของอาการปวดต้นคอเชื่อว่ามาจากการเสื่อมของหมอนรองกระดูก อาการปวดจะแย่ลงเม่ือมีการขยับเคลื่อนไหวคอโดยเฉพาะท่าเงยศีรษะ อาการปวดจะดีขึ้นเมื่อพักอาการการกดทับเส้นประสาท (Radiculopathy)ผู้ป่วยจะมีอาการปวดร้าวจากคอลงไปท่ีแขน มีอาการชาและกล้ามเน้ืออ่อนแรงตามเส้นประสาทท่ีถูกกดทับ อาการจะเป็นมากขึ้นเม่ือเงยคอและเอียงคอไปด้านที่มีอาการ (spurling sign) สาเหตุเกิดจากกระดูกงอก (spur) หรือหมอนกระดูกแตกไปกดทับเส้นประสาท แต่ก็อาจเกิดจากสาเหตุอื่นที่กดทับเส้นประสาทเช่นการติดเชื้อ หรือเนื้องอก เป็นต้นอาการกดทับไขสันหลัง(Myelopathy)ผู้ป่วยจะมีอาการอ่อนแรงของขา มีความผิดปกติของการเดิน มีการเกร็งของขา บางครั้งอาจมีอาการปวดคอ และอาการอ่อนแรงของแขนร่วมด้วย สาเหตุเกิดจากการกดทับไขสันหลังจาก

หมอนรองกระดูก กระดูกงอก ข้อต่อฟาเลทที่เส่ือม

Page 5: หมอนรองกระดูกคอเสื่อม (Cervical Spondylosis)

รูปแสดงลักษณะกล้ามเนื้อบริเวณสะบัก,หัวไหล่และมือข้างขวาฝ่อลีบในผู้ป่วยโรคกระดูกคอเสื่อมกดทับไข สันหลังและเส้นประสาท

Page 6: หมอนรองกระดูกคอเสื่อม (Cervical Spondylosis)

การตรวจวินิจฉยัในรายที่สงสยั โรคหมอนรองกระดูกคอเสือ่ม การตรวจภาพถ่ายทางรังสีของกระดูกคอ (plain radiography) จะพบว่ามีการแคบลงของหมอนรองกระดูก กระดูกงอก(osteophyte) การเสื่อมของข้อต่อฟาเลท (facet osteophyte) และกระดูกคอเคลื่อน (subluxation) แต่ไม่สามารถเห็นรายละเอียดของหมอนรองกระดูก เส้นประสาทและไขสันหลังได้

การตรวจ MRI (Magnetic Resonance Imaging) เป็นการตรวจโดยใช้คลื่นแม่เหลก็ไฟฟ้า วิธีนี้จะให้ความแม่นย าในการตรวจที่สูง สามารถเห็นรายละเอียดของหมอนรองกระดูก เส้นประสาท และไขสันหลังได้ดี แต่ราคาค่อนข้างแพงการตรวจโดยการกระตุ้นเส้นประสาทด้วยไฟฟ้า (EMG, NCV) ใช้ชว่ยในการวินิจฉัยแยกโรคของความผิดปกติของเส้นประสาท และต าแหนง่ที่เส้นประสาทถูกกดทับได้

Page 7: หมอนรองกระดูกคอเสื่อม (Cervical Spondylosis)

การรักษา

ในรายที่อาการไม่มากและเป็นมาไม่นาน ควรรักษาโดยไม่ผ่าตัดก่อน โดยเป้าหมายของการรักษา คือ ลดอาการปวด ฟื้นฟูสมรรถนะของกล้ามเนื้อและป้องกันการกลับเป็นซ้ า

การรักษาโดยวิธอีนุรักษ์นิยม (Nonoperative treatment)

รักษาโดยให้ยาแก้ปวดระงับการอักเสบ (NSAIDS) ยาคลายกล้ามเนื้อ วิตามินบ ารุงเส้นประสาท การจ ากัดการเคลื่อนไหวของคอ การใส่ปลอกคอ การท ากายภาพบ าบัดวิธีต่าง ๆ เช่น การประคบร้อน การท า Ultrasound และการดึงคอ การบริหารกล้ามเนื้อรอบต้นคอแบบ isometric exercise การฉีดยา steroid บริเวณข้อต่อฟาเล็ท บริเวณรอบ ๆ เส้นประสาทเพื่อลดการอักเสบของเส้นประสาท

Page 8: หมอนรองกระดูกคอเสื่อม (Cervical Spondylosis)

การรักษาโดยวิธผี่าตัด (Operative treatment)

มีข้อบ่งชี้ในการรักษาโดยการผ่าตัด คือ รักษาโดยวิธีไม่ผ่าตัดแล้วไม่ดีขึ้น มีอาการกดทับทางระบบประสาทรุนแรงขึ้น อาการที่เกิดขึ้นรบกวนการใช้ชีวิตประจ าวันและการท างาน

การผ่าตัดโดยทั่วไปมี 2 วิธีคือ วิธีการผ่าตัดจากทางด้านหน้า ท าโดยผ่าตัดเอาหมอนรองกระดูกและกระดูกงอกที่กดทับเส้นประสาทและไขสันหลังออก จากนั้นใช้กระดูกบริเวณเชิงกรานหรือบริเวณขา ใส่เข้าไปในบริเวณที่เป็นหมอนรองกระดูกเพื่อเช่ือมกระดูกคอ และดามกระดูกด้วยโลหะเพื่อป้องกันการเคลื่อนของกระดูก

ส่วนวิธีการผ่าตัดจากทางด้านหลังใชใ้นรายที่มีการกดทับเส้นประสาทระดับเดียวหรือหลายระดับ การกดทับไขสันหลังตั้งแต่ 3 ระดับขึ้นไป การกดทับไขสันหลังเนื่องจากโพรงกระดูกคอแคบมาแต่ก าเนิด (Congenital Canal Stenosis)

Page 9: หมอนรองกระดูกคอเสื่อม (Cervical Spondylosis)

รูปแสดงขั้นตอนการผ่าตัดเอาหมอนรองกระดูกออกและเช่ือมกระดูกคอ

Page 10: หมอนรองกระดูกคอเสื่อม (Cervical Spondylosis)

รูปการผ่าตัดเอาหมอนรองกระดูกออกและเช่ือมกระดูกคอ

Page 11: หมอนรองกระดูกคอเสื่อม (Cervical Spondylosis)

ผู้ป่วยชายไทยมีอาการปวดเสียวชาแขนขวา มีกล้ามเนื้อสะบักและหัวไหล่ฝ่อลีบไม่สามารถยกแขนขวาได้ MRIพบมีหมอนรองกระดูกคอข้อที่4-5แตกกดทับเส้นประสาทข้างขวา

Page 12: หมอนรองกระดูกคอเสื่อม (Cervical Spondylosis)

หลังผ่าตัดเอาหมอนรองกระดูกที่แตกออก ผู้ป่วยสามารถยกแขนขวาได ้

Page 13: หมอนรองกระดูกคอเสื่อม (Cervical Spondylosis)

รูป X-rayและMRIในผู้ป่วยที่มีหมอนรองกระดูกคอแตกกดทับไขสันหลังตั้งแต่ข้อที่2-6

Page 14: หมอนรองกระดูกคอเสื่อม (Cervical Spondylosis)

รูปX-ray หลังผ่าตัดเอาหมอนรองกระดูกออกและยึดดามกระดูกด้วยโลหะ

Page 15: หมอนรองกระดูกคอเสื่อม (Cervical Spondylosis)

รูปแสดง X-rayและMRIในผู้ป่วยที่มีกระดูกงอกกดทับไขสันหลัง(OPLL)

Page 16: หมอนรองกระดูกคอเสื่อม (Cervical Spondylosis)

รูปแสดงการผ่าตัดขยายช่องกระดูกสันหลัง Open Door Laminoplasty

Page 17: หมอนรองกระดูกคอเสื่อม (Cervical Spondylosis)

รูป MRIในผู้ป่วยที่มีกระดูกงอกกดทับไขสันหลังทางด้านหน้าและด้านหลัง(OPLL&OYL)

Page 18: หมอนรองกระดูกคอเสื่อม (Cervical Spondylosis)

รูปX-ray หลังผ่าตัด laminectomyและยึดดามกระดูกด้วยโลหะ และกระดูก laminarที่มีกระดูกงอกOYL