31
หนวยที่ 12 งานการใช CSS

การใช้ CSS

Embed Size (px)

DESCRIPTION

อธิบายการใช้งาน CSS

Citation preview

Page 1: การใช้ CSS

หนวยที่ 12งานการใช CSSงานการใช CSS

Page 2: การใช้ CSS

รูจกั รูจกั รูจกั รูจกั CSSCSSCSSCSS

• แนวคิดของ CSS ก็คือ สมมุติวาผมกําหนดให Style A หมายถึง Font MS Sans Serif ขนาด 10px และมีสีดํา ทุกๆตําแหนงที่ผมใช Font MS Sans Serif ขนาด 10px และมีสีดํา ทุกๆตําแหนงที่ผมใช Style A ก็จะมีรูปแบบตัวอักษรเปนแบบนั้นหมด

Page 3: การใช้ CSS

• CSS CSS CSS CSS ยอมาจาก ยอมาจาก ยอมาจาก ยอมาจาก Cascading Style SheetsCascading Style SheetsCascading Style SheetsCascading Style Sheets

• CSS CSS CSS CSS จะชวยเขามาควบคุมลักษณะตางๆภายใน HTML ใหงายขึ้น

• โดยปกติคุณสมลักษณะของ HTML จะถูกเก็บไวที่ CSS เพื่อความสะดวกในการจัดการจัดการ

• CSS จะชวยเขามาแกปญหาความยุงยากใน HTML

• CSS จะชวยใหงานที่มีขนาดใหญควบคุมไดงายดาย

• สามารถใชงาน CSS ไดงายดาย เพียงแคประกาศเรียกใชงานสั้นๆ

• สามารถใชหลากหลายคุณลักษณะผาน CSS เพียงแคไฟลเดียว

Page 4: การใช้ CSS

ตาํแหนงในการกาํหนดสไตลตาํแหนงในการกาํหนดสไตลตาํแหนงในการกาํหนดสไตลตาํแหนงในการกาํหนดสไตลชีทชีทชีทชีทวธิทีี่ วธิทีี่ วธิทีี่ วธิทีี่ 1 1 1 1 การกาํหนดสไตลการกาํหนดสไตลการกาํหนดสไตลการกาํหนดสไตลชทีชทีชทีชทีแบบแบบแบบแบบ EmbeddingEmbeddingEmbeddingEmbedding

เปนการกําหนดสไตลชทีฝงไวในไฟลโคด HTML โดยเราสามารถกําหนดไวในสวนตางๆ ดังนี้

# สวนหวั# สวนหวั

เปน การประกาศ CSS ไวระหวางแทก <head>...</head> ใน HTML ซึ่งการใชรูปนี้จะเปนตนแบบของแทกที่ถูกกําหนด ใหเปนลักษณะเหมือนกัน

Page 5: การใช้ CSS

รูปแบบ

<head>

<style type = "text/css">

<!- -<!- -

html tag {Property : Value;}

- ->

</style>

</head>

Page 6: การใช้ CSS

#### ในในในในแทก็แทก็แทก็แทก็แบบแบบแบบแบบ lnlinelnlinelnlinelnline

เปนการกําหนด CSS ไวในแทกของ HTML โดยใชแอททริบิวต "Style" ซึ่งการกําหนดในลักษณะนี้จะสงผลเฉพาะขอมูลในแทกเทานั้น"Style" ซึ่งการกําหนดในลักษณะนี้จะสงผลเฉพาะขอมูลในแทกเทานั้น

รูปแบบ

<html tag style = "Property : Value;"> </html tag>

Page 7: การใช้ CSS

วธิทีี่ วธิทีี่ วธิทีี่ วธิทีี่ 2 2 2 2 การกาํหนดสไตลการกาํหนดสไตลการกาํหนดสไตลการกาํหนดสไตลชทีชทีชทีชทีแบบ แบบ แบบ แบบ LinkingLinkingLinkingLinking

เปนการกําหนดสไตลชทีไวในอีกไฟลหนึ่ง ซึ่งเปนไฟลกลางและเปนไฟลที่มีสวนขยายหรอืนามสกุลเปน .css สวนในไฟล HTML จะมีการใชแท็ก <link> เพื่อเชื่อมโยงหรืออางถึงไฟลที่เก็บสไตลชีทอีกทีหนึ่ง การใชวิธีนี้จะชวยใหเมื่อเราแกไขที่ไฟลนี้แลว จะมีผลกับทุกไฟลที่ link อยู เมื่อเราแกไขที่ไฟลนี้แลว จะมีผลกับทุกไฟลที่ link อยู

รูปแบบ

<head>

<link rel = "stylesheet" href = "Filename .css" type = "text/css" />

</head>

Page 8: การใช้ CSS

วธิทีี่ วธิทีี่ วธิทีี่ วธิทีี่ 3 3 3 3 การการการการกาํหนดสไตทชทีกาํหนดสไตทชทีกาํหนดสไตทชทีกาํหนดสไตทชทีแบบ แบบ แบบ แบบ ImportImportImportImport

เปนการกําหนดสไตทชทีไวในอีกไฟลหนึ่งที่มีนามสกุลเปน .css แยกตางหางจากไฟล HTML สวนไฟล HTML จะดึงขอกําหนดเหลานั้นมาใชดวยแท็กคําสัง่ @import วิธีการนี้มีลักษณะคลายๆ กับวิธีการกําหนดสไตทชีทแบบ Link ตางกันเพียงวิธีการ @import ในไฟล HTML ตองสรางดวยแท็กคําสัง่ @import วิธีการนี้มีลักษณะคลายๆ กับวิธีการกําหนดสไตทชีทแบบ Link ตางกันเพียงวิธีการ @import ในไฟล HTML ตองสรางแท็ก <style>…</style> ไวรองรับ และสามารถกําหนด สไตทเฉพาะที่ใชในเพจนี้เพิ่มไดถาตองการ โดยมีตัวอยางวธิีการเรยีกใชและรูปแบบดังนี้

Page 9: การใช้ CSS

รูปแบบ

<head>

<style>

<!--<!--

@import url("Filename.css");

-->

</style>

</head>

Page 10: การใช้ CSS

การกาํหนดลกัษณะพืน้หลงัการกาํหนดลกัษณะพืน้หลงัการกาํหนดลกัษณะพืน้หลงัการกาํหนดลกัษณะพืน้หลงั

กาํหนดส ีกาํหนดส ีกาํหนดส ีกาํหนดส ีBackground Background Background Background ดวย ดวย ดวย ดวย CSSCSSCSSCSS

background-color: yellow /* กําหนดสีแบบใสชื่อไปเลย */

background-color: #00ff00 /* กาํหนดแบบ ใสรหัส*ี/background-color: #00ff00 /* กาํหนดแบบ ใสรหัส*ี/

background-color: transparent /* กําหนดแบบ พื้นใสๆ*/

background-color: rgb(250,0,255) /* กําหนดแบบ */

Page 11: การใช้ CSS

การกาํหนดลกัษณะตวัอักษรและขอความการกาํหนดลกัษณะตวัอักษรและขอความการกาํหนดลกัษณะตวัอักษรและขอความการกาํหนดลกัษณะตวัอักษรและขอความColorColorColorColor

เปนคุณสมบัติทีใชในการกาํหนดสีใหขอความ เชน

Color:red ใชชื่อสีเปนภาษาอังกฤษ

Color:#ff4467 ใชรหัสเลขฐานสิบหกColor:#ff4467 ใชรหัสเลขฐานสิบหก

Color:rgb(203,78,0) ใชรหัสเลขฐานสิบ

Color:rgb(0%,100%,0%) ใชรหัสเลขฐานสิบแบบคิดเปนเปอรเซ็นต

Page 12: การใช้ CSS

FontFontFontFont----familyfamilyfamilyfamilyเปนคุณสมบัติทีใชกําหนดฟอนตอักษรใหกับแท็กนั้นๆ เราสามารถ

กําหนดมากกวา 1 ฟอนตขึ้นไป เพื่อเปนตัวเลือกในกรณีที่เครื่องผูเยี่ยมชมมีฟอนตนอย ฟอนตตัวแรกไมมี ก็จะใชฟอนตตัวที่สองแทนชมมีฟอนตนอย ฟอนตตัวแรกไมมี ก็จะใชฟอนตตัวที่สองแทน

FontFontFontFont----family:AngsanalUPCfamily:AngsanalUPCfamily:AngsanalUPCfamily:AngsanalUPC, , , , LilyUPCLilyUPCLilyUPCLilyUPC, , , , CordiaUPCCordiaUPCCordiaUPCCordiaUPC

Page 13: การใช้ CSS

FontFontFontFont----sizesizesizesize

เปนคุณสมบัติที่ใชกําหนดขนาดของฟอนต ซึ่งมีคาตางๆ ที่สามารถกําหนดไดดังนี้

คา ความหมายXX-smallx-smallsmallmedium

กําหนดขนาดตามคําศัพท คลายกําหนดเบอรเสื้อจากเล็กสุดไลไปถึงใหญที่สุด

mediumlarge,x-largexx-largesmallerlargerlength%

กําหนดใหมีขนาดเลก็กวาขนาดฟอนตในแท็กพอกําหนดใหมีขนาดใหญกวาขนาดฟอนตในแท็กพอกําหนดเปนคาตัวเลขเจาะจง เชน 10px, 2 in, 3pcกําหนดเปนคาเปอรเซ็นตเทียบกับขนาดฟอนตในแท็กพอ เชน 200 % คือใหญขึ้น 2 เทา

Page 14: การใช้ CSS

Font –styleเปนคุณสมบัติที่ใชกําหนดรูปแบบของฟอนต มีคาที่เปนไปไดคือ normal

, oblique, italic

Font-style:normal แสดงตัวอักษรปกติFont-style:normal แสดงตัวอักษรปกติ

Font-style:oblique แสดงตัวอักษรเอียง 45 องศาง

Font-style:italic แสดงตัวอักษรเอียง

Page 15: การใช้ CSS

Font-variant เปนคุณสมบัติที่ใชกําหนดลักษณะตัวพิมพใหญใหภาษาอังกฤษมี 2

แบบคือ normal และ small-capsแบบคือ normal และ small-caps

Font-variant: narmal แสดงตัวอักษรปกติ

Font-variant: small-caps แสดงตัวอักษรเปนตัวพิมพใหญทั้งหมด

Page 16: การใช้ CSS

FontFontFontFont----weight:weight:weight:weight:เปนคุณสมบัติที่ใชกําหนดความหนาของตัวอักษร คาที่เปนไปไดคือ

normal,lighter,bold, bolder และคาตัวเลข 9 จํานวน คือ 100, 200, 300, 400, 500, 600, 700, 800, 900, โดยคา 100 มีขนาดเทากับคาnormal300, 400, 500, 600, 700, 800, 900, โดยคา 100 มีขนาดเทากับคาnormal

Font-weight: normal แสดงตัวอักษรปกติ

Font-weight: bold แสดงตัวอักษรหนา

Font-weight แสดงตัวอักษรหนามาก

Font-weight ไมสนับสนุนการระบุโดยใชหนวย

Page 17: การใช้ CSS

FontFontFontFontเปนคุณสมบัติรวม เราสามารถกําหนดหลายๆ คาคุณสมบัติพรอมกัน

โดยใชคุณสมบัตินี้

Font: oblique small-caps lighter:

Letter-spacing

เปนคุณสมบัติที่ใชกําหนดระยะหางของตัวอักษร ถาเปนคาลบ ตัวอักษรจะเปนคุณสมบัติที่ใชกําหนดระยะหางของตัวอักษร ถาเปนคาลบ ตัวอักษรจะอยูติดกัน ถาเปนคาบวก ตัวอักษรจะอยูหางกัน

<style type= “text/css”>

Span.highlight { letter-spacing: 2 px; background- color:yellow }

P { letter-spacing : 0.5 cm}

</style>

Page 18: การใช้ CSS

Text-align:เปนคุณสมบัติในการจัดเรียงขอความ มีคาเปนไปได คือ left ,right

,center, justify

Text-decorationText-decorationเปนคุณสมบัติในการตกแตงขอความ มีคาที่เปนไปได คือ none (ไม

ตกแตง) , underline (ขีดเสนใต) ,overline (ขีดเสนบนตัวอักษร) ,line-through (ขีดเสนครอมตัวอักษร) ,blink (กระพริบแตเลิกใชแลวเพราะสรางความรําคาญมากกวา)

Page 19: การใช้ CSS

TextTextTextText----indentindentindentindentเปนคุณสมบัติที่ใชในการกําหนดระยะของยอหนา สามารถกําหนดเปน

ตัวเลขเจาะจง หรือเปนคาเปอรเซ็นต

TextTextTextText----transformtransformtransformtransformTextTextTextText----transformtransformtransformtransformเปนคุณสมบัติที่ใชในการแปลงตัวอักษร มีคาคงที่เปนไปไดคือ none

(ไมมีการเปลี่ยนแปลง) capitalize (เปลี่ยนเฉพาะอักษรตัวแรกของคําเปนตัวพิมพใหญ) , uppercase (เปลี่ยนทุกตัวอักษรเปนตัวพิมพใหญ) , lowercase (เปลี่ยนทุกตัวอักษรเปนตัวพิมพเล็ก)

Page 20: การใช้ CSS

WhiteWhiteWhiteWhite----spacespacespacespaceเปนคุณสมบัติที่ใชในการจัดการชองวาง มีคาเปนไปได คือ normal (จะ

นับชองวางติดกนัทั้งหมดเปน 1 ชองวาง) ,pre (เหมือนการใชแท็ก <pre> คือชองวางที่ติดกันจะไมนับเปน 1 จะคงคาชองวางเดิมไว) , nowrap คือชองวางที่ติดกันจะไมนับเปน 1 จะคงคาชองวางเดิมไว) , nowrap (ไมขึ้นบรรทัดใหมจนกวาจะพบแท็ก <br>)

Page 21: การใช้ CSS

WordWordWordWord----spacingspacingspacingspacingคลาย letter-spacing แตใชจัดการระยะหางของคํา ถาเปนคาลบคําจะ

อยูติดกัน ถาเปนคาบวกคําจะอยูหางกัน

Page 22: การใช้ CSS

การเวนระยะเสนขอบการเวนระยะเสนขอบการเวนระยะเสนขอบการเวนระยะเสนขอบ

ในการจัดระเบียบเนื้อหา ถาเราตองการใหเนื้อหาเวนระยะจากเสนขอบ หรือใหเสนขอบมีการเวนระยะซึ่งกันและกัน เราใชคุณสมบัติ margin และ padding

1. margin-top:กําหนดคาใหหางจากดานบน;1. margin-top:กําหนดคาใหหางจากดานบน;

2. margin-left:กําหนดคาใหหางจากดานซาย;

3. margin-right:กําหนดคาใหหางจากดานขวา;

4. margin-bottom:กําหนดคาใหหางจากดานลาง;

Page 23: การใช้ CSS

Padding...Padding...Padding...Padding...1. padding-top:กําหนดคาใหหางจากดานบน;

2. padding-left:กําหนดคาใหหางจากดานซาย;

3. padding-right:กําหนดคาใหหางจากดานขวา;

4. padding-bottom:กําหนดคาใหหางจากดานลาง;

Page 24: การใช้ CSS

การกําหนดขนาดและตําแหนง

เราสามารถวางเนื้อหาแบบระบุตําแหนงเจาะจง หรือกําหนดขนาดความกวางของเนื้อหา โดยใชคุณสมบัติดังตอไปนี้

width width width width และ และ และ และ height:height:height:height:

รูปแบบ__ img {width:450px; height:230px}รูปแบบ__ img {width:450px; height:230px}

Page 25: การใช้ CSS

position:position:position:position: กําหนดตําแหนงของแท็ก กําหนดได 3 รูปแบบ คือ

static static static static ---- แสดงในตําแหนงที่ควรแสดง คุณสมบัตินี้ใชรวมกับ left และ top ไมไดไมได

relative relative relative relative - แสดงแท็กใหเลื่อนออกจากตําแหนงที่ควรแสดง โดยใชรวมกบั left และ top เพื่อระบุระยะที่จะเลื่อนออกไป

absoluteabsoluteabsoluteabsolute - แสดงแท็กในตําแหนงใดๆ ก็ไดตามตองการ โดยอางอิงจากบนซายของเอกสาร HTML

Page 26: การใช้ CSS

left, top, right left, top, right left, top, right left, top, right และ และ และ และ bottom:bottom:bottom:bottom:

ใชรวมกบั position เพื่อกําหนดตําแหนง โดยนับจากขอบแตละดานเขาไปตามคาที่กําหนดไว คาที่เปนไปได คือ auto (ใหบราวเซอรกําหนดคาที่เหมาะสมให), % (กําหนดเปนเปอรเซ็นตเทียบกับแท็กพอ) หรือกําหนดคาเหมาะสมให), % (กําหนดเปนเปอรเซ็นตเทียบกับแท็กพอ) หรือกําหนดคาเจาะจง เชน 20px

Page 27: การใช้ CSS

clip:clip:clip:clip: ใชตัดเนื้อหาบางสวนออกไป มีผลทําใหเนื้อหาสวนนั้นแสดงออกมาไม

ทั้งหมด แสดงใหเห็นเพียงบางสวนเทานั้น คือ แสดงผลเฉพาะสวนที่อนุญาติใหเห็นเทานั้น และคุณสมบัตินี้ใชรวมกับ position:absolute เสมอ อนุญาติใหเห็นเทานั้น และคุณสมบัตินี้ใชรวมกับ position:absolute เสมอ และตัดเนื้อหาไดในรูปทรงสี่เหลี่ยมเทานั้น (clip:rect)

Page 28: การใช้ CSS

overflow:overflow:overflow:overflow: ใชจํากัดขอบเขตขอมูลคลาย clip คือตัดบางสวนออกได แตสามารถดู

ขอมูลที่ถูกตัดออกไดโดยการใช scrollbar เพื่อเลื่อนดูขอมูลที่ซอนอยู คาที่เปนไปไดคือ

visible - แสดงขอมูลทั้งหมด แมขอมูลจะใหญกวาขอบเขตที่กําหนดไว

hidden - แสดงขอมูลในขอบเขตที่กําหนดเทานั้น สวนที่เกินจากนี้จะไมแสดงhidden - แสดงขอมูลในขอบเขตที่กําหนดเทานั้น สวนที่เกินจากนี้จะไมแสดงใหเห็น

scroll - แสดงขอมูลเหมือน hidden แตจะมี scrollbar เพิ่มขึ้นมา เพื่อใชดูขอมูลสวนที่ซอนอยู

auto - ปรับแบบอัตโนมัติ คือ ถาขอมูลใหญกวาขอบเขต จะไมแสดงสวนที่เกินแตจะแสดง scrollbar ให

Page 29: การใช้ CSS

vertical-align: คุณสมบัติที่มชจัดเรียงขอมูลในแนวตั้ง ดังตาราง

คา ความหมาย

baseline จัดในตําแหนงเสนฐานเดียวกับแท็กพอ

sub จัดเรียงเปนตัวหอย

super จัดเรียงเปนตัวยก

top จัดเรียงชิดขอบดานบนของวัตถุที่มีขอบสูงที่สุดในแถวtop จัดเรียงชิดขอบดานบนของวัตถุที่มีขอบสูงที่สุดในแถว

text-top จัดเรียงชิดขอบดานบนของตัวอักษรในแท็กพอ

middle จัดเรียงที่จุดกึ่งกลางของตัวอักษรในแท็กพอ

bottom จัดเรียงชิดขอบดานลางของวัตถุที่ขอบลางต่ําสุดในแถว

text-bottom จัดเรียงชิดขอบลางของตัวอักษรในแท็กพอ

length กําหนดเปนคาตัวเลขเจาะจง เชน 25px, 10in

% กําหนดเปนเปอรเซ็นตเทียบกับคาในคุณสมบัติ line-height

Page 30: การใช้ CSS

z-index: ใชจัดลําดับชั้นของขอมูล โดยกําหนดคาเปนแนว Z ซึ่งจะทําใหขอมูลมีการ

ซอนทับกัน สําหรับคาที่กําหนดไดคือ auto (กําหนดคาแกน Z ใหเทากับแท็กพอ และกําหนดคาแกน Z เปนตัวเลขบวกลบ โดยคาบวกจะไดขอมูลแท็กพอ และกําหนดคาแกน Z เปนตัวเลขบวกลบ โดยคาบวกจะไดขอมูลซอนอยูดานบน สวนคาลบจะซอนอยูดานลาง คุณสมบัติ z-index ตองใชรวมกับคุณสมบัติ position:absolute เสมอ

Page 31: การใช้ CSS