1
การศึกษาการพัฒนาการตรวจวิเคราะห์แบคทีเรียโดยเครื่องตรวจตะกอนปัสสาวะ UF รุ่น 500i โดยเปรียบเทียบกับวิธีมาตรฐาน (manual culture) กฤษฎา ศิริสภาภรณ์ สุภาพร พุ่มพา นริศรา มังกรแก้ว พนารัตน์ รัตนาคม อนันตพร ฉันท์ผ่อง และ พลากร พุทธรักษ์ งานห้องปฏิบัติการเทคนิคการแพทย์ โรงพยาบาลธรรมศาสตร์เฉลิมพระเกียรติ จังหวัดปทุมธานี บทคัดย่อ บทนา ภาวะติดเชื้อในระบบทางเดินปัสสาวะ ( Urinary Tract Infection; UTI) อาจก่อให้เกิดอันตรายต่อสภาพร่างกายและเสียชีวิตได้หากไม่ได้รับการรักษาอย่างทันท่วงที ดังนั้นจึงมีความจาเป็นต้องได้รับการตรวจวิเคราะห์ อย่างถูกต้อง แม่นยาและรวดเร็ว ปัจจุบันเทคโนโลยีการตรวจวิเคราะห์ตะกอนปัสสาวะด้วยเครื่องตรวจวิเคราะห์ตะกอนปัสสาวะอัตโนมัติ UF รุ่น 500i โดยใช้หลักการ fluorescent flow cytometry ในตรวจนับเม็ดเลือดขาว และ เซลล์แบคทีเรีย สามารถคัดกรองผู้ป่วยติดเชื้อในระบบทางเดินปัสสาวะ(UTI) จากปัสสาวะ โดยใช้ค่า cut off ของจานวนเม็ดเลือดขาว และเซลล์แบคทีเรียเป็นเกณฑ์ในการคัดกรองผู้ป่วยติดเชื้อในระบบทางเดินปัสสาวะ ซึ่งจาก ค่า cut off เดิมมีความไวและความจาเพาะไม่เหมาะสม จุดประสงค์ของงานวิจัยนี้ คือ การพัฒนาประสิทธิภาพการตรวจคัดกรองภาวะ UTI จากปัสสาวะ โดยหาค่า cut off ของจานวนเม็ดเลือดขาว และเซลล์แบคทีเรียทีเหมาะสม โดยเปรียบเทียบกับวิธีมาตรฐาน ( manual culture) จากการศึกษาพบว่า ค่า cut off ของ leukocyte count สาหรับคัดกรองภาวะ UTI คือ 94.40 cells /µl (ค่าความไว 73.90% (0.735-0.831) และค่าความจาเพาะ 80.06% (0.749 - 0.863)) และค่า cut off ของ bacteria count สาหรับคัดกรองภาวะ UTI 6.05 x10 4 cells/µl (ค่าความไว (sensitivity) 78.30% (0.735-0.831) และ ค่าความจาเพาะ 83.90% (0.791- 0.887) ) ตามลาดับ และ พบว่าเครื่องสามารถคัดกรอง UTI มีความไว 78.30% (0.722-0.844) และ ความจาเพาะ 66.70% (0.616-0.738) ตามลาดับ จาก ROC curve และมีค่า Positive Predictive Value (PPV), Negative Predictive Value (NPV) เท่ากับ 67.7% และ78.3% ตามลาดับ จากการศึกษาสรุปได้ว่า เครื่อง UF รุ่น 500i สามารถพัฒนาการคัดกรองภาวะ UTI ได้ดี อีกทั้งช่วยลดภาระงาน และค่าใช้จ่ายของทางห้องปฏิบัติการเทคนิคการแพทย์ได้ คาสาคัญ : urinary tract infection UF500i bacteria culture urinalysis ภาวะติดเชื้อในระบบทางเดินปัสสาวะ ( Urinary Tract Infection) ก่อให้เกิดพยาธิสภาพ ความ เจ็บปวดและความเสียหายต่อสภาพร่างกายอาจถึงขั้นเสียชีวิตได้หากไม่ได้รับการรักษาโดยเฉพาะอย่าง ยิ่งหากเชื้อก่อโรคเข้าไปในกระแสเลือด ( septicemia) ในปัจจุบันมีเทคโนโลยีการตรวจวิเคราะห์ตะกอน ปัสสาวะที่ทันสมัยมากขึ้นมาช่วยในการตรวจวิเคราะห์ให้มีประสิทธิภาพที่ดีขึ้น แม่นยามากขึ้น เครื่องตรวจวิเคราะห์ตะกอนปัสสาวะ UF500i (Sysmex Kobe, Japan) มีความสามารถตรวจวิเคราะห์ ตะกอนปัสสาวะโดยใช้หลักการ fluorescent flow cytometry ซึ่งสามารถตรวจวัดตะกอนปัสสาวะชนิด ต่างๆ ที่เรียงเดี่ยวผ่าน flow sheet ตรวจจับด้วยลาแสงชนิดต่างๆ กัน และวิเคราะห์ทั้งชนิดของเซลล์ และปริมาณออกมา นอกจากนี้ยังมีช่องตรวจนับปริมาณแบคทีเรีย และสีย้อมเซลล์แบคทีเรียโดยเฉพาะ อีกด้วย การประเมินภาวะติดเชื้อในระบบทางเดินปัสสาวะเบื้องต้น จาเป็นต้องประเมินปริมาณเม็ดเลือด ขาวและปริมาณแบคทีเรีย เพื่อให้สอดคล้องกับ criteria ของ UTI จึงต้องมีการพัฒนาปรับเปลี่ยนค่า cut off ให้มีค่าความไวและความจาเพาะมากขึ้น ให้เหมาะสมกับงานห้องปฏิบัติการ ดังนั้น ทางคณะผู้ศึกษา จึงต้องการศึกษาการพัฒนาประสิทธิภาพการตรวจวิเคราะห์แบคทีเรียโดยเครื่องตรวจวิเคราะห์ปัสสาวะ อัตโนมัติ UF รุ่น 500i เปรียบเทียบกับวิธี reference standard หรือ วิธี manual culture วัตถุประสงค์ของการศึกษา เพื่อศึกษาพัฒนาประสิทธิภาพการตรวจวิเคราะห์แบคทีเรียซึ่งเป็นสาเหตุของภาวะติดเชื้อในระบบทางเดินปัสสาวะ (urinary tract infection) โดยเครื่องตรวจวิเคราะห์ปัสสาวะอัตโนมัติ UF500i เปรียบเทียบกับวิธี reference standard หรือ วิธี manual culture วิธีการศึกษา ผลการศึกษา จากการศึกษาพัฒนาประสิทธิภาพการตรวจวิเคราะห์แบคทีเรียในปัสสาวะผู้ป่วยทั้งหมดจานวน 77 ราย ช่วงอายุตั้งแต่ 4 ปี ถึง 91 ปี เป็นเพศชาย 26 รายและเพศหญิง 51 ราย พบว่า เก็บปัสสาวะส่งตรวจที่แพทย์สงสัยภาวะติดเชื้อแบคทีเรียในระบบทางเดินปัสสาวะจากผู้ป่วย รูปที1 แสดง ROC curve แสดง cut-off ของ WBC count ความไว( sensitivity) และความจาเพาะ (specificity) ของการ screening UTI ทีwbc count 94.40 cells/µl., sensitivity 73.90% (0.735-0.831) และ specificity 80.60% (0.749 - 0.863) ตามลาดับ รูปที2 แสดง ROC curve แสดง cut-off ของ bacteria count ความไว( sensitivity) และ ความจาเพาะ ( specificity) ของการ screening UTI ทีbacteria count 6.05 x10 4 cells/µl., sensitivity 78.3% (0.735-0.831) และ specificity 83.90% (0.791- 0.887) ตามลาดับ รูปที3 แสดง ROC curve ความไว(sensitivity) และความจาเพาะ (specificity) ของการ screening UTI ด้วยเครื่องตรวจวิเคราะห์ปัสสาวะ อัตโนมัติ UF รุ่น 500i ที่ค่าความไว (sensitivity) 0.783 (0.722-0.844) และ ค่าความจาเพาะ 0.667 (0.616- 0.738) Namely Infection case % UTI Characteristics 1. Escherichia coli 25 32.47 Gram(-)rod 2. Pseudomonas aeruginosa 3. Candida albicans 4 4 5.19 5.19 Gram(-)rod 4. Mixed 3 Organism 3 3.90 5. Coagulase(-)Staphylococci 3 3.90 Gram(+)cocci 6. Enterococcus spp. 2 2.60 Gram(+)cocci 7. Klebsiella pneumoniae 1 1.30 Gram(-)rod 8. Citrobacter spp. 1 1.30 Gram(-)rod 9. Grop D Strepcocci not Enterococci 1 1.30 Gram(+)cocci 10. Enterobacter cloacae 1 1.30 Gram(-)rod 11. Yeast not albicans 1 1.30 Total 46 59.74 กิตติกรรมประกาศ ขอขอบคุณ ทนพ.อนุรักษ์ เชื้อมั่ง และ อาจารย์นิภาพร เทวาวงศ์ ที่ให้คาปรึกษาในงานวิจัยครั้งนีและ งานห้องปฏิบัติการเทคนิคการแพทย์ โรงพยาบาลธรรมศาสตร์เฉลิมพระเกียรติ จังหวัดปทุมธานี จากการศึกษาพบว่า ทางคณะผู้ศึกษาสามารถพัฒนาความไว และความจาเพาะ ของการตรวจวิเคราะห์ตะกอนปัสสาวะโดยเครื่องตรวจวิเคราะห์ ตะกอนอัตโนมัติ UF500i ได้เพิ่มขึ้นจากเดิม ซึ่งสามารถช่วยเพิ่มประสิทธิภาพการวิเคราะห์ภาวะติดเชื้อในระบบทางเดินปัสสาวะ ( UTI; Urinary Tract Infection) ของแพทย์ได้เป็นอย่างดี อีกทั้งยังช่วยลดภาระงานของผู้ปฏิบัติงานทางห้องปฏิบัติการเทคนิคการแพทย์ได้ดีอีกด้วย ซึ่งจากการศึกษาในครั้งนียังคงต้องพัฒนาความไวและความจาเพาะให้มากกว่านี้โดยการเพิ่มจานวนตัวอย่างให้มากขึ้นและดาเนินการต่อไปในอนาคต สรุปผลการศึกษาและวิจารณ์ผลการทดลอง Related references 1.Tulay koken, Orhan C. Aktepe, Mustafa Serteser, Murat Samli, Ahmet Kahraman and Nurhan Dogan. Determination of cut-off values for leucocytes and bacteria for urine flow cytometer (UF-100) in urinary tract infections. International Urology and Nephrology. 2002; 34: 175-178. 2. Rosa RD, Grosso S., Bruschetta G., Avolio M., Stano P., Modolo ML., and Camporese A. Evalution of the Sysmex UF1000i flow cytometer for ruling out bacterial urinary tract infection. Clinica Chimica Acta. 2010; 411: 1137-1142. 3. Jolkkonen S., Paattiniemi EL., Karpanoja P. and Sarkkinen H. Screening of urine samples by flow cytometry reduces the need for culture. J. Clin. Microbiol. 2010; 48(9): 3117-3121. 4. Manoni F., Fornasiero L., Ercolin M., Tinello A., Ferrian M., Hoffer P., Valverde S., and Gessoni G. Cutoff values for bacteria and leukocytes for urine flow cytometer Sysmex UF- 1000i in urinary tract infections. J. diagmicrobio. 2009; 65: 103-107. 0 5 10 15 20 25 30 35 % อุบัติการณ์ของ UTI กราฟแสดงอุบัติการณ์ภาวะติดเชื้อในระบบทางเดินปัสสาวะจากการศึกษา Escherichia coli Pseudomonas aeruginosa Candida albicans Coagulase Negative Staphylococci Mixed 3 Organism Enterococcus spp. Klebsiella pneumoniae Citrobacter spp. Group D Streptococci not Enterococci Enterobacter cloacae yeast not albicans

การศึกษาการพัฒนาการตรวจวิเคราะห์แบคทีเรียโดยเครื่องตรวจตะกอนปัสสาวะ

Embed Size (px)

DESCRIPTION

กฤษฎา ศิริสภาภรณ์ สุภาพร พุ่มพา นริศรา มังกรแก้ว พนารัตน์ รัตนาคม อนันตพร ฉันท์ผ่อง และ พลากร พุทธรักษ์ งานห้องปฏิบัติการเทคนิคการแพทย์ โรงพยาบาลธรรมศาสตร์เฉลิมพระเกียรติ จังหวัดปทุมธานี

Citation preview

Page 1: การศึกษาการพัฒนาการตรวจวิเคราะห์แบคทีเรียโดยเครื่องตรวจตะกอนปัสสาวะ

การศกษาการพฒนาการตรวจวเคราะหแบคทเรยโดยเครองตรวจตะกอนปสสาวะ UF รน 500i โดยเปรยบเทยบกบวธมาตรฐาน (manual culture)

กฤษฎา ศรสภาภรณ สภาพร พมพา นรศรา มงกรแกว พนารตน รตนาคม อนนตพร ฉนทผอง และ พลากร พทธรกษ

งานหองปฏบตการเทคนคการแพทย โรงพยาบาลธรรมศาสตรเฉลมพระเกยรต จงหวดปทมธาน

บทคดยอ

บทน า

ภาวะตดเชอในระบบทางเดนปสสาวะ (Urinary Tract Infection; UTI) อาจกอใหเกดอนตรายตอสภาพรางกายและเสยชวตไดหากไมไดรบการรกษาอยางทนทวงท ดงนนจงมความจ าเปนตองไดรบการตรวจวเคราะหอยางถกตอง แมนย าและรวดเรว ปจจบนเทคโนโลยการตรวจวเคราะหตะกอนปสสาวะดวยเครองตรวจวเคราะหตะกอนปสสาวะอตโนมต UF รน 500i โดยใชหลกการ fluorescent flow cytometry ในตรวจนบเมดเลอดขาว และเซลลแบคทเรย สามารถคดกรองผปวยตดเชอในระบบทางเดนปสสาวะ(UTI) จากปสสาวะ โดยใชคา cut off ของจ านวนเมดเลอดขาว และเซลลแบคทเรยเปนเกณฑในการคดกรองผปวยตดเชอในระบบทางเดนปสสาวะ ซงจากคา cut off เดมมความไวและความจ าเพาะไมเหมาะสม จดประสงคของงานวจยน คอ การพฒนาประสทธภาพการตรวจคดกรองภาวะ UTI จากปสสาวะ โดยหาคา cut off ของจ านวนเมดเลอดขาว และเซลลแบคทเรยทเหมาะสม โดยเปรยบเทยบกบวธมาตรฐาน (manual culture) จากการศกษาพบวา คา cut off ของ leukocyte count ส าหรบคดกรองภาวะ UTI คอ 94.40 cells /µl (คาความไว 73.90% (0.735-0.831) และคาความจ าเพาะ 80.06% (0.749 - 0.863)) และคา cut off ของ bacteria count ส าหรบคดกรองภาวะ UTI 6.05 x104 cells/µl (คาความไว (sensitivity) 78.30% (0.735-0.831) และ คาความจ าเพาะ 83.90% (0.791- 0.887)) ตามล าดบ และพบวาเครองสามารถคดกรอง UTI มความไว 78.30% (0.722-0.844) และ ความจ าเพาะ 66.70% (0.616-0.738) ตามล าดบ จาก ROC curve และมคา Positive Predictive Value (PPV), Negative Predictive Value (NPV) เทากบ 67.7% และ78.3% ตามล าดบ จากการศกษาสรปไดวา เครอง UF รน 500i สามารถพฒนาการคดกรองภาวะ UTI ไดด อกทงชวยลดภาระงาน และคาใชจายของทางหองปฏบตการเทคนคการแพทยได

ค าส าคญ : urinary tract infection UF500i bacteria culture urinalysis

ภาวะตดเชอในระบบทางเดนปสสาวะ (Urinary Tract Infection) กอใหเกดพยาธสภาพ ความเจบปวดและความเสยหายตอสภาพรางกายอาจถงขนเสยชวตไดหากไมไดรบการรกษาโดยเฉพาะอยางยงหากเชอกอโรคเขาไปในกระแสเลอด (septicemia) ในปจจบนมเทคโนโลยการตรวจวเคราะหตะกอนปสสาวะททนสมยมากขนมาชวยในการตรวจวเคราะหใหมประสทธภาพทดขน แมนย ามากขน เครองตรวจวเคราะหตะกอนปสสาวะ UF500i (Sysmex Kobe, Japan) มความสามารถตรวจวเคราะหตะกอนปสสาวะโดยใชหลกการ fluorescent flow cytometry ซงสามารถตรวจวดตะกอนปสสาวะชนดตางๆ ทเรยงเดยวผาน flow sheet ตรวจจบดวยล าแสงชนดตางๆ กน และวเคราะหทงชนดของเซลล และปรมาณออกมา นอกจากนยงมชองตรวจนบปรมาณแบคทเรย และสยอมเซลลแบคทเรยโดยเฉพาะอกดวย การประเมนภาวะตดเชอในระบบทางเดนปสสาวะเบองตน จ าเปนตองประเมนปรมาณเมดเลอดขาวและปรมาณแบคทเรย เพอใหสอดคลองกบ criteria ของ UTI จงตองมการพฒนาปรบเปลยนคา cut off ใหมคาความไวและความจ าเพาะมากขน ใหเหมาะสมกบงานหองปฏบตการ ดงนน ทางคณะผศกษาจงตองการศกษาการพฒนาประสทธภาพการตรวจวเคราะหแบคทเรยโดยเครองตรวจวเคราะหปสสาวะอตโนมต UF รน 500i เปรยบเทยบกบวธ reference standard หรอ วธ manual culture

วตถประสงคของการศกษา

เพอศกษาพฒนาประสทธภาพการตรวจวเคราะหแบคทเรยซงเปนสาเหตของภาวะตดเชอในระบบทางเดนปสสาวะ (urinary tract infection) โดยเครองตรวจวเคราะหปสสาวะอตโนมต UF500i เปรยบเทยบกบวธ reference standard หรอ วธ manual culture

วธการศกษา

ผลการศกษา

จากการศกษาพฒนาประสทธภาพการตรวจวเคราะหแบคทเรยในปสสาวะผปวยทงหมดจ านวน 77 ราย ชวงอายตงแต 4 ป ถง 91 ป เปนเพศชาย 26 รายและเพศหญง 51 ราย พบวา

เกบปสสาวะสงตรวจทแพทยสงสยภาวะตดเชอแบคทเรยในระบบทางเดนปสสาวะจากผปวย

รปท1 แสดง ROC curve แสดง cut-off ของ WBC count ความไว(sensitivity) และความจ าเพาะ (specificity) ของการ screening UTI ท wbc count 94.40 cells/µl., sensitivity 73.90% (0.735-0.831) และ specificity 80.60% (0.749 - 0.863) ตามล าดบ

รปท 2 แสดง ROC curve แสดง cut-off ของ bacteria count ความไว(sensitivity) และความจ าเพาะ (specificity) ของการ screening UTI ท bacteria count 6.05 x104 cells/µl., sensitivity 78.3% (0.735-0.831) และ specificity 83.90% (0.791- 0.887) ตามล าดบ

รปท 3 แสดง ROC curve ความไว(sensitivity) และความจ าเพาะ (specificity) ของการ screening UTI ดวยเครองตรวจวเคราะหปสสาวะอตโนมต UF รน 500i ทคาความไว (sensitivity) 0.783 (0.722-0.844) และ คาความจ าเพาะ 0.667 (0.616- 0.738)

Namely Infection case % UTI Characteristics

1. Escherichia coli 25 32.47 Gram(-)rod

2. Pseudomonas aeruginosa 3. Candida albicans

4 4

5.19 5.19

Gram(-)rod

4. Mixed 3 Organism 3 3.90

5. Coagulase(-)Staphylococci 3 3.90 Gram(+)cocci

6. Enterococcus spp. 2 2.60 Gram(+)cocci

7. Klebsiella pneumoniae 1 1.30 Gram(-)rod

8. Citrobacter spp. 1 1.30 Gram(-)rod

9. Grop D Strepcocci not Enterococci 1 1.30 Gram(+)cocci

10. Enterobacter cloacae 1 1.30 Gram(-)rod

11. Yeast not albicans 1 1.30

Total 46 59.74

กตตกรรมประกาศ ขอขอบคณ ทนพ.อนรกษ เชอมง และ อาจารยนภาพร เทวาวงศ ทใหค าปรกษาในงานวจยครงน และ งานหองปฏบตการเทคนคการแพทย โรงพยาบาลธรรมศาสตรเฉลมพระเกยรต จงหวดปทมธาน

จากการศกษาพบวา ทางคณะผศกษาสามารถพฒนาความไว และความจ าเพาะ ของการตรวจวเคราะหตะกอนปสสาวะโดยเครองตรวจวเคราะหตะกอนอตโนมต UF500i ไดเพมขนจากเดม ซงสามารถชวยเพมประสทธภาพการวเคราะหภาวะตดเชอในระบบทางเดนปสสาวะ (UTI; Urinary Tract Infection) ของแพทยไดเปนอยางด อกทงยงชวยลดภาระงานของผปฏบตงานทางหองปฏบตการเทคนคการแพทยไดดอกดวย ซงจากการศกษาในคร งนยงคงตองพฒนาความไวและความจ าเพาะใหมากกวานโดยการเพมจ านวนตวอยางใหมากขนและด าเนนการตอไปในอนาคต

สรปผลการศกษาและวจารณผลการทดลอง

Related references 1.Tulay koken, Orhan C. Aktepe, Mustafa Serteser, Murat Samli, Ahmet Kahraman and Nurhan Dogan. Determination of cut-off values for leucocytes and bacteria for urine flow cytometer (UF-100) in urinary tract infections. International Urology and Nephrology. 2002; 34: 175-178. 2. Rosa RD, Grosso S., Bruschetta G., Avolio M., Stano P., Modolo ML., and Camporese A. Evalution of the Sysmex UF1000i flow cytometer for ruling out bacterial urinary tract infection. Clinica Chimica Acta. 2010; 411: 1137-1142. 3. Jolkkonen S., Paattiniemi EL., Karpanoja P. and Sarkkinen H. Screening of urine samples by flow cytometry reduces the need for culture. J. Clin. Microbiol. 2010; 48(9): 3117-3121. 4. Manoni F., Fornasiero L., Ercolin M., Tinello A., Ferrian M., Hoffer P., Valverde S., and Gessoni G. Cutoff values for bacteria and leukocytes for urine flow cytometer Sysmex UF- 1000i in urinary tract infections. J. diagmicrobio. 2009; 65: 103-107.

0

5

10

15

20

25

30

35

% อบต

การณ

ของ

UTI

กราฟแสดงอบตการณภาวะตดเชอในระบบทางเดนปสสาวะจากการศกษา

Escherichia coli

Pseudomonas aeruginosa

Candida albicans

Coagulase Negative Staphylococci

Mixed 3 Organism

Enterococcus spp.

Klebsiella pneumoniae

Citrobacter spp.

Group D Streptococci not Enterococci

Enterobacter cloacae

yeast not albicans