20
ผลงานประกอบการพิจารณาประเมินบุคคล เพื่อแตงตั้งใหดํารงตําแหนงสําหรับผูปฏิบัติงานที่มีประสบการณ ตําแหนงประเภทวิชาชีพเฉพาะ ตําแหนงนักพัฒนาชุมชน 8 เรื่องที่เสนอใหประเมิน 1. ผลงานที่เปนผลการดําเนินงานที่ผานมา เรื่อง การควบคุมและกํากับดูแลโครงการประสานเครือขายดานการสงเสริม จริยธรรมและศีลธรรม : ศึกษาเฉพาะกรณีการจัดกิจกรรมแหเทียนจํานําพรรษาเขตทวีวัฒนา 2. ขอเสนอ แนวคิด วิธีการเพื่อพัฒนางานหรือปรับปรุงงานใหมีประสิทธิภาพมากขึ้น เรื่อง การบริหารจัดการศูนยพัฒนาเด็กกอนวัยเรียนวัดปุรณาวาส เขตทวีวัฒนา สูเกณฑมาตรฐานระดับดีมาก เสนอโดย นางปราณี อุทยารัตน ตําแหนง นักพัฒนาชุมชน 7 (ตําแหนงเลขทีขทว.119) ฝายพัฒนาชุมชนและสวัสดิการสังคม สํานักงานเขตทวีวัฒนา

1.203.155.220.238/csc/attachments/article/158/2198.pdf · ตําแหน ง นักพัฒนาชุมชน 7 (ตําแหน งเลขที่ ขทว.119)

  • Upload
    others

  • View
    4

  • Download
    0

Embed Size (px)

Citation preview

Page 1: 1.203.155.220.238/csc/attachments/article/158/2198.pdf · ตําแหน ง นักพัฒนาชุมชน 7 (ตําแหน งเลขที่ ขทว.119)

ผลงานประกอบการพิจารณาประเมินบุคคลเพื่อแตงตั้งใหดํารงตําแหนงสําหรับผูปฏิบัติงานที่มีประสบการณ

ตําแหนงประเภทวิชาชีพเฉพาะ

ตําแหนงนักพัฒนาชุมชน 8 ว

เรื่องที่เสนอใหประเมิน1. ผลงานที่เปนผลการดําเนินงานที่ผานมา เรื่อง การควบคุมและกํากับดูแลโครงการประสานเครอืขายดานการสงเสริม จริยธรรมและศีลธรรม

: ศึกษาเฉพาะกรณีการจัดกิจกรรมแหเทียนจํานําพรรษาเขตทวีวัฒนา 2. ขอเสนอ แนวคิด วิธีการเพื่อพัฒนางานหรือปรับปรุงงานใหมีประสิทธิภาพมากขึ้น

เรื่อง การบริหารจัดการศูนยพัฒนาเด็กกอนวัยเรียนวัดปุรณาวาส เขตทวีวัฒนา สูเกณฑมาตรฐานระดับดีมาก

เสนอโดยนางปราณี อุทยารัตน

ตําแหนง นักพัฒนาชุมชน 7(ตําแหนงเลขที่ ขทว.119)

ฝายพัฒนาชุมชนและสวัสดิการสังคม สํานักงานเขตทวีวัฒนา

Page 2: 1.203.155.220.238/csc/attachments/article/158/2198.pdf · ตําแหน ง นักพัฒนาชุมชน 7 (ตําแหน งเลขที่ ขทว.119)

1

ผลงานที่เปนผลการดําเนินงานที่ผานมา

1. ชื่อผลงาน การควบคุมและกํากับดูแลโครงการประสานเครือขายดานการสงเสริม จริยธรรมและศีลธรรม : ศึกษาเฉพาะกรณีการจัดกิจกรรมแหเทียนจํานําพรรษาเขตทวีวัฒนา

2. ระยะเวลาที่ดําเนินการเมษายน 2550 - กรกฎาคม 2550

3. ความรูทางวิชาการหรือแนวคิดที่ใชในการดําเนินการ3.1 แนวคิดนโยบายการพัฒนากรุงเทพมหานคร

ในชวงป 2549 - 2550 กรุงเทพมหานครไดกําหนดนโยบายการพัฒนากรุงเทพมหานคร สูเมืองนาอยู 6 ดาน

1. กรุงเทพฯเมืองแหงความสะดวกปลอดภัย2. กรุงเทพฯ มหานครแหงสิ่งแวดลอม3. กรุงเทพฯ มหานครแหงการเรียนรู4. กรุงเทพฯเมืองสุขภาพดี ผูคนมีความสุข5. กรุงเทพฯ มหานครเปยมเสนห6. กรุงเทพฯ เมืองเศรษฐกิจภายใตหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงทั้งนี้ นโยบายการพัฒนากรุงเทพมหานครใหเปนเมืองสุขภาพดี ผูคนมีความสุข

ไดใหความสําคัญในดาน- ความมั่นคงในการดํารงชีวิตและความปลอดภัยในการสัญจร- เขาถึงบริการดานพื้นฐานที่มีคุณภาพ เชน การศึกษา การบริการดานการแพทย การกีฬา

การนันทนาการ การบริการของสํานักงานเขต ฯลฯ- การมีสวนรวมของประชาชนในการกําหนดวิถีชุมชนของตนเอง- การเสริมสรางโอกาสในกลุมผูดอยโอกาส โดยใหบริการสวัสดิการสังคม และการ

สงเคราะหที่ทั่วถึงทุกกลุมเปาหมายอยางเสมอภาค ดังนี้1) จัดสวัสดิการที่อยูอาศัยแกขาราชการและประชาชนผูมีรายไดนอย2) จัดใหมีศูนยปฐมวัยในชุมชนที่สามารถใหบริการไดเพียงพอตอความตองการ พรอมทั้ง

กําหนดมาตรฐานศูนยเด็กปฐมวัยของกรุงเทพมหานคร3) จัดสวัสดิการที่เหมาะสมใหกับเด็กและเยาวชน

Page 3: 1.203.155.220.238/csc/attachments/article/158/2198.pdf · ตําแหน ง นักพัฒนาชุมชน 7 (ตําแหน งเลขที่ ขทว.119)

2

4) คุมครองสิทธิและความเสมอภาคของสตรี พรอมจัดสวัสดิการสังคมที่เหมาะสมใหกับสตรีที่ประสบปญหา

5) จัดสวัสดิภาพที่เหมาะสมใหกับผูสูงอายุ รวมทั้งใหคําปรึกษาและจัดกิจกรรมฟนฟูจิตใจแกผูที่ประสบปญหาสุขภาพจิต

6) พัฒนาคุณภาพชีวิตของผูพิการ ใหใชชีวิตในกรุงเทพมหานคร และสามารถเขาถึงบริการสาธารณะตาง ๆ ไดสะดวก

7) จัดสวัสดิการสังคมและการสงเคราะหที่จําเปนแกผูดอยโอกาส และขยายเครือขายทางสังคมเพื่อชวยปกปอง คุมครองกลุมเปาหมายใหไดรับการชวยเหลืออยางทั่วถึง

3.2 แนวคิดเรื่องเครือขาย (Networking) คือ การเชื่อมตอระหวางมนุษยกับมนุษยแลวขยายผลออกไปในวงกวางเพื่อใหสังคมเกิดการพัฒนาไปในทิศทางที่ดีขึ้น และการเชื่อมตอระหวางมนุษยจะสงผลใหเกิดพลังทวีคูณ (Reinforcing) เกิดการขยายผลแบบกาวกระโดดเปนพลังสรางสรรคที่เปลี่ยนคุณภาพอยางฉับพลัน การสรางเครือขายสามารถพิจารณาไดจากระบบสิ่งมีชีวิตมีการเชื่อมโยงสัมพันธกันเครือขายตองมีจุดยืน มีวัตถุประสงค ที่ชัดเจน และพรอมที่จะเชื่อมโยงกับองคกรอื่นอยูเสมอรวมทั้งตองมีความยืดหยุน ไมมีรูปแบบที่แนนอนตายตัวนักแตเนนใหบรรลุตามวัตถุประสงคของเครือขายเปนสําคัญซึ่งเครือขายเปนระบบมีการเกิดการอยูการแตกดับไดตลอดเวลา ขั้นตอนการสรางเครือขายตองอาศัยการประชาสัมพันธ การรับสมัครสมาชิกการประชุมเพื่อกําหนดของเขตวิธีปฏิบัติซึ่งการเปนเครือขายตองมีองคประกอบอยางนอย 7 องคประกอบ ที่สําคัญคือการรับรูมุมมองรวมกัน (Common perception) การมีวิสัยทัศนรวมกันเกิดประโยชนรวมกัน การมีสวนรวมของสมาชิกเครือขายอยางกวางขวาง (All stakeholders participation) การเสริมสรางซึ่งกันและกัน (Complementary relationship) โดยที่จุดแข็งของฝายหนึ่งไปชวยแกไขจุดออนของอีกฝายหนึ่ง การพึ่งพิงรวมกัน (Interdependence) การปฏิสัมพันธเชิงแลกเปลี่ยน การชวยใหเกิดการเรียนรูระหวางกันมากขึ้น

การบริหารเครือขายสูความสําเร็จตองอาศัยปจจัยหลายดาน คือ ตองมีความผูกพันและรับผิดชอบตอการสรางเครือขายความเคารพไววางใจระหวางกัน ยึดหลักความเสมอภาคในการทํางาน รับฟงความคิดเห็นของทุกฝายและมีความโปรงใสในการทํางาน ยึดถือประโยชนสวนรวมมากกวาการเปนอัตตามีการพัฒนาอยางตอเนื่องสรรหากิจกรรมและกลุมสนใจ มีการประสานขอมูลขาวสารทุกดานอยางสม่ําเสมอ จะเห็นวาลักษณะเครือขายที่ดีตองทํางานแบบดาวกระจายมีตัวกลางเปนผูประสานงานทั้งแนวนอนและแนวตั้ง องคกรสมาชิกเครือขาย มีความเทาเทียมกันไววางใจกัน มีการสื่อสารหลายทาง และมีกิจกรรมรวมกันอยางตอเนื่องมีการประเมินผลความสําเร็จปญหาอุปสรรคและความกาวหนาตลอดเวลา และการบริหารเครือขายตองมีกรอบในการตั้งเปาหมาย มีตัวชี้วัดในการประเมินผลตามแนวทฤษฎีที่เหมาะสม อาทิเชน Good model เปนการประเมินตามเปาหมายที่วัดไดหรือการประเมินผลโดยวัดความพึงพอใจของผูมีสวนไดเสีย คือสมาชิกเครือขาย เปนตน

Page 4: 1.203.155.220.238/csc/attachments/article/158/2198.pdf · ตําแหน ง นักพัฒนาชุมชน 7 (ตําแหน งเลขที่ ขทว.119)

3

อยางไรก็ตาม เมื่อมีการตั้งเครือขายแลวจะตองมีกิจกรรมตอเนื่อง เชน กิจกรรมการแบงบันความรูและประสบการณ กิจกรรมการแบงปนทรัพยากรระหวางเครือขายการแลกเปลี่ยนผลผลิตที่มีอยู กิจกรรมและผลงานและการชวยเหลือซึ่งกันและกันเมื่อจําเปน (ขนิฎฐา กาญจนรังสีนนท)

3.3 แนวคิดเกี่ยวกับการประสานงานกระบวนการทางการบริหารที่เกี่ยวกับการทํางานใหกิจกรรมตาง ๆ ของเจาหนาที่ผูปฏิบัติงาน

และหนวยงานตาง ๆ รวมเปนอันหนึ่งอันเดียวกัน โดยมีวัตถุประสงคเพื่อใหหนวยงานปฏิบัติหนาที่รวมกันอันจะทําใหการบริหารงานสามารถบรรลุเปาหมายตาง ๆ โดยทั่วไปไดทั้งหมด

- องคประกอบของการประสานงาน อาจพิจารณาองคประกอบที่สําคัญ ไดดังนี้1) ความรวมมือ จะตองสรางสัมพันธภาพในการทํางานรวมกันของทุกฝาย โดยอาศัย

ความเขาใจ หรือการตกลงรวมกัน มีการรวบรวมกําลังความคิด วิธีการ เทคนิค และระดมทรัพยากรมาสนับสนุนงานรวมกัน เปนการปฏิบัติงานเพื่อบรรลุจุดมุงหมายเดียวกัน เต็มใจที่จะทํางานรวมกัน และชวยเหลือซึ่งกันและกันเพื่อไปสูเปาหมายใดเปาหมายหนึ่ง การประสานงานไมควรจะกระทําโดยใชอํานาจสั่งการแตอยางเดียว ควรใชความสัมพันธที่ดีตอกันเปนหลัก เพราะความมีน้ําใจตอกัน ไววางใจกันจะเปนผลใหเกิดการรวมใจมากกวาการใชอํานาจหนาที่พยายามผูกมิตรตั้งแตตนและปองกันไมใหเกิดความรูสึกเปนปฏิปกษ มีความหวาดระแวงหรือ กินแหนงแคลงใจกัน ใหการยอมรับซึ่งกันและกัน ไมนินทาวารายกัน ไมโยนความผิดใหแกผูอื่น เมื่อมีสิ่งใดจะชวยเหลือแนะนํากันไดก็อยาลังเล และพรอมจะรับฟงคําแนะนํา ของผูเกี่ยวของแมจะไมเห็นดวยก็อยาแสดงปฏิกิริยาโตตอบ เมื่อมีการเปลี่ยนแปลงก็ตองแจงใหทราบวิธีสรางความรวมมือ คือ การชักจูงชี้ใหเห็นถึงประโยชนรวมกัน หรือประโยชนโดยสวนรวม มีการผูกมิตรไมตรีตอกันทําใหผูปฏิบัติงานมีน้ําใจที่จะชวยเหลือซึ่งกันและกันบางครั้งการใหขอแนะนํากันก็จะทําใหผูเกี่ยวของมีความสามารถในระดับเดียวกันเพื่อจะไดทํางานดวยกันได การเพิ่มความใกลชิด ทําใหมีการพบปะหารือกันอยูเสมอเพื่อใหไววางใจกัน เพราะความใกลชิด จะชวยใหไดและเปลี่ยนความคิดเห็นและถายทอดความรูสึกถึงกันยิ่งใกลชิดกันมากเทาใดก็จะเกิดความเขาใจและรูจักคุนเคยกันมากขึ้นถามีความหวังดีตอกัน มีเจตนาที่บริสุทธิ์และจริงใจก็จะเพิ่มความเชื่อถือไววางใจกันยิ่งขึ้น

2) จังหวะเวลา จะตองปฏิบัติงานตามบทบาทหนาที่และความรับผิดชอบของแตละคนตามกําหนดเวลาที่ตกลงกันใหตรงเวลา

3) ความสอดคลอง จะตองพิจารณาความพอเหมาะพอดี ไมทํางานซอนกัน เพื่อชวยใหการบริหารงานประสบความสําเร็จ

4) ระบบการสื่อสาร จะตองมีการสื่อสารที่เขาใจตรงกันอยางรวดเร็ว และราบรื่น การติดตอสื่อสารเปนสิ่งสําคัญสําหรับการประสานงานในการแลกเปลี่ยนขอเท็จจริง ความคิดเห็นหรือความรูสึกและเปนสื่อกลางที่จะเชื่อมโยงบุคคลตางๆ ภายในหรือระหวางหนวยงานหรือองคกรใหเปนอันหนึ่งอันเดียวกัน

Page 5: 1.203.155.220.238/csc/attachments/article/158/2198.pdf · ตําแหน ง นักพัฒนาชุมชน 7 (ตําแหน งเลขที่ ขทว.119)

4

5) ผูประสานงาน จะตองสามารถดึงทุกฝายเขารวมทํางานและสามารถขอความรวมมือเพื่อตรงไปสูจุดหมายเดียวกันตามที่กําหนดเปนวัตถุประสงคของงาน (นางสาววัลภา ทับแกว)

3.4 แนวคิดเกี่ยวกับการมีสวนรวมของชุมชนการเปดโอกาสใหประชาชนไดมีสวนรวมในการคิดริเริ่ม การพิจารณาตัดสินใจ การรวม

ปฏิบัติ และรวมรับผิดชอบใหเรื่องตาง ๆ อันมีผลกระทบถึงประชาชนเอง ตลอดจนการวางแผนแกไขปญหา ติดตามประเมินผล จึงตองอาศัยความรวมมือ ความพรอมเพรียง ความรัก ความสามัคคี และการมีสวนรวมในการดําเนินการ ขั้นตอนการมีสวนรวม สามารถแบงไดดังนี้

1. การมีสวนรวมในการคนหาปญหา และสาเหตุของปญหาของชุมชนเปนขั้นตอนแรก สําคัญที่สุด เพราะถาหากชาวบานยังไมสามารถเขาใจถึงปญหาและสาเหตุของปญหาดวยตัวเอง กิจกรรมตาง ๆ ที่ตามมาก็ไรประโยชน และในอีกแงหนึ่งประชาชนเปนผูอยูกับปญหายอมเปนผูที่รูปญหาดีที่สุด

2. การมีสวนรวมในการวางแผนการดําเนินกิจกรรม การดําเนินการวางแผนเปนขั้นตอนที่ขาดไมได หากประชาชนไมไดเขารวมในการวางแผนการดําเนินกิจกรรม ประชาชนก็จะไมสามารถดําเนินการกิจกรรมตาง ๆ ไดเองโดยที่ไมมีผูชวย

3. การมีสวนรวมในการลงทุนและปฏิบัติงาน ในสวนนี้หมายถึงการมีสวนรวมในการทํากิจกรรมตาง ๆ ตามความสามารถของประชาชนแตละคนนั่นเอง โดยที่ใครมีทุนก็สามารถชวยเหลือดานเงินทุน หากใครไมมีเงินทุนก็สามารถชวยในดานแรงงานได

4. การมีสวนรวมในการติดตามและประเมินผลงาน ขั้นตอนนี้เปนขั้นตอนสุดทายซึ่งมีประโยชนที่จะเกิดขึ้นหากประชาชนมีสวนรวมก็คือ การที่จะทราบขอดีขอเสียของตนเองได (นายเจิมศักดิ์ ปนทอง)

4. สรุปสาระสําคัญของเรื่องและขั้นตอนการดําเนินการ เขตทวีวัฒนามีพื้นที่ 50,219 ตารางกิโลเมตร ตั้งชื่อตามคลองทวีวัฒนา เดิมทองที่เขตทวีวัฒนา

อยูในความปกครองของอําเภอตลิ่งชัน จังหวัดธนบุรี ปจจุบันเขตทวีวัฒนาแบงการปกครองออกเปน 2 แขวง ไดแก แขวงทวีวัฒนา และแขวงศาลาธรรมสพน พื้นที่สวนใหญเปนพื้นที่เกษตรกรรม มีลําคลองหลายสายไหลผาน ประชาชนในพื้นที่สามารถนําไปใชในการเกษตรโดยคําวา “ทวีวัฒนา” เปนชื่อคลองที่ไดรับพระราชทานจากรัชกาลที่ 5 ใหขุดเชื่อมระหวางคลองมหาสวัสดิ์และคลองภาษีเจริญ

ดวยลักษณะพื้นที่ที่อยูในสวนของกรุงเทพฯรอบนอก ทําใหความเจริญยังกระจายไมทั่วถึง วิถีชีวิตชาวทวีวัฒนาหลายครอบครัวยังคงยึดอาชีพเกษตรกรรมเต็มรูปแบบเปนหลัก แมวาพื้นที่เพาะปลูกหลายแหงเริ่มถูกความเจริญเขารุกล้ํา จังหวะชีวิตความเปนอยูของชาวทวีวัฒนาไมรีบเรงรอนรน และเต็มไปดวยการแขงขันเทาไหรนัก แมจะเปนหนึ่งในพื้นที่ของกรุงเทพฯ เนื่องจากความเจริญยังเขาไปไมถึงมากนัก ประกอบกับยังมีพื้นที่

Page 6: 1.203.155.220.238/csc/attachments/article/158/2198.pdf · ตําแหน ง นักพัฒนาชุมชน 7 (ตําแหน งเลขที่ ขทว.119)

5

เขียวและธรรมชาติดั้งเดิม หลายครอบครัวมีความเปนอยูอยางพอเพียง เปนวิถีชีวิตกึ่งสังคมเมืองกึ่งสังคมชนบทอยางแทจริง

พื้นที่เขตทวีวัฒนานับเปน “พื้นที่เกษตรกรรมชานกรุง” ที่ยังคงความอุดมสมบูรณของผลิตผลพืชผักเกษตรกรรมที่เต็มรูปแบบ การทํานาปลูกขาว ทําสวนปลูกผักผลไมแซมดวยพืชผักในรูปแบบผสมผสานอยางลงตัว

พื้นที่เขตทวีวัฒนา เปนเขตชั้นนอกของกรุงเทพมหานครดานทิศตะวันตก โดยมีทิศเหนือติด อ.บางกรวย จ.นนทบุรี ทิศใตติดเขตบางแคและเขตหนองแขม ทิศตะวันออกติดกับเขตตลิ่งชัน และทิศตะวันตกติดอําเภอสามพราน และ อําเภอพุทธมณฑล จังหวัดนครปฐม รวมอาณาเขตกวา 50.219 ตารางกิโลเมตร ภูมิประเทศสวนใหญประกอบไปดวยคูคลองธรรมชาติ จะเห็นถึงบรรยากาศของคลองจํานวน 14 สายเสนยาวราวเสนเลือดหลอหลอมเลี้ยงชาวชุมชนผูคนที่นี่ ไดแก คลองทวีวัฒนา คลองบางระมาด คลองดําเนิน คลองยายโมง คลองมหาสวัสดิ์ ฯลฯ ซึ่งคลองเหลานี้ลวนมีประวัติความเปนมา อายุเรื่องราว คราวรอยปเทียบไดกับบรรพบุรุษรวมหลายรุนของชุมชน และหากจะใหเวลากับการนั่งศึกษาประวัติศาสตรความเปนมาของคลอง และคน สิ่งมีชีวิตที่อยูควบคูกันมา คงพบสิ่งที่นาสนใจของคลองและคนเจอคุณคาของชุมชนในเขตทวีวัฒนาอยางมหาศาล และดวยเหตุที่ชาวบานพื้นเพดั้งเดิมมีความผูกพันกับวัด และศาสนาสถานตาง ๆ โดยสวนใหญชาวทวีวัฒนานับถือศาสนาพุทธขณะที่ศาสนาคริสต อิสลาม และศาสนาอื่น ๆ ก็มีบางแตเปนสวนนอย ความเปนอยูของชุมชนเขตทวีวัฒนาจึงมักมีวัดเปนที่รวมของจิตใจ พื้นที่เขตทวีวัฒนามีศาสนาสถานที่สําคัญ จํานวน 3 วัด และ 2 สํานักสงฆ ไดแก

1. วัดปุรณาวาส อยูแขวงศาลาธรรมสพน เขตทวีวัฒนา กรุงเทพมหานคร สังกัดคณะสงฆมหานิกาย มีเนื้อที่ 12 ไร 34 ตารางวา สรางขึ้นประมาณป พ.ศ. 2397 ในสมัยรัชกาลที่ 4 ไมทราบชื่อและประวัติผูสราง แตเดิมเรียกวัดนี้วา “วัดนก” หรือ “วัดกลางคลอง” พระบาทสมเด็จพระจอมเกลาเจาอยูหัวเมื่อคราวเสด็จตรวจการขุดคลองมหาสวัสดิ์ ไดพระราชทานพระราชทรัพยรวมกอสราง กับนายบุญ แลวพระราชทานนามวา “วัดราชบุญธรรม” ตอมานายบุญซึ่งอุปถัมภบํารุงวัดมาโดยตลอดไดสรางอุโบสถขึ้น ทางวัดเห็นความสําคัญจึงขนานนามใหวา “วัดบุญญาวาสนราชศรัทธาธรรม” ครั้นราว พ.ศ.2480 ไดเปลี่ยนนามใหมอีกครั้งหนึ่งวา “วัดปุรณวาส” การบูรณะพัฒนาวัดในระยะตอมาไดรับการอุปถัมภจากคณะตระกูล “ยงใจยุทธ” ดวยดียิ่งตลอดมา

วัดแหงนี้ไดรับพระราชทานวิสุงคามสีมาครั้งหลังเมื่อวันที่ 2 กันยายน พ.ศ. 2497 ไดผูกพัทธสีมา ประมาณ พ.ศ. 2499 ดานการศึกษาไดจัดใหมีการสอนพระปริยัติธรรมตั้งแต พ.ศ. 2482 ขณะนี้นักธรรมที่ผานมามีพระภิกษุ 693 รูป สามเณร 78 รูป ธรรมศึกษา 9 คน นอกจากนี้ยังไดใหทางราชการสรางโรงเรียนระดับประถมศึกษาขึ้นในพื้นที่วัด และจัดใหมีหอวิปสสนาสโมสร และหองสมุดอีกดวย

สําหรับปูชนียวัตถุมีพระพุทธรูปศักดิ์สิทธิ์ 2 องค นาม “หลวงพออินทร” และ “หลวงพอจันทร” พรอมกับพระพุทธรูปปางบําเพ็ญทุกกิริยาอื่น ๆ

2. วัดโกมุทพุทธรังสี ตั้งอยูถนนพุทธมณฑลสาย 3 กอสรางเมื่อป พ.ศ.2540 เพื่อเฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจาอยูหัว เนื่องในวโรกาสพระราชพิธีมหามงคลเฉลิมพระชนมพรรษาครบ 72 พรรษา ไดรับ วิสุงคามและประกอบพิธีผูกพัทธสีมาฝงลูกนิมิต ทุนทรัพยในการกอสรางไดรับบริจาคจากพุทธศาสนิกชนที่มี

Page 7: 1.203.155.220.238/csc/attachments/article/158/2198.pdf · ตําแหน ง นักพัฒนาชุมชน 7 (ตําแหน งเลขที่ ขทว.119)

6

จิตศรัทธาอันเปนกุศล ปจจุบันไดดําเนินการกอสรางศาลาการเปรียญ ตลอดจนโรงเรียนสงเคราะหเด็กเปนที่เรียบรอยแลว โดยมี “หลวงพอโกมุทพุทธาภิบาล” พระพุทธรูปศักดิ์สิทธิ์เปนที่ยึดเหนี่ยวจิตใจพุทธบริษัท

3. วัดวิศิษฎบุญญาวาส ตั้งอยูถนนพุทธมณฑลสาย 2 ซอยสนามกีฬาพาณิชยการฯ เริ่มสรางเมื่อป พ.ศ.2522 โดยมีหลวงพอเวียน ฉายา เขมโก นามสกุล ภูนาค และคุณแมหวิง ภูนาค ถวายที่ดินสรางวัดจํานวน 12 ไร 1 งาน 16 ตารางวา ตอมาในป พ.ศ.2525 ไดรับการยกฐานะขึ้นเปนวัดของ กรมการศาสนา กระทรวงศึกษาธิการ

4. สํานักสงฆวัดอุดมโปกฤษณะวราราม 5. สํานักปฏิบัติธรรมศาลาธรรม

สิ่งที่สําคัญที่ยังอยากพูดเลาทาวความเรื่องราวของชุมชนเขตทวีวัฒนาใหไดรูกัน คือ เรื่องราวของ “ชุมชน” กับ “วิถีวัฒนธรรมความเปนอยู” สองสิ่งที่มักเกิดขึ้นและบรรจุอยูคูกันเสมอ ชุมชนวัดปุรณาวาส ชุมชนหลังสถานีรถไฟศาลาธรรมสพน และชุมชนประตูน้ําฉิมพลี คือ ชุมชนเกาดั้งเดิมของที่นี่ ผูคนชุมชนเขตทวีวัฒนาสวนใหญมีวิถีชีวิตแบบชาวนา พวกเขายึดการทําเกษตรกรรมเปนอาชีพหลักมาตั้งแตอดีต สมัยแรกเริ่มกอสรางสรางชุมชน แมวาปจจุบันอาจเลือนรางจางหายไปบาง แตถึงอยางไรรองรอยของวิถีคนทํานายังคงเปนปรากฏของชุมชนเขตทวีวัฒนา ประเพณีวัฒนธรรมสิ่งสําคัญอีกอยางที่ยังคงมีการสืบทอดอยางเครงครัด และมีเกิดขึ้นหมุนเวียนเปลี่ยนไปตลอดทั้งป คือ “ประเพณีเลนเพลงขอทานกระยาสารท” เปนประเพณีหนึ่งในเทศกาลสารทของชาวทวีวัฒนาที่จะกวนกระยาสารทเพื่อนําไปทําบุญถวายพระที่วัด โดยประเพณีนี้ไดเรียกตามการละเลนขอทานกระยาสารทที่เกิดขึ้นพลางระหวางเสนทางที่ไป ซึ่งมีกติกาอยูวาผูเลนจะมีการพรางตัวเปนขอทาน แลวพายเรือรองเพลงไปตามคลองเพื่อขอกระยาสารทกันอยางสนุกสนาน “ประเพณีทอดกฐินทางเรือและการแขงขันหนากฐิน” เปนอีกหนึ่งวัฒนธรรมที่ปฏิบัติสืบทอดกันมาในชวงหนึ่งเดือนหลังออกพรรษาซึ่งถือเปนเทศกาลชวงเวลาหนากฐินที่ชาวชุมชนเขตทวีวัฒนาจะมีการทอดกฐินทําบุญที่วัด หลังจากนั้นจะมีกิจกรรมการแขงเรือซึ่งเปนกิจกรรมรวมผูคนไดอยางมหาศาล รวมถึงเปนกิจกรรมสรางความสามัคคีและความสนุกสนานไดมากไมแพกัน

4.1 การจัดกิจกรรมแหเทียนจํานําพรรษา เปนประเพณีสําคัญทางพุทธศาสนา คือ กอนวันแรม 1 ค่ํา เดือน 8 หรือเดือน 9 ในกรณีที่มีอธิกมาส พุทธศาสนิกชนก็จะพากันขวนขวายใหมีการถวายเทียนจํานําพรรษาแกวัดในทองถิ่นของตน เพื่อใหพระสงฆจุดบูชาพระรัตนตรัย เปนเวลา 3 เดือน ถือวาไดอานิสงสมาก เนื่องจากฤดูกาลเขาพรรษาเปนระยะเวลาแหงการชุมนุมพุทธบริษัท ทั้งภิกษุสามเณร อุบาสก อุบาสิกา นับวาเปนชวงเวลาแหงความพรอมเพรียงของพุทธบริษัทมากที่สุดไมมีชวงเวลาใดเทาแสงเทียน จึงถือวาแตกตางจากแสงไฟธรรมดาที่ไดจากฟน เพราะเปนแสงแหงวัตถุที่หอมบริสุทธิ์ แสงเทียนสามารถกําจัดความมืดได ทําใหคนเรามองเห็นในที่มืดได จึงเปรียบเทียบไดกับพระพุทธธรรม ซึ่งมีลักษณะเปนดวงปญญา ทําใหคนเรามองเห็นสิ่งตาง ๆ ตามความเปนจริงของมัน

Page 8: 1.203.155.220.238/csc/attachments/article/158/2198.pdf · ตําแหน ง นักพัฒนาชุมชน 7 (ตําแหน งเลขที่ ขทว.119)

7

คือเห็นสัจธรรม มนุษยผูมีจิตใจมืดบอดเห็นผิดจากความเปนจริง เมื่อไดรับรสพระธรรม ก็จะมีจิตใจที่สวางไสวมองเห็นสัจธรรมได พนจากทุกข ความมืดมนที่ประสบอยู ชีวิตของเขาก็จะแจมใสขึ้น มีแตความสวาง สะอาด และสงบกายวาจาใจ

ความเปนมาอันยาวนานของการกอรางสรางชุมชน วิถีความเปนอยูของผูคนที่ยังคงยึดโยงอยูกับประเพณีวัฒนธรรม ความสัมพันธ ความรักและอาทรเปนสิ่งเชื่อมประสานใหผูนําชุมชนเขตทวีวัฒนาแหงนี้กลายเปนชุมชนนาอยูที่ เต็มไปดวย ทุนล้ําคา ที่ไมสามารถแปรเปลี่ยนประมวลคาเปนเงินทองไดแตอยางใด พอมาถึงตรงนี้ ความยากงายของสิ่งอันทรงคุณคาเหลานี้ไมใชอยูที่การจะมีหรือไมมีอีกตอไป หากแตวาสิ่งที่ตองคิดตอ ณ ขณะนี้ชวงเวลานี้ คือ การจะรักษาทรัพยสินสิ่งล้ําคานี้ใหคงอยูคูชุมชนใหยาวนานตลอดไปไดอยางไร

จากแนวคิดนโยบายการพัฒนากรุงเทพมหานคร ดานกรุงเทพฯ เมืองสุขภาพดี ผูคนมีความสุข แนวคิดเรื่องเครือขาย แนวคิดเกี่ยวกับประสานงานและแนวคิดเกี่ยวกับการมีสวนรวมของชุมชน ฝายพัฒนาชุมชนและสวัสดิการสังคม จึงไดคิดสรางเครือขายชุมชนใหเขมแข็งและสามารถขยายเครือขายไดมากขึ้นเพื่อเปนการพัฒนาแบบยั่งยืนตอไป

4.2 ขั้นตอนการดําเนินการตามที่ไดกลาวขางตนแลววาชุมชนเขตทวีวัฒนากับวัดผ ูกพันกันมาตลอด และจะคง

ประเพณีวัฒนธรรมบางอยางไวตลอดไป เชน ประเพณีการลอยกระทง การแขงขันเรือพาย เปนตน สวนการ แหเทียนจํานําพรรษา ซึ่งถือเปนประเพณีวัฒนธรรมที่สืบทอดกันมายังไมเปนกิจกรรมที่คงทนเนื่องจากงบประมาณในการจัดกิจกรรมไมมี ฝายพัฒนาชุมชนและสวัสดิการสังคมซึ่งไดหาแนวทางเพื่อใหกิจกรรมแหเทียนจํานําพรรษาเปนประเพณีสืบทอดตลอดไป จึงไดรวมสรางเครือขายเพื่อดําเนินการ โดยมีขั้นตอนดังนี้

1. การเขียนโครงการ ประกอบดวย หลักการและเหตุผล วัตถุประสงค เปาหมาย ลักษณะของโครงการ แนวทางดําเนินงาน กําหนดเวลาและสถานที่ดําเนินการ งบประมาณ (ไมไดใชงบประมาณ) ปญหาและอุปสรรค ผลที่คาดวาจะไดรับ และการติดตามประเมินผล

2. นําเสนอโครงการเพื่อขออนุมัติผูอํานวยการเขต3. จัดทําคําสั่งแบงหนาที่เปนฝายตาง ๆ เพื่อดําเนินกิจกรรม ประกอบดวย 1) คณะกรรมการอํานวยการ มีหนาที่อํานวยความสะดวกและใหขอเสนอแนะคําแนะนํา

กับคณะกรรมการฝายตาง ๆ รวมทั้งมีหนาที่ประสานและแกไขปญหาตาง ๆ 2) คณะกรรมการฝายประชาสัมพันธ มีหนาที่รับผิดชอบเกี่ยวกับประชาสัมพันธ

ถายภาพ เผยแพรขาวสารใหประชาชนไดทราบ และงานอื่น ๆ ที่เกี่ยวของ 3) คณะกรรมการฝายดูแลความปลอดภัย และการจราจร มีหนาที่ดําเนินการเกี่ยวกับ

การรักษาความปลอดภัย ความเปนระเบียบเรียบรอย เสนทางขบวนแหเทียนจํานําพรรษา และอํานวยความสะดวกดานสถานที่จอดรถประชาชนที่มารวมงาน และงานอื่น ๆ ที่เกี่ยวของ

Page 9: 1.203.155.220.238/csc/attachments/article/158/2198.pdf · ตําแหน ง นักพัฒนาชุมชน 7 (ตําแหน งเลขที่ ขทว.119)

8

4) คณะกรรมการฝายจัดขบวนแหเทียนจํานําพรรษา มีหนาที่ดําเนินเกี่ยวกับการจัดขบวนรถที่เขารวมขบวนแหเทียนจํานําพรรษาใหเปนระเบียบ

5) คณะกรรมการฝายอาหารและเครื่องดื่ม มีหนาที่ดําเนินการเกี่ยวกับอาหารและเครื่องดื่มสําหรับประชาชนที่เขารวมงานเพื่อรับประทานอาหารมื้อเที่ยง ณ สํานักปฏิบัติธรรมศาลาธรรม

4. ประสานผูเกี่ยวของตาง ๆ ไดแก สมาชิกสภากรุงเทพมหานคร เขตทวีวัฒนา สมาชิกสภาเขตทวีวัฒนา คณะกรรมการสภาวัฒนธรรม คณะกรรมการประชาคมทวีวัฒนา คณะกรรมการเครือขายชุมชน เขตทวีวัฒนา และผูเกี่ยวของโดยใหทุกภาคสวนเขามามีสวนรวมในการจัดกิจกรรมแหเทียนจํานําพรรษา โดยยึดแนวคิดของการประสานงานและการมีสวนรวม

5. จัดประชุมคณะกรรมการฝายตาง ๆ ประกอบดวย 1) คณะกรรมการอํานวยการ 2) คณะกรรมการฝายประชาสัมพันธ 3) คณะกรรมการฝายดูแลความปลอดภัย และการจราจร 4) คณะกรรมการฝายจัดขบวนแหเทียนจํานําพรรษา 5) คณะกรรมการฝายอาหารและเครื่องดื่ม 6. ดําเนินกิจกรรมตามโครงการ7. สรุปผลการดําเนินกิจกรรม8. รายงานผลการดําเนินกิจกรรมนําเสนอผูบริหารกรุงเทพมหานคร

5. ผูรวมดําเนินการ (ไมมี)

6. สวนของผลงานที่ผูเสนอเปนผูปฏิบัติ 6.1 การประสานงาน ไดประสานแนวคิด เสนอแนะแนวทางและสรรหาแนวรวมกับทุกหนวยงาน

เพื่อใหเกิดกระบวนการเคลื่อนไหวในเชิงสรางสรรค เชน ฝายตาง ๆ ของสํานักงานเขตทวีวัฒนา เครือขายชุมชน-เขตทวีวัฒนา/หมูบานจัดสรร สภาวัฒนธรรม ประชาคมเขตทวีวัฒนา เปนตน

6.2 การเขียนโครงการโดยนําแนวคิดที่เกี่ยวของมาประยุกตเปนโครงการลักษณะประสานเครือขายดานการสงเสริม จริยธรรม และศีลธรรม

6.3 จัดใหมีการประชุมเครือขายตาง ๆ ไดแก สมาชิกสภากรุงเทพมหานครเขตทวีวัฒนา สมาชิกสภาเขตทวีวัฒนา คณะกรรมการสภาวัฒนธรรม คณะกรรมการประชาคมเขตทวีวัฒนา คณะกรรมการเครือขายชุมชนเขตทวีวัฒนา และผูเกี่ยวของเพื่อวางแผนการจัดกิจกรรมดังกลาว

6.4 จัดใหมีการประชาสัมพันธเชิญชวนประชาชนเขารวมกิจกรรม เชน ปายผาตามจุดตาง ๆ, แผนพับประชาสัมพันธตามชุมชน, หมูบานจัดสรร, ตลาดนัด

6.5 ดําเนินกิจกรรมตามโครงการ

Page 10: 1.203.155.220.238/csc/attachments/article/158/2198.pdf · ตําแหน ง นักพัฒนาชุมชน 7 (ตําแหน งเลขที่ ขทว.119)

9

6.6 การติดตามและประเมินผลโครงการ โดยใชแบบสอบถามความพึงพอใจและปญหา เพื่อปรับปรุงแกไขการดําเนินงานในคราวตอไป

Page 11: 1.203.155.220.238/csc/attachments/article/158/2198.pdf · ตําแหน ง นักพัฒนาชุมชน 7 (ตําแหน งเลขที่ ขทว.119)

97. ผลสําเร็จของงาน

7.1 เปนการสรางความเขมแข็งของเครือขายภาคประชาชน เพื่อการพัฒนากรุงเทพมหานคร สูเมืองนาอยูอยางยั่งยืน เชน เครือขายชุมชนเขตทวีวัฒนา/หมูบานจัดสรร สภาวัฒนธรรม ประชาคมเขตทวีวัฒนา

7.2 การมีสวนรวมของประชาชนขยายวงกวางไปสูกิจกรรมอื่น ๆ เชน กิจกรรมบรรพชาสามเณร-ภาคฤดูรอน กิจกรรมวันลอยกระทง กิจกรรมแขงขันเรือพาย

7.3 ประชาชนรูและเขาใจในประเพณีแหเทียนจํานําพรรษา7.4 ประเพณีแหเทียนจํานําพรรษา เปนกิจกรรมประเพณีประจําเขตทวีวัฒนา

7.5 เปนการประชาสัมพันธสงเสริมการทองเที่ยวเขตทวีวัฒนา

8. การนําไปใชประโยชน

8.1 การจัดกิจกรรม/โครงการ ดานการสงเสริมจริยธรรมและคุณธรรมของทองถิ่น และกรุงเทพมหานคร เปนที่ยอมรับของประชาชนทําใหเกิดความรวมมือของทุกภาคสวนของสังคมจากภาครัฐ ภาคเอกชน และภาคชุมชน

8.2 การเปดโอกาสใหประชาชน เขามามีสวนรวมในการจัดกิจกรรม/โครงการ ดานการสงเสริมจริยธรรมและคุณธรรม ตามแนวทางการดําเนินอยางแทจริง การรับฟงความคิดเห็นของประชาชน การนําความคิดเห็นของประชาชนไปประกอบการบริหารโครงการ และการตั้งผูแทนชุมชนเปนคณะกรรมการบริหารโครงการ เปนตน

8.3 ขาราชการและลูกจางในสังกัดสํานักงานเขตทวีวัฒนา มีสวนรวมดําเนินงานจัดกิจกรรม/โครงการ ดานการสงเสริมจริยธรรมและคุณธรรม อยางพรอมเพรียงมีการแบงหนาที่ความรับผิดชอบ ทํางานเปนทีม มุงผลสัมฤทธิ์ของงานอยางมีประสิทธิภาพ

8.4 กรุงเทพมหานครบริหารราชการตามหลักธรรมาภิบาล มีการพัฒนาดานการมีสวนรวมของประชาชนอยางตอเนื่องและยั่งยืน เปนเมืองสุขภาพดี ผูคนมีความสุข และมีเอกลักษณทางวัฒนธรรม9. ความยุงยาก ปญหา อุปสรรคในการดําเนินการ

9.1 การดําเนินกิจกรรมแหเทียนจํานําพรรษาไมไดรับความรวมมือจากเครือขายภาคตาง ๆ9.2 ผูเขารวมกิจกรรมมีภารกิจอื่น ๆไมมีเวลาวาง

9.3 การสํารวจขอเท็จจริงเกี่ยวกับขอมูลในการสรางเครือขาย ดานการสงเสริมจริยธรรมและคุณธรรมในพื้นที่ซึ่งมีจํานวนมากไมครอบคลุมและทั่วถึง

9.4 เจาหนาที่บางสวนยังไมเขาใจในเรื่องการสรางเครือขาย ดานการสงเสริมจริยธรรมและคุณธรรมทําใหขาดการรวมมือและการสนับสนุนอยางตอเนื่อง

9.5 การสรางเครือขาย ดานการสงเสริมจริยธรรมและคุณธรรมมีกระบวนการและขั้นตอนที่ ตองอาศัยความรวมมือจากหนวยงานที่เกี่ยวของและประชาชน ทําใหเกิดความยุงยากตอการบูรณาการ และเกิดขอบกพรองในการสรางเครือขาย

9.6 ไมมีงบประมาณดําเนินการหรือมีแตไมเพียงพอ ทําใหการดําเนินโครงการไมตอเนื่อง

Page 12: 1.203.155.220.238/csc/attachments/article/158/2198.pdf · ตําแหน ง นักพัฒนาชุมชน 7 (ตําแหน งเลขที่ ขทว.119)

110. ขอเสนอแนะ

10.1 ควรมีการประชาสัมพันธ สรางความเขาใจกับหนวยงานทั้งภาครัฐ ภาคเอกชน และ ภาคประชาชนใหรูและเขาใจบทบาทที่จะเขามามีสวนรวมอยางตอเนื่อง

10.2 การสรางแรงจูงใจใหผูเขารวมกิจกรรม โดยการมอบประกาศเกียรติคุณ ยกยอง เปนบุคคล ผูสงเสริมจริยธรรมและศีลธรรมประจําเขต จะสรางแรงจูงใจใหประชาชนเขารวมกิจกรรมมากยิ่งขึ้น

10.3 การแบงพื้นที่ใหมีขนาดเล็กลง เพื่อสํารวจขอเท็จจริงเกี่ยวกับขอมูลในการสรางเครือขาย10.4 การพัฒนาบุคลากรใหมีความรู ความเขาใจในเรื่องการสรางเครือขายอยางมีประสิทธิภาพ10.5 การทํางานดานเครือขายตองอาศัยหลักวิชาการแบบสหวิชาชีพ และอาศัยทักษะจากการ

สรางประสบการณแหงการเรียนรูควบคูการกระทํา (Learning by doing)10.6 ผูบริหารกรุงเทพมหานคร ควรกําหนดใหการสรางเครือขาย การมีสวนรวมของประชาชน

เปนภารกิจสอดคลองกับนโยบายทองถิ่น และแผนบริหารราชการกรุงเทพมหานครมีการศึกษา ปญหา อุปสรรคที่ผานมาในรูปการวิจัยกอนเขาสูกระบวนการวางแผนและการบริหารจัดการในภาพรวมของทองถิ่น และถือเปนภารกิจตามนโยบายของกรุงเทพมหานครกําหนด

10.7 กรุงเทพมหานคร ควรจัดสรรงบประมาณสนับสนุนการดําเนินงานใหมีความตอเนื่อง และมีความยืดหยุน เพื่อใหการดําเนินงานเปนไปอยางมีประสิทธิภาพ และเพิ่มศักยภาพในการปฏิบัติงาน

ขอรับรองวาผลงานดังกลาวขางตนเปนความจริงทุกประการ ลงชื่อ……………………………………… (นางปราณี อุทยารัตน) หัวหนาฝายพัฒนาชุมชนและสวัสดิการสังคม สํานักงานเขตทวีวัฒนา ผูขอรับการประเมิน …………/………………./…………

ไดตรวจสอบแลวขอรับรองวาผลงานดังกลาวขางตนถูกตองตรงกับความเปนจริงทุกประการ

ลงชื่อ……………………………………… ลงชื่อ……………………………………… (นายมนัส ประจวบจินดา) (นายโกสิน เทศวงษ)

ผูชวยผูอํานวยการเขตบางแค ผูอํานวยการเขตบางแค ขณะดํารงตําแหนงผูชวยผูอํานวยการเขตทวีวัฒนา ขณะดํารงตําแหนงผูอํานวยการเขตทวีวัฒนา …………/………………./………… …………/………………./…………

Page 13: 1.203.155.220.238/csc/attachments/article/158/2198.pdf · ตําแหน ง นักพัฒนาชุมชน 7 (ตําแหน งเลขที่ ขทว.119)

2

ขอเสนอ แนวคิด วิธีการเพื่อพัฒนางานหรือปรับปรุงงานใหมีประสิทธิภาพมากขึ้นของ นางปราณี อุทยารัตน

Page 14: 1.203.155.220.238/csc/attachments/article/158/2198.pdf · ตําแหน ง นักพัฒนาชุมชน 7 (ตําแหน งเลขที่ ขทว.119)

3เพื่อประกอบการแตงตั้งใหดํารงตําแหนง นักพัฒนาชุมชน 8 ว (ตําแหนงเลขที่) ขทว.119 สังกัดฝายพัฒนาชุมชนและสวัสดิการสังคม สํานักงานเขตทวีวัฒนาเรื่อง การบริหารจัดการศูนยพัฒนาเด็กกอนวัยเรียนวัดปุรณาวาส เขตทวีวัฒนาสูเกณฑมาตรฐานระดับดีมาก

หลักการและเหตุผล กรุงเทพมหานคร ไดดําเนินการดานศูนยเด็กกอนวัยเรียนมาตั้งแตป 2527 เพื่อใหบริการแกเด็ก

ในชุมชนที่มีอายุตั้งแต 2 - 6 ป ใหไดรับการพัฒนาที่เหมาะสมตามวัย เตรียมความพรอมของเด็กที่จะเขาสูการศึกษาในระบบโรงเรียน และเปนการแบงเบาภาระของผูปกครองในชุมชน เพื่อใหเด็กมีผูดูแลและไมถูกทอดทิ้ง สํานักพัฒนาสังคมดําเนินงานสงเสริมสนับสนุน ในดานการพัฒนาศักยภาพอาสาสมัครผูดูแลเด็กเสริมสรางความรู ความเขาใจแกบุคลากร ผูเกี่ยวของ สนับสนุนดานงบประมาณ การจัดกิจกรรมตาง ๆ ในภาพรวม และการพัฒนาศูนยพัฒนาเด็กกอนวัยเรียนใหเปนศูนยมาตรฐานตามแบบประเมินมาตรฐานศูนยพัฒนาเด็กกอนวัยเรียนกรุงเทพ- มหานคร ปจจุบันศูนยพัฒนาเด็กกอนวัยเรียน มีจํานวน 318 แหง เด็กจํานวน 28,707 คน อาสาสมัครผูดูแลเด็ก จํานวน 2,073 คน ผานเกณฑมาตรฐานจํานวน 307 ศูนย แบงเปน ระดับพื้นฐาน 97 ศูนย, ดี 135 ศูนย, ดีมาก 75 ศูนย, ปดปรับปรัง 4 ศูนย, จัดตั้งใหม 7 ศูนย (ขอมูล ณ เดือนมิถุนายน 2552)

ในการประเมินศูนยพัฒนาเด็กกอนวัยเรียนกรุงเทพมหานคร ใชแบบประเมินมาตรฐานศูนยพัฒนาเด็กกอนวัยเรียนของกรุงเทพมหานคร โดยแบงการประเมินออกเปน 3 ระดับ ไดแก ระดับดีมาก (จํานวนขอที่ตองผานการประเมิน 35 ขอ) ระดับดี (23 ขอ) ระดับพื้นฐาน (12 ขอ) เพื่อวัดการบริหารจัดการศูนยสูเกณฑมาตรฐาน 7 ดาน ประกอบดวย ดานการสงเสริมสุขภาพ ดานการสงเสริมพัฒนาการเด็ก ดานอาหารสะอาดปลอดภัย ดานสถานที่สะอาดปลอดภัย ดานบุคลากร ดานการเสริมสรางประสบการณชีวิต และดานการมีสวนรวมของผูปกครอง ชุมชน และหนวยงานที่เกี่ยวของ

ความเปนมาศูนยพัฒนาเด็กกอนวัยเรียนวัดปุรณาวาส มีประวัติความเปนมาดังนี้เมื่อป พ.ศ. 2529 พระครูสุธรรมานุศาสน เจาอาวาสวัดปุรณาวาสไดมอบที่ดิน จํานวน 1 ไร

ใหสํานักอนามัย กรุงเทพมหานคร จัดสรางศูนยบริการสาธารณสุขทดแทนศูนยสาธารณสุขเดิม ซึ่งสรางขึ้น ในป พ.ศ. 2515 สภาพเปนอาคารไม อยูในบริเวณวัดโดยมี นางอารีย แกวดี เจาหนาที่พยาบาล หัวหนาศูนยบริการสาธารณสุข เปนผูประสานงานกับหนวยงานกรุงเทพมหานคร ในการดําเนินงานดังกลาวจนสําเร็จลุลวงไปดวยดี และเปดใหบริการรักษาพยาบาลแกประชาชนทั่วไปไดตามวัตถุประสงค

จากที่นางอารีย แกวดี เจาหนาที่พยาบาลศูนยบริการสาธารณสุข ไดไปศึกษาดูงานตางจังหวัด เมื่อป พ.ศ. 2530 พบวาแตละตําบลจะมีศูนยพัฒนาเด็กเล็กในชวงอายุระหวาง 2 ปครึ่ง ถึง 4 ป ซึ่งเปนการเลี้ยงดูใหเด็กไดมีพัฒนาดานรางกาย สังคม อารมณ และสติปญญา ตลอดจนเปนการแบงเบาภาระจากผูปกครองที่ตอง ออกไปทํางาน หรือประกอบอาชีพนอกบาน จึงเล็งเห็นวาเด็กบริเวณวัดปุรณาวาส หรือบริเวณใกลเคียง ซึ่งพอแม

Page 15: 1.203.155.220.238/csc/attachments/article/158/2198.pdf · ตําแหน ง นักพัฒนาชุมชน 7 (ตําแหน งเลขที่ ขทว.119)

4สวนมาก ประกอบอาชีพรับจางและทําสวนผัก ไมมีเวลาในการเลี้ยงดูหรือเลี้ยงดูอยางไมถูกตอง กอใหเกิดปญหาตอเด็กและผูปกครอง ความคิดดังกลาว นางอารีย แกวดี ไดขอความรวมมือจากชาวบาน โดยการขอรับบริจาคเงินเพื่อจัดสรางศูนยพัฒนาเด็กกอนวัยเรียน และชวยกันกอสรางขึ้นภายในบริเวณศูนย และในครั้งนั้นจึงไดรับบริจาคเงิน จํานวน 30,000.-บาท เงินจํานวนดังกลาวยังไมเพียงพอสําหรับซื้อวัสดุกอสราง ตอมาไดจัดงานเพื่อหาเงินสมทบทุนการกอสรางโดยไดรับการสนับสนุน จากบุคคลสําคัญในทองถิ่น เปนเงินรวมทั้งสิ้น 100,000.-บาท ชาวบานบริเวณวัดปุรณาวาสไดรวมแรงรวมใจกับคณะกรรมการรวมกันสรางโดยไมคิดคาแรงใด ๆ โครงเหล็ก หลังคากระเบื้องพื้นคอนกรีตเสริมเหล็ก ผนังกออิฐฉาบปูน โดยมีหองนอน- เอนกประสงค 1 หอง ใชเปนหองเรียนและหองนอน โรงครัว 1 หอง หองน้ํา, หองสวม 2 หอง

เริ่มเปดทําการสอนครั้งแรกเมื่อป พ.ศ. 2531 มีเด็กเล็กบริเวณวัดปุรณาวาส 40 คน เรียกเก็บคาอาหารจากผูปกครอง วันละ 10 บาท และจางครูพี่เลี้ยง 4 คน ๆ ละ 800 บาท ตอเดือน อุปกรณในการใช เชน หมอ เตา เหล็กดัด ตูเย็น ทีวี ไดรับบริจาคจากชาวบาน ถาดของใชบางอยางไดรับจากยูนิเซฟ ตอมามีเด็กเพิ่มมากขึ้นเรื่อย ๆ จึงไดยกศูนยพัฒนาเด็กกอนวัยเรียนใหอยูในความดูแลของฝายพัฒนาชุมชนและสวัสดิการสังคม ของเขตตลิ่งชัน ในป พ.ศ. 2538 และในป พ.ศ. 2548 ไดตอเติมอาคารและอางแปรงฟน เนื่องจากที่เดิมไมเพียงพอตอจํานวนเด็กที่ เพิ่มขึ้นถึง 150 คน โดยไดรับเงินบริจาคเปนคากอสราง และตอมาไดรับความดูแลจากฝายพัฒนาชุมชนและสวัสดิการสังคม เขตทวีวัฒนา ตลอดมาจนถึงปจจุบัน

ศูนยพัฒนาเด็กกอนวัยเรียนวัดปุรณาวาส ไดผานการประเมินตามแบบประเมินมาตรฐานศูนยพัฒนาเด็กกอนวัยเรียนกรุงเทพมหานคร ระดับพื้นฐาน และระดับดี ตามลําดับ โดยการบริหารจัดการศูนยพัฒนาเด็กกอนวัยเรียนวัดปุรณาวาสที่ผานมา เนนกระบวนการมีสวนรวมของทุกภาคสวนของสังคม โดยเฉพาะประชาชนในชุมชนมีสวนรวมอยางแทจริง เชน ดานบุคลากร งบประมาณ วัสดุ อุปกรณ และกระบวนการบริหารจัดการ ฯลฯ ทําใหศูนยพัฒนาเด็กกอนวัยเรียนวัดปุรณาวาสผานการประเมิน จํานวน 34 ขอ จาก 35 ขอ ไดแก 1. ดานการสงเสริมสุขภาพ (จํานวน 7 ขอ) 2. ดานสงเสริมพัฒนาการเด็ก (จํานวน 5 ขอ) 3. ดานอาหารสะอาดปลอดภัย (จํานวน 5 ขอ) 4. ดานสถานที่สะอาดปลอดภัย (จํานวน 6 ขอ) 5. ดานบุคลากร (จํานวน 3 ขอ) 6. ดานการสงเสริมประสบการณชีวิต (จํานวน 5 ขอ) 7. ดานการมีสวนรวมของผูปกครอง ชุมชน และหนวยงานที่เกี่ยวของ (จํานวน 3 ขอ) ซึ่งจากการตรวจสอบแลว ศูนยพัฒนาเด็กกอนวัยเรียนวัดปุรณาวาส ไดปรับปรุงและพัฒนาการบริหารจัดการอยางตอเนื่อง แตยังขาดบุคลากรที่มีวุฒิการศึกษาที่เหมาะสม อยางนอย 1 คน/ศูนย (หลักสูตรการศึกษาปฐมวัย) ดังนั้น การบริหารจัดการศูนยพัฒนาเด็กกอนวัยเรียนวัดปุรณาวาส ใหผานการประเมินมาตรฐานระดับดีมาก ควรจัดเปนยุทธศาสตรการบริหารงานเพื่อใหเปนกรอบการปรับปรุงและพัฒนาสูเปาหมาย โดยมีปจจัยดังนี้ จุดแข็ง บุคลากรของศูนยพัฒนาเด็กกอนวัยเรียน มีความรู ความสามารถ ประสบการณ ทุมเท เสียสละ ความคิดริเริ่มสรางสรรค ผานการอบรมและพัฒนาความรูอยางตอเนื่อง มีการแบงหนาที่ความรับผิดชอบและทํางานเปนทีม จุดออน บุคลากรบางคนมีวุฒิการศึกษาไมสอดคลองกับมาตรฐานกําหนดตําแหนงและแบบประเมินมาตรฐานศูนยพัฒนาเด็กกอนวัยเรียนกรุงเทพมหานคร (บุคลากรมีวุฒิการศึกษาระดับปริญญาตรี ดานที่เกี่ยวของกับเด็กอยางนอย 1 คน/ศูนย) กระบวนการคิดของบุคลากรขาดการกระตุนใหเกิดการรวมคิด รวมทํา รวมแกไขดวยกัน มักจะทํางานตามสั่งการ

Page 16: 1.203.155.220.238/csc/attachments/article/158/2198.pdf · ตําแหน ง นักพัฒนาชุมชน 7 (ตําแหน งเลขที่ ขทว.119)

โอกาส นโยบายของกรุงเทพมหานครเนนการบริหารราชการแบบมีสวนรวมในการทํางาน ทุกภาคสวนของชุมชนมีสวนรวมในการบริหารจัดการ คือ บุคลากร งบประมาณ วัสดุ อุปกรณ กระบวนการบริหารจัดการ อุปสรรค พื้นที่คับแคบไมเหมาะสมตอจํานวนเด็กที่จะเพิ่มขึ้น

วัตถุประสงคและหรือเปาหมาย1. เพื่อทราบปจจัยที่มีผลตอความสําเร็จสูเกณฑมาตรฐานระดับดีมากของศูนยพัฒนาเด็กกอน

วัยเรียนวัดปุรณาวาส เขตทวีวัฒนา2. การบริหารจัดการเพื่อนําไปสูความสําเร็จตามปจจัย3. เพื่อเปนแนวทางใหหนวยงานที่เกี่ยวของ สามารถนําปจจัยที่มีผลตอความสําเร็จสูเกณฑมาตรฐาน

ของศูนยพัฒนาเด็กกอนวัยเรียนไปปฏิบัติไดอยางมีประสิทธิภาพและประสิทธิผลกรอบการวิเคราะห แนวคิด ขอเสนอกรอบการวิเคราะห

จากวิกฤตเศรษฐกิจ ทําใหพอแมผูปกครอง มีภาระในการประกอบอาชีพการงานมากขึ้น และความสามารถในการจัดสงบุตรหลานเขาเรียนในโรงเรียนอนุบาลของเอกชนลดลง ศูนยพัฒนาเด็กกอน วัยเรียนในชุมชนของกรุงเทพมหานคร ไดมีการพัฒนาคุณภาพการใหบริการที่มีมาตรฐานขึ้น ใหเขาสูมาตรฐานในหลายดาน เชน ดานกายภาพ ดานความสะอาด ดานความปลอดภัย ดานสิ่งแวดลอม ดานอุปกรณการเรียนรู ดานสื่อชวยการสอนตาง ๆ ฯลฯ ทําใหผูปกครองมีความไววางใจ สงบุตรหลานเขาเรียนในศูนยพัฒนาเด็กกอน วัยเรียนมากขึ้น (ปจจุบันมีเด็ก จํานวน 28,173 คน) แตอยางไรก็ตาม จากการประเมิน และติดตามผลการบริหารการจัดการศูนยพัฒนาเด็กกอนวัยเรียนในชุมชนของกรุงเทพมหานคร พบวาศูนยพัฒนาเด็กกอนวัยเรียนเปน จํานวนมากควรจะตองพัฒนาคุณภาพและบริการ ซึ่งเปนปญหาที่จะตองไดรับการพัฒนาแกไข ในอนาคต และจะตองอาศัยความรวมแรงรวมใจจากทุกฝาย โดยเฉพาะชุมชนในพื้นที่ การไดรับการจัดสรรจากงบประมาณกรุงเทพมหานคร สมาชิกสภาทองถิ่น สมาชิกสภาเขต หนวยงานทั้งภาครัฐ และเอกชน นาจะมีบทบาทสําคัญ ตอพัฒนาคุณภาพและมาตรฐานการดูแลเด็กกอนวัยเรียนในชุมชนของกรุงเทพมหานคร ใหเด็กมีความพรอม มากที่สุด พรอมกับการพัฒนาแนวทางการบริหารการจัดการศูนยพัฒนาเด็กกอนวัยเรียนสูเกณฑมาตรฐาน

แนวคิด- แนวคิดเกี่ยวกับการมีสวนรวมของชุมชน โดยการจัดใหมีบริการสังคม ดําเนินการในลักษณะ

ของ Day Care Service เพื่อแบงเบาภาระผูปกครอง และเพื่อใหเด็กในชุมชนซึ่งเปนกลุมผูดอยโอกาสไดมี การเตรียมความพรอมกอนเขาสูโรงเรียนการบริหารจัดการศูนยพัฒนาเด็กกอนวัยเรียนเปนกิจกรรมหนึ่งในหลาย ๆ กิจกรรมที่ดําเนินการโดยคณะกรรมการชุมชน เปดโอกาสใหประชาชนไดมีสวนรวมในการคิดริเริ่ม การพิจารณาตัดสินใจการรวมปฏิบัติและรวมรับผิดชอบในเรื่องตาง ๆ อันมีผลกระทบถึงประชาชนเอง เพื่อพัฒนาการมีสวนรวมของประชาชนตามกระบวนการพัฒนาชุมชน

- แนวคิดเกี่ยวกับการประสานงานและการใหความรวมมือ ระหวางหนวยงานที่มีหนาที่รับผิดชอบ เพื่อใหงานของแตละฝายมีความสอดคลองผสมผสานสนับสนุน และไมซ้ําซอนหรือขัดแยงซึ่งกันและกัน

3

Page 17: 1.203.155.220.238/csc/attachments/article/158/2198.pdf · ตําแหน ง นักพัฒนาชุมชน 7 (ตําแหน งเลขที่ ขทว.119)

- แนวคิดเก่ียวกับการบริหารจัดการ เปนกระบวนการทํางานกับคนและโดยอาศัยคนเพื่อบรรลุเปาหมายขององคกรภายใตสภาพแวดลอมที่เปลี่ยนอยูตลอดเวลา แยกลักษณะออกเปน 5 อยาง คือ การทํางานรวมกับคน มีเปาหมายรวมกันขององคการ เปนการสรางความสมดุลระหวางประสิทธิภาพและประสิทธิผล การใชทรัพยากรที่มีอยูอยางจํากัดในโลกใหเกิดประโยชนสูงสุด และการเผชิญหนากับสภาพแวดลอมที่เปลี่ยนแปลงอยูตลอดเวลา

ปจจัยที่นําไปสูความสําเร็จ ประกอบดวยปจจัยหลัก 3 ประการ คือ1. การรับรูเกี่ยวกับการดําเนินงานของศูนยพัฒนาเด็กกอนวัยเรียนวัดปุรณาวาส : หากผูมีสวนเกี่ยวของ

ทุกฝาย ทุกระดับไดรับรูและทําความเขาใจกับงานนั้น ๆ เปนที่กระจางชัด รับรูวาเปาหมายสุดทายจะเกิดอะไร ผูมีสวนเกี่ยวของคือใคร ตนเอง และผูเกี่ยวของจะมีบทบาทอยางไร ทั้งบทบาทเฉพาะบุคคลและบทบาทการประสานงานรวมกัน ความรูเหลานี้ยอมมีสวนสําคัญที่จะทําใหการปฏิบัติงานบรรลุผลไดโดยงาย

2. ความรูเกี่ยวกับการดูแลเด็กและอื่น ๆ ที่เกี่ยวของ : ทั้งความรูที่ไดจากการศึกษาในระบบ จากประสบการณการทํางานดานการเลี้ยงดูเด็ก จากคําแนะนําระหวางการนิเทศ ติดตามงานของคณะกรรมการประเมินและผูบริหาร หรือจากการพูดคุยแลกเปลี่ยนเรียนรูกับนักวิชาการ ลวนเปนความรูและขอมูลขาวสารที่ เสริมประสิทธิภาพและประสิทธิผลในการปฏิบัติงานของผูเกี่ยวของใหสามารถพัฒนาสูความเปนศูนยพัฒนาเด็กกอน วัยเรียนในระดับดีมาก และคงมาตรฐานไวได

3. ความรวมมือและการสนับสนุนจากทุกหนวยของสังคม : จําเปนตองมีการประสานความรวมมือตั้งแตระดับนโยบายจนถึงผูปฏิบัติในพื้นที่ชุมชนและครอบครัว เพื่อชวยลดทอนหรือขจัดปญหา และสามารถผลักดันใหศูนยพัฒนาเด็กกอนวัยเรียนวัดปุรณาวาสสูความสําเร็จในระดับดีมาก และคงมาตรฐานไวได

วิธีการบริหารจัดการ1. จัดประชุม เพื่อทําความเขาใจเกี่ยวกับหลักเกณฑของแบบประเมินศูนยพัฒนาเด็กกอนวัยเรียน

สูเกณฑมาตรฐานระดับดีมาก ซึ่งมี 7 ดาน 35 ตัวชี้วัด2. สํารวจความตองการและความจําเปนที่จะตองพัฒนาศูนยพัฒนาเด็กกอนวัยเรียนที่ประเมินพบ

เพื่อตรวจสอบวาสามารถจะพัฒนาดานใดไดกอนหลังตามความเหมาะสมและจําเปน3. วางแผนจัดทําโครงการขอจัดสรรงบประมาณเพื่อแกไขปญหาขอบกพรองของศูนยพัฒนา

เด็กกอนวัยเรียนตามที่ไดประเมินพบ และไดจัดลําดับความสําคัญของปญหาที่ตองแกไข4. มีการนิเทศติดตามผลการบริหารจัดการ โดยเจาหนาที่ฝายพัฒนาชุมชนและสวัสดิการสังคม

อยางตอเนื่องขอเสนอแนะ1. การบริหารจัดการจะสําเร็จไดโดยเนนการมีสวนรวมของชุมชนมีการดําเนินงานในรูปของคณะ-

กรรมการบริหารศูนยพัฒนาเด็กกอนวัยเรียนวัดปุรณาวาส ซึ่งเปนประชาชนในชุมชนนั้น ๆ ภายใตการควบคุมดูแลของคณะกรรมการชุมชน โดยมีอาสาสมัครผูดูแลเด็กเปนกลไกสําคัญที่จะนําการบริการทางสังคม ไปสูการพัฒนาเด็กตามหลักวิธีการทางจิตวิทยา เพื่อเด็กกอนวัยเรียนไดรับการพัฒนาตามควรแกวัย และมีความพรอมที่กาวสูการศึกษาในระบบโรงเรียน

2. หนวยงานระดับเขต/ผูบริหารระดับเขต ตองใหความสนใจติดตาม แกไข ปญหา อุปสรรคที่เกิดขึ้นอยางตอเนื่องและทันทวงที

4

Page 18: 1.203.155.220.238/csc/attachments/article/158/2198.pdf · ตําแหน ง นักพัฒนาชุมชน 7 (ตําแหน งเลขที่ ขทว.119)

3. บุคลากรและเจาหนาที่ที่เกี่ยวของ ตองมีมนุษยสัมพันธที่ดีการประสานงานที่มีประสิทธิภาพกับชุมชน จะทําใหศูนยพัฒนาเด็กกอนวัยเรียนมีการพัฒนาคุณภาพใหบริการที่มีมาตรฐานขึ้นตามลําดับ

4. สงเสริมและสนับสนุนความรวมมือระหวางชุมชน หนวยงานที่เกี่ยวของ และภาคเอกชน ในการสนับสนุนการบริหารจัดการศูนยพัฒนาเด็กกอนวัยเรียน โดยการดําเนินงานของศูนยฯ ตองดําเนินการใหมีความเพียงพอและเหมาะสม ไดแก ความสะอาด ถูกสุขลักษณะ มีคุณภาพของอาหารและเครื่องดื่ม ความปลอดภัยในสถานที่ วัสดุอุปกรณมีเพียงพอ เจาหนาที่มีสุขภาพดี มีความรู ความเขาใจ ดูแลเด็กไดอยางมีประสิทธิภาพ เปนตน

5. ฝายพัฒนาชุมชนและสวัสดิการสังคม สงเสริมและสนับสนุนใหบุคลากรศึกษาเพิ่มเติมใหสอดคลองกับมาตรฐานกําหนดตําแหนงตลอดจนสนับสนุนใหบุคลากรพัฒนาศักยภาพตนเอง การสรางทีมงานที่เขมแข็งภายในหนวยงาน ชุมชน/องคกร อาสาสมัครทุกรูปแบบ

6. กรุงเทพมหานครจัดสรรงบประมาณใหหนวยงานที่เกี่ยวของดําเนินการ เชน คาตอบแทนครูพี่เลี้ยง คาอาหารกลางวัน คาอาหาร(เสริม)นม คาวัสดุ การเรียนการสอน เปนตน อยางตอเนื่องและพอเพียง

ประโยชนที่คาดวาจะไดรับ1. ทําใหประชาชนในชุมชน มีสวนรวมในการบริหารจัดการศูนยพัฒนาเด็กกอนวัยเรียนสูเกณฑ

มาตรฐาน เปนการเสริมสรางความเขมแข็งของชุมชน เปนการพัฒนาแบบองครวม เกิดความยั่งยืนและตอเนื่อง2. ทําใหเกิดการประสานงานระหวางสํานัก สํานักงานเขต หนวยงานภาครัฐ ภาคเอกชน และ

ภาคประชาชน มีการแลกเปลี่ยน เรียนรู รวมใจ รวมคิด รวมทํา และรวมรับผลประโยชน3. เจาหนาที่ศูนยพัฒนาเด็กกอนวัยเรียนและฝายพัฒนาชุมชนและสวัสดิการสังคม ไดรับการอบรม

ถายทอด กอใหเกิดความรูความเขาใจ ในแบบประเมินศูนยพัฒนาเด็กกอนวัยเรียน4. มีการปรับปรุง พัฒนา ศูนยพัฒนาเด็กกอนวัยเรียนในแตละพื้นที่เขตตาง ๆ ในกรุงเทพมหานคร

เพื่อใหการทํางานของศูนยพัฒนาเด็กกอนวัยเรียนเปนไปสูเกณฑมาตรฐาน5. ศูนยพัฒนาเด็กกอนวัยเรียนวัดปุรณาวาส เขตทวีวัฒนา เปนตัวอยางการบริหารจัดการศูนย ฯ ที่มี

ประสิทธิภาพในระดับดีมากของกรุงเทพมหานคร โดยใชแบบประเมินศูนยพัฒนาเด็กกอนวัยเรียนสูเกณฑมาตรฐาน ที่ชัดเจนและเปนมาตรฐานเดียวกัน

ตัวชี้วัดความสําเร็จ1. การมีสวนรวมของประชาชน โดยจํานวนผูเขามามีสวนรวมเพิ่มมากขึ้น2. จํานวนเด็กศูนยพัฒนาเด็กกอนวัยเรียนวัดปุรณาวาส เขตทวีวัฒนา มีจํานวนมากเพิ่มขึ้น3. ความพึงพอใจของประชาชนในชุมชนที่มีตอการขอรับบริการจากศูนยพัฒนาเด็กกอนวัยเรียน

วัดปุรณาวาส เขตทวีวัฒนา อยูในระดับมากถึงมากที่สุด

ลงชื่อ……………………………………… (นางปราณี อุทยารัตน) หัวหนาฝายพัฒนาชุมชนและสวัสดิการสังคม สํานักงานเขตทวีวัฒนา ผูขอรับการประเมิน

…………/………………./…….

5

Page 19: 1.203.155.220.238/csc/attachments/article/158/2198.pdf · ตําแหน ง นักพัฒนาชุมชน 7 (ตําแหน งเลขที่ ขทว.119)
Page 20: 1.203.155.220.238/csc/attachments/article/158/2198.pdf · ตําแหน ง นักพัฒนาชุมชน 7 (ตําแหน งเลขที่ ขทว.119)