of 84 /84
มคอ.2 1 มคอ.2 รายละเอียดของหลักสูตร รายละเอียดของหลักสูตร ( Programme Specification) หมายถึง คาอธิบายภาพรวมของการจัด หลักสูตรการจัดการเรียนการสอนที่จะทาให้บัณฑิตบรรลุผลการเรียนรู้ของหลักสูตรนั้น ๆ โดยจะถ่ายทอด ผลการเรียนรู้ที่คาดหวังของบัณฑิตที่กาหนดไว้ในกรอบมาตรฐานคุณวุฒิระดับอุดมศึกษาแห่งชาติและ มาตรฐานคุณวุฒิสาขา/สาขาวิชาไปสู่การปฏิบัติในหลักสูตร ซึ่งแต่ละสถาบันอุดมศึกษาสามารถบรรจุ เนื้อหาวิชาเพิ่มเติมนอกเหนือจากที่กาหนดไว้ได้อย่างอิสระเหมาะสมตรงกับความต้องการหรือเอกลักษณ์ ของสถาบันฯ โดยอาจารย์ผู้สอนจะต้องร่วมมือกันวางแผนและจัดทารายละเอียดของหลักสูตร รายละเอียดของหลักสูตรจะช่วยอธิบายให้นักศึกษาทราบว่าตนต้องเรียนวิชาอะไรบ้าง เข้าใจถึง วิธีการสอน วิธีการเรียนรู้ ตลอดจนวิธีการวัดและประเมินผลที่จะทาให้มั่นใจว่าเมื่อเรียนสาเร็จแล้วจะบรรลุ มาตรฐานผลการเรียนรู้ตามที่กาหนดไว้ในหลักสูตร ทั้งยังแสดงความสัมพันธ์ของหลักสูตรกับองค์ประกอบ ในการเรียนเพื่อนาไปสู่คุณวุฒิตามที่กาหนดในมาตรฐานคุณวุฒิ รายละเอียดของหลักสูตรจะช่วยให้ นักศึกษาเลือกเรียนในหลักสูตรที่เหมาะกับรูปแบบการเรียนรู้และความต้องการของตนเองได้ รวมทั้งผู้ใช้ บัณฑิตสามารถใช้เป็นข้อมูลประกอบการพิจารณารับบัณฑิตเข้าทางาน ประกอบด้วย 8 หมวดต่อไปนีหมวดที1 ข้อมูลทั่วไป หมวดที2 ข้อมูลเฉพาะของหลักสูตร หมวดที3 ระบบการจัดการศึกษา การดาเนินการ และโครงสร้างของหลักสูตร หมวดที4 ผลการเรียนรู้ กลยุทธ์การสอนและประเมินผล หมวดที5 หลักเกณฑ์ในการประเมินผลนักศึกษา หมวดที6 การพัฒนาอาจารย์ หมวดที7 การประกันคุณภาพหลักสูตร หมวดที8 การประเมินและปรับปรุงการดาเนินการของหลักสูตร

มคอ.2 รายละเอียดของหลักสูตร¸£ายละเอียด... · มคอ.2 2 หลักสูตรศึกษาศาสตรบัณฑิต

  • Author
    others

  • View
    4

  • Download
    0

Embed Size (px)

Text of มคอ.2...

  • มคอ.2

    1

    มคอ.2 รายละเอียดของหลักสูตร

    รายละเอียดของหลักสูตร (Programme Specification) หมายถึง ค าอธิบายภาพรวมของการจัดหลักสูตรการจัดการเรียนการสอนที่จะท าให้บัณฑิตบรรลุผลการเรียนรู้ของหลักสูตรนั้น ๆ โดยจะถ่ายทอดผลการเรียนรู้ที่คาดหวังของบัณฑิตที่ก าหนดไว้ในกรอบมาตรฐานคุณวุฒิระดับอุดมศึกษาแห่งชาติและมาตรฐานคุณวุฒิสาขา/สาขาวิชาไปสู่การปฏิบัติในหลักสูตร ซึ่งแต่ละสถาบันอุดมศึกษาสามารถบรรจุเนื้อหาวิชาเพ่ิมเติมนอกเหนือจากที่ก าหนดไว้ได้อย่างอิสระเหมาะสมตรงกับความต้องการหรือเอกลักษณ์ของสถาบันฯ โดยอาจารย์ผู้สอนจะต้องร่วมมือกันวางแผนและจัดท ารายละเอียดของหลักสูตร

    รายละเอียดของหลักสูตรจะช่วยอธิบายให้นักศึกษาทราบว่าตนต้องเรียนวิชาอะไรบ้าง เข้าใจถึงวิธีการสอน วิธีการเรียนรู้ ตลอดจนวิธีการวัดและประเมินผลที่จะท าให้มั่นใจว่าเมื่อเรียนส าเร็จแล้วจะบรรลุมาตรฐานผลการเรียนรู้ตามที่ก าหนดไว้ในหลักสูตร ทั้งยังแสดงความสัมพันธ์ของหลักสูตรกับองค์ประกอบในการเรียนเพ่ือน าไปสู่คุณวุฒิตามที่ก าหนดในมาตรฐานคุณวุฒิ รายละเอียดของหลักสูตรจะช่วยให้นักศึกษาเลือกเรียนในหลักสูตรที่เหมาะกับรูปแบบการเรียนรู้และความต้องการของตนเองได้ รวมทั้งผู้ใช้บัณฑิตสามารถใช้เป็นข้อมูลประกอบการพิจารณารับบัณฑิตเข้าท างาน

    ประกอบด้วย 8 หมวดต่อไปนี้

    หมวดที่ 1 ข้อมูลทั่วไป หมวดที่ 2 ข้อมูลเฉพาะของหลักสูตร หมวดที่ 3 ระบบการจัดการศึกษา การด าเนินการ และโครงสร้างของหลักสูตร หมวดที่ 4 ผลการเรียนรู้ กลยุทธ์การสอนและประเมินผล หมวดที่ 5 หลักเกณฑ์ในการประเมินผลนักศึกษา หมวดที่ 6 การพัฒนาอาจารย์ หมวดที่ 7 การประกันคุณภาพหลักสูตร หมวดที่ 8 การประเมินและปรับปรุงการด าเนินการของหลักสูตร

  • มคอ.2

    2

    หลักสูตรศึกษาศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาคอมพิวเตอร์ศึกษา (5 ป)ี

    หลักสูตรใหม่ พ.ศ. 2561

    ชื่อสถาบันอุดมศึกษา : มหาวิทยาลัยภาคตะวันออกเฉียงเหนือ คณะ : ศึกษาศาสตร์

    หมวดที ่1 ข้อมูลทั่วไป

    1. ชื่อหลักสูตร

    ภาษาไทย : หลักสูตรศึกษาศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาคอมพิวเตอร์ศึกษา (5 ปี) ภาษาอังกฤษ : Bachelor of Education Program in Computer Education

    2. ชื่อปริญญาและสาขาวิชา

    ภาษาไทย ชื่อเต็ม : ศึกษาศาสตรบัณฑิต (คอมพิวเตอร์ศึกษา) ชื่อย่อ : ศษ.บ. (คอมพิวเตอร์ศึกษา)

    ภาษาอังกฤษ ชื่อเต็ม : Bachelor of Education (Computer Education) ชื่อย่อ : B.Ed. (Computer Education)

    3. วิชาเอก

    คอมพิวเตอร์ศึกษา 4. จ านวนหน่วยกิตที่เรียนตลอดหลักสูตร

    171 หน่วยกิต 5. รูปแบบของหลักสูตร

    5.1 รูปแบบ หลักสูตรปริญญาตรี 5 ปี

    5.2 ประเภทหลักสูตร หลักสูตรปริญญาตรีทางวิชาชีพ

    5.3 ภาษาที่ใช้ การเรียนการสอนใช้ภาษาไทย

    5.4 การรับเข้าศึกษา รับนักศึกษาไทยและนักศึกษาต่างชาติที่สามารถฟัง พูด อ่าน เขียน และเข้าใจภาษาไทยเป็นอย่างดี

  • มคอ.2

    3

    5.5 ความร่วมมือกับสถาบันอื่น เป็นหลักสูตรเฉพาะของมหาวิทยาลัยภาคตะวันออกเฉียงเหนือ มีการท าข้อตกลงร่วมมือกับส านักงานเขต

    พ้ืนที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 25 จังหวัดขอนแก่น และโรงเรียนมัธยมศึกษาในสังกัด ส าหรับเป็นหน่วย งานที่รับนักศึกษาเข้าปฏิบัติการสอนในสถานศึกษา

    5.6 การให้ปริญญาแก่ผู้ส าเร็จการศึกษา ให้ปริญญาแก่ผู้ส าเร็จการศึกษาเพียงสาขาวิชาเดียว

    6. สถานภาพของหลักสูตรและการพิจารณาอนุมัติ/เห็นชอบหลักสูตร

    6.1 หลักสูตรใหม่ พ.ศ. 2561 ก าหนดเปิดสอนภาคการศึกษาท่ี 1 ปีการศึกษา 2561 6.2 ได้พิจารณากลั่นกรองโดย สภาวิชาการมหาวิทยาลัยภาคตะวันออกเฉียงเหนือ

    ครั้งที ่1 ในการประชุมครั้งที่ 2/2560 วันที่ 15 เดือน มิถุนายน พ.ศ. 2560 ครั้งที ่2 ในการประชุมครั้งที่ 2/2561 วันที่ 16 เดือน มีนาคม พ.ศ. 2561

    6.3 ได้รับอนุมัติหลักสูตรโดย สภามหาวิทยาลัยภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ครั้งที ่1 ในการประชุมครั้งที่ 4/2560 วันที่ 28 เดือน มิถุนายน พ .ศ. 2560 ครั้งที ่2 ในการประชุมครั้งที่ 3/2561 วันที่ 25 เดือน มีนาคม พ.ศ. 2561

    7. ความพร้อมในการเผยแพร่หลักสูตรที่มีคุณภาพและมาตรฐาน

    หลักสูตรมีความพร้อมในการเผยแพร่ว่าเป็นหลักสูตรที่มีคุณภาพและมาตรฐานคุณวุฒิระดับปริญญาตรีสาขาครุศาสตร์และสาขาศึกษาศาสตร์ (หลักสูตร 5 ปี) สาขาวิชาคอมพิวเตอร์ศึกษา ในปี การศึกษา 2563

    8. อาชีพที่สามารถประกอบได้หลังส าเร็จการศึกษา

    8.1 คร ูผู้สอนวิชาคอมพิวเตอร์ในสถานศึกษา 8.2 นักวิชาการทางด้านคอมพิวเตอร์ศึกษา 8.3 นักออกแบบและพัฒนาสื่อการเรียนการสอนหรือนวัตกรรมทางการศึกษา 8.4 ผู้ช่วยนักวิจัยทางด้านการศึกษาและคอมพิวเตอร์ 8.5 นักพัฒนาโปรแกรมประยุกต์ 8.6 นักวิเคราะห์และออกแบบระบบสารสนเทศ 8.7 ผู้ดูแลระบบคอมพิวเตอร์ 8.8 ผู้ประกอบอาชีพอิสระทางด้านคอมพิวเตอร์

  • มคอ.2

    4

    9. ชื่อ ต าแหน่งวิชาการ คุณวุฒ ิสาขาวิชา สถาบันการศึกษา และปีท่ีจบของอาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตร ล าดับที่ เลขประจ าตัว

    ประชาชน ชื่อ-สกุล ต าแหน่ง

    วิชาการ คุณวุฒิ-สาขาวิชา สถาบันการศึกษา ปีท่ีจบ

    1 3-4113-00043-95-5 นายวรินทร์ ไทยรักษ์ อาจารย์ คอ.ม. (เทคโนโลยีคอมพิวเตอร์) คอ.บ. (เทคโนโลยีคอมพิวเตอร์)

    สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ

    2549

    2542

    2 3-4099-00127-66-9 นายวีรวิชญ ์เลิศรัตน์ธ ารงกุล อาจารย์ วท.ม. (เทคโนโลยีสารสนเทศ) ศษ.ม. (เทคโนโลยีการศึกษา) น.บ. (นิติศาสตร์) บธ.บ. (คอมพิวเตอร์ธุรกิจ)

    มหาวิทยาลัยมหาสารคาม มหาวิทยาลัยขอนแก่น มหาวิทยาลัยขอนแก่น มหาวิทยาลัยภาคตะวันออก เฉียงเหนือ

    2555 2554 2559 2545

    3 3-4017-00827-77-5 นางสาวเยาวลักษณ์ ชมนาวัง อาจารย์ ศษ.ม. (เทคโนโลยีการศึกษา) วท.บ. (เกษตรศาสตร์)

    มหาวิทยาลัยขอนแก่น มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์

    2539 2535

    4 1-4305-00122-15-1 นายศรีสมพร โคตะค า อาจารย์ คอ.ม. (เทคโนโลยีสารสนเทศ) วท.บ. (เทคโนโลยีสารสนเทศ)

    มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี มหาวิทยาลัยภาคตะวันออก เฉียงเหนือ

    2555

    2552

    5 3-4099-01005-03-6 นายสมพร เตียเจริญ อาจารย์ วศ.ม. (วิศวกรรมไฟฟ้า) คอ.บ. (วิศวกรรมไฟฟ้า)

    มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี

    2543

    2538

    * ข้อตกลงร่วมผลิตหลักสูตรกับหน่วยงานอ่ืนที่ไม่ใช่สถาบันอุดมศึกษา คือ ส านักงานเขตพ้ืนที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 25 จังหวัดขอนแก่น และโรงเรียนมัธยมศึกษาในสังกัด ส าหรับเป็นหน่วยงานที่รับนักศึกษาเข้าปฏิบัติการสอนในสถานศึกษา

  • มคอ.2

    5

    10. สถานที่จัดการเรียนการสอน มหาวิทยาลัยภาคตะวันออกเฉียงเหนือ

    11. สถานการณ์ภายนอกหรือการพัฒนาที่จ าเป็นต้องน ามาพิจารณาในการวางแผนหลักสูตร

    11.1 สถานการณ์หรือการพัฒนาทางเศรษฐกิจ จากร่างแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติฉบับที่ 12 (พ.ศ.2560 - 2564) มีหลักการส าคัญ

    ของแผนพัฒนาฯ โดยยึดหลัก “ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง” และ “คนเป็นศูนย์กลางการพัฒนา” และ “วิสัยทัศน์ภายใต้ยุทธศาสตร์ชาติ ๒๐ ปี” และ “เป้าหมายอนาคตประเทศไทยปี ๒๕๗๙” และ “หลักการเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจที่ลดความเหลื่อมล้ าและขับเคลื่อนการเจริญเติบโตจากการเพ่ิมผลิตภาพการผลิตบนฐานของการใช้ภูมิปัญญาและนวัตกรรม” และ “หลักการน าไปสู่การปฏิบัติให้เกิดผลสัมฤทธิ์อย่างจริงจังใน ๕ ปีที่ต่อยอดไปสู่ผลสัมฤทธิ์ที่เป็นเป้าหมายระยะยาว” ในทุกมิต ิ

    ในแผนพัฒนาฉบับนี้ ได้วางยุทธศาสตร์ที่ส าคัญที่เก่ียวข้องกับภาคการศึกษาไว้ คือ การยกระดับคุณภาพการศึกษาสู่ความเป็นเลิศในทุกระดับและยกระดับการเรียนรู้ โดยเน้นการพัฒนาคุณภาพการศึกษาขั้นพ้ืนฐานทั้งการบริหารจัดการโรงเรียนขนาดเล็ก ปรับระบบการจัดการเรียนการสอนและการพัฒนาคุณ ภาพครูทั้งระบบรวมทั้งการยกระดับคุณภาพการศึกษาสู่ความเป็นเลิศในสาขาวิชาที่มีความเชี่ยวชาญเฉพาะด้านและพัฒนาระบบทวิภาคีหรือสหกิจศึกษาให้เอ้ือต่อการเตรียมคนที่มีทักษะให้พร้อมเข้าสู่ตลาดแรงงาน นอกจากนี้ต้องให้ความส าคัญกับการสร้างปัจจัยแวดล้อมที่เอ้ือต่อการเรียนรู้ตลอดชีวิต ทั้งสื่อการเรียนรู้และแหล่งเรียนรู้ที่หลากหลาย ร่วมกับยุทธศาสตร์การพัฒนาวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี วิจัย และนวัตกรรม

    11.2 สถานการณ์หรือการพัฒนาทางสังคมและวัฒนธรรม จากร่างแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติฉบับที่ 12 ได้ก าหนดยุทธศาสตร์การพัฒนาคนสู่

    สังคมแห่งการพัฒนาทักษะความรู้ความสามารถของคน มุ่งเน้นการพัฒนาทักษะที่เหมาะสมในแต่ละช่วงวัยเพ่ือวางรากฐานให้เป็นคนมีคุณภาพในอนาคต การพัฒนาทักษะสอดคล้องกับความต้องการในตลาดแรงงานและทักษะที่จ าเป็นต่อการด ารงชีวิตในศตวรรษที่ ๒๑ ของคนในแต่ละช่วงวัยตามความเหมาะสม เช่น เด็กวัยเรียนและวัยรุ่นพัฒนาทักษะการวิเคราะห์อย่างเป็นระบบ มีความคิดสร้างสรรค์ รวมทั้งการให้ความส าคัญกับการพัฒนาให้มีความพร้อมในการต่อยอดพัฒนาทักษะในทุกด้าน มีทักษะการท างานและการใช้ชีวิตที่พร้อมเข้าสู่ตลาดงาน วัยแรงงานเน้นการสร้างความรู้และทักษะในการประกอบอาชีพที่สอดคล้องกับตลาดงานทั้งทักษะขั้นพ้ืนฐาน ทักษะเฉพาะในวิชาชีพ ทักษะการเป็นผู้ประกอบการรายใหม่ ทักษะการประกอบอาชีพอิสระ วัยสูงอายุเน้นพัฒนาทักษะที่เอ้ือต่อการประกอบอาชีพที่เหมาะสมกับวัยและประสบการณ์

    การจะน ายุทธศาสตร์ดังกล่าวไปสู่ภาคปฏิบัติได้นั้น จ าเป็นอย่างยิ่งที่จะต้องจัดการศึกษาให้ดีมีคุณภาพดังที่กระทรวงศึกษาธิการได้ก าหนดกรอบมาตรฐานคุณวุฒิระดับอุดมศึกษาแห่งชาติของประเทศไทย (Thai Qualification Framework for Higher Education, TQF) เพ่ือเป็นเกณฑ์ในการพัฒนาหลักสูตรโดยเน้นที่คุณภาพของบัณฑิตเป็นเป้าหมายส าคัญ ท าให้การพัฒนาการศึกษาของประเทศไทยมีทิศทางท่ีชัดเจนมากข้ึน

    11.3 ผลการศึกษา รวบรวม และวิเคราะห์ข้อมูลทั้งภายในภายนอก และจากผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย หลักสูตรศึกษาศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาคอมพิวเตอร์ศึกษา จัดท าขึ้นเพ่ือตอบสนองต่อ

    ยุทธศาสตร์การพัฒนาคนสู่สังคมแห่งการเรียนรู้ตลอดชีวิตอย่างยั่งยืน โดยใช้กรอบมาตรฐานคุณวุฒิระดับ

  • มคอ.2

    6

    อุดมศึกษาแห่งชาติและ/หรือมาตรฐานคุณวุฒิระดับปริญญาตรีสาขาครุศาสตร์และสาขาศึกษาศาสตร์ (หลักสูตร 5 ปี) ของประเทศไทยเป็นฐาน 12. ผลกระทบจาก ข้อ 11 ต่อการพัฒนาหลักสูตรและความเกี่ยวข้องกับพันธกิจของมหาวิทยาลัย

    12.1 การพัฒนาหลักสูตร จากผลกระทบการพัฒนาเศรษฐกิจของประเทศไทยที่ต้องแข่งขันกับเศรษฐกิจโลก รวมถึงการ

    พัฒนาทางด้านสังคมและวัฒนธรรม จึงมีความจ าเป็นที่ต้องพัฒนาหลักสูตรให้สอดคล้องกับสภาพความเป็นจริงเพ่ือรองรับการพัฒนาดังกล่าว โดยการผลิตบุคลากรทางคอมพิวเตอร์ศึกษาที่มีความรู้คู่คุณธรรมและมีศักยภาพสูงในการพัฒนาตนเอง

    12.2 ความเกี่ยวข้องกับพันธกิจของมหาวิทยาลัย การพัฒนาหลักสูตรทางด้านคอมพิวเตอร์ศึกษา สอดคล้องกับพันธกิจของของมหาวิทยาลัยและ

    ของคณะศึกษาศาสตร์ ที่มุ่งเน้นในการผลิตบัณฑิตที่มีคุณภาพ มีคุณธรรมและจริยธรรม ในระดับปริญญาบัณฑิตด้านคอมพิวเตอร์ศึกษา ตามความต้องการของสังคม เพ่ือพัฒนาการศึกษาและเศรษฐกิจของประเทศ ด าเนินการวิจัยพัฒนาองค์ความรู้ เพ่ือประยุกต์ใช้ในการอาชีวะ เทคนิคศึกษาและอุตสาหกรรม ให้บริการวิชาการในรูปแบบต่าง ๆ ที่เหมาะสมกับภาครัฐและเอกชน ส่งเสริมและสนับสนุนกิจกรรมเพ่ือท านุบ ารุงศิลปวัฒนธรรมของชาติ 13. ความสัมพันธ์กับหลักสูตรอื่นที่เปิดสอนในคณะ/สาขาวิชาอื่นของมหาวิทยาลัย

    13.1 กลุ่มวิชา/รายวิชาในหลักสูตรนี้ที่เปิดสอนโดยคณะ/สาขาวิชา/หลักสูตรอ่ืน หมวดวิชาศึกษาท่ัวไป ได้แก่ กลุ่มวิชาภาษาศาสตร์ กลุ่มวิชามนุษยศาสตร์ กลุ่มวิชาสังคมศาสตร์

    และกลุ่มวิชาคณิตศาสตร์และวิทยาศาสตร์ 13.2 กลุ่มวิชา/รายวิชาในหลักสูตรที่เปิดสอนให้สาขาวิชา/หลักสูตรอ่ืนมาเรียน

    ไม่มี 13.3 การบริหารจัดการ

    13.3.1_คณะ/สาขาวิชาก าหนดให้มีคณะกรรมการระดับคณะ/สาขาวิชา ท าหน้าที่ประสานงานและร่วมกันจัดการศึกษาเพ่ือการผลิตบัณฑิตที่มีคุณภาพ

    13.3.2_มีการพัฒนาอาจารย์ทั้งด้านวิชาการและวิธีการสอนที่มุ่งเน้นการพัฒนามาตรฐานผลการเรียนรู้ของบัณฑิตอย่างน้อยตามที่กรอบมาตรฐานคุณวุฒิก าหนดอย่างต่อเนื่อง โดยมีการประกาศหลัก เกณฑ์การพัฒนาอาจารย์อย่างชัดเจน

    13.3.3_มีการจัดสรรทรัพยากรเพ่ือการเรียนการสอน และการวิจัยให้เพียงพอที่จะจัดการศึกษาได้อย่างมีคุณภาพ รวมทั้งอาจประสานกับสถาบันอุดมศึกษาและ/หรือหน่วยงานอ่ืนเพ่ือใช้ทรัพยากรร่วมกันในการพัฒนาการจัดการเรียนการสอนให้มีคุณภาพ

    13.3.4_มีการจัดให้มีการประเมินผลการเรียนรู้ของนักศึกษาที่ครอบคลุมมาตรฐานผลการเรียนรู้ในทุก ๆ ด้านตามที่ก าหนดไว้ในรายละเอียดของหลักสูตร

  • มคอ.2

    7

    หมวดที ่2 ข้อมูลเฉพาะของหลักสูตร 1. ปรัชญา ความส าคัญ และวัตถุประสงค์ของหลักสูตร

    1.1 ปรัชญา พัฒนาความรู้ เชิดชูคุณธรรม ครูมืออาชีพ

    1.2 ความส าคัญ การพัฒนาหลักสูตรทางด้านคอมพิวเตอร์ศึกษาสอดคล้องกับพันธกิจของของมหาวิทยาลัยและของ

    คณะศึกษาศาสตร์ที่มุ่งเน้นในการผลิตบัณฑิตที่มีคุณภาพ มีคุณธรรมและจริยธรรม ในระดับปริญญาบัณฑิตด้านคอมพิวเตอร์ศึกษาตามความต้องการของสังคม เพ่ือพัฒนาการศึกษาและเศรษฐกิจของประเทศ ด าเนิน การวิจัยพัฒนาองค์ความรู้เพ่ือประยุกต์ใช้ในการอาชีวะ เทคนิคศึกษา และอุตสาหกรรม ให้บริการวิชาการในรูปแบบต่าง ๆ ที่เหมาะสมกับภาครัฐและเอกชน ส่งเสริมและสนับสนุนกิจกรรมเพ่ือท านุบ ารุงศิลปวัฒน ธรรมของชาติ มีการพัฒนาความรู้อย่างต่อเนื่องเพ่ือให้ได้องค์ความรู้ไปประยุกต์ใช้ในการพัฒนาท้องถิ่นเพ่ือเป็นแหล่งเรียนรู้และให้บริการวิชาการแก่สังคม โดยสร้างความร่วมมือกับองค์กรภาครัฐและเอกชน

    หลักสูตรคอมพิวเตอร์ศึกษาเป็นหลักสูตรผลิตครูในสถานศึกษา นักวิชาการทางด้านคอมพิวเตอร์ นักพัฒนาหลักสูตรทางด้านคอมพิวเตอร์ มีความเชี่ยวชาญในการจัดการเรียนรู้ การวิจัยและพัฒนาองค์ความรู้ มีความคิดริเริ่มสร้างสรรค์ มีคุณธรรม มีจรรยาบรรณวิชาชีพครูและมีความรับผิดชอบสูงต่อวิชาชีพ ท านุบ ารุงเผยแพร่ศิลปวัฒนธรรมไทยและสืบทอดภูมิปัญญาท้องถิ่นสู่อาเซียน

    1.3 วัตถุประสงค์ เพ่ือผลิตบัณฑิตให้มีคุณลักษณะดังต่อไปนี้ 1.3.1_มีเจตคติท่ีดีต่อวิชาชีพครู มีจิตวิญญาณความเป็นครู และจิตสาธารณะ 1.3.2_มีความรู้ความสามารถทางด้านคอมพิวเตอร์ศึกษา 1.3.3_มีความสามารถในการเรียนรู้ด้วยตนเองตลอดชีวิต 1.3.4_มีความรู้ความสามารถในการคิดวิเคราะห์ สังเคราะห์ อย่างมีวิจารณญาณ และสร้างสรรค์ 1.3.5_มีความรู้ความสามารถและทักษะในการวางแผน การจัดการ และการประเมินผลการเรียนรู้

    2. แผนพัฒนาปรับปรุง

    หลักสูตรศึกษาศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาคอมพิวเตอร์ศึกษา มหาวิทยาลัยภาคตะวันออกเฉียงเหนือมีแผนพัฒนาปรับปรุงหลักสูตรที่ประกอบด้วยแผนการพัฒนาปรับปรุงหลักสูตร กลยุทธ์ และตัวบ่งชี้การพัฒนาปรับปรุงโดยคาดว่าจะแล้วเสร็จภายในรอบการศึกษา (5 ปี)

    แผนพัฒนาปรับปรุงมีความสัมพันธ์กับหมวดที่ 7 ที่มีตัวบ่งชี้ผลการด าเนินงาน 12 ข้อ แบ่งกลุ่มได้ดังนี้

    1. ด้านพัฒนาบุคลากร ด้านการเรียนการสอนและบริการวิชาการ อยู่ในข้อ 1, 8, 9 และ 10 2. ด้านหลักสูตร อยู่ในข้อ 2-7 3. ด้านนักศึกษา อยู่ในข้อ 11 4. ด้านผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย อยู่ในข้อ 12

  • มคอ.2

    8

    แผนการพัฒนา/เปลี่ยนแปลง กลยุทธ์ หลักฐาน/ตัวบ่งชี้ ด้านพัฒนาบุคลากร ด้านการเรียนการสอนและบริการวิชาการ ข้อ 1, 8, 9 และ 10 - พัฒนาบุคลากรด้านการเรียน

    การสอนและบริการวิชาการ ให้มีประสบการณ์จากการน าความรู้ปฏิบัติงานจริง

    - การพัฒนาการเรียนการสอนส่งเสริมการเรียนการสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นส าคัญ

    - สนับสนุนบุคลากรด้านการเรียนการสอนให้ท างานบริการวิชา การแก่องค์กรภายนอก

    - ส่งเสริมการเรียนการสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นส าคัญ

    - ส่งเสริมการใช้ภาษาอังกฤษทางสาขาวิชาคอมพิวเตอร์ศึกษา โดยการวิเคราะห์บทความวาร สารทางวิชาการและการน า เสนอหน้าชั้นเรียนเป็นภาษา อังกฤษ

    - ปริมาณงานบริการวิชาการต่ออาจารย์ในหลักสูตร

    - มีจ านวนชั่วโมงหรือหัวข้อการเรียนการสอนที่เน้นผู้ เรียนเป็นศูนย์กลาง

    - มีรายวิชาสัมมนาทางคอม พิวเตอร์ศึกษา โดยแบ่งกลุ่มให้นักศึกษาใช้ภาษาอังกฤษในการน าเสนอบทความวาร สารทางวิชาการ

    ด้านหลักสูตร ข้อ 2-7 - ปรับปรุงหลักสูตรให้มีมาตรฐาน

    ตามเกณฑ์และข้อก าหนด - การเปลี่ยนแปลงจุดเน้นของ

    หลักสูตร

    - พัฒนาหลักสูตรโดยมีพ้ืนฐานจากหลักสูตรในระดับสากลและตามกรอบมาตรฐานคุณวุฒิระดับ อุดมศึกษาแห ่งชาติและ/หร ือระด ับปร ิญญาตร ีส าขา ว ิช าคอมพิวเตอร์

    - ติดตามประเมินหลักสูตรอย่างสม่ าเสมอ

    - มี ก า ร เ พ่ิ ม ร า ย วิ ช า ใ น ก ลุ่ มวิชาเอกเพ่ือเพ่ิมความรู้ในด้านกลุ่ มสาระวิชาเอกและกลุ่ มกระบวนการเรียนรู้วิชาเอก

    - เอกสารปรับปรุงหลักสูตร - รายงานผลการประเมินหลัก

    สูตร - มีรายวิชาในกลุ่มสาระวิชา

    เอกท่ีเน้นการเรียนรู้ในสาระของศาสตร์ทางด้านคอมพิว เตอร์ศึกษา

    - มีรายวิชากลุ่มกระบวนการเรียนรู้วิชาเอกที่ เน้นการเชื่อมโยงทฤษฎีลงสู่การปฏิ บัติในสถานศึกษา

    ด้านนักศึกษา ข้อ 11 - การพัฒนานักศึกษา

    - ส่งเสริมนักศึกษาให้มีความเป็นผู้ น าและผู้ร่วมงานที่ดี มีมนุษยสัมพันธ์

    - ส่งเสริมให้นักศึกษามีคุณธรรม จริยธรรม และจรรยาวิชาชีพครู

    - มีจ านวนกิจกรรมที่ส่งเสริมนักศึกษาให้มีความเป็นผู้น า และผู้ร่วมงานที่ดี มีมนุษยสัมพันธ์

    - มีจ านวนกิจกรรมที่ส่งเสริมให้นักศึกษามีคุณธรรม จริย ธรรมและจรรยาวิชาชีพครู

    ด้านผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย ข้อ12 - ปรับปรุงหลักสูตรให้สอดคล้อง

    กับความต้องการของตลาด แรงงานและการเปลี่ยนแปลง

    - ติดตามความเปลี่ยนแปลงตามความต้องการของหน่วยงานและองค์กรที่เกี่ยวข้องกับสาขา วิชา

    - รายงานผลการประเมินความพึงพอใจในการใช้บัณฑิตของสถานประกอบการ

    - ความพึงพอใจในทักษะความรู้ ความสามารถในการท างานของบัณฑิตโดยเฉลี่ยในระดับดี

  • มคอ.2

    9

    หมวดที ่3 ระบบการจัดการศึกษา การด าเนินการ และโครงสร้างของหลักสูตร

    1. ระบบการจัดการศึกษา 1.1 ระบบ

    ระบบทวิภาค โดยหนึ่งปีการศึกษาแบ่งออกเป็น 2 ภาคการศึกษาปกติ แต่ละภาคการศึกษาไม่น้อยกว่า 15 สัปดาห์ ข้อก าหนดต่าง ๆ ให้เป็นไปตามระเบียบข้อบังคับมหาวิทยาลัยภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ว่าด้วยการจัดการศึกษาระดับปริญญาตรี พ.ศ. 2546 (ภาคผนวก ข.)

    1.2 การจัดการศึกษาภาคฤดูร้อน ไมมี่

    1.3 การเทียบเคียงหน่วยกิตในระบบทวิภาค ไม่มี

    2. การด าเนินการหลักสูตร

    2.1 วัน-เวลาในการด าเนินการเรียนการสอน เริ่มเปิดการเรียนการสอนในภาคการศึกษาที่ 1 ปีการศึกษา 2561 ภาคการศึกษาท่ี 1 เดือนสิงหาคม - เดือนธันวาคม ภาคการศึกษาท่ี 2 เดือนมกราคม - เดือนพฤษภาคม

    2.2 คุณสมบัติของผู้เข้าศึกษา 2.2.1_เป็นผู้ส าเร็จการศึกษาระดับชั้นมัธยมศึกษาตอนปลายหรือเทียบเท่าจากสถานศึกษาที่ได้รับ

    การรับรองจากกระทรวงศึกษาธิการ 2.2.2_ผ่านการสอบคัดเลือกตามเกณฑ์ของสาขาวิชาและมหาวิทยาลัยก าหนด 2.2.3_มีความถนัดทางวิชาชีพครู มีบุคลิกภาพและจิตใจที่เหมาะสมกับวิชาชีพครู

    2.3 ปัญหาของนักศึกษาแรกเข้า 2.3.1_การปรับตัวจากการเรียนในระดับมัธยมศึกษามาเป็นการเรียนรู้ที่มีรูปแบบต่างไปจากเดิม

    คือ ระดับอุดมศึกษาที่ต้องดูแลตนเอง จัดสรรเวลาในการเรียนและกิจกรรมด้วยตนเอง อีกทั้งยังมีสังคมที่แตกต่างไปจากเดิม

    2.3.2_นักศึกษาไม่ตั้งใจเข้าศึกษาในสาขาวิชาที่เรียนตั้งแต่แรก /ไม่ทราบความถนัด ความชอบของตนเองส่งผลให้ไม่ตั้งใจเรียนและมีการโอนย้ายสาขาในอนาคต

    2.4 กลยุทธ์ในการด าเนินการเพื่อแก้ไขปัญหา/ข้อจ ากัดของนักศึกษาในข้อ 2.3 2.4.1_จัดปฐมนิเทศนักศึกษาใหม่ แนะน าการวางเป้าหมายชีวิต เทคนิคการเรียนในมหาวิทยาลัย การแบ่งเวลา แผนการเรียน และแผนการท างานในอนาคต และมอบหมายหน้าที่อาจารย์ที่ปรึกษาให้แก่อาจารย์ทุกคน ท าหน้าที่สอดส่องดูแลตักเตือน ให้ค าปรึกษาแนะน า ตลอดจนชี้แนะแนวทางในการเรียนและอ่ืน ๆ

    2.4.2_จัดสอนเสริมเตรียมความรู้พื้นฐานก่อนการเรียน

  • มคอ.2

    10

    2.5 แผนการรับนักศึกษาและผู้ส าเร็จการศึกษา

    จ านวนนักศึกษา จ านวนนักศึกษาแต่ละปีการศึกษา

    2561 2562 2563 2564 2565 ชั้นปีที่ 1 60 60 60 60 60 ชั้นปีที่ 2 - 60 60 60 60 ชั้นปีที่ 3 - - 60 60 60 ชั้นปีที่ 4 - - - 60 60 ชั้นปีที่ 5 - - - - 60

    รวม 60 120 180 240 300 คาดว่าจะส าเร็จการศึกษา - - - - 60

    2.6 งบประมาณตามแผน

    2.6.1 งบประมาณรายรับ (หน่วย บาท)

    รายการ ปีงบประมาณ

    2561 2562 2563 2564 2565 ค่าบ ารุงการศึกษา 2,700,000 5,400,000 8,100,000 10,000,000 13,500,000

    รวมรายรับ 2,700,000 5,400,000 8,100,000 10,000,000 13,500,000

    2.6.2 งบประมาณรายจ่าย (หน่วย บาท)

    รายการ ปีงบประมาณ

    2561 2562 2563 2564 2565 1. งบด าเนินการ

    1.1 ค่าใช้จ่ายบุคลากร 1,500,000 1,725,000 1,983,750 2,281,312 2,623,508 1.2 ค่าใช้จ่ายด าเนินงาน 350,000 700,000 1,050,000 1,400,000 1,750,000

    รวม (1) 1,850,000 2,425,000 3,033,750 3,681,312 4,373,508 2. งบลงทุน

    ค่าครุภัณฑ์ 250,000 500,000 750,000 1,000,000 1,250,000 รวม (2) 250,000 500,000 750,000 1,000,000 1,250,000

    รวม (1) + (2) 2,100,000 2,925,000 3,783,750 4,681,312 5,623,508 จ านวนนักศึกษา 60 120 180 240 300 ค่าใช้จ่ายต่อหัวนักศึกษา 35,000 24,375 21,020 19,505 18,745 ค่าใช้จ่ายเฉลี่ยต่อหัวนักศึกษา 23,729 บาท/คน/ปี

    2.7 ระบบการศึกษา ระบบการศึกษาเป็นแบบชั้นเรียน

  • มคอ.2

    11

    2.8 การเทียบโอนหน่วยกิต รายวิชาและการลงทะเบียนเรียนข้ามมหาวิทยาลัย นักศึกษาที่เคยศึกษาในสถาบันอุดมศึกษาอ่ืนมาก่อน เมื่อเข้าศึกษาในหลักสูตรนี้สามารถเทียบโอน

    หน่วยกิตได้ โดยรายวิชาที่จะเทียบโอนจะต้องเป็นรายวิชาที่มีเนื้อหาอยู่ในระดับเดียวกันหรือมีความใกล้เคียงกับรายวิชาที่ก าหนดไว้ในโครงสร้างหลักสูตรสาขาวิชาหรือเป็นรายวิชาที่เป็นประโยชน์ต่อการเรียนของนักศึกษาและต้องได้รับการพิจารณาเห็นชอบจากคณะกรรมการบริหารหลักสูตร ข้อก าหนดต่าง ๆ ให้เป็นไปตามระเบียบข้อบังคับมหาวิทยาลัยภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ว่าด้วยการจัดการศึกษาระดับปริญญาตรี พ.ศ. 2546 (ภาคผนวก ข.) 3. หลักสูตรและอาจารย์ผู้สอน

    3.1 หลักสูตร 3.1.1 จ านวนหน่วยกิตรวมตลอดหลักสูตร ไม่น้อยกว่า 171 หน่วยกิต 3.1.2 โครงสร้างหลักสูตร แบ่งเป็นหมวดวิชาดังนี้

    1) หมวดวิชาศึกษาทั่วไป ไม่น้อยกว่า 30 หน่วยกิต 1.1) กลุ่มวิชาภาษาศาสตร์ ไม่น้อยกว่า 12 หน่วยกิต

    1.2) กลุ่มวิชามนุษยศาสตร์ ไม่น้อยกว่า 6 หน่วยกิต 1.3) กลุ่มวิชาสังคมศาสตร์ ไม่น้อยกว่า 6 หน่วยกิต 1.4) กลุ่มวิชาคณิตศาสตร์และวิทยาศาสตร์ ไม่น้อยกว่า 6 หน่วยกิต

    2) หมวดวิชาเฉพาะด้าน ไม่น้อยกว่า 135 หน่วยกิต 2.1) กลุ่มวิชาชีพครู ไม่น้อยกว่า 54 หน่วยกิต

    1) กลุ่มสาระวิชาชีพครู ไม่น้อยกว่า 36 หน่วยกิต 2) กลุ่มประสบการณ์วิชาชีพครู ไม่น้อยกว่า 18 หน่วยกิต

    2.2) กลุ่มวิชาเอกคอมพิวเตอร์ศึกษา ไม่น้อยกว่า 81 หน่วยกิต 1) กลุ่มวิชาเอกเดี่ยว ไม่น้อยกว่า 69 หน่วยกิต 2) กลุ่มวิชาเลือกวิชาเอก ไม่น้อยกว่า 6 หน่วยกิต 3) กลุ่มวิชาการสอนวิชาเอก ไม่น้อยกว่า 6 หน่วยกิต

    3) หมวดวิชาเลือกเสรี ไม่น้อยกว่า 6 หน่วยกิต

  • มคอ.2

    12

    3.1.3 ความหมายของระบบรหัสวิชา 1) หมวดวิชาศึกษาทั่วไป

    ตัวอักษร GE หมายถึง หมวดวิชาศึกษาท่ัวไป ตัวเลขหลักท่ี 1 GE 1XXXX หมายถึง “ระดับปริญญาตรี“ ตัวเลขหลักท่ี 2 GE X0XXX หมายถึง “สาขาวิชา/หลักสูตร” ตัวเลขหลักท่ี 3 GE XX1XX หมายถึง “กลุ่มวิชา”

    โดยที่ เลข 1 หมายถึง กลุ่มวิชาสังคมศาสตร์ เลข 2 หมายถึง กลุ่มวิชามนุษยศาสตร์ เลข 3 หมายถึง กลุ่มวิชาภาษาศาสตร์ เลข 4 หมายถึง กลุ่มวิชาคณิตศาสตร์และวิทยาศาสตร์

    ตัวเลขหลักท่ี 4 และ 5 GE XXX01 หมายถึง “ล าดับวิชา” 2) หมวดวิชาเฉพาะด้าน รหัสวิชารายวิชาแต่ละรายวิชาประกอบด้วยตัวเลข 7 ตัวและมีการก าหนดความหมายของแต่ละ

    หลักไว้ดังนี้

    เลขตัวที่ 1 - 2 หมายถึง คณะ/ส านัก หลักสูตรนี้คือ ED เลขตัวที่ 3 หมายถึง ระดับการศึกษา หลักสูตรนี้คือ 1 หมายถึง ระดับปริญญาตรี เลขตัวที่ 4 หมายถึง ภาควิชา/สาขาวิชา หลักสูตรนี้คือ 2 หมายถึง คอมพิวเตอร์ศึกษา เลขตัวที่ 5 หมายถึง หมวดวิชาเฉพาะด้าน/กลุ่มวิชา 1 หมวดวิชาเฉพาะด้าน/กลุ่มวิชาวิชาชีพครู 2 หมวดวิชาเฉพาะด้าน/กลุ่มวิชาวิชาประสบการณ์วิชาชีพครู

    3 หมวดวิชาเฉพาะด้าน/กลุ่มวิชาวิชาเอกเดี่ยว 4 หมวดวิชาเฉพาะด้าน/กลุ่มวิชาวิชาเลือกวิชาเอก 5 หมวดวิชาเฉพาะด้าน/กลุ่มวิชาวิชาการสอนวิชาเอก

    เลขตัวที่ 6,7 หมายถึง ล าดับก่อนหลังของรายวิชา

    1 2 3 5 4 6 7

    ล าดับก่อนหลัง

    หมวดวิชา/กลุ่มวิชา

    ภาควิชา/สาขาวิชา

    คณะ/ส านัก ระดับการศึกษา

  • มคอ.2

    13

    3.1.4 รายวิชาในหมวดต่าง ๆ 1) หมวดวิชาศึกษาทั่วไป จ านวน 30 หน่วยกิต 1.1) กลุ่มวิชาภาษาศาสตร์ จ านวน 12 หน่วยกิต

    รหัสวิชา ชื่อวิชาภาษาไทย น(ท-ป-อ) ชื่อวิชาภาษาอังกฤษ GE 10301 ภาษาไทยเพ่ือการท างาน

    Thai for Working 3(3-0-6)

    GE 10302 ภาษาอังกฤษพ้ืนฐาน Fundamental English

    3(3-0-6)

    GE 10303 การอ่านและการเขียนภาษาอังกฤษเบื้องต้น Basic Reading and Writing in English

    3(3-0-6)

    GE 10304 ภาษาอังกฤษเพ่ือการสื่อสารในชีวิตประจ าวัน English Daily Life for Communication

    3(2-2-5)

    GE 10305 ภาษาอังกฤษเพ่ือการน าเสนอ English for Presentation

    3(3-0-6)

    GE 10306 ภาษาจีนพ้ืนฐาน Chinese for Beginners

    3(2-2-5)

    GE 10307 ภาษาลาวพ้ืนฐาน Lao for Beginners

    3(2-2-5)

    1.2) กลุ่มวิชามนุษยศาสตร์ จ านวน 6 หน่วยกิต รหัสวิชา ชื่อวิชาภาษาไทย น(ท-ป-อ) ชื่อวิชาภาษาอังกฤษ GE 10201 พ้ืนฐานของอารยธรรม

    Foundation of Civilization 3(3-0-6)

    GE 10202 ศิลปะในการด าเนินชีวิต Arts of Living

    3(3-0-6)

    GE 10203 วรรณกรรมไทยสมัยปัจจุบัน Modern Thai Literature

    3(3-0-6)

    1.3) กลุ่มวิชาสังคมศาสตร์ จ านวน 6 หน่วยกิต รหัสวิชา ชื่อวิชาภาษาไทย น(ท-ป-อ) ชื่อวิชาภาษาอังกฤษ GE 10101 จิตวิทยาในการด าเนินชีวิต

    Psychology for Living 3(3-0-6)

    GE 10102 สังคมและวัฒนธรรม Society and Culture

    3(3-0-6)

    GE 10103 เศรษฐกิจพอเพียงเพ่ือการด าเนินชีวิต Sufficient Economy for Living

    3(3-0-6)

  • มคอ.2

    14

    GE 10104 ควมเป็นพลเมืองกับความรับผิดชอบต่อสังคม Citizenship and Social Responsibility

    3(3-0-6)

    GE 10105 การบริหารจัดการด้านการเงินในชีวิตประจ าวัน Financial Management of Life

    3(3-0-6)

    1.4) กลุ่มวิชาคณิตศาสตร์และวิทยาศาสตร์ จ านวน 6 หน่วยกิต รหัสวิชา ชื่อวิชาภาษาไทย น(ท-ป-อ) ชื่อวิชาภาษาอังกฤษ GE 10401 คณิตศาสตร์ในชีวิตประจ าวัน

    Mathematics in Daily Life 3(3-0-6)

    GE 10402 สถิติเบื้องต้นเพ่ือการด าเนินชีวิต Introduction to Statistics for Living

    3(3-0-6)

    GE 10403 วิทยาศาสตร์ในชีวิตประจ าวัน Science in Daily Life

    3(3-0-6)

    GE 10404 สิ่งแวดล้อมเพ่ือชีวิต Environment for Life

    3(3-0-6)

    GE 10405 คอมพิวเตอร์ในชีวิตประจ าวัน Computer in Daily Life

    3(3-0-6)

    GE 10406 ระบบสารสนเทศ Information System

    3(3-0-6)

    2) หมวดวิชาเฉพาะด้าน จ านวน 135 หน่วยกิต 2.1) กลุ่มวิชาชีพครู จ านวน 54 หน่วยกิต

    1) กลุ่มสาระวิชาชีพครู จ านวน 36 หน่วยกิต รหัสวิชา ชื่อวิชาภาษาไทย น(ท-ป-อ) ชื่อวิชาภาษาอังกฤษ ED 12101 หลักการศึกษาและปรัชญาการศึกษา

    Principles and Philosophy of Education 3(3-0-6)

    ED 12102 วิชาชีพครู ความเป็นครู และจรรยาบรรณวิชาชีพครู Teaching Profession and Ethics

    3(3-0-6)

    ED 12103 จิตวิทยาพัฒนาการและจิตวิทยาการศึกษา Education Psychology

    3(3-0-6)

    ED 12104 การออกแบบและพัฒนาหลักสูตร Curriculum Design and Development

    3(3-0-6)

    ED 12105 การจัดการเรียนรู้และการจัดการชั้นเรียน Learning and Classroom Management

    3(3-0-6)

    ED 12106 นวัตกรรมและเทคโนโลยีสารสนเทศทางการศึกษา Innovation and Information Technology

    3(3-0-6)

    ED 12107 การวัดและประเมินผลการศึกษา Education Measurement and Evaluation

    3(3-0-6)

  • มคอ.2

    15

    ED 12108 การศึกษาพิเศษ Special Education

    3(3-0-6)

    ED 12109 ภาษาและวัฒนธรรม Language and Culture

    3(3-0-6)

    ED 12110 การวิจัยทางการศึกษา Education Research

    3(3-0-6)

    ED 12111 การบริหารการศึกษาและการประกันคุณภาพการศึกษา Principles of Education Administration and Quality Assurance

    3(3-0-6)

    ED 12112 กฎหมายการศึกษา Education Law

    3(3-0-6)

    2) กลุ่มประสบการณ์วิชาชีพครู จ านวน 18 หน่วยกิต รหัสวิชา ชื่อวิชาภาษาไทย น(ท-ป-อ) ชื่อวิชาภาษาอังกฤษ ED 12201

    ฝึกประสบการณ์วิชาชีพครู 1 Teaching Profession Experience I

    3(0-6-3)

    ED 12202 ฝึกประสบการณ์วิชาชีพครู 2 Teaching Profession Experience II

    3(0-6-3)

    ED 12203 การปฏิบัติการสอนในสถานศึกษา 1 School Internship I

    6(0-18-9)

    ED 12204 การปฏิบัติการสอนในสถานศึกษา 2 School Internship II

    6(0-18-9)

    2.2) กลุ่มวิชาเอกคอมพิวเตอร์ศึกษา จ านวน 81 หน่วยกิต 1) กลุ่มวิชาเอกเดี่ยว จ านวน 69 หน่วยกิต

    รหัสวิชา ชื่อวิชาภาษาไทย น(ท-ป-อ) ชื่อวิชาภาษาอังกฤษ ED 12301 เทคโนโลยีสารสนเทศ

    Information Technology 3(3-0-6)

    ED 12302 สถาปัตยกรรมคอมพิวเตอร์และการบ ารุงรักษาอุปกรณ์คอมพิวเตอร์ Computer Architecture and Maintenance

    3(2-2-5)

    ED 12303 การเขียนโปรแกรมคอมพิวเตอร์ Computer Programming

    3(2-2-5)

    ED 12304 ระบบสารสนเทศเพ่ือการจัดการ Management Information System

    3(3-0-6)

    ED 12305 การเขียนโปรแกรมเชิงวัตถุ Object Oriented Programming

    3(2-2-5)

    ED 12306 การวิเคราะห์และออกแบบระบบ System Analysis and Design

    3(3-0-6)

  • มคอ.2

    16

    ED 12307 โครงสร้างข้อมูลและอัลกอลิทึม Data Structure and Algorithm

    3(3-0-6)

    ED 12308 การเขียนโปรแกรมคอมพิวเตอร์ขั้นสูง Advanced Computer Programming

    3(2-2-5)

    ED 12309 ระบบปฏิบัติการ Operating System

    3(3-0-6)

    ED 12310 ระบบฐานข้อมูล Database System

    3(3-0-6)

    ED 12311 การสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายคอมพิวเตอร์ Data Communication and Computer Network

    3(3-0-6)

    ED 12312 โปรแกรมประยุกต์เพ่ือการศึกษา Application Program for Education

    3(2-2-5)

    ED 12313 กฎหมายและจริยธรรมด้านเทคโนโลยีสารสนเทศ Laws and Ethical for Information Technology

    3(3-0-6)

    ED 12314 คณิตศาสตร์คอมพิวเตอร์ Computer Mathematic

    3(3-0-6)

    ED 12315 คอมพิวเตอร์เพ่ือการเรียนรู้ Computer Based Learning

    3(2-2-5)

    ED 12316 คอมพิวเตอร์กราฟิกและแอนิเมชัน Computer Graphic and Animation

    3(2-2-5)

    ED 12317 การผลิตสื่อดิจิทัลเพ่ือการศึกษา Development of Digital Media for Education

    3(2-2-5)

    ED 12318 การออกแบบบทเรียนมัลติมีเดียและแอนิเมชัน Instructional Design Multimedia and Animation

    3(2-2-5)

    ED 12319 การออกแบบโปรแกรมการสอนผ่านเว็บ Web Based Learning

    3(2-2-5)

    ED 12320 สัมมนาทางคอมพิวเตอร์ศึกษา Seminar in Computer Education

    3(3-0-6)

    ED 12321 การประยุกตใช้โปรแกรมทางสถิติและวิจัย Application Program in Research and Statistic

    3(2-2-5)

    ED 12322 การวิจัยทางคอมพิวเตอร์ศึกษา Research in Computer Education

    3(3-0-6)

    ED 12323 การพัฒนาโครงงานทางคอมพิวเตอร์การศึกษา Development Project of Computer Education

    3(3-0-6)

  • มคอ.2

    17

    2) กลุ่มวิชาเลือกวิชาเอก จ านวน 6 หน่วยกิต ให้เลือกเรียนรายวิชาดังต่อไปนี้

    รหัสวิชา ชื่อวิชาภาษาไทย น(ท-ป-อ) ชื่อวิชาภาษาอังกฤษ ED 12401 หัวข้อพิเศษทางคอมพิวเตอร์ศึกษา

    Special Topic in Computer Education 3(3-0-6)

    ED 12402 เทคโนโลยีเว็บเพื่อการศึกษา Web Technology for Education

    3(3-0-6)

    ED 12403 ระบบฝังตัวและการเชื่อมต่อ Embedded System

    3(2-2-5)

    ED 12404 การพัฒนาโปรแกรมประยุกต์ส าหรับอุปกรณ์เคลื่อนที่ Application Development for Mobile Device

    3(2-2-5)

    ED 12405 เทคโนโลยีเครือข่ายไร้สาย Wireless Network Technology

    3(3-0-6)

    3) กลุ่มวิชาการสอนวิชาเอก จ านวน 6 หน่วยกิต รหัสวิชา ชื่อวิชาภาษาไทย น(ท-ป-อ) ชื่อวิชาภาษาอังกฤษ ED 12501 การออกแบบการจัดการเรียนรู้คอมพิวเตอร์ในระดับมัธยมศึกษา 1

    Designing Computer Learning Management in Secondary school I

    3(2-2-5)

    ED 12502 การออกแบบการจัดการเรียนรู้คอมพิวเตอร์ในระดับมัธยมศึกษา 2 Designing Computer Learning Management in Secondary school II

    3(2-2-5)

    3) หมวดวิชาเลือกเสรี จ านวน 6 หน่วยกิต ให้เลือกเรียนรายวิชาใด ๆ ในหลักสูตรมหาวิทยาลัยภาคตะวันออกเฉียงเหนือ โดยไม่ซ้ ากับรายวิชา

    ที่เคยเรียนมาแล้วหรือเทียบโอนผลการเรียนตามระเบียบข้อบังคับมหาวิทยาลัยภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ว่าด้วยการจัดการศึกษาระดับปริญญาตรี พ.ศ. 2546 (ภาคผนวก ข.)

  • มคอ.2

    18

    3.1.5 แผนการศึกษา (เรียงตามหมวดวิชาในโครงสร้างหลักสูตร)

    ชั้นปีที่ 1 ภาคการศึกษาที่ 1 กลุม่วิชา รหัสวิชา ชื่อวิชา หน่วยกิต

    วิชาศึกษาท่ัวไป GE 101XX กลุ่มวิชาสังคมศาสตร์ 3(X-X-X) GE 102XX กลุ่มวิชามนุษยศาสตร์ 3(X-X-X) GE 103XX กลุ่มวิชาภาษาศาสตร์ 3(X-X-X)

    วิชาชีพครู ED 12101 หลักการศึกษาและปรัชญาการศึกษา 3(3-0-6) ED 12102 วิชาชีพครู ความเป็นครู และจรรยา

    บรรณวิชาชีพครู 3(3-0-6)

    วิชาเอกเดี่ยว ED 12301 เทคโนโลยีสารสนเทศ 3(3-0-6) ED 12302 สถาปัตยกรรมคอมพิวเตอร์และการ

    บ ารุงรักษาอุปกรณ์คอมพิวเตอร์ 3(2-2-5)

    หน่วยกิตรวมประจ าภาคการศึกษา 21

    ชั้นปีที่ 1 ภาคการศึกษาที่ 2 กลุม่วิชา รหัสวิชา ชื่อวิชา หน่วยกิต

    วิชาศึกษาท่ัวไป GE 101XX กลุ่มวิชาสังคมศาสตร์ 3(X-X-X) GE 102XX กลุ่มวิชามนุษยศาสตร์ 3(X-X-X)

    วิชาชีพครู ED 12103 จิตวิทยาพัฒนาการและจิตวิทยาการศึกษา

    3(3-0-6)

    ED 12104 การออกแบบและพัฒนาหลักสูตร 3(3-0-6) วิชาเอกเดี่ยว ED 12303 การเขียนโปรแกรมคอมพิวเตอร์ 3(2-2-5)

    ED 12304 ระบบสารสนเทศเพ่ือการจัดการ 3(3-0-6) หน่วยกิตรวมประจ าภาคการศึกษา 18

  • มคอ.2

    19

    ชั้นปีที่ 2 ภาคการศึกษาที่ 1 กลุม่วิชา รหัสวิชา ชื่อวิชา หน่วยกิต

    วิชาศึกษาท่ัวไป GE 103XX กลุ่มวิชาภาษาศาสตร์ 3(X-X-X) GE 104XX กลุ่มวิชาคณิตศาสตร์และวิทยาศาสตร์ 3(X-X-X)

    วิชาชีพครู ED 12105 การจัดการเรียนรู้และการจัดการชั้นเรียน

    3(3-0-6)

    ED 12106 นวัตกรรมและเทคโนโลยีสารสนเทศทางการศึกษา

    3(3-0-6)

    วิชาเอกเดี่ยว ED 12305 การเขียนโปรแกรมเชิงวัตถุ 3(2-2-5) ED 12306 การวิเคราะห์และออกแบบระบบ 3(3-0-6) ED 12307 โครงสร้างข้อมูลและอัลกอลิทึม 3(3-0-6)

    หน่วยกิตรวมประจ าภาคการศึกษา 21

    ชั้นปีที่ 2 ภาคการศึกษาที่ 2 กลุม่วิชา รหัสวิชา ชื่อวิชา หน่วยกิต

    วิชาศึกษาท่ัวไป GE 104XX กลุ่มวิชาคณิตศาสตร์และวิทยาศาสตร์ 3(X-X-X) วิชาชีพครู ED 12107 การวัดและประเมินผลการศึกษา 3(3-0-6)

    ED 12108 การศึกษาพิเศษ 3(3-0-6) วิชาเอกเดี่ยว ED 12308 การเขียนโปรแกรมคอมพิวเตอร์ขั้นสูง 3(2-2-5)

    ED 12309 ระบบปฏิบัติการ 3(3-0-6) ED 12310 ระบบฐานข้อมูล 3(3-0-6)

    หน่วยกิตรวมประจ าภาคการศึกษา 18

  • มคอ.2

    20

    ชั้นปีที่ 3 ภาคการศึกษาที่ 1 กลุม่วิชา รหัสวิชา ชื่อวิชา หน่วยกิต

    วิชาศึกษาท่ัวไป GE 103XX กลุ่มวิชาภาษาศาสตร์ 3(X-X-X) วิชาชีพครู ED 12109 ภาษาและวัฒนธรรม 3(3-0-6)

    ED 12110 การวิจัยทางการศึกษา 3(3-0-6) วิชาเอกเดี่ยว ED 12311 การสื่อสารข้อมูลและเครือข่าย

    คอมพิวเตอร์ 3(3-0-6)

    ED 12312 โปรแกรมประยุกต์เพ่ือการศึกษา 3(2-2-5) ED 12313 กฎหมายและจริยธรรมด้านเทคโนโลยี

    สารสนเทศ 3(3-0-6)

    ED 12314 คณิตศาสตร์คอมพิวเตอร์ 3(3-0-6) หน่วยกิตรวมประจ าภาคการศึกษา 21

    ชั้นปีที่ 3 ภาคการศึกษาที่ 2

    กลุม่วิชา รหัสวิชา ชื่อวิชา หน่วยกิต วิชาชีพครู ED 12111 การบริหารการศึกษาและการประกัน

    คุณภาพการศึกษา 3(3-0-6)

    ED 12112 กฎหมายการศึกษา 3(3-0-6) วิชาเอกเดี่ยว ED 12315 คอมพิวเตอร์เพ่ือการเรียนรู้ 3(2-2-5)

    ED 12316 คอมพิวเตอร์กราฟิกและแอนิเมชัน 3(2-2-5) ED 12317 การผลิตสื่อดิจิทัลเพ่ือการศึกษา 3(2-2-5)

    วิชาเลือกวิชาเอก ED 12401 หัวข้อพิเศษทางคอมพิวเตอร์ศึกษา 3(3-0-6) หน่วยกิตรวมประจ าภาคการศึกษา 18

  • มคอ.2

    21

    ชั้นปีที่ 4 ภาคการศึกษาที่ 1 กลุม่วิชา รหัสวิชา ชื่อวิชา หน่วยกิต

    วิชาศึกษาท่ัวไป GE 103XX กลุ่มวิชาภาษาศาสตร์ 3(2-2-5) ฝึกประสบการณ์วิชาชีพครู ED 12201 ฝึกประสบการณ์วิชาชีพครู 1 3(0-6-3) วิชาเอกเดี่ยว ED 12318 การออกแบบบทเรียนมัลติมีเดียและ

    แอนิเมชัน 3(2-2-5)

    ED 12319 การออกแบบโปรแกรมการสอนผ่านเว็บ 3(2-2-5) ED 12320 สัมมนาทางคอมพิวเตอร์ศึกษา 3(3-0-6)

    วิชาเลือกวิชาเอก ED 12405 เทคโนโลยีเครือข่ายไร้สาย 3(3-0-6) วิชาการสอนวิชาเอก ED 12501 การออกแบบการจัดการเรียนรู้

    คอมพิวเตอร์ในระดับมัธยมศึกษา 1 3(2-2-5)

    หน่วยกิตรวมประจ าภาคการศึกษา 21

    ชั้นปีที่ 4 ภาคการศึกษาที่ 2 กลุม่วิชา รหัสวิชา ชื่อวิชา หน่วยกิต

    ฝึกประสบการณ์วิชาชีพครู ED 12202 ฝึกประสบการณ์วิชาชีพครู 2 3(0-6-3) วิชาเอกเดี่ยว ED 12321 การประยุกตใช้โปรแกรมทางสถิติและ

    วิจัย 3(2-2-5)

    ED 12322 การวิจัยทางคอมพิวเตอร์ศึกษา 3(3-0-6) ED 12323 การพัฒนาโครงงานทางคอมพิวเตอร์

    การศึกษา 3(3-0-6)

    วิชาการสอนวิชาเอก ED 12502 การออกแบบการจัดการเรียนรู้คอมพิวเตอร์ในระดับมัธยมศึกษา 2

    3(2-2-5)

    วิชาเลือกเสรี xxxxxxx วิชาเลือกเสรี (1) 3(x-x-x) xxxxxxx วิชาเลือกเสรี (2) 3(x-x-x)

    หน่วยกิตรวมประจ าภาคการศึกษา 21

    ชั้นปีที่ 5 ภาคการศึกษาที่ 1 กลุม่วิชา รหัสวิชา ชื่อวิชา หน่วยกิต

    ฝึกประสบการณ์วิชาชีพครู ED 12203 การปฏิบัติการสอนในสถานศึกษา 1 6(0-18-9) หน่วยกิตรวมประจ าภาคการศึกษา 6

    ชั้นปีที่ 5 ภาคการศึกษาที่ 2

    กลุม่วิชา รหัสวิชา ชื่อวิชา หน่วยกิต ฝึกประสบการณ์วิชาชีพครู ED 12204 การปฏิบัติการสอนในสถานศึกษา 2 6(0-18-9)

    หน่วยกิตรวมประจ าภาคการศึกษา 6

  • มคอ.2

    22

    3.1.6 ค าอธิบายรายวิชา 1. หมวดวิชาศึกษาทั่วไป

    1.1 กลุ่มวิชาภาษาศาสตร์ รหัสวิชา ชื่อและค าอธิบายรายวิชา หน่วยกิต(ท-ป-อ) GE 10301 ภาษาไทยเพ่ือการท างาน 3(3-0-6)

    Thai for Working วิชาบังคับก่อน : ไม่มี

    ความรู้พื้นฐานในการใช้ภาษาไทยเพ่ือการท างาน การฟัง การพูด การอ่าน และการเขียน การฟังสรุปความ การฟังอย่างมีวิจารณญาณ การพูดน าเสนองาน การบรรยายสรุป การประชุม การอ่านค้นข้อมูล การอ่านสรุปความ การอ่านวิเคราะห์ข้อมูล การอ่านอย่างมีวิจารณญาณ การเขียนรายงานการประชุม การเขียนหนังสือติดต่องาน การเขียนโครงการ Fundamental knowledge of Thai language use for workplace focusing on listening, speaking, reading and writing, listening for main ideas, critical listening delivering, presentations, giving conclusion talks, meetings, searching for information, reading for main ideas, reading and analyzing data, critical reading, writing meeting minutes, official documents, project proposals. GE 10302 ภาษาอังกฤษพ้ืนฐาน 3(3-0-6)

    Fundamental English วิชาบังคับก่อน : ไม่มี

    หลักการใช้ภาษาอังกฤษ ทักษะการฟัง พูด อ่าน เขียนและไวยากรณ์ขั้นพ้ืนฐาน Basic english usage, listening, speaking, reading, and writing skills and basic grammar. GE 10303 การอ่านและการเขียนภาษาอังกฤษเบื้องต้น 3(3-0-6)

    Basic Reading and Writing in English วิชาบังคับก่อน : ไม่มี

    ค าศัพท์และหลักการใช้ภาษาอังกฤษเพ่ือการอ่านและการเขียนตามสถานการณ์ต่าง ๆ ทักษะการเขียนสรุปความ การย่อความเบื้องต้น การกรอกฟอร์ม การเขียนจดหมายส่วนตัว การสื่อสารทางอิเล็กทรอนิกส์ ทักษะการอ่านหนังสือพิมพ์ การอ่านโฆษณา การอ่านฉลากยาและผลิตภัณฑ์ต่าง ๆ การอ่านและการเขียนชื่อคนและสถานที่ภาษาไทยเป็นภาษาอังกฤษ

    English vocabulary and usage for basic reading and writing in various situations, skills for note-taking, summarizing, completing forms, personal correspondence, and electronic communication, skills for reading newspapers, advertisements, and various drug and product labels, reading and writing Thai names and places in English.

  • มคอ.2

    23

    GE 10304 ภาษาอังกฤษเพ่ือการสื่อสารในชีวิตประจ าวัน 3(2-2-5) English Daily Life for Communication วิชาบังคับก่อน : ไม่มี ทักษะการฟังและการพูดเพ่ือการสื่อสารในชีวิตประจ าวัน การออกเสียงและระดับของการ

    ใช้ภาษา การทักทาย การแนะน าตนเอง การบรรยายลักษณะของคนและสิ่งของ การขอความช่วยเหลือ การแสดงความคิดเห็น การสอบถามข้อมูล บทบาทและถ้อยค าที่ใช้ในการเริ่มสนทนาด าเนินเนื้อหาและยุติการสนทนา

    Speaking and listening skills for effective daily life conversation, recognizing and utilizing appropriate stress, rhythm and intonation pattern, greetings, self introduction, describing people and things, asking for help, expressing ideas, asking for information and making small talk. GE 10305 ภาษาอังกฤษเพ่ือการน าเสนอ 3(3-0-6)

    English for Presentation วิชาบังคับก่อน : ไม่มี การใช้ภาษาอังกฤษในการน าเสนอรูปแบบต่าง ๆ ก าหนดวัตถุประสงค์ของการพูด การ

    วิเคราะห์กลุ่มผู้ฟังและการวางแผนการน าเสนอ การจัดเตรียมเค้าโครงของการน าเสนอ ชนิดของข้อมูล ฝึกการใช้อุปกรณ์ในการน าเสนอและการถ่ายทอด

    How to use English for presentation in various kinds, the purpose of speaking and conversation, audience analysis and presentation planning, preparing the presentation layout, types of information and various forms of presentation, information resources and search of information, practicing devices for presentation and transmission. GE 10306 ภาษาจีนพ้ืนฐาน 3(2-2-5)

    Chinese for Beginners วิชาบังคับก่อน : ไม่มี ทักษะการฟัง พูด อ่าน และเขียนภาษาจีนอย่างบูรณาการ การสนทนาขั้นพ้ืนฐานใน

    ชีวิตประจ าวัน ได้แก่ การทักทาย การแนะน าการขอบคุณ และการขอโทษ เขียนตามค าบอกและเขียนประโยคง่าย ๆ ฝึกอ่านเนื้อหาข้อความสั้น ๆ การอ่านเพื่อสรุปและตอบค าถาม

    Integrated Chinese skills , listening, speaking, reading and writing, basic conversation practice in daily life including greetings, self- introduction, showing appreciation and asking apologies, taking dictation and writing simple sentences, practices of reading short messages, summarizing and answering questions.

    GE 10307 ภาษาลาวพ้ืนฐาน 3(2-2-5) Lao for Beginners

    วิชาบังคับก่อน : ไม่มี

  • มคอ.2

    24

    ทักษะการฟัง พูด อ่าน และเขียนภาษาลาวอย่างบูรณากา ร รูปประโยคและไวยากรณ์พื้นฐาน การสนทนาที่ใช้ในชีวิตประจ าวัน ได้แก่ การทักทาย การแนะน าตนเอง การบอกเวลา การซื้อของ เป็นต้น หลักการอ่านข้อความสั้น ๆ อ่านเพื่อสรุปความและตอบค าถามและการเขียนประโยคง่าย ๆ

    Integrated Lao skills, listening, speaking, reading and writing, basic sentences and grammar, conversation in daily life including greetings, selt – introduction , time telling, shopping, practices of reading short messages, summarizing and answering questions, and in writing simple sentences.

    1.2 กลุ่มวิชามนุษยศาสตร์

    รหัสวิชา ชื่อและค าอธิบายรายวิชา หน่วยกิต(ท-ป-อ) GE 10201 พ้ืนฐานของอารยธรรม 3(3-0-6)

    Foundation of Civilization วิชาบังคับก่อน : ไม่มี ประวัติและลักษณะอารยธรรมของชนชาติไทย การแสดงออกทางความเจริญรุ่งเรืองของ

    วัฒนธรรมไทยในด้านต่าง ๆ การเข้ามาของชนชาติตะวันตกและอิทธิพลของอารยธรรมตะวันตก การเปลี่ยนแปลงของระบบสังคม ลักษณะทางวัฒนธรรมคนรุ่นใหม่ การก าเนิดอารยธรรมของชาติที่ส าคัญ �