26
1 มย �ร ร รย ร� �มร ย�ม ร รย รย �ม ย�ร รย ม� รย �รย ม� มร ย� ม�� รร ร� รย ร รย ย� �ยม �ย รย � รม รย � รย ม มร ร ร� รม รย ร� รย ร�ม ร รย ร�ร �ร มร�� �ร �ภ รย �ม มร� ร� �ม ร� �ย รย 1/2 รย �ย � �ร 2553 8 ร� ยภ �� �รย ร� รย �ย �ร � �รย รย ร รย ยม ม�มย 1. ร�ภ รย 1/2 รย 2 �ร 2553 2. รย ร�ภ รย 1/2 รย 2 �ร 2553 �รย รย ร�

บทที่ 1 - sl.ac.th fileบทที่ 1 บทนํา ความเป÷นมาและความสําคัญของป ÷ญหา ภาษาไทยเป÷นตัวอักษรที่ใช

  • Upload
    others

  • View
    2

  • Download
    0

Embed Size (px)

Citation preview

บทที่ 1

บทนํา

ความเป�นมาและความสําคัญของป�ญหา

ภาษาไทยเป�นตัวอักษรทีใ่ช�แทนเสียงเพื่อใช�อ�านและสื่อความหมายให�เป�นที่เข�าใจตรงกัน

การเรียนรู�เรื่องอักษรไทยและหลักการเขียนตวัอักษรจะทําให�สามารถใช�ตัวอกัษรในการสื่อสารได�

อย�างมีประสิทธิภาพ

จากผลสัมฤทธิ์การเรียนวิชาภาษาไทยของนกัเรียนที่ผ�านมาพบว�า อย�ูในระดับต่ํา นกัเรียน

ส�วนใหญ�ไม�สนใจเรียนวิชาภาษาไทยและเห็นว�าเป�นวิชาทีน่�าเบ่ือหน�ายเป�นผลให�นักเรยีนไม�

สามารถใช�ภาษาไทยได�อย�างถูกต�อง ไม�ว�าจะเป�นเรื่องการใช�พยัญชนะ การใช�รูปสระ การใช�

วรรณยกุต� การอ�านออกเสียงและการสะกดคํา

การวิเคราะห�สาเหตุที่นักเรียนมีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาภาษาไทยต่ําพบว�า สาเหตุอย�าง

หนึ่งสืบเนื่องมาจากวิธีการสอนของครู ผ�ูวิจัยมคีวามสนใจที่จะแก�ป�ญหาดังกล�าวโดยคดิว�า การ

เรียนการสอนที่จะเกิดผลสัมฤทธ์ิสูงน�าจะเริ่มต�นทีค่วามคาดหวังของนกัเรียน ถ�านกัเรียนมคีวามสุข

มีความกระตือรือร�น หรือมีความคาดหวังที่อยากจะเรยีนรู� และได�เรียนรู�ตามความคาดหวัง

ผลสัมฤทธิ์ในการเรียนรู�ควรจะสูงกว�าการทีค่รูเป�นผู�หยิบยืน่ความรู�ให�เพียงฝ�ายเดียว

จากการวิเคราะห�การอ�านภาษาไทยเป�นพื้นฐานที่สําคัญของการศึกษา นักเรียนจะต�องมีพื้น

ฐานความรู�ทกัษะการอ�านที่ถูกต�องตามอักขระวิธีการอ�านออกเสียงและสะกดคํา ผ�ูวิจัยพบว�า

นักเรียนในชัน้ประถมศึกษาป�ที่ 1/2 โรงเรียนเซนต�หลุยส� จังหวัดฉะเชิงเทรา ในป�การศึกษา 2553

จํานวน 8 คน ยังขาดทกัษะในการอ�านออกเสียงภาษาไทยที่ถูกต�อง ชัดเจน ตามอักขรวิธี หากปล�อย

ให�ป�ญหาดังกล�าวนี้ผ�านไปจะทําให�นักเรียนขาดทักษะในการอ�าน และมีผลกระทบต�อวิชาอ่ืน ๆ

เบื่อการเล�าเรียนที่สุด จากป�ญหาดังกล�าว ผ�ูวิจยัจึงมีความสนใจที่จะแก�ป�ญหานี้ โดยใช�แบบฝ�กการ

อ�านก�อนเรียนทกุวนั เพื่อพัฒนานกัเรียนให�เกดิผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนภาษาไทยมากขึ้น

จุดมุ�งหมายของการวิจัย

1. เพื่อศึกษาผลสัมฤทธิ์ทางการอ�านภาษาไทยของนักเรียนชั้นประถมศึกษาป�ที่ 1/2 ภาค

เรียนที่ 2 ป�การศกึษา 2553

2. เพื่อเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการอ�านภาษาไทยของนักเรียนชัน้ประถมศึกษาป�ที่ 1/2

ภาคเรียนที่ 2 ป�การศึกษา 2553 จําแนกตามการประเมินผลก�อนเรียนและหลังเรียน โดยใช�แบบฝ�ก

การอ�าน

ความสําคัญของการวิจัย

การวจิัยครั้งนี้เป�นการพัฒนาการฝ�กทักษะการอ�านภาษาไทยของนักเรียนซึ่งเป�นพื้นฐาน

การเรียนในวิชาอ่ืนๆ ผลการวิจัยในครั้งนีจ้ะเป�นแนวทางในการพัฒนาวิธีการสอนโดยใช�หลักการ

และทฤษฎีการสอนตามพระราชบญัญัตกิารศกึษาแห�งชาตทิี่จะก�อให�เกิดประสิทธิภาพสูงสุดต�อ

ผ�ูเรียน ทําให�ผ�ูเรียนมคีวามร�ู มคีวามสุขในการเรียนรู� และสามารถนําไปใช�ในชีวิตประจําวนัได� ซึ่ง

เป�นคุณลักษณะทีพ่ึงประสงค�ตามพระราชบัญญตัิการศึกษาแห�งชาต ิ

ขอบเขตของการวิจัย

1. ขอบเขตของเนื้อหา

การศึกษาค�นคว�าครั้งนี้ ม�ุงศึกษาเกีย่วกับการฝ�กทกัษะการอ�านภาษาไทยของนกัเรียนชัน้

ประถมศึกษาป�ที่ 1/2 ภาคเรียนที่ 1ป�การศกึษา 2553ม�ุงฝ�กการอ�านออกเสียงท่ีถูกต�องชัดเจนตาม

อักขระวิธี เว�นวรรคตอนได�ถูกต�องชัดเจนใช�น้ําเสียงได�เหมาะสม อ�านไม�ตกหล�น และการจับ

หนังสือ ท่ีถูกต�อง

2. กล�ุมประชากรทีใ่ช�ในการวิจัย

2.1 ประชากรทีใ่ช�ในการวิจัยครั้งนีค้ือนกัเรียนชั้นประถมศึกษาป�ที่ 1/2 ของโรงเรียน

เซนต�หลุยส� ฉะเชิงเทรา จังหวัดฉะเชิงเทรา ภาคเรียนที่ 2 ป�การศึกษา 2553 เป�นนกัเรียน

ชาย 4 คน นักเรยีนหญิง 4 คน รวม 8 คน

2.2 กลุ�มตัวอย�าง คือนักเรียนชั้นประถมศึกษาป�ที่ 1/2 ของโรงเรียน

เซนต�หลุยส�ฉะเชิงเทรา จังหวัดฉะเชิงเทรา ภาคเรียนที่ 2 ป�การศึกษา 2553 เป�นนักเรียน ชาย 4 คน

นักเรียนหญิง 4 คน รวม 8 คน ได�มาโดยวิธีเลือกแบบเจาะจง ( Purposive )

3. ตัวแปรที่ศึกษา

3.1 ตัวแปรอิสระ ได�แก� การฝ�กการอ�านภาษาไทยโดยใช�แบบฝ�กการอ�าน

3.2 ตัวแปรตาม ได�แก� ผลสัมฤทธิ์ทางการอ�านภาษาไทยของนกัเรียนชั้นประถมศึกษา

ป�ที่ 1/2 หลังได�รับการฝ�กทักษะการอ�านภาษาไทย

4. การกําหนดระยะเวลา

ระยะเวลาในการทอดลองการฝ�กทกัษะการอ�านภาษาไทยของนักเรียนชัน้ประถมศึกษาป�ที่

1/2 โรงเรียนเซนต�หลุยส� จังหวัดฉะเชิงเทรา ป�การศึกษา 2553 เริ่มเดือน พฤศจิกายน ถึงเดือน

กุมภาพันธ�ในเวลาเช�าก�อนเข�าเรียนทกุวนั

นิยามศัพท�เฉพาะ

1. ผลสัมฤทธิ์ทางการอ�านภาษาไทย หมายถึง คะแนนของนกัเรียนที่ได�จากการทดสอบ

การอ�านภาษาไทยทีค่รูผู�สอนสร�างขึ้น เพื่อใช�วัดทกัษะการอ�านภาษาไทย

2. แบบฝ�กการอ�าน หมายถึง เครื่องมือท่ีครูผ�ูสอนสร�างขึ้นเพื่อใช�ในการฝ�กทกัษะการอ�าน

ภาษาไทย แบ�งออกเป�น 4 ชุด ได�แก�

1. การอ�านสระอา สระอี สระใอ สระอ ู

2. การอ�านสระอํา สระอุ สระไอ สระอะ

3. การอ�านสระเอ สระอัว สระเอา สระออ สระอือ

4. การอ�านสระโอะ สระแอะ สระเอาะ สระเอา

สมมุติฐานของการวิจัย

1. นักเรียนชัน้ประถมศึกษาป�ที่ 1/2 ภาคเรียนที ่ 2 ป�การศึกษา 2553มีผลสัมฤทธิ์ทางการ

อ�านภาษาไทยสูงขึน้

2. นักเรยีนชั้นประถมศึกษาป�ที่ 1/2 ภาคเรียนที่ 2 ป�การศึกษา 2553 มีผลสัมฤทธิ์ทางการ

อ�านภาษาไทยก�อน – หลัง การฝ�กโดยใช�แบบฝ�กการอ�านต�างกัน

บทที่ 2

เอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวข�อง

ในการวจิัยครั้งนี้ ผ�ูวจิัยได�ศกึษาเอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวข�อง และได�นําเสนอตามหัวข�อ

ต�อไปนี้

1. หลักการ แนวคิดและทฤษฎกีารจัดการเรียนรู�

2. ทฤษฎีเกี่ยวกับการอ�าน

3. เอกสารเกี่ยวกับชุดการฝ�ก

1. แนวคิดและทฤษฎกีารจัดการเรียนร�ู

มีนักคดิ ทฤษฎี และมีผ�ูเสนอแนวความคดิในการจัดกระบวนการเรียนรู�หลายท�าน ที่ได�นํา

เสนอแนวคิดไว�สอดคล�องกับพระราชบญัญัตกิารศึกษาแห�งชาติ พ.ศ. ๒๕๔๒ สรุปได�ดังนี้

จอนห�น ดิวอี้ (John Dewey)(Dewey.1963) ได�เป�นผู�เปลี่ยนแปลงบทบาทการเรียนรู�จาก

การที่นกัเรียนเป�นผู�รับมาเป�นการเรียนรู�โดยกการลงมือทํา “Learning by Doing”และเปล่ียน

บทบาทของครูจากการเป�นผู�สอนหรือผู�ถ�ายทอดความรู�มาเป�นผู�จัดประสบการณ�การเรียนรู� จุดเน�น

ในการเรียนจึงอย�ูที่ผ�ูเรียนมากกว�าผ�ูสอน นักเรียนจะเป�นผ�ูปฏิบัติ แนวคิดของดิวอี้ มีอิทธิพลเป�น

อย�างมากต�อการจัดการเรียนรู�ทั่วโลก

ทฤษฎีการเรียนรู�ของกาน�เย�(Gagne) กล�าวว�า การเรียนรู�จากง�ายไปยากโดยผสมผสาน

ทฤษฎีการเรียนรู�ของกลุ�มพฤติกรรมนิยมและพุทธินยมเข�าด�วยกนั จดัประเภทของการเรียนรู�จาก

ง�ายไปยาก 8 ประการ คือการเรียนรู�สัญญาฯ การเรียนรู�สิ่งเร�ากับการตอบสนอง การเรียนรู�แบบ

เชื่อมโยงต�อเนื่อง การเรียนรู�เชื่อโยงทางภาษา การเรียนร�ูความแตกต�าง การเรียนรู�ความคิดรวบยอด

การเรียนรู�กฎ การเรียนรู�การแก�ป�ญหา

โรเจอร� ( Carl R.Rogers) ได�นําหลักการของ Client-centred มาประยุกต�ใช�ในการเรียน

การสอน โดยเสนอแนะให� “ผ�ูเรียนเป�นศูนย�กลาง”และได�กล�าวถึงลักษณะของครูผ�ูสอนว�า ครูต�อง

เชื่อและศรัทธาในความเป�นมนษุย�ความเช่ือและความไว�วางใจจะช�วยให�บุคคลพัฒนาศักยภาพของ

ตนครตู�อง จริงใจ ไม�เสแสร�ง และต�องพยายามส่ือให�ผ�ูเรียนทราบถึงความร�ูสกึนกึคิด ด�านที่ครูมใีห�

เขา รวมทั้งการให�เกียรติ ผ�ูเรียนทั้งในแง�ความรู�สึกและความคิดเห็น

อาร�เธอร� (Arthur W.Combs) ผ�ูมีความคิดว�า หลักการสําคัญของการจัดการเรียนการสอน

คือการช�วยให�ผ�ูเรียนได�พัฒนาความรู�สึกนกึคดิเกี่ยวกับตนเองในทางบวก งานของคร ูคือการอํานวย

ความสะดวกให�กับผู�เรียนกระตุ�นให�กําลังใจ ให�ความช�วยเหลือ เป�นผู�ร�วมคิดและเป�นเพื่อนกับ

ผ�ูเรียน

ธอร�นไดค� ได�กล�าวถึง การสรางความมัน่คงของการเชื่อมโยงระหว�างส่ิงเร�ากับการ

ตอบสนองที่ถูกต�องโดยการฝ�กหัดกระทําซํ้าบ�อยๆ ทําให�เกิดการเรียนรู�ได�นานและคงทนถาวร กค็ือ

กฎแห�งการฝ�กหัดนัน่เอง

จากทฤษฎขี�างต�นทําให�เราได�รู�ถึงความสําคัญและส่ิงที่ควรกระทําต�อผู�เรียนในการจดัการ

เรียนรู�ให�กับเดก็ซึ่งนอกจากจะเน�นถึงความสําคัญของผ�ูเรียน การมีส�วนร�วม การลงมือปฏิบัติ การ

จัดการเรียนรู�ที่หลากหลายเพื่อสนองความความแตกต�างระหว�างบุคคลแล�ว ผ�ูสอนยังต�องคํานกึถึง

จิตใจ การสร�างความเช่ือใจ และความไว�วางใจกับผ�ูเรียน คําชมและการให�กําลังใจอย�างจริงใจอีก

ด�วย

2. ทฤษฎีเกี่ยวกับการอ�าน

การอ�านแต�ละคนมีจดุมุ�งหมายในการอ�านแตกต�างกัน โอกาส และสถานการณ�ที่อ�าน ถ�า

เป�นให�ผ�ูอ�านมีจุดมุ�งหมายในการอ�านต�างกันไป อาจเป�นการอ�านเพื่อศึกษาค�นคว�า เพื่อติดตามข�าว

และเหตุการณ�สําคัญ เพื่อหาคําตอบในบางเรือง หรือเพื่อความสนุกสนานเพลิดเพลิน เป�นการ

พักผ�อนหย�อนใจ นอกจากนี้หนังสือก็มใีห�อ�านหลายประเภท บางเล�มเหมาะสมที่จะอ�านเล�น บาง

เล�มต�องอ�านจริง วิธีการอ�านหนังสือจึงมีหลายวิธ ี

การอ�านเพื่อจับใจความ เป�นการเพื่อจับประเด็นของเรื่อง เป�นทักษะที่สําคัญ ของ

การอ�านหนังสือทุกประเภท การอ�านจับใจความมี 2 แนว คือการจับใจความส�วนรวม กับการจับ

ใจความสําคัญ การจับใจความส�วนร�วม คือการจับประเด็นของเรื่องไม�เป�นเรื่องที่ว�าด�วยอะไร

ส�วนการจับใจความสําคัญ เป�นการจับใจความแต�ละย�อหน�า เพ่ือให�ได�ความสําคัญ ครบถ�วน

การอ�านเพื่อจับใจความเป�นการอ�านเพื่อจับประเด็นของเรื่องเป�นทักษะที่สําคัญของ

การอ�านหนังสือทุกประเภท การอ�านจับใจความควรปฏิบัติดังนี้

1. อ�านเรื่องนั้นคร�าวๆ พอให�จับความได�ว�าเป�นเรื่องเกี่ยวกับอะไร

2. อ�านช้ําเพื่อทําความเข�าใจศัพท� สํานวน เพื่อให�เข�าใจความหมายของข�อความ

3. ดังคําถามว�าเรื่องที่อ�านเป�นเรื่องท่ีว�าด�วยอะไร มีสภาพเป�นอย�างไร มีข�อดี

ข�อเสียอะไร มีผลกระทบอย�างไร หรือเป�นเรื่องของใคร ทําอะไร ที่ไหน อย�างไร ทําไม เรื่องนั้น

ม ี

ผลอย�างไร

4. ตอบคําถามให�ได� จะทําให�จับประเด็นได�

5. จับใจความสําคญัแต�ละย�อหน�าให�ได� ด�วยการหาความคดิสําคัญของย�อหน�า

6. อ�านทบทวนอีกครั้งหนึ่งเพื่อตรวจสอบความเข�าใจ

7. การอ�านจับใจความตดัรายละเอียดออกซึ่งได�แก� คําอธิบาย ขยายความการใช�

โวหาร เปรียบเทียบ คําถามของผู�เขยีน ตวัอย�างประกอบ

การจับใจความมี 2 แนว คือ การจับใจความส�วนรวมกับการจับใจความสําคัญ การ

จับใจความสําคัญ การจับใจความส�วนรวม คือ การจับประเด็นของเรื่องที่ว�าด�วยอะไร ส�วนการ

จับใจความสําคัญเป�นการจับใจความแต�ละย�อหน�าเพื่อให�ได�ใจความสําคัญที่ครบถ�วน ซึ่งในแต�ละ

ย�อหน�านั้นใจความสําคัญ จะอย�ูตรงบริเวณส�วนต�างๆ แตกออกไป โดยพอจะสรุปได� 4 ส�วน คือ

1. ประโยคที่มีความสําคัญอย�ูต�นย�อหน�า

2. ประโยคที่มีความสําคัญอย�ูกลางย�อหน�า

3. ประโยคที่มีความสําคัญอย�ูท�ายย�อหน�า

4. ประโยคที่ไม�ปรากฏประโยคใจความสําคัญ โดยผ�ูอ�านต�องสรุปเอง

การอ�านเพื่อจับใจความส�วนรวม ควรปฏิบัติดังนี้

ถ�าอ�านหนังสือเป�นเล�ม ควรเป�ดดูสารบัญให�ครบแล�วเป�ดอ�านหัวข�อในหนังสือทุก

หัวข�อ แต�ละหัวข�อสัมพันธ�กันอย�างไร แล�วบันทึกไว� ( ถ�าจําแม�นไม�บันทึกก็ได� ) ต�อจากนั้นก็

ลําดับความคิด ถาม ตอบ ในใจว�าหัวข�อท้ังหมดกล�าวถึงอะไร เรื่องอะไร สําคัญอย�างไร จึง

สรุปออกเป�นใจความส�วนรวมอย�างส้ัน ๆ ให�เข�าใจง�าย

ถ�าหนังสือเป�นเรื่อง หรือเป�นตอนๆ ควรอ�านคร�าว ๆ ให�จบ แล�วถามตนเองเรื่อง

นั้นกล�าวถึงอะไร เกี่ยวข�องอะไร ประเด็นสําคัญคืออะไร สรุปออกมาให�ง�าย และสั้นที่สุด

ตัวอย�างง�ายๆ ของการสรุปใจความสําคัญก็คือชื่อเรื่องของข�อความเรื่องนั้นหรือตอนนั้นๆ นั่นเอง

3.เอกสารเกี่ยวกับชุดการฝ�ก

3.1 ความหมายของชุดการฝ�ก

ชุดการฝ�กในภาษาไทยมีชื่อเรียกกันแตกต�างกันออกไป เช�น ชุดการฝ�ก แบบฝ�ก

แบบฝ�กทักษะ แบบฝ�กหัด แบบฝ�กทักษะ เป�นต�น ซึ่งมีผ�ูให�ความหมายของการฝ�กไว�ต�าง ๆ กันดังนี ้

กู�ด (Good. 1973: 224) กล�าวว�า ชดุการฝ�ก หมายถึง งานหรือการบ�านทีค่รู

มอบหมายให�นักเรียนทําเพื่อทบทวนความร�ูที่เรียนมาแล�ว และเป�นการฝ�กทกัษะการใช�กฎสูตรต�าง

ๆ ที่เรียนไป

วีระ ไทยพานิช (2529 : 11) สรุปได�ว�า ชุดการฝ�กเป�นเครื่องมือท่ีช�วยให�เกิดการ

เรียนรู�ที่เกิดจากการกระทําจริง เป�นประสบการณ�ตรงทีผ่�ูเรียนมีจุดมุ�งหมายแน�นอนทําให�นักเรียน

เห็นคุณค�าของส่ิงที่เรียน สามารถเรียนรู�และจดจําสิ่งที่เรียนได�ด ี และนําไปใช�ในสถานการณ

เช�นเดียวกนัได�

วาสนา สุพัฒนา (2530 : 11) กล�าวว�า ชุดการฝ�ก หมายถงึ งานหรือกจิกรรมที่ครู

มอบหมายให�นักเรียนทําเพื่อทบทวนความร�ูต�างๆ ที่ได�เรียนมาแล�ว ซึ่งจะทําให�ผ�ูเรียนเกิดทกัษะและ

เพิ่มทักษะซึ่งสามารถนําไปให�แก�ป�ญหาได�

อัจฉรา ชีวพันธ� และคณะ (2532 : 102) ได�กล�าวว�าชดุการฝ�ก หมายถึง สิ่งที่สร�าง

ขึ้นเพื่อเสริมความเข�าใจ และเสริมเพิ่มเติมเนื้อหาบางส�วน ที่ช�วยให�นกัเรียนได�ปฏิบัติและนําเอา

ความร�ูไปใช�ได�อย�างแม�นยํา ถกูต�อง คล�องแคล�ว

ประพนธ� จ�ายเจรญิ (2536 : 8) กล�าวว�าชุดการฝ�ก หมายถึงสิ่งที่ผ�ูสอนมอบหมาย

ให�ผ�ูเรียนกระทําเพื่อฝ�กฝนเนื้อหาต�าง ๆ ที่ได�เรียนไปแล�วให�เกิดความชํานาญและให�ผ�ูเรียนสามรถ

นําไปใช�ในชีวติประจําวันได�

กติกา สวุรรณสมพงศ� (2541 : 40)การจัดประสบการณ�ฝ�กหัด โดยใช�วัสด ุ

ประกอบการสอน หรือเป�นกิจกรรมให�ผ�ูเรียนกระทําด�วยตนเอง เพื่อฝ�กฝนเนื้อหาต�างๆ ที่ได�เรียน

ไปแล�วให�เข�าใจดขีึ้น และในสถานการณ�อืน่ ๆ ในชวีิตประจําวัน

สุกิจ ศรีพรหม (2541 : 68) ได�ให�ความหมายไว�ว�า ชุดการฝ�ก หมายถึง การนําสื่อ

ประสมที่สอดคล�องกับเนื้อหาและจุดประสงค�ของวิชามาใช�ในการเปล่ียนแปลงพฤติกรรมของ

ผ�ูเรียนเพื่อให�เกิดการเรียนรู�อย�างมีประสิทธิภาพ

จากความหมายของชุดการฝ�กที่กล�าวมา พอสรุปได�ว�า ชุดการฝ�ก หมายถึง งานหรือ

กิจกรรมที่ครูผ�ูสอนมอบหมายให�นกัเรียนกระทําเพ่ือฝ�กทกัษะและทบทวนความร�ูที่ได�เรียนไปแล�ว

ให�เกิดความชํานาญ สามารถนําความร�ูไปใช�แก�ป�ญหาระหว�างเรียน และในชีวติประจําวันได� อีกทั้ง

ยังเป�นเครื่องมือที่ช�วยให�นักเรียนประสบผลสําเร็จในการเรียน

3.2 ประโยชน�ของชุดการฝ�ก

ชุดการฝ�กมีประโยชน�ต�อการเรียนวิชาทกัษะมาก ดังที่ เพ็ตตี้(Petty. 1936 : 469 – 472) ได�

กล�าวไว�ดังนี ้

1. เป�นส�วนเพิ่มหรือเสริมหนังสือเรียนในการเรยีนทกัษะ เป�นอุปกรณ�การสอนที่ช�วยลด

ภาระของครูได�มาก เพราะชุดการฝ�กเป�นสิ่งท่ีจัดทําขึ้นอย�างเป�นระบบระเบียบ

2. ช�วยเสริมทักษะทางการใช�ภาษา ชุดการฝ�กเป�นเครื่องมือที่ช�วยให�เดก็ฝ�กทกัษะการใช�

ภาษาได�ดีขึน้ แต�ต�องอาศัยการส�งเสริมและเอาใจใส�จากครผู�ูสอนด�วย

3. ช�วยในเรื่องความแตกต�างระหว�างบุคคล เนื่องจากเดก็มีความสามารถแตกต�างกัน การ

ให�เด็กทําชดุการฝ�กที่เหมาะสมกับความสามารถจะช�วยให�เด็กประสบความสําเร็จในด�านจิตใจมาก

ขึ้น ชุดการฝ�กช�วยเสริมทักษะให�คงทนโดยกระทํา ดังนี ้

3.1 ฝ�กทันทีหลังจากเด็กได�เรียนรู�เรื่องนัน้

3.2 ฝ�กซ้ําหลายๆ ครั้ง

3.3 เน�นเฉพาะเรื่องที่ต�องการฝ�ก

3.4 ชุดการฝ�กที่ใช�เป�นเครื่องมือวัดผลการเรียนรู�หลังจากบทเรยีนในแต�ละครั้ง

3.5 ชุดการฝ�กจัดทําขึ้นเป�นรูปเล�ม เด็กสามารถเก็บรกัษาไว�เพื่อเป�นแนวทางและ

ทบทวนด�วยตนเองต�อไป

3.6 การให�เด็กทําชดุการฝ�กช�วยให�ครูมองเป�นจุดเด�น หรือป�ญหาต�างๆ ของเด็กได�

ชัดเจน ซึ่งจะช�วยให�ครูดําเนนิการแก�ไขป�ญหานั้นๆ ได�ทนัท�วงที

3.7 ชุดการฝ�กทีจ่ัดทําขึ้นนอกเหนือจากที่มใีนหนังสือเรียนจะช�วยให�เดก็ฝ�กฝนได�

อย�างเต็มท่ี

3.8 ชุดการฝ�กที่จัดพิมพ�ไว�เรียบร�อย จะช�วยให�ครูประหยดัทั้งแรงงานและเวลาใน

การที่จะต�องจัดเตรียมสร�างชดุการฝ�กอยู�เสมอ ในด�านผ�ูเรียนก็ไม�ต�องเสียเวลาลอกชุดการฝ�กจาก

ตําราเรียน ทําให�มีโอกาสฝ�กฝนทักษะด�านต�างๆ ได�มากขึ้น

3.9 ชุดการฝ�กช�วยประหยัดค�าใช�จ�ายเพราะการจัดพิมพ�ขึ้นเป�นรูปเล�มแน�นอนย�อม

ลงทุนต่ํากว�าทีจ่ะพิมพ�ลงกระดาษไขทกุครั้ง และผ�ูเรียนสามมารถบันทึกและมองเป�นความก�าวหน�า

ของตนเองได�อย�างมีระบบระเบียบ

ธนู แสวงศักดิ์ (2514 : 132) ได�กล�าวถึงประโยชน�ของการฝ�กไว�ว�า การให�ชุดการฝ�กแก�

นักเรียนนั้นเป�นสิ่งหนึ่งที่ช�วยให�การเรียนการสอนได�ผลดยีิ่งขึ้น ในการเรียนการสอนวิชา

คณิตศาสตร�ครูผู�สอนใช�วิธีสอนโดยการอธิบายตัวอย�าง แล�วให�นักเรียนทําแบบฝ�กหดัจากชุดฝ�ก ซึ่ง

แสดงให�เป�นว�าการสอนคณติศาสตร�จะขาดการทําแบบฝ�กหัดไม�ได�เลย

รัชนี ศรีไพวรรณ (2517 : 189) ได�กล�าวถึงประโยชน�ของชุดการฝ�กว�า

1. ทําให�เดก็เข�าใจบทเรียนดีขึ้น เพราะชดุการฝ�กจะเป�นเครื่องมือทบทวนความรู�ที่เดก็ได�

เรียน และทําให�เกิดความชํานาญ คล�องแคล�วในเนื้อหาวิชาเหล�านั้นยิ่งขึ้น

2. ทําให�ครูทราบความเข�าใจของนกัเรียนที่มีต�อมีเรียน ซึ่งจะช�วยให�ครูสามารถปรับปรุง

เนื้อหา วิธีสอน และกิจกรรมในแต�ละบทเรียน ตลอดจนสามารถช�วยเดก็ให�เรียนได�ดีที่สุดตาม

ความสามารถของเขาด�วย

3. ฝ�กให�เด็กมคีวามเช่ือม่ัน และสามารถประเมินผลงานของตนเองได�

4. ฝ�กให�เด็กทํางานตามลําพัง โดยมคีวามรับผดิชอบในงานที่ได�รับมอบหมาย

ดวงเดือน อ�อนน�วม และคณะ (2536 : 36 ) ได�กล�าวถึงประโยชน�ของชุดการฝ�กไว�ดังนี ้

1. ช�วยเสริมสร�างและเพิ่มพูนความรู�ความเข�าใจ ความจํา แนวทาง และทักษะในการ

แก�ป�ญหาแก�นกัเรียน

2. ใช�เป�นเครื่องมือประเมินการสอนของครู ทําให�ทราบข�อบกพร�องในการสอนแต�ละเรื่อง

แต�ละตอน และสามารถปรับปรุงแก�ไขได�ตรงจดุ

3. ใช�เป�นเครื่องมือประเมินผลการเรียนของนกัเรียน ทําให�ครูทราบข�แบกพร�องจุดอ�อนที่

จะแก�ไขของนกัเรียนแต�ละคนในแต�ละเรื่อง แต�ละตอนและสามารถคิดหาแนวทางช�วยเหลือแก�ไข

ได�ทันท�วงท ี และช�วยให�นักเรียนทราบจดุอ�อนข�อบกพร�องของตนเอง เพื่อหาทางปรับปรุงแก�ไข

เช�นกัน

4.ช�วยกระตุ�นให�นกัเรียนอยากทําชุดการฝ�ก

5. ช�วยให�นักเรยีนได�ฝ�กฝนทกัษะได�อย�างเต็มที และตรงจดุที่ต�องการฝ�กหัด

6. ช�วยให�นักเรยีนเกดิความเช่ือม่ันในตนเอง คิดอย�างมีเหตผุล แสดงความคอดออกมา

อย�างมีระเบียบชัดเจนและรัดกุม

7. เป�นการประหยัดเงินและเวลา

3.3 หลักในการฝ�กทักษะ

ชูชาติ เชิงฉลาด (2521 : 41) ได�กล�าวถึงหลักในการฝ�กทกัษะไว�ดังนี ้

1. การฝ�กเป�นสิ่งท่ีสําคัญของการเรียน

2. การฝ�กไม�ควรให�ซ้ําซากจนน�าเบ่ือ ควรจะฝ�กให�เกิดทักษะหรือความชํานาญ

3. การที่กระตุ�นนักเรียนให�ฝ�กด�วยแบบเดียวกันตลอดเวลานักเรียนก็จะสนองตอบเป�น

แบบเดียวกนั

4. การฝ�กจะให�ได�ผลดีต�องเป�นรายบคุคล

5. การที่จะฝ�กให�ทําแบบฝ�กหัดนัน้ควรจะฝ�กเฉพระเรื่องและให�จบในเรื่องนัน้ๆ ก�อนจึงจ

ฝ�กเรื่องต�อไป

6. ควรจะให�ฝ�กหลายๆ ครั้ง ในแต�ละทักษะ

7. ควรจะให�คะแนนในการทําแบบฝ�กหดัแต�ละครั้ง เพ่ือวดัความก�าวหน�า

8. แบบฝ�กหัดควรจะมีมาตรฐาน และจัดให�เหมาะสม

กระทรวงศึกษาธิการ (2534 : 2-3) ได�กล�าวถึงหลักในการฝ�กทักษะคดิคํานวณมีส่ิงทีค่วร

คํานึงถึงดังต�อไปนี ้

1. การฝ�กทกัษะควรทําหลังจากนักเรียนมีความรู�ความเข�าใจในเรื่องต�างๆ แล�ว

2. การฝ�กควรฝ�กในช�วงเวลาไม�มากนกั แต�ควรทําบ�อยๆ

3. ควรใช�กจิกรรมฝ�กหลายๆ แบบ

4. การฝ�กควรเริ่มจากง�ายไปยาก

5. การฝ�กควรให�น�าสนใจและท�าทายความสามารถ

6. การฝ�กควรให�เหมาะสมกับความสามารถของนกัเรียนแต�ละคน ดังนี้นนกัเรียนทกุคน

ไม�จําเป�นต�องได�รับการฝ�กแบบเดียวกัน

จอห�นสัน และไรซิง (พรทิพย� พรหมสาขา ณ สกลนคร. 2527: 24-25;อ�างจาก Johnson

and Rising.1969 : 91) ได�กล�าวว�าในการสอนทกัษะให�ได�ผลดีนั้น ครูควรคํานึงถึงวิธีการสอน

และได�เสนอหลักเบื้องตันในการฝ�กทกัษะไวัดังนี ้

1. ฝ�กทักษะตามความต�องการของผ�ูเรียน ให�ผ�ูเรียนเห็นคุณค�าและประโยชน�ในการฝ�ก

2. ฝ�กโดยให�ติดตามและจัดแบบฝ�กหดัในการให�คดิมากกว�าทาํซํ้า

3. ให�ฝ�กหลังใจมโนมติ ในสิ่งที่เรียนแล�ว

4. ฝ�กทําแบบฝ�กหัดที่มคีําตอบถูกต�องและให�คําตอบกับผ�ูเรียนได�ตรวจสอบ

5. เน�นการฝ�กเป�นรายบคุคล

6. ใช�เวลาในการฝ�กทักษะพอสมควร ไม�มากหรือน�อยเกินไป ฝ�กทักษะเฉพระเรื่องที่เป�น

ประโยชน�จริงๆ

7. ให�ผ�ูเรียนได�รู�โครงสร�างทั้งหมดของการฝ�ก และเป�นทักษะที่สามารถนําไปประยุกต�ใช�

ได�

8. ฝ�กหลักการวิชาการทัว่ๆ ไป มากกว�าทําวิธีลัด

9. ให�ผ�ูเรียนได�รู�วิธีการฝ�ก และเรียนรู�ด�วยตนเอง

10. จัดกจิกรรมหลายๆ แบบในหารฝ�ก เช�น เกม การแข�งขันทําแบบฝ�กหัด

จําเนียร ช�วงโชติ และคณะ (2521 : 61) ได�กล�าวถึงกฎแห�งการฝ�กของธอร�นไดด�

(Thorndike) ไว�ดังนี ้

1. การเชื่อมโยงจะกระชับมั่นคงยิ่งขึ้นเมื่อมีการใช�และจะอ�อนลงเมื่อได�ได�ใช�

2. สิ่งใดที่คนทําบ�อยๆ หรือมีการฝ�กเสมอๆ คนย�อมกระทําส่ิงนั้นได�ดี สิ่งใดทีค่นไม�ได�ทํา

นานๆ คนย�อมทําส่ิงนั้นไม�ได�เหมือนเดิม

3. ยิ่งได�กระทําซํ้าในการกระทําอย�างใดอย�างหนึ่ง ยิ่งทําให�การกระทํานั้นแน�นนอน

สมบูรณ�ขึ้นหากว�างเว�นจากการฝ�กกระทําบ�อยๆ การกระทํานั้นๆ จะค�อยๆ ลบเลือนไปถ�ากระทํา

พฤติกรรมใดๆ ซ้ําๆ อย�ูเสมอ จะมีผลทําให�พฤติกรรมนั้นถกูต�องสมบูรณ�ยิ่งขึ้น

3.4 หลักในการสร�างชดุการฝ�ก

การสร�างชุดการฝ�กเป�นสิ่งจําเป�นในการสอนเพราะการฝ�กฝนบ�อย ๆ และหลาย ๆ ครั้ง ย�อม

ทําให�เกิดความชํานาญคล�องแคล�ว มีผ�ูเสนอแนะวิธกีารในการสร�างชุดฝ�กไว�ดังนี ้

รัชนี ศรีไพรวรรณ (2517 : 412 – 413) ได�กล�าวถึงหลักในการทําชุดการฝ�กสําหรับ

นักเรียนไว� ดังนี ้

1. ให�สอดคล�องกับหลักจิตวิทยาและพัฒนาการของเด็กและลําดับขั้นการเรยีนรู�ชุดการฝ�ก

ต�องอาศัยรูปภาพจูงใจนกัเรียน และเป�นไปตามลําดับความยากง�าย เพื่อให�นกัเรียนมกีําลังใจทํา

2. มีจุดมุ�งหมายว�า จะฝ�กหัดในด�านได แล�วจัดเนื้อหาให�ตรงกับความม�ุงหมายที่วางไว�

3. ต�องคํานึงถึงความแตกต�างของนกัเรียน ถ�าสามารถแบ�งนักเรียนตามคามสามารถแล�ว

จัดทําชุดการฝ�ก เพื่อส�งเสริมนักเรียนแต�ละกล�ุมได�ก็ยิ่งด ี

4. ในชุดการฝ�กต�องมีคําชี้แจงง�าย ๆ สั้น ๆ เพื่อให�นกัเรียนเข�าใจ ถ�าเด็กยังอ�านไม�ได�ครูต�อง

ชี้แจงด�วยคําพูดทีใ่ช�ภาษาง�าย ๆ ให�เดก็สามารถทําตามคําส่ังได�

5. ชุดการฝ�กต�องมคีวามถูกต�องครูต�องพิจารณาดใูห�ถ�วนถี่ อย�าให�มีข�อผิดพลาด

6. การให�นักเรียนทําชุดการฝ�กในแต�ละครั้ง ต�องให�เหมาะสมกับเวลาและความสนใจของ

นักเรียน

7. ควรทําชุดการฝ�กหลาย ๆ แบบ เพื่อให�นกัเรียนร�ูอย�างกว�างขวาง และสิ่งเสริมให�เกิด

ความคดิ

วรนาถ พ�วงสุวรรณ (2518 : 34 – 37) ได�สรุปหลักการสร�างชุดการฝ�กไว� ดังนี ้

1. ตั้งวัตถุประสงค�

2. ศึกษาเกี่ยวกับเนื้อหา

3. ขั้นต�าง ๆ ในการสร�างชุดการฝ�ก

- ศึกษาป�ญหาในการเรียนการสอน

- ศึกษาจิตวิทยาวัยรุ�นและจิตวิทยาการเรียนการสอน

- ศึกษาเนื้อหาวิชา

- ศึกษาลักษณะของชุดการฝ�ก

- วางโครงเรื่องและกําหนดรูปแบบของชุดการฝ�กให�สัมพันธ�กับโครงเรื่อง

- เลือกเนื้อหาต�าง ๆ ที่เหมาะสมมาบรรจุไว�ในชดุการฝ�กให�ครบตามที่กําหนด

ยุพิน พิพิธกุล (2524 : 34 – 35) ได�เสนอเทคนคิในการให�นักเรียนทําชดุการฝ�กไว�ว�า

1. ครูต�องแน�ใจว�านักเรียนเข�าใจวิธกีารที่เขาทําซ้ํา ๆ กัน

2. ครูต�องคอยให�คําแนะนําอย�างใกล�ชิด และแก�ไขข�อผิดพลาดเสียก�อนที่จะตดิเป�นนิสัย

และทําไปช�า ๆ ในระยะเริ่มแรกของการสร�างนิสัย

3. ครูต�องแน�ใจว�านักเรียนจะไม�ลืมวิธกีารที่ทําเป�นครั้งสุดท�าย

4. ควรสร�างทกัษะหนึ่งให�เก�งเสียก�อนที่จะสร�างทกัษะอืน่

5. ทําความเข�าใจเมื้อหาท่ีสําคัญเป�นประการแรก

6. ครูจะต�องตดิตามผลการทําชุดการฝ�กของนักเรยีน

7. อย�าให�นักเรียนทําชุดการฝ�กในหวัข�อท่ียากและนักเรียนไม�ทราบวิธ ี

8. การให�ชดุการฝ�กควรคํานึงถึงความแตกต�างระหว�างบคุคล

9. การฝ�กนั้นควรจะฝ�กหลาย ๆ ด�าน การให�ชุดการฝ�กควรจะให�ทีละน�อยแต�บ�อยครั้ง

10. ชุดการฝ�กควรลําดับความยากง�าย

ฉวีวรรณ กีรตกิร (2537 : 11 – 12) ได�กล�าวถึงหลักในการสร�างแบบฝ�กไว�ดังนี ้

1. แบบฝ�กหัดที่สร�างขึน้นั้นสอดคล�องกับจิตวิทยาพัฒนาการและลําดับขั้นตอนการเรียนรู�

ของผ�ูเรียน เด็กที่เริ่มมีประสบการณ�น�อยจะต�องสร�างแบบฝ�กหัดที่น�าสนใจและจูงใจผ�ูเรียนด�วยการ

เริ่มจากข�อท่ีง�ายไปหายาก เพื่อให�ผ�ูเรียนมีกําลังใจทําแบบฝ�กหัด

2. ให�แบบฝ�กหดัที่ตรงกับจุดประสงค�ที่ต�องการฝ�ก และต�องมีเวลาเตรียมการไว�ล�วงหน�าอย�ู

เสมอ

3. แบบฝ�กหัดควรม�ุงส�งเสริมนักเรียนแต�ละกล�ุมตามความสามารถที่แตกต�างกันของผ�ู

เรียน

4. แบบฝ�กหัดแต�ละชุดควรมคีําชี้แจงง�าย ๆ ส้ัน ๆ เพื่อให�ผ�ูเรียนเข�าใจหรือมีตัวอย�าง

แสดงวิธีทําจะช�วยให�เข�าใจได�ดยีิ่งขึ้น

5. แบบฝ�กหัดจะต�องถูกต�อง ครูจะต�องพิจารณาให�ดีอย�าให�มขี�อผิดพลาดได�

6. แบบฝ�กหัดควรมีหลาย ๆ แบบ เพื่อให�ผ�ูเรียนได�แนวคิดทีก่ว�างไกล

วรรณ แก�วแพรก (2526 : 81) ได�กล�าวถึงหลักในการสร�างแบบฝ�กหัดไว�ว�า

1. มีความมุ�งหมายในการสร�างแน�นอน

2. สร�างจากง�ายไปหายาก คํานึงถึงความแตกต�างระหว�างบุคคล

3. ต�องจัดทําแบบฝ�กหัดเสริมทักษะไว�ล�วงหน�า โดยทําไว�เป�นรายเนื้อหาทําเป�นบท ๆ

ตามบทเรียนพร�อมทําเฉลยไว�ด�วย

4. ต�องจัดทําหลังจากสอนบทเรียนหรือเนื้อหานั้น ๆ แล�ว

นอกจากนี้ วิชยั เพ็ชรเรื่อง (2531 : 77) ยังได�กล�าวถึงหลักในการจัดทําแบบฝ�กว�าควรม ี

ลักษณะดังนี ้

1. แบบฝ�กต�องมีเอกภาพ และสมบูรณ�ในตวั

2. เกิดจากความต�องการของผ�ูเรียนและสังคม

3. ครอบคลุมเนื้อหาหลายวิชา โดยบูรณาการให�เข�ากับการอ�าน

4. ใช�แนวคิดใหม�ในการจัดกิจกรรม

5. สนองความสนใจ ใคร�รู� และความสามารถของผ�ูเรียนและส�งเสริมให�ผ�ูเรียนมีส�วนร�วม

ในการเรียนเต็มที ่

6. คํานึงถึงพัฒนาการและวุฒภิาวะของผ�ูเรียน

7. เน�นการแก�ป�ญหา

8. ครูและนักเรียนได�มีโอกาสวางแผนร�วมมือกัน

9. แบบฝ�กควรเป�นสิ่งท่ีน�าสนใจ มีความแปลกใหม�สามารถปรับและรับเข�าสู�โครงสร�าง

ทางความคดิของเดก็ได�

จากหลักการสร�างชุดการฝ�กที่กล�าวมา สรุปได�ว�า หลักสําคัญในการสร�างชดุการฝ�กคือต�อง

กําหนดวัตถุประสงค�ที่จะฝาากให�แน�นอนว�าจะฝ�กเรื่องอะไร แล�วจัดเนื้อหาให�สอดคล�องกับ

วัตถุประสงค� ทั้งนีจ้ะต�องสร�างชุดการฝ�กให�เหมาะสมกับวัยและระดับความสามารถของผ�ูเรียนและ

ชุดการฝ�กควรมีหลายรูปแบบ พร�อมทั้งเป�ดโอกาสให�เด็กได�แสดงความคิดเห็นได�อย�างกว�างขวาง

3.5 การหาประสิทธิภาพของชุดการฝ�ก

ความจําเป�นทีจ่ะต�องทดสอบประสิทธิภาของชุดการฝ�กมีเหตุผล คือ (สุกิจ ศรีพรหม .

2541 : 70)

1. สําหรับหน�วยงานผลิตชุดการฝ�ก เป�นการประกนัคณุภาพของชุดการฝ�กว�าอย�ูในขั้นสูง

เหมาะสมที่จะลงทุนผลิตออกมาเป�นจํานวนมาก

2. สําหรับผู�ให�ชุดการฝ�ก ซึ่งชุดการฝ�กจะทําหน�าที่สอนโดยที่ช�วยสร�างสภาพการเรียนรู�ให�

ผ�ูเรียนเปล่ียนพฤติกรรมตามที่ม�ุงหวัง ชุดการฝ�กที่มีประสิทธิภาพจะช�วยให�นักเรียนเกดิการเรียนรู�

จริง

3.สําหรับผู�ผลิตชุดการฝ�ก การทดสอบประสิทธิภาพจะทําให�ผ�ูผลิตมั่นใจว�าเนื้อหาสาระ

ที่บรรจุลงในชดุการฝ�กเหมาะสม ง�ายต�อการเข�าใจ ซึ่งจะทาํให�ผ�ูผลิตมีความชํานาญสูงขึ้น

สุกิจ ศรีพรหม (2541 : 70 – 71) ได�กล�าวถึงการหารประสิทธิภาพของชุดฝ�กที่สร�างขึน้มี

ขั้นตอนดังนี ้

ขั้นที่ 1 ขั้นทดสอบกับนกัเรียน 1 คน (One – To – One Testing) โดยเลือกนักเรียนที่ไม�

เคยเรียนเรื่องที่จะสอนมาก�อนเลยจํานวน 1 คน แล�วให�เรียนจากชดุฝ�กจนจบ โดยปฏิบัติดังนี ้

1. ตอบแบบทดสอบก�อนเรียน (Pretest)

2. เรียนจากชดุการฝ�กจนจบบทเรียน

3. ทําแบบฝ�กหัดในบทเรียนไปพร�อมกันในขณะที่เรียน

4. ตอบแบบทดสอบหลังเรียน (Posttest)

แล�วนําผลที่ได�รับมาพิจารณาปรับปรุงส�วนที่เป�นว�ายังบกพร�อง เช�น เนื้อหา ส่ิงต�าง ๆ แบบ

ทดสอบต�าง ๆ ให�ดียิ่งขึน้

ขั้นที่ 2 ขั้นทดสอบกับกล�ุมเล็ก (Small Group Testing) ใช�กับนักเรียน 10 คนที่ยังไม�เคย

เรียนบทเรียนดังกล�าวมาก�อน ดําเนนิการเช�นเดียวกับขั้นที ่ 1 ทุกประการเมื่อเสร็จกระบวนการแล�ว

นําชุดการฝ�กมาแก�ไขข�อบกพร�องอีกครั้งหนึ่งและนําผลคะแนนจากการทําแบบฝ�กหัดและทํา

แบบทดสอบหลังเรียนไปหาประสิทธิภาพของแบบฝ�กโดยใช�เกณฑ� 80/80

ขั้นที่ 3 ขั้นทดลองภาคสนาม (Field Testing) โดยทดลองใช�กับนักเรียนทั้งชั้นเรียนโดยใช�

วิธีเดียวกับขั้นที่ 1 และขั้นที่ 2 แล�วนําผลไปหาประสิทธิภาพของชุดการฝ�ก การคํานวณค�า

ประสิทธิภาพของชุดการฝ�กนยิมตั้งไว� 90/90 สําหรับเนื้อหาที่เป�นความรู�ความจําและเนื้อหาวิชาที่

เป�นทักษะหรือเจตคตไิม�ต่ํากว�า 80/80

80 ตัวแรก คือ คะแนนเฉลี่ยคิดเป�นร�อยละของกล�ุมในการทําชุดการฝ�ก

80 ตัวหลัง คือ คะแนนเฉลี่ยคดิเป�นร�อยละของกล�ุมในการทําแบบทดสอบหลังเรียน

ถ�าปรากฏว�า ทั้งคะแนนเฉลี่ยคิดเป�นร�อยละของกล�ุมในการทําชุดการฝ�กและการทํา

แบบทดสอบหลังเรียนได�ไม�ต่ํากว�า 80 ทั้งคู� ก็ถือว�าชดุการฝ�กที่พัฒนาขึ้นมีประสิทธิภาพอย�ูใน

เกณฑ�ใช�ได�

3.6 ทฤษฎทีี่เกีย่วข�องกบัการผลิตชดุการฝ�ก

แนวความคิดทางทฤษฎีการเรยีนรู�ที่เป�นแนวทาง ในการสร�างชุดการฝ�กที่มีประสิทธิภาพ มี

อย�ู 3 กลุ�มใหญ� คือ (อรพรรณ พรสิมา . 2530 : 7 - 8 : สุรางค� โค�วตระกูล 2533: 135 – 177)

1. กลุ�มพฤติกรรมนิยมหรือกล�ุมเช่ือมโยง (Behaveoral Theories or Association

Theories) นักจิตวิทยาในกล�ุมนี้เชื่อว�า การเรยีนรู�ของมนษุย�เกิดจากการเชื่อมโยงระหว�างส่ิงเร�าและ

การตอบสนอง ส่ิงเร�านี้คิดข�อมูลข�างสารที่ส�งไปยังผู�เรียน คําพูด ภาษาเขียน รูปภาพและสื่อการสอน

ทั้งหลายเป�นตัวอย�างของส่ิงเร�า แต�ละอันจะมีประสิทธิภาพในการสื่อความหมายส�วนการ

ตอบสนองก็คือปฏิกิริยาที่ผ�ูรับข�าวสารแสดงออกเมื่อได�รับสิ่งเร�า

พฤติกรรมการสอนส�วนใหญ�มีลักษณะเป�นการเชื่อมโยงระหว�างส่ิงเร�าและการตอบสนอง

แนวคิดนี้ได�ถูกนํามาใช�กับบทเรียนแบบโปรแกรมซ่ึงคิดโดย บีเอฟ สกินเนอร� (B.F. Skinner) เขา

เชื่อว�าผ�ูเรียนจะต�องรับผิดชอบการเรียนรู�ของตนเอง ลําดับขั้นการเรียนรู�จะถูกแตกย�อยเป�นตอนสัน้

ๆ ในแต�ละตอนจะต�องมีการตอบสนองที่ถูกต�อง และผ�ูเรียนจะได�รู�ผลแห�งการกระทําทันที การร�ูว�า

การกรทําของตนถูกต�องจะเป�นเครื่องเสริมแรงให�กับผู�เรยีน การศกึษารายบคุคลส�วนใหญ�จะใช�

รูปแบบการเรียนรู�ดังกล�าว

2. กลุ�มทฤษฎีสนาม (The Organismic , Gestalt, Field or Cognitive Theories) ลักษณะ

สําคัญ พื้นฐานของทฤษฎีนีก้็คือ กระบวนการทางป�ญญา ความเฉลียวฉลาดและความสามารถใน

การจัดระเบียบความสัมพันธ�ของประสบการณ�เดิม กับประสบการณ�ใหม�เป�นรากฐานสําคัญของ

การเรียนรู�หรือกล�าวอีกนัยหนึ่งก็คือ คุณภาพของการเรียนรู�เป�นไปตามคณุภาพของความฉลาดและ

ความสามารถในการสร�างความสัมพันธ�ของส่ิงต�าง ๆ ทฤษฎีนี้จึงเน�นเฉพาะพัฒนาการทางป�ญญา

โดยเฉพาะการเรียนรู�แบบรู�แจ�งมากกว�าการพฒันาพฤตกิรรมภายนอก

3. กลุ�มทฤษฎีสังคม (Social Learning Theory) เป�นทฤษฎีที่กําลังได�รับความสนใจ

ระหว�างบุคคล ไม�ว�าเป�นการเรียนร�ูจากประการณ�ตรงหรือโดยผ�านประสบการณ�ต�าง ๆ จากสื่อการ

สอน การเรียนรู�ส�วนใหญ�จะต�องเกี่ยวข�องหรือเกดิจากการปะทะ สัมพันธ�กับบุคคลอื่นในสังคม

จากทฤษฎีทั้ง 3 กลุ�ม เคมป� และสเมลไล (Kemp and Smellie. 1989 : 19) กล�าวว�ามี

จุดเน�นทีค่ล�ายคลึงกนัและเป�นองค�ประกอบที่สําคัญกับการเตรียมจัดกิจกรรมการเรียนการสอนและ

การใช�สื่อการสอน ดังนี ้

1. แรงจูงใจ (Motivation)

การเรียนรู�ที่ได�ผลนั้นต�องเริ่มจากการที่ผ�ูเรียนมคีวามต�องการ ความสนใจ ความปรารถนาที่

จะเรียนรู�และสิ่งที่เรียนนัน้มีความหมายกจ็ะทําให�การเรียนการสอนบรรลุผลสําเร็จ ดังนั้นจึง

จําเป�นต�องสร�างให�ผ�ูเรียนเกิดความสนใจโดยการเสนอส่ือการสอนที่ก�อให�เกิดแรงจูงใจคือจัดแระ

สบการณ�หรือกจิกรรมในการเรยีนรู�ซึ่งมีความหมายหรือน�าสนใจสําหรับผ�ูเรียน

2. ความแตกต�างระหว�างบุคคล (Individual Differences)

ผ�ูเรียนแต�ละคนมีอัตราการเรียนรู�และวิธีการเรียนที่แตกต�างกันองค�ประกิบทางสติป�ญญา

ระดับการศึกษา บุคลกิภาพและรูปแบบการเรียนรู�จะเป�นตวักําหนดความพร�อมและความสามรถใน

การเรียนรู� การกําหนดอัตราในการนําเสนอเนื้อหาในสื่อ ควรพจิารณาเดีย่วกับความเหมาะสมของ

ช�วงเวลาท่ีจะช�วยให�ผ�ูเรียนได�เกิดความเข�าใจด�วย

3. จุดประสงค�ของการเรียนรู� (Learning Objective)

ในการจัดการเรียนการสอน หากผ�ูเรียนได�ทราบจุดประสงค�ของการเรียนรู� กจ็ะทําให�

ผ�ูเรียนมีโอกาสบรรลุจุดประสงค�ได�มากกว�าที่ไม�ทราบ นอกจากนี้จุดประสงค�ของการเรียนรู�ยังช�วย

ในการวางแผนสร�างส่ือการเรยีนการสอน คือ ทําให�ทรายว�าควรบรรลุเนื้อหาใดในสื่อ

4. การจัดเนื้อหา (Organization of content)

การเรียนรู�จะง�ายขึ้นเมื่อมีการกําหนดเนื้อหา วิธีการ และกิจกรรมที่ผ�ูเรียนจะต�องกระทํา

อย�างเหมาะสมและมีความหมายต�อผู�เรียน การจัดลําดับกับเนื้อหาอย�างสมเหตุสมผลจะช�วยให�

ผ�ูเรียนจดจําเนื้อหาได�ดี นอกจากนี้อัตราความเร็วที่ไม�เหมาะสมในการนําเสนอเนื้อหาอาจทําให�เกดิ

ความยากลําบากและซับซ�อนในการเรียนรู�เนื้อหาได�

5. การเตรียมความพร�อมให�กับผู�เรียน ( Prelearning preparation)

ผ�ูเรียนควรมพีื้นฐานความร�ูหรือประสบการณ�ทีจ่ําเป�นในการเรียนอย�างเพียงพอในการ

เรียนรู�จากครูหรือในการเรียนด�วยตนเองจากสื่อการสอน ในการออกแบบการสอนและการวางแผน

เพื่อการผลิตส่ือจึงต�องให�ความสนใจต�อระดับความร�ู ความสามารถ พื้นฐานที่ผู�เรียนควรมีด�วย

6. อารมณ� (Emotion)

การเรียนรู�จะเกีย่วข�องกับอารมณ�และความรู�สึกของบุคคลพอ ๆ กับความสามารถทาง

สติป�ญญา ดังนัน้ในการสร�างส่ือการสอนควรตอบสนองอารมณ� ซึ่งก�อให�เกิดแรงจูงใจการเรียนรู�

เป�นสําคัญ

7. การมีส�วนร�วม (Participation)

การเรียนรู�จะเกดิขึน้ได�เมื่อบุคคลสร�างสภาวะความเป�นเจ�าของข�าวสาร หรือยอมรับ

ข�าวสารนั้นมาเป�นส�วนหนึ่งของตน ดังนั้นการเรียนรู�จึงต�องอาศัยกิจกรรม เพื่อช�วยให�ผ�ูเรียนได�มี

ส�วนร�วมในการเรียนอย�างกระฉับกระเฉงแทนการนั่งฟ�งการบรรยายอันยาวนาน การมีส�วนร�วม

หมายถึง กิจกรรมทางกายและสมองที่เกิดขึ้นอย�างต�อเนื่องระหว�างการเรยีนการสอน การมีส�วนร�วม

จะขยายโอกาสให�ผ�ูเรียนเกิดความเข�าใจ และจดจําเรื่องที่เรียนได�ดยีิ่งขึ้นจนในที่สุดเกดิความร�ูสึกว�า

ตนเองเป�นเจ�าของข�าวสารนั้นด�วย

8. การสะท�อนกลับ ( Feedback)

การเรียนรู�จะเพิ่มขึน้หากผู�เรียนได�ทราบความก�าวหน�าในการเรียนของตนเอง ซึ่งเป�นการ

สร�างแรงจูงใจในการเรียนต�อไป

9. การเสริมแรง (Reinforcement)

เมื่อผ�ูเรียนแต�ละคนบรรลุผลในการเรียนรู�เนื้อหาสาระใดแล�ว เขาก็จะถกูกระตุ�นให�เกดิการ

เรียนรู�อย�างต�อเนื่องต�อไป ซ่ึงการเรียนรู�ก็เป�นรางวัลที่สร�างความเชื่อมั่น และส�งผลให�เกิดพฤติกรรม

ในทางบวกแก�นักเรยีน

10. การฝ�กปฏิบัติและการทําซ้ํา (Practice and Repetition)

อาจกล�าวได�ว�าแทบจะไม�มกีารเรียนรู�สิ่งใหม� ๆ อันใดทีจ่ะประสบผลสําเร็จได�โดยอาศัย

การสอนเพียงครั้งเดยีว ความรู�และทักษะที่สะสมไว�จนเป�นความเฉลียวฉลาดหรือความสามารถของ

แต�ละบุคคลนั้นย�อมเกิดจากการฝ�กปฏิบัติ และการกระทําซ้ํา ๆ ในสภาพการณ�ต�าง ๆ

11. การนําไปประยุกต�ใช� (Application)

การนําไปประยุกต�ใช�ผลผลิตของการเรียนร�ูที่พึงปรารถนาก็คือ การที่ผ�ูเรียนแต�ละคนมี

ความสามารถในการนําความรู�ไปประยกุต� หรือการถ�ายโยงการเรียนรู�ไปสู�สถานการณ�ใหม�หรือการ

แก�ป�ญหาใหม� ๆ ความเข�าใจที่สมบูรณ�แบบจึงจะเกิดขึ้น สิ่งแรกที่ผ�ูเรียนจะต�องรู�หรือค�นพบก็คือ

กฎเกณฑ�ต�าง ๆ หรือข�อสรุปซ่ึงสัมพันธ�กับงานหรือหัวข�อการเรียนต�อจากนั้นต�องเป�ดโอกาสให�

ผ�ูเรียนได�ตัดสินใจโดยนํากฎเกณฑ�ที่เรียนมาประยกุต�ใช�ในสภาพการณ�ใหม�หรือใช�ในการแก�ป�ญหา

ที่แท�จริง

จากทฤษฎีที่เกี่ยวข�องกับชุดการฝ�กดังกล�าวข�างตัน ผ�ูวิจัยได�นําไปเป�นแนวทางประยกุต�ใช�

ในการสร�างชุดการฝ�กดังต�อไปนี ้

1.การจัดกิจกรรมการเรียน คํานึงถึงความแตกต�างระหว�างบุคคล โดยเป�ดโอกาสให�ผ�ูเรียน

ได�ก�าวไปด�วยตนเองตามความสามารถ ความพร�อม และอัตราช�าเร็วของแต�ละบุคคล เมื่อผ�ูเรียน

ตอบคําถามก็สามารถตรวจคําตอบได�ทันทีซ่ึงเป�นการเสริมแรงได�ทันท�วงที อีกทั้งมกีารจดักจิกรรม

กลุ�มเพื่อให�ผ�ูเรียนได�รู�จักการทํางานเป�นกล�ุม และได�ตอบข�อสงสับของตนเอง ซึ่งเป�นการเพิ่มความ

เข�าในหน�วยการเรียนได�ดขีึ้น

2. การแบ�งเนื้อหาเป�นหน�วยการเรียน และจดัลําดับเนื้อหาจากง�ายไปยาก เพื่อง�ายต�อการ

เรียนรู� ในแต�ละหน�วยการเรยีนจะมกีารกําหนดจุดประสงค�การเรียนรู�ให�ผ�ูเรียนได�ทราบล�วงหน�า

ก�อนการเรยีนและใช�ตรวจสอบความรู�ระหว�างเรียนและหลังเรียน

3. มีแบบฝ�กหัดในแต�ละชุดเพื่อเป�นการฝ�กทกัษะให�ผ�ูเรียนเกิดความชํานาญ

4. ในแต�ละหน�วยการเรียนมกีารทดสอบก�อนเรียน โดยใช�แบบทดสอบย�อยเพื่อประเมินผล

ว�าก�อนเรียนผ�ูเรียนมีความรู�ในสิ่งที่จะเรียนมากน�องเพียงใด ซึ่งจะวัดส�วนที่เป�นสมรรถภาพ

เกี่ยวข�องต�อการเรียนในหน�วยนั้น และส�วนที่เป�นความร�ูตามจุดประสงค�การเรียนรู�ประจําหน�วย อีก

ทั้งมีการทดสอบหลังเรียน โดยใช�แบบทดสอบซ่ึงเป�นชุดเดิม เพื่อให�ผ�ูเรียนได�ทราบความก�าวหน�า

ในการเรียนของตนเอง และเป�นเกณฑ�ทีจ่ะพิจารณาว�าผ�ูเรียนได�บรรลุจดุประสงค�ของหน�วยนัน้

หรือไม�

จากการศึกษาชุดการฝ�กดังกล�าว ชุดการฝ�กควรมีความเหมาะสมกับลักษณะของผ�ูเรียน

สภาพแวดล�อมและเนื้อหาของวิชา ตลอดจนวัตถุประสงค�ของครูผู�สอน ซึ่งในการศึกษาครั้งนี้ผู�วิจยั

จะทําการสร�างชดุการฝ�กเพื่อพัฒนาความสามารถในการอ�านภาษาไทยของนกัเรียนชนัประถมป�ที่

1/2 เพื่อใช�ประกอบการสอนและเป�นการฝ�กทักษะการอ�าน ต�อไป

บทที่ 3

วิธีดําเนินการวิจัย

การศึกษาค�นคว�าครั้งนี้มีวิธีการดําเนนิการศกึษาค�นคว�า ดังรายละเอียดตามลําดับต�อไปนี ้

1. ประชากรและกล�ุมตวัอย�าง

2. เครื่องมือที่ใช�ในการวิจัย

3. การสร�างเครื่องมือที่ใช�ในการวจิัย

4. วิธีการดําเนนิการวิจัย

5. สถิติที่ใช�การวิเคราะห�ข�อมูล

ประชากรที่ใช�ในการวิจัย

1. ประชากร คือ นักเรียนชัน้ประถมศึกษาป�ที่ 1/2 โรงเรียนเซนต�หลุยส� จังหวัดฉะเชิงเทรา

ป�การศึกษา 2553 จํานวน 8 คน เป�นนักเรียนชาย 4 คน นกัเรียนหญิง 4 คน

2. กลุ�มตัวอย�าง คือ นกัเรียนชัน้ประถมศึกษาป�ที่ 1/2 โรงเรียนเซนต�หลุยส� จังหวดั

ฉะเชิงเทรา ป�การศกึษา 2553 จํานวน 8 คน เป�นนกัเรียนชาย 4 คน นักเรียนหญิง 4 คน ได�มาโดย

วิธีเลือกแบบเจาะจง (Purposive )

เคร่ืองมือที่ใช�ในการวิจัย

1. แบบฝ�กการอ�านภาษาไทยจํานวน 4 ชุด

2. แบบประเมินทักษะการอ�านภาษาไทย (Pretest - Posttest)

วิธีการสร�างเครือ่งมือที่ใช�ในวิจัย

1. ศึกษาหลักสูตรและผลการเรียนร�ูทีค่าดหวังของวิชาภาษาไทย ของนกัเรียนชัน้

ประถมศึกษาป�ที่ 1/2

2. ศึกษาแนวคิดและทฤษฎกีารสอน การสร�างแบบฝ�ก

3. จัดทําแบบฝ�กทกัษะการอ�านภาษาไทย และแบบประเมินผลการอ�าน ให�สอดคล�องกับ

เนื้อหาในบทเรียน

3.1 ให�ผ�ูเชี่ยวชาญตรวจสอบความถูกต�องด�านเนื้อหาของแบบฝ�กและแบบ

ประเมินผลการอ�าน

3.2 หาประสิทธิภาพของแบบฝ�ก ดังนี ้

3.2.1 ทดสอบกับนักเรียน 1 คน แล�วนําผลไปปรับปรุงส�วนที่เหน็ว�ายัง

บกพร�อง เช�น เนื้อหา ให�ดขีึ้น

3.2.2 ทดสอบกับนักเรียนกล�ุมเล็กประมาณ 7 คน แล�นําแบบฝ�กมา

แก�ไขข�อบกพร�องอีกครั้ง แล�วนําผลไปหาประสิทธิภาพแบบฝ�กโดยใช�เกณฑ� 80/80

3.2.3 ทดสอบกับนกัเรียนทั้งห�อง แล�วนําผลไปหาประสิทธิภาพโดยใช�

เกณฑ� 80/80

วิธีการดําเนินการวิจัย

ทดสอบก�อนเรียน

จัดกจิกรรมการเรยีนการสอนด�วยวิธีการอ�านโดยใช�แบบฝ�กการอ�าน

ทดสอบหลังเรียน

สถิติที่ใช�ในการวิเคราะห�ข�อมูล

1. สถิติพื้นฐาน

1.1 ค�าเฉลี่ย ( X) ใช�สูตร (ชูศรี วงศ�รัตนะ, 2541 : 36)

เมื่อ X แทน ตัวกลางเลขคณิตหรือค�าเฉลี่ย

ΣX แทน ผลรวมทั้งหมดของข�อมูล

N แทน จํานวนข�อมูลท้ังหมด

1.2 ค�าความเบ่ียงเบนมาตรฐาน ( Standard Deviation ) ใช�สูตร (ล�วน

สายยศ และอังคณา สายยศ. 2536 : 64)

เมื่อ S แทน ความเบ่ียงเบนมาตรฐาน

ΣX แทน ผลรวมของคะแนน

( )( )1

22

−=

∑∑nn

XXnS

N

XX

∑=

ΣX2 แทน ผลรวมของคะแนนแต�ละตัวยกกําลังสอง

n แทน จํานวนกล�ุมตัวอย�าง

2. สถิติพื้นทีใ่ช�ในการหาคุณภาพเครื่องมือ

2.1 หาประสิทธิภาพแบบฝ�ก โดยใช�สูตร

E1 แทน ประสิทธิภาพของแบบฝ�ก

ΣX แทน ผลรวมของคะแนนที่ได�จากการวดัระหว�างเรยีน

A แทน คะแนนเต็มของแบบวัด

N แทน จํานวนผ�ูเรียน

3. สถิติที่ใช�ในการทดสอบสมมติฐาน

3.1 เปรียบเทียบความแตกต�างก�อนและหลังการใช�แบบฝ�ก โดยการหาค�า t – test

Dependent (ชูศรี วงศ�รัตนะ. 2537 : 201)

เมื่อ t แทน ค�าสถติิทีใ่ช�พิจารณาใน t – distribution

n แทน จํานวนค�ูของข�อมูล

D แทน ผลต�างของคะแนนแต�ละคู�

100

A

N

xE1 x

Σ=

( )1-n

DDN

Dt

22∑ ∑

∑−

=

บทที่ 4

ผลการวิเคราะห�ข�อมูล

สัญลักษณ�ทีใ่ช�ในการ วิเคราะห�และแปลผลข�อมูล

N แทน จํานวนนักเรยีนในกล�ุมตวัอย�าง

X แทน คะแนนเฉลี่ย

SD แทน ส�วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน

ตารางที่ 1 ค�าสถิติพื้นฐานคะแนนความสามารถในการอ�านภาษาไทย ของนกัเรียนชัน้ประถม

ศึกษาป�ที่ 1 / 2 จํานวน 8 คน จํานวน 4 ครั้ง ( N=8)

จากตารางที ่ 1 เมื่อพิจารณาจากการทดสอบก�อนเรียน 4 ครั้ง ของนักเรียนชั้นประถมศึกษาป�ที1่/2

พบว�าคะแนนเฉลี่ยก�อนเรยีนมีค�าอย�ูระหว�าง 2.64 ถึง 3.44 คะแนน ส�วนการทดสอบหลังเรียน

พบว�ามีคะแนนเฉลี่ยอยู�ระหว�าง 4.16 ถึง 4.56 คะแนน เมื่อพิจารณาจากคะแนนการทดสอบรวม

4 ครั้ง พบว�าคะแนนทดสอบก�อนเรียนมคี�าเฉลี่ยเท�าก1ั2.48 ส�วนการทดสอบหลังเรียนมีคะแนน

เฉลี่ยเท�ากับ 17.36 ซึ่งจะเห็นได�ว�านกัเรียนมคีะแนนเฉลี่ยจากการทดสอบหลังเรียนสูงกว�าคะแนน

จากการทดสอบก�อนเรียน ทุกชดุแบบฝ�กและรวมทกุชุดแบบฝ�ก

การทดสอบ

ครั้งที่1

การทดสอบ

ครั้งที่ 2

การทดสอบ

ครั้งที่ 3

การทดสอบ

ครั้งที่ 4

ลําดับที ่

ก�อนเรียน หลังเรียน ก�อนเรียน หลังเรียน ก�อนเรียน หลังเรียน ก�อนเรียน หลังเรียน

1 ด.ช. ธนโชติ งานเจริญสุขถาวร 4 6 5 7 4 6 6 7

2 ด.ช. อนุวัตร เทศเล็ก 4 6 5 8 5 6 6 8

3 ด.ช. ธีรพล แก�วสิมมา 4 6 5 7 4 6 5 7

4 ด.ช. ปรีชา ไวยเจริณ 4 6 5 6 5 7 4 7

5 ด.ญ. ยวิษฐา กิตติวงศ�ธรรม 4 6 5 6 4 6 4 6

6 ด.ญ. วศวดี พิพัฒน�พร 5 7 6 6 5 7 5 7

7 ด.ญ. ญาณิศา ตนางกูร 4 7 6 7 5 7 6 7

8 ด.ญ. ศิริรัตน� ภักดี 4 8 6 8 6 8 6 8

เฉลี่ย 2.64 4.16 3.44 4.4 3.04 4.24 3.36 4.56

2.64

4.16

3.44

4.4

3.04

4.24

3.36

4.56

00.5

11.5

22.5

33.5

44.5

5

การทดสอบ

ครั้งท่ี1

การทดสอบ

ครั้งท่ี2

การทดสอบ

ครั้งท่ี3

การทดสอบ

ครั้งท่ี4

ก�อนเรียน

หลังเรียน

ภาพประกอบที่ 1 แผนภูมิแสดงการเปรยีบเทียบคะแนนจากการทดสอบก�อนและหลังการฝ�ก

ตารางที ่2 ผลการเปรียบเทียบคะแนนจากการทดสอบก�อนและหลังจากการเรียนด�วยแบบฝ�กการ

อ�าน 4 ชุด ( n = 8 )

แบบฝ�กการอ�าน การทดสอบ X

SD

แบบฝ�กการอ�านชุด1 ก�อนเรียน

หลังเรียน

2.64

4.16

0.46

0.80

แบบฝ�กการอ�านชุด2 ก�อนเรียน

หลังเรียน

3.44

4.4

0.51

0.83

แบบฝ�กการอ�านชุด3 ก�อนเรียน

หลังเรียน

3.04

4.24

0.70

0.74

แบบฝ�กการอ�านชุด4 ก�อนเรียน

หลังเรียน

3.36

4.56

0.88

0.64

รวมทุกชุด ก�อนเรียน

หลังเรียน

12.48

17.36

2.55

3.01

** มีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ .01

จากตารางที ่2 พบว�าคะแนนการอ�านของนักเรียนหลังจากได�รับได�รับการฝ�กด�วยชุดฝ�ก

การอ�าน สูงขึ้นกว�าก�อนได�รับการฝ�กอย�างมีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ .01 ทุกชุดแบบฝ�กและรวม

ทุกชุด แสดงว�าการใช�ชุดฝ�กการอ�านช�วยให�นักเรยีนมีความสามารถในการอ�านสูงขึ้น

บทที่ 5

สรุปผลการวิจัย อภิปรายผลและข�อเสนอแนะ

ในการศึกษาผลสัมฤทธ์ิทางการอ�านภาษาไทยโดยใช�แบบฝ�กการอ�านของนกัเรียนชั้น

ประถมศึกษาป�ที่ 1 / 2 ป�การศึกษา 2553 ผ�ูวิจัยได�สรุปการศึกษาดังนี ้

จุดมุ�งหมายของการวิจัย

1. เพื่อศึกษาผลสัมฤทธิ์ทางการอ�านภาษาไทยของนักเรียนชั้นประถมศึกษาป�ที่ 1/2 ภาค

เรียนที่ 2 ป�การศึกษา 2553

2. เพื่อเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการอ�านภาษาไทยของนักเรียนชัน้ประถมศึกษาป�ที่ 1/2

ภาคเรียนที่ 2 ป�การศกึษา 2553 จําแนกตามการประเมินผลก�อนเรียนและหลังเรียน โดยใช�แบบฝ�ก

การอ�าน

ประชากรที่ใช�ในการวิจัย

1. ประชากร คือ นกัเรียนชัน้ประถมศึกษาป�ที่ 1/2 โรงเรียนเซนต�หลุยส� จังหวัด

ฉะเชิงเทรา ป�การศกึษา 2553 จํานวน 8 คน เป�นนกัเรียนชาย 4 คน นักเรยีนหญิง 4 คน

2. กลุ�มตัวอย�าง คือ นกัเรียนชัน้ประถมศึกษาป�ที่ 1/2 โรงเรียนเซนต�หลุยส� จังหวัด

ฉะเชิงเทรา ป�การศกึษา 2553 จํานวน 8 คน เป�นนกัเรียนชาย 4 คน นักเรียนหญิง 4 คน ได�มาโดย

วิธีเลือกแบบเจาะจง

สมมุติฐานของการวิจัย

1. นักเรียนชัน้ประถมศึกษาป�ที่ 1/2 ภาคเรียนที่ 2 ป�การศึกษา 2553 มีผลสัมฤทธิ์ทางการ

อ�านภาษาไทยสูงขึน้

2. นักเรยีนชั้นประถมศึกษาป�ที่ 1/2 ภาคเรียนที่ 2 ป�การศกึษา 2553 มีผลสัมฤทธิ์ทาง

การอ�านภาษาไทยก�อน – หลัง การฝ�กโดยใช�แบบฝ�กการอ�านต�างกนั

เคร่ืองมือที่ใช�ในการวิจัย

1. แบบฝ�กการอ�านภาษาไทยจํานวน 4 ชุด

2. แบบประเมินทักษะการอ�านภาษาไทย (Pre-test , Post-test)

วิธีการดําเนินการวิจัย

1. ทดสอบก�อนเรียน

2. จัดกจิกรรมการเรยีนการสอนด�วยวิธีการอ�านโดยใช�แบบฝ�กการอ�าน

3. ทดสอบหลังเรียน

วิธีการวิเคราะห�ข�อมูล

1. หาค�าสถิติพื้นฐาน

1.1 ค�าเฉลี่ย

1.2 ค�าส�วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน

2. ค�าสถิติเพื่อทดสอบสมมติฐาน t- test

สรุปผลการวิจัย

การวจิัยเพื่อศึกษาพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการอ�านภาษาไทยโดยการใช�แบบฝ�กการอ�านของ

นักเรียนชัน้ประถมศึกษาป�ที่ 1/2 ภาคเรียนที่ 2 ป�การศกึษา 2553 สรุปได�ดังนี ้

1. ผลการวิเคราะห�ผลสัมฤทธิ์การฝ�กทกัษะการอ�านภาษาไทย จากการประเมินก�อนเรียน

และหลังเรียนภาษาไทย พบว�า การประเมินก�อนเรยีนและหลังเรียนมีความแตกต�างกันอย�างเห็นได�

ชัด ซึ่งพบว�าคะแนนการประเมินก�อนเรยีนรวม 4 ชุด มีค�าเฉลี่ย 12.48 ในขณะทีก่ารประเมินผล

หลังเรียนมีค�าเฉลี่ย 17.36 ซึ่งเป�นค�าเฉลี่ยท่ีสูงขึ้น แสดงให�เห็นว�า การสอนตามเทคนคิแผนการ

สอนนี้ นอกจากจะเพิ่มผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนของนกัเรยีนให�สูงขึ้นและยังสามารถทําให�นักเรียน

บรรลุจุดประสงค�การเรียนไปได�ในระดับที่สูงขึ้นด�วย

2. ผลการเปรียบเทียบคะแนนเฉลี่ยก�อนและหลัง การฝ�กด�วยชุดฝ�กการอ�านพบว�า นกั

เรียนมีคะแนนหลังจากการฝ�กสูงกว�าก�อนได�รับการฝ�กอย�างมีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ .01

อภิปรายผลการวิจัย

จากผลการศกึษาค�นคว�าครั้งนี้ สามารถอภิปรายผลการวจิัยได�ดังนี ้

1. ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนที่สูงขึ้นสรุปได�ว�า การสอนโดยใช�แบบฝ�กการได�เป�ดโอกาสให�

นักเรียนได�ลงมือฝ�กทักษะ อภิปรายและแสดงความคิดเห็น ทําให�นักเรยีนไม�เบื่อต�อการเรยีน ดังนั้น

จึงทําให�ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนกัเรียนทีไ่ด�รับการสอน โดยใช�แบบฝ�กการอ�านมคีะแนนสูง

กว�าก�อนการสอน ซึ่งเป�นไปตามสมมติฐานข�อท่ี 1 ที่ตั้ง นอกจากนี้ยังสอดคล�องกับแนวคดิในการ

จัดการเรียนการสอน ของจอนห�น ดวิอี้ (John Dewey)(Dewey.1963) ที่กล�าวว�าการเรียนรู�โดยการ

ให�ผ�ูเรียนเป�นผู�ลงมือทํา “Learning by Doing” เป�นส�วนที่เปล่ียนบทบาทสําคัญของครูจากผู�

ถ�ายทอดความรู�มาเป�นผู�จดัประสบการณ�การเรียนรู� ดังนั้นจุดเน�นในการเรียนจึงอย�ูที่ผ�ูเรียนมากกว�า

ครูผู�สอน

2. ผลการเปรียบเทียบคะแนนก�อนและหลังการฝ�กด�วยชุดฝ�กการอ�าน พบว�าหลังจาก

นักเรียนได�รับการฝ�กด�วยชดุการฝ�กการอ�านทั้ง 4 ชุด มีคะแนนการอ�านสูงขึ้นกว�าก�อนได�รับการฝ�ก

อย�างมีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ .01 แสดงว�าการใช�ชุดฝ�กทําให�นกัเรียนมคีวามสามารถทางด�าน

การอ�านสูงขึ้น ทั้งนี้มาจากการทีน่ักเรียนได�รับฝ�กบ�อยครั้ง จึงทําให�นกัเรียนมีทกัษะการอ�านดีขึน้

ซึ่งเป�นไปตามแนวคดิของ ธอร�นไดค� ที่ได�กล�าวถึง การสร�างความมั่นคงของการเชื่อมโยงระหว�าง

สิ่งเร�ากับการตอบสนองที่ถูกต�องโดยการฝ�กหัดกระทําซํ้าบ�อยๆ ทําให�เกิดการเรียนรู�ได�นานและ

คงทนถาวร ก็คือ กฎแห�งการฝ�กหัดนัน่เอง และเป�นไปตามสมมติฐานที่ตั้งไว�ในข�อท่ีข�อท่ี 2

ข�อเสนอแนะ

1. ครูผู�สอนวิชาภาษาไทยสามารถนําผลท่ีได�จากการศกึษาครั้งนี้ไปเป�นแนวทางในการ

จัดการเรียนการสอนเรื่องการฝ�กทักษะการอ�านภาษาไทย จะเป�นประโยชน�ต�อนักเรียนยิ่ง ๆ ขึ้นไป

2. ควรมีการวิจัยเกี่ยวกับการใช�ชดุฝ�กในวิชาอืน่ๆ

บรรณานุกรม

บุญโชติ แก�วแสนสุข. การวิจัยในชั้นเรียน, สํานักงานพฒันาการศกึษา ศาสนา และวัฒนธรรม

เขตการศกึษา 12 มปป.________

ภาควิชาภาษาไทย. เอกสารประกอบการสอนชุดวิชาการใช�ภาษาไทย. สถาบันราชภัฎราช

นครินทร�,2540

สมทรง อัศวกุล. ความร�ูพืน้ฐานเกี่ยวกับการวจิัย. สถาบันราชภัฎนครราชสีมา, มมป. ______

วรรวิไล พันธ�สีดา. 12 ก�าวปฏิบัตกิารวจิัยในชั้นเรียน ขั้นพ้ืนฐานสําหรับครูยคุใหม�. มปท. มมป.

______

กาญจนา วัฒนาย.ุ การวิจัยในชั้นเรยีนเพื่อพัฒนาการเรียนการสอน. สถาบันพัฒนาผ�ูบริหาร

การศกึษา กระทรวงศึกษาธิการ

กุศยา แสงเดช. การวิจัยในชั้นเรยีนสําหรับครูประถมศึกษา. กรุงเทพฯ, แม็ค, 2545.

ชูศรี วงศ�รัตนะ.เทคนคิการใช�สถิติเพื่อการวจิัย. พิมพ�ครั้งที่ 8. กรุงเทพฯ : เทพเนรมิตการพิมพ�.

2544

มูลนิธิเซนต�คาเบรียลแห�งประเทศไทย. พระราชบัญญัตกิารศึกษาแห�งชาติ พ.ศ. 2542

และที่แก�ไขเพิ่มเติม (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2545. กรุงเทพฯ : บริษัท พรกิหวานกราฟฟ�ค. 2545.