29
エ・nーオェキエ・ キュキエハeクウツ。・ォオュヲr 、ョオェキ・オィエ・ォヲクヲキヲェキテヲ オェキエ・クハチ}ュnェョケノーオヲォケャオェキオ ェ ヲウチク・ェキクェキエ・ eオヲォケャオ

บทคัดย องานวิจัยmed.swu.ac.th/preventive/images/CM.511/511-2553.pdf · บทคัดย องานวิจัย ของ นิสิตชั้นป

  • Upload
    others

  • View
    1

  • Download
    0

Embed Size (px)

Citation preview

Page 1: บทคัดย องานวิจัยmed.swu.ac.th/preventive/images/CM.511/511-2553.pdf · บทคัดย องานวิจัย ของ นิสิตชั้นป

บทคดัยองานวจิัย 

ของ 

นิสิตชั้นปที่ 5 

คณะแพทยศาสตร  มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ 

งานวิจัยนี้เปนสวนหนึ่งของการศึกษาวิชา วช.511 

ระเบียบวิธีวิจัย  ปการศึกษา 2553

Page 2: บทคัดย องานวิจัยmed.swu.ac.th/preventive/images/CM.511/511-2553.pdf · บทคัดย องานวิจัย ของ นิสิตชั้นป

คํานํา 

รายวิชา วช.511 ระเบียบวิธีวิจัย เปนการศึกษากระบวนการวิจัยทางระบาดวิทยาเกี่ยวกับการ สงเสริม  ปองกัน  และประเมินปญหาสาธารณสุขทั้งระดับบุคคล  ครอบครัว  และชุมชน โดยมีวัตถุประสงค เพื่อใหนิสิตแพทยชั้นปที่ 5 สามารถรวบรวมขอมูลและประเมินปญหาทางสาธารณสุขของบุคคล  ครอบครัว และชุมชนในความรับผิดชอบตามวิธีการทางระบาดวิทยา และทําการวิจัยเพื่อแกปญหาทางสาธารณสุข ตามข้ันตอน ไดแก การตั้งสมมติฐาน การเก็บขอมูล การวิเคราะหขอมูล การเขียนรายงานและการนําเสนอ นิสิตใชเวลาในการเรียน 2 สัปดาหโดยมีอาจารยดานวิทยาการระบาดคือ ผศ.ดร.นพ.กิตติพงษ คงสมบูรณ และดร.นพ.สุธีร รัตนะมงคลกุล เปนผูสอน เนื้อหาวิชาประกอบดวย ความรูเบื้องตนเกี่ยวกับการวิจัย การ กําหนดปญหาและการตั้งสมมติฐานการวิจัย การออกแบบการวิจัย การเลือกกลุมตัวอยางและขนาด ตัวอยาง การสรางแบบสอบถาม ความคลาดเคลื่อนทางสถิติ ขอมูลในการวิจัย การวิเคราะหขอมูลทางสถิติ แนวทางการจัดทํารายงานการวิจัย จริยธรรมในการทําวิจัย และการวิเคราะหขอมูลทางสถิติโดยใช โปรแกรมสําเร็จรูป ไดแก SPSS และ Stata 

นิสิตแพทยตองแบงกลุมทําวิจัยกลุมละ 5 คนตองานวิจัย 1 เรื่อง โดยหัวขอการวิจัยจะไดจาก ปญหาที่มีอยูในชีวิตประจําวันของการเรียนแพทย หลังจากนั้นนิสิตแพทยจะถูกประเมินจากการมีสวนรวม ในชั้นเรียน การนําเสนองานวิจัย การเขียนรายงานการวิจัย และการสอบขอเขียน เมื่อสิ้นสุดการเรียนจะมี การประเมินการสอนโดยนิสิตแพทยทุกคนเพื่อนําไปปรับปรุงการเรียนการสอนในปตอไป สําหรับในป การศึกษา 2553 มีงานวิจัยของนิสิตแพทยชั้นปที่ 5 นําเสนอเปนบทคัดยอจํานวน 25 เรื่อง 

ผศ.ดร.นพ.กิตติพงษ คงสมบูรณ หัวหนารายวชิา

Page 3: บทคัดย องานวิจัยmed.swu.ac.th/preventive/images/CM.511/511-2553.pdf · บทคัดย องานวิจัย ของ นิสิตชั้นป

สารบัญ 

หัวขอเรื่อง  หนา 1.  การออกกําลังกายและผลการเรียน  1 2.  เจตคติของนิสิตแพทยตออาจารยแพทยและแพทยใชทนุในแงของการเปนตนแบบใน 

การประกอบวิชาชีพและการปฏิบัตติน 2 

3.  การศึกษาความสัมพันธของการนอนหลับที่ไมเพียงพอตอการมีน้ําหนกัตัวสูงกวา เกณฑปกติในนิสิตแพทยชัน้ปที่ 4 และ 5 มหาวิทยาลัยศรนีครินทรวิโรฒ 

4.  ความสัมพันธระหวางการบริโภคน้ําอัดลมกับความอวน ในนิสิตแพทยชัน้ปที่ 4 และ 5 มหาวิทยาลัยศรนีครินทรวิโรฒ 

5.  การดื่มน้ําผลไมปนสงผลตอการดื่มกาแฟหรือไม  5 6.  การศึกษาความสัมพันธระหวางคาดชันีมวลกายกับภาวะหยุดหายใจขณะนอนหลับ  6 7.  ความสัมพันธระหวางความเครียดของนสิิตแพทย กับการเกิดอาการของโรคกระเพาะ 

อาหาร 7 

8.  ทัศนคติของผูปวยที่มีตอการปฏิบัติงานของนิสติแพทย  8 9.  ความรูและประสบการณในการทําหัตถการกับผลตออัตราการไดรับอุบัติเหตุจากเข็ม 

ฉีดยาและเข็มเย็บแผล 9 

10.  เปรียบเทยีบระดับแอลกอฮอลในกระแสเลือดระหวางผูที่เสียชีวิตจากอุบัติเหตจุราจร และการเสียชีวิตจากสาเหตุอ่ืน 

10 

11.  ความรวมมือของพยาบาลสงผลตอความเครียดในการปฏิบัติงานบนหอผูปวยของ นิสิตแพทยหรือไม 

11 

12.  จํานวนชั่วโมงในการเปดเครื่องปรบัอากาศกับการเกิดเชื้อราภายในหองพักนิสิต แพทย 

12 

13.  เพราะคนไขเดินทางลําบากจึงผดินัดแพทยจริงหรือ?  13 14.  คุณรูหรือไมวาการนอนโรงพยาบาลเสี่ยงตอการติดเชื้อ?  14 15.  จํานวนชั่วโมงการทํางานของแพทยใชทนุกับความเครียดจากการทํางาน  15 16.  การไมไดกลับบานทําใหนิสติแพทยเครยีดมากขึ้นจริงหรือ  16 17.  เวลาในการเริ่มขึ้นปฏิบตัิงานบนหอผูปวยตอการขับถายอุจจาระ  17 18.  การออกกําลังกายมีความสัมพันธกับระดับความเครียดทีต่่ําในนิสติแพทยชั้นคลินิก  18 19.  ความสัมพันธระหวางการเรียนระดับชัน้คลินกิกับดัชนีมวลกาย  19 20.  พฤติกรรมนิสติแพทยมีผลตอความเครียดจากการทํางานของพยาบาลหรือไม  20

Page 4: บทคัดย องานวิจัยmed.swu.ac.th/preventive/images/CM.511/511-2553.pdf · บทคัดย องานวิจัย ของ นิสิตชั้นป

หัวขอเรื่อง  หนา 21.  การใช facebook กับผลการเรียน  21 22.  ผักผลไมกับภาวะทองผูกในนิสิตแพทย  22 23.  ความเครียดกับการปฏิบัตติัวไมเหมาะสมของนิสิตแพทย  23 24.  การฝากครรภที่เหมาะสมและอัตราการเขารักษาหอผูปวยวิกฤติทารกแรกเกดิ  24 25.  การเขียนสรุปเนื้อหามีผลทําใหผลการเรยีนนิสิตแพทยชัน้ปที่ 4 ดีขึ้นหรือไม  25

Page 5: บทคัดย องานวิจัยmed.swu.ac.th/preventive/images/CM.511/511-2553.pdf · บทคัดย องานวิจัย ของ นิสิตชั้นป

การออกกาํลังกายและผลการเรียน นายอังคาร รัตนสีดา, นายชลพันธ ปยถาวรอนนัต, นายโพธิ์ คมลักษณ, นายเมธี ปยะมงคลวงศ 

บทคัดยอ การออกกําลังกายสงเสริมใหมีสุขภาพรางกายที่ดี แตดวยสภาวะแวดลอมในปจจุบันที่มีการแขงขัน 

ในดานความสามารถทางการเรียนเพิ่มมากขึ้น ทําใหเด็กรุนใหมหันไปใหความสําคัญกับการศึกษาเลาเรยีน และความสัมฤทธิ์ผลทางการเรียนมากขึ้นจนละเลยที่จะออกกําลังกาย การศึกษานี้จึงมีจุดมุงหมายเพื่อหา ความสัมพันธระหวางการออกกําลังกายอยางเหมาะสมกับผลสัมฤทธิ์ทางการศึกษาในนิสิตแพทยชั้นปที่ 4 และ 5 มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ 

การศึกษาเปนเชิงวิเคราะหแบบภาคตัดขวาง โดยใชกลุมตัวอยางเปนนิสิตแพทย ชั้นปที่ 4 และ 5 มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ จํานวน 155 คนจากทั้งสิ้น 200 คน เก็บขอมูลวันที่ 26 พ.คง2553 เกณฑ ประเมินการออกกําลังกายประกอบดวยชนิด, ความถี่ และความหนักของการออกกําลังกาย และเกณฑ ประเมินผลสัมฤทธิ์ทางการศึกษาใชผลการเรียนเฉลี่ยลาสุดแบงเปน 2 กลุมโดยใชเกรด 3.00 เปนเกณฑ นาํ ขอมูลมาวิเคราะหดวย Chi-square test และ logistic regression กําหนดคา p value < 0.05 

ผลการศึกษาพบวานิสิตแพทยชั้นปที่ 4 และ 5 เปนนิสิตแพทยหญิงรอยละ 64.5 ออกกําลังกาย ตามเกณฑที่กําหนดรอยละ 18.7 ปจจัยอ่ืนที่มีผลตอผลสัมฤทธิ์ทางการศึกษา ไดแก นิสิตแพทยเขาเรียน รอยละ 97.4 อานหนังสือเปนประจํารอยละ 93.6 นอนหลับ 6-8 ชั่วโมงตอวันรอยละ 52.9 มีระดับ ความเครียดจนมีผลกระทบกับการเรียนรอยละ 16.1 และมีโรคประจําตัวรอยละ 3.2  เมื่อวิเคราะหดวย logistic regression พบวานิสิตแพทยที่ไมออกกําลังกายมีคา odds ratio = 1.3 (95%CI = 0.272 - 6.009) สวนปจจัยอื่นที่มีผลตอผลสัมฤทธิ์ทางการศึกษา ไดแก เพศ ชั้นปที่เรียน การเขาชั้นเรียน และดัชนีมวลกาย 

สรุปผลพบวานิสิตแพทยชั้นปที่ 4 และ 5 มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒที่ออกกําลังกายตามเกณฑ มีผลสัมฤทธิ์ทางการศึกษาไมแตกตางกับนิสิตแพทยที่ไมออกกําลังกาย อยางไรก็ตามการออกกําลังกาย ยอมทําใหสุขภาพแข็งแรงและเรียนหนังสือไดอยางมีประสิทธิภาพ 

คําสําคัญ: การออกกําลังกาย ผลการเรียน นิสิตแพทย 

1

Page 6: บทคัดย องานวิจัยmed.swu.ac.th/preventive/images/CM.511/511-2553.pdf · บทคัดย องานวิจัย ของ นิสิตชั้นป

เจตคตขิองนิสิตแพทยตออาจารยแพทยและแพทยใชทุนในแงของการเปนตนแบบในการ ประกอบวิชาชีพและการปฏบิัตติน ชลิตา ศักดิ์จิระพงศ, อลิศรา อารีราชการัณย,ยงยศ ทั่วจบ,ศศธร มงคลเสริมพร,ธนินทธร สินสมบูรณทอง 

บทคัดยอ ทัศนคติของอาจารยแพทยในโรงเรียนแพทยมีผลตอพฤติกรรมและคานิยมที่สะทอนใหนิสิตแพทย 

ในแงของการประพฤติปฏิบัติตน  การศึกษานี้มีจุดประสงคเพื่อหาความสัมพันธระหวางเจตคติของนิสิต แพทยที่มีตออาจารยแพทยและแพทยใชทุนในแงของการเปนตนแบบกับพฤติกรรมของนิสิตแพทยวามีผล มาจากการซึมซับจากพฤติกรรมของอาจารยแพทยและแพทยใชทุน 

การศึกษานี้เปนเชิงวิเคราะหแบบภาคตัวขวาง ใชแบบสอบถามนิสิตแพทยชั้นปที่ 4 และ 5 จํานวน 127 คนจากทั้งหมด 196 คน ใชเกณฑจาก General Medical Council’s guidelines for Good Medical Practice  สวนแรกเปนสวนของนิสิตที่ประเมินอาจารยแพทยและแพทยใชทุน  สวนที่สองเปนสวนที่นิสิต แพทยประเมินตนเองซึ่งเปนคําถามชุดเดียวกัน Ranking scale ประกอบดวยคะแนนเปนจริงทุกครั้ง จริง สวนใหญ  จริงบางครั้ง  และไมเคยเลย  นําขอมูลที่ไดมาหาความสัมพันธดวย  Spearman’s  rank correlation  และจัด Ranking ของเจตคติใหมเปน Rank A ประกอบดวยคะแนนที่เปนจริงทุกครั้งและจริง สวนใหญ กับ Rank B ประกอบดวยคะแนนที่เปนจริงบางครั้งและไมเคยเลย แลวนํามาหาคา odds ratio กําหนดคา p value < 0.05 

ผลการศึกษาพบวาความสัมพันธระหวางระดับคะแนนที่นิสิตประเมินใหอาจารยแพทยและแพทย ใชทุนกับนิสิตประเมินตนเองนั้นมีความสัมพันธระดับปานกลาง (medium strength positive) ไดแก การให เกียรติผูปวยและเคารพในสิทธิของผูปวย (r = 0.573)  การสนับสนุนผูปวยและแนะนําวิธีการดูแลรักษาและ ปองกันตนจากโรค (r = 0.509) สวน odds ratio ที่มีคามากที่สุด ไดแก การเคารพการตัดสินใจของผูปวย odds ratio = 19.2 (95%CI = 3.7 – 97.3) สวน odds ratio ที่มีคานอยที่สุด 3 อันดับแรก ไดแก การดูแลใส ใจผูปวยและใหความสําคัญกับผูปวย, การพัฒนาความรูและทักษะใหมอยูเสมอ ๆ, และการทํางาน รวมกับสหวิชาชีพเพื่อผลประโยชนที่ดีที่สุดของผูปวย odds ratio = 2.9 (95%CI= 1 – 8.6), odds ratio = 3.4 (95%CI = 1.4 – 7.9), odds ratio = 4 (95%CI = 1.6 – 10.1) ตามลําดับ 

สรุปผลพบวาการเคารพการตัดสินใจของผูปวยของอาจารยแพทยและแพทยใชทุนเปนสิ่งที่นิสิต แพทยใชเปนแบบอยางมากที่สุด สวนแบบอยางที่ตองปรับปรุง ไดแก การดูแลใสใจผูปวยและให ความสําคัญกับผูปวย, การพัฒนาความรูและทักษะใหมอยูเสมอ ๆ, และการทํางานรวมกับสหวิชาชีพเพื่อ ผลประโยชนที่ดีที่สุดของผูปวย 

คําสําคัญ: เจตคติ อาจารยแพทย แพทยใชทุน นิสิตแพทย 

2

Page 7: บทคัดย องานวิจัยmed.swu.ac.th/preventive/images/CM.511/511-2553.pdf · บทคัดย องานวิจัย ของ นิสิตชั้นป

การศกึษาความสมัพันธของการนอนหลับท่ีไมเพยีงพอตอการมีนํ้าหนักตัวสูงกวาเกณฑปกติใน นิสิตแพทยชั้นปท่ี 4 และ 5 มหาวิทยาลยัศรีนครินทรวิโรฒ อธิคม บูรณปทมะ, นันทนา จําปา, ภาวิดา พงศเทพาดิเทพ, เยาวเรศ กฤตธิติมา, วงศิยา เคหะสุวรรณ 

บทคัดยอ การนอนนอยกวา 7 ชั่วโมง สงผลให Circadian rhythm ในรางกายเปลี่ยนแปลงไป มีผลทําใหการ 

หลั่งฮอรโมน Ghrelin เพิ่มขึ้น และ Leptin ลดลง ซึ่งทําใหความหิวเพิ่มขึ้นและอ่ิมชาลง อัตราการเผาผลาญ พลังงานลดลง  จึงสงผลใหมีคาดัชนีมวลกายเพิ่มขึ้น การศึกษาในครั้งนี้จึงมีจุดมุงหมายเพื่อหา ความสัมพันธระหวางคาดัชนีมวลกายที่สูงกวาเกณฑมาตรฐานกับการนอนหลับที่ไมเพียงพอในนิสิตแพทย ชั้นปที่ 4 และ 5 มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ 

การศึกษานี้เปนการศึกษาเชิงวิเคราะหแบบภาคตัดขวาง โดยเลือกกลุมตัวอยางจากนิสิตแพทยชั้น ป  4  และ 5  ที่พักอาศัยในหอพักนิสิตแพทย ณ วันที่  26  พฤษภาคม  2553  และทําการเก็บขอมูลโดยใช แบบสอบถามจํานวน 200 ชุด และมีผูตอบแบบสอบถามกลับมาจํานวน 155 ชุด กําหนดใหการนอนหลับ ไมเพียงพอ คือ การนอนหลับตอเนื่องที่ใชเวลานอยกวา 7 ชั่วโมงตอวัน และกําหนดใหน้ําหนักสูงกวาเกณฑ มาตรฐาน คือ ดัชนีมวลกายที่มากกวา 23 kg/m 2 และตัวแปรกวน คือ เพศ, ชั้นป, ภาควิชาที่กําลังศึกษา, ปริมาณพลังงานที่ไดรับจากการบริโภคในแตละวัน, การออกกําลังกาย, การดื่มแอลกอฮอล, การสูบบุหรี่ และระดับความเครียด โดยทําการวิเคราะหขอมูลดวย  Chi-Square  test,  Independence  t-test  และ Logistic regression ดวยโปรแกรม SPSS กําหนดคา p value < 0.05 

ผลการวิจัยพบวานิสิตแพทยชั้นป 4 และ 5 นอนนอยกวา 7 ชั่วโมงรอยละ 72.3 เมื่อวิเคราะหดวย logistic regression พบวานิสิตแพทยชายมีน้ําหนักสูงกวาเกณฑมาตรฐานมากกวานิสิตแพทยหญิง odds ratio = 3.6 (95%CI = 1.465 - 8.919) นิสิตแพทยชั้นปที่ 5 มีน้ําหนักสูงกวาเกณฑมาตรฐานมากกวานิสิต แพทยชั้นปที่ 4 odds  ratio  =  3.9  (95%CI  =  1.474  -  10.249) และนิสิตแพทยที่รับประทานอาหารที่มี พลังงานสูงกวา 2,000 kcal ตอวันจะมีน้ําหนักสูงกวาเกณฑมาตรฐานดวยคา odds ratio = 2.5 (95% CI = 1.010 - 7.057) พบวานิสิตที่นอนนอยกวา 7 ชั่วโมงตอวันมีน้ําหนักสูงกวาเกณฑมาตรฐาน odds ratio = 2.3 (95% CI = 0.690 - 7.418) 

สรุปการนอนหลับที่นอยกวา 7 ชั่วโมงตอวันไมสัมพันธกับคาดัชนีมวลกายที่สูงกวาเกณฑมาตรฐาน แตมีปจจัยอื่นที่มีผลตอคาดัชนีมวลกายที่สูง ไดแก ปริมาณพลังงานที่ไดรับจากการบริโภค > 2,000 kcal ตอวัน เพศชาย และการเรียนในชั้นปที่ 5 

คําสําคัญ: การนอนหลับไมเพียงพอ, น้ําหนักตัวสูงกวาเกณฑ, นิสิตแพทย 

3

Page 8: บทคัดย องานวิจัยmed.swu.ac.th/preventive/images/CM.511/511-2553.pdf · บทคัดย องานวิจัย ของ นิสิตชั้นป

ความสัมพันธระหวางการบริโภคนํ้าอัดลมกับความอวน ในนิสิตแพทยชั้นป ท่ี  4  และ  5 มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ กมลชนก จั่นเพ็ชร, ฌัฐวดี ภัทรสิริวงศ, ธนภัทร จงไพบูลยพัฒนะ, บวร วีระสืบพงศ, วรมณี สันติวรนารถ 

บทคัดยอ พฤติกรรมการบริโภคอาหารและกิจกรรมที่เปลี่ยนไปของนิสิตแพทย ทําใหเสี่ยงตอการเกิดโรคอวน 

ไดงาย โดยเฉพาะพฤติกรรมการดื่มน้ําอัดลมที่เพิ่มมากขึ้น ซึ่งเปนปจจัยหนึ่งที่เสี่ยงตอโรคอวน แตปจจุบัน ไดมีผลิตภัณฑน้ําอัดลมแบบไมมีน้ําตาล โดยมีการโฆษณาวาไมมีพลังงาน ไมทําใหอวน ทําใหนิสิตแพทย บางคนเลือกที่จะดื่มน้ําอัดลมแบบไมมีน้ําตาลแทน จึงเกิดการศึกษาวิจัยในครั้งนี้เพื่อเปรียบเทียบ ความสัมพันธของการดื่มน้ําอัดลมแบบมีน้ําตาลและไมมีน้ําตาลกับความอวนในนิสิตแพทยชั้นปที่ 4 และ 5 มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ โดยวัดจากคาดัชนีมวลกาย 

การศึกษาเชิงวิเคราะหแบบภาคตัดขวาง โดยใชแบบสอบถามในการเก็บขอมูลระหวางวันที่ 24-28 พฤษภาคม 2553 จากกลุมตัวอยางคือ นิสิตแพทยชั้นปที่ 4 และ 5 มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ จํานวน ทั้งสิ้น 153  คน มาวิเคราะหหาความสัมพันธระหวางพฤติกรรมการดื่มน้ําอัดลมกับดัชนีมวลกาย  ≥  23 kg/m 2 ซึ่งอยูในเกณฑอวนและปริมาณน้ําตาลที่บริโภคตอวัน > 24 mg/d กับภาวะอวน โดยใช Chi square test สําหรับ bivariate analysis กําหนดคา p value < 0.05 

ผลการวิจัยพบวานิสิตแพทยชั้นปที่ 4 และ 5 มีดัชนีมวลกาย ≥ 23 kg/m 2 คิดเปนรอยละ 19.6 และ บริโภคน้ําตาลมากกวา  >  24  mg  ตอวันรอยละ 67.3 นิสิตแพทยดื่มน้ําอัดลมชนิดธรรมดามากที่สุด รองลงมาคือน้ําอัดลมแบบไมใสน้ําตาล ดื่มทั้งสองอยาง และไมดื่มน้ําอัดลมเลย คิดเปนรอยละ 79.1, 9.2, 6.5, และ 5.2 ตามลําดับ เมื่อวิเคราะหดวย Chi-square test ระหวางพฤติกรรมการดื่มน้ําอัดลมกับภาวะ อวน ไมพบวามีความสัมพันธทางสถิติ (95%CI  0.222-2.684) และไมพบความสัมพันธทางสถิติระหวาง ปริมาณน้ําตาลที่ไดรับตอวันกับภาวะอวน (95%CI 0.222-2.684) 

สรุปผลพบวาพฤติกรรมการดื่มน้ําอัดลมของนิสิตแพทยชั้นปที่ 4 และ 5 และการบริโภคน้ําตาลตอ วันไมสัมพันธกับภาวะอวน ซึ่งภาวะอวนของนิสิตแพทยกลุมนี้อาจเกิดจากปจจัยอ่ืน เชน การไมออกกําลัง กาย การรับประทานอาหารไขมันสูง และการรับประทานของจุกจิก เปนตน อยางไรก็ตามการดื่มน้ําอัดลม และการบริโภคน้ําตาลที่มากเกินไปยอมสงผลเสียตอสุขภาพ 

คําสําคัญ: การบริโภคน้ําอัดลม, ความอวน, นิสิตแพทย 

4

Page 9: บทคัดย องานวิจัยmed.swu.ac.th/preventive/images/CM.511/511-2553.pdf · บทคัดย องานวิจัย ของ นิสิตชั้นป

การดืม่นํ้าผลไมปนสงผลตอการดื่มกาแฟหรือไม จุฑาทิพย  รัตนพนัธ,  ธนธรณ  ศรเีจรญิ,  พรพิมล  เจนยงศักดิ์,  รุงทิพย  สุรักษรัตนสกุล,  สุปรีย  บูรณะ วงศตระกูล 

บทคัดยอ ปจจุบันการทํางานที่เรงรีบทําใหตองพึ่งเครื่องดื่มที่กระตุนประสาท เชน กาแฟ ซึ่งนิสิตแพทยเปน 

บุคคลกลุมหนึ่งที่นิยมดื่มกาแฟ แตการดื่มกาแฟมากเกินไปอาจสงผลเสียตอสุขภาพไดน้ําผลไมปนเปน ทางเลือกหนึ่งที่นาจะทดแทนการดื่มกาแฟได เนื่องจากน้ําผลไมปนใหทั้งความสดชื่นและมีประโยชนตอ รางกายมากกวากาแฟ ดังนั้นการดื่มน้ําผลไมปนนาจะชวยลดการดื่มกาแฟได การศึกษานี้จึงมีจุดมุงหมาย เพื่อศึกษาความสัมพันธระหวางการดื่มน้ําผลไมปนกับการดื่มกาแฟที่ลดลงในนิสิตแพทยชั้นปที่ 4 และ 5 มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ 

การศึกษาเชิงวิเคราะหแบบภาคตัดขวาง โดยใชแบบสอบถามเก็บขอมูลจากนิสิตแพทยชั้นปที่ 4 และ 5 จํานวน 156 คน จากทั้งหมด 200 คน ระหวางวันที่ 26 – 27 พฤษภาคม 2553 ขอมูลประกอบดวย ปริมาณการดื่มน้ําผลไมปนและการดื่มกาแฟ เปรียบเทียบในชวง 2 เดือนวาลดลงหรือไม พรอมเหตุผลใน การดื่มและไมดื่มทั้งน้ําผลไมปนและกาแฟ นําขอมูลมาวิเคราะหแบบ Bivariate analysis ดวย Chi-square test เมื่อเปนขอมูลเชิงคุณภาพ และใช T test เมื่อเปนขอมูลเชิงปริมาณ กําหนดใหคา p value < 0.05 

ผลการวิจัยพบวากลุมตัวอยางเปนนิสิตแพทยหญิงรอยละ 69.2 ดื่มน้ําผลไมปนรอยละ 84 ใน จํานวนนี้มีผูดื่มกาแฟลดลงในชวง 2 เดือนรอยละ 11.5 สวนกลุมที่ไมดื่มน้ําผลไมปนมีผูดื่มกาแฟลดลงรอย ละ 8 เมื่อนํามาวิเคราะหดวย Chi-square test ไมพบความแตกตางอยางมีนัยสําคัญ (p = 0.612) สวน เหตุผลในการเลือกดื่มน้ําผลไมปนที่พบมากที่สุดคือความชอบในรสชาติและประโยชนดานสุขภาพ เหตผุลที่ ไมเลือกดื่มน้ําผลไมปนที่พบบอยคือตองรอนาน สําหรับเหตุผลในการเลือกดื่มกาแฟมากที่สุดคือใชแกงวง เวลาอานหนังสือ และเหตุผลในการไมเลือกดื่มกาแฟคือกาแฟไมมีผลดีตอสุขภาพ 

สรุปผลพบวาการดื่มน้ําผลไมปนของนิสิตแพทยชั้นปที่ 4 และ 5 มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒไม ชวยลดปริมาณการดื่มกาแฟในชวง 2 เดือน อยางไรก็ตามการดื่มน้ําผลไมปนมีประโยชนตอสุขภาพ มากกวาการดื่มกาแฟ ควรเชิญชวนใหนิสิตแพทยหันมาดื่มน้ําผลไมปนใหมากขึ้น 

คําสาํคัญ: น้ําผลไมปน, กาแฟ, นิสติแพทย 

5

Page 10: บทคัดย องานวิจัยmed.swu.ac.th/preventive/images/CM.511/511-2553.pdf · บทคัดย องานวิจัย ของ นิสิตชั้นป

การศกึษาความสมัพันธระหวางคาดัชนีมวลกายกบัภาวะหยดุหายใจขณะนอนหลับ ไพลิน แกวลาย, กัญจน สนธยานาวิน,ลักษณัย ปฏิบัต,ิ เวธกา แสงทิพยบวร, ศุภกิจ เตยวัฒนะชัย 

บทคัดยอ โรคหยุดหายใจขณะนอนหลับ (Obstructive sleep apnea) เปนโรคที่กอใหเกิดผลเสียตอคุณภาพ 

ชีวิตซึ่งพบวาอาจสัมพันธกับดัชนีมวลกายที่เพิ่มขึ้น งานวิจัยนี้จึงมีจุดมุงหมายเพื่อหาความสัมพันธระหวาง ดัชนีมวลกายที่เพิ่มขึ้นกับภาวะหยุดหายใจขณะนอนหลับในผูที่มารับการตรวจ Polysomnography  ณ ศูนยการแพทยสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดา ฯ สยามบรมราชกุมาร ี

การศึกษาเชิงวิเคราะหแบบ Case-control  เก็บขอมูลการรักษาของผูปวยจํานวน 126 คนจาก ระบบเวชระเบียนของศูนยการแพทยสมเด็จพระเทพ ฯ ไดแก เพศ อายุ น้ําหนัก สวนสูง คาดัชนีมวลกาย เสนรอบเอว ความดันโลหิต คา AHI (Apnea-hypopnea index) และโรคประจําตัวตางๆ ที่เปนปจจัยเสี่ยง ในการเกิดโรคหยุดหายใจขณะนอนหลับ คือ โรคเบาหวาน โรคความดันโลหิตสูง โรคไขมันในเลือดผิดปกติ และโรคภูมิแพ แลวนําขอมูลที่ไดมาทําการวิเคราะห โดยการใชเครื่องมือทางสถิติ คือ Independent T-test, Pearson Chi-square และ Logistic regression กําหนดคา p < 0.05 

ผลการวิจัยพบวาผูปวยที่เขารับการตรวจ polysomnography มีภาวะหยุดหายใจขณะนอนหลับ รอยละ 65 พบในกลุมที่มีความดันโลหิตสูงมากที่สุดคือรอยละ 36.5 ของผูที่มีความดันโลหิตสูงทั้งหมด เมื่อ วิเคราะหดวย Logistic regression พบวาผูที่มีดัชนีมวลกาย 23.5 – 28.5 kg/m 2 มีภาวะหยุดหายใจขณะ หลับสูงกวาผูที่มีดัชนีมวลกายปกติ 7เทาและผูที่มีดัชนีมวลกายมากกวา 28.5 มีภาวะหยุดหายใจขณะหลับ สูงกวาผูที่มีดัชนีมวลกายปกติ 7.8 เทา นอกจากนี้ยังพบวาเพศหญิงเสี่ยงตอภาวะหยุดหายใจขณะหลับสูง กวาเพศชาย 7.7 เทา ไมพบความสัมพันธระหวางโรคประจําตัวและอายุกับภาวะหยุดหายใจขณะนอนหลับ 

สรุปผลพบวาคาดัชนีมวลกายมีความสัมพันธกับการเกิดโรคหยุดหายใจขณะนอนหลับ โดยผูที่มี คาดัขนีมวลกายสูงกวาเกณฑปกติ มีโอกาสเกิดภาวะหยุดหายใจขณะนอนหลับมากกวาผูที่มีคาดัชนีมวล กายอยูในเกณฑปกติ เพศหญิงเสี่ยงตอภาวะหยุดหายใจขณะนอนหลับมากกวาเพศชาย 

คําสําคัญ: ภาวะหยุดหายใจขณะนอนหลับ, ดัชนีมวลกาย 

6

Page 11: บทคัดย องานวิจัยmed.swu.ac.th/preventive/images/CM.511/511-2553.pdf · บทคัดย องานวิจัย ของ นิสิตชั้นป

ความสัมพันธระหวางความเครียดของนิสติแพทย กบัการเกิดอาการของโรคกระเพาะอาหาร กฤษณา กุศลารักษ, ศศปิระภา วงศสีดา,จิรารัตน เอ่ียมเจริญยิ่ง, ณฐักร มหสุภาชยั, สุปรียา วองทิพยคงคา 

บทคัดยอ การเรียนแพทยคอนขางมีความเครียดสูง ตองปรับตัวกับชีวิตการเปนแพทยทั้งการดูแลผูปวยและ 

การเลาเรียน อาจทําใหนิสิตแพทยเกิดโรคทางกายขึ้น ซึ่งสงผลเสียตอการปฏิบัติงาน การเรียน สุขภาพ และ คุณภาพชีวิตของนิสิตแพทย การศึกษานี้จึงจุดมุงหมายเพื่อหาความสัมพันธระหวางความเครียดของนิสิต แพทยกับการเกิดอาการโรคกระเพาะอาหารอักเสบของนิสิตแพทย มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ 

การศึกษานี้เปนการศึกษาเชิงวิเคราะหแบบภาคตัดขวางโดยใชแบบสอบถามในการเก็บขอมูลวันที่ 30 กรกฎาคม 2553 กลุมตัวอยางคือ นิสิตแพทยชั้นปที่ 1และชั้นปที่ 5  มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ จํานวน ทั้งสิ้น 201 คน วิเคราะหหาความสัมพันธระหวางความเครียดของนิสิตแพทยกับการเกิดอาการของ โรคกระเพาะอาหารอักเสบโดยใช Chi square test สําหรับ Bivariate analysis และ Logistic regression สําหรับ Multivariate analysis กําหนดใหคา α error = 0.05 

ผลการศึกษาพบวานิสิตแพทยมีความชุกของอาการโรคกระเพาะอาหารอักเสบรอยละ 40.8 นิสิต แพทยชั้นปที่ 1 พบรอยละ 37.4 นิสิตแพทยชั้นปที่ 5 พบรอยละ 45.3 วิเคราะหดวย Logistic regression พบวานิสิตแพทยที่มีระดับความเครียดสูงและรุนแรงมีอาการของโรคกระเพาะอาหารอักเสบมากกวานิสิต แพทยที่มีระดับความเครียดนอยและปานกลาง 2.4 เทา (95%CI=1.3 – 4.6) เมื่อแยกวิเคราะหตามชั้นป พบวานิสิตแพทยชั้นปที่ 5 ที่มีระดับความเครียดสูงและรุนแรงจะมีอาการของโรคกระเพาะอาหารอักเสบ มากกวานิสิตแพทยชั้นปที่ 5 ที่มีระดับความเครียดนอยและปานกลางถึง 7 เทา (p  =  0.002) สวนนิสิต แพทยชั้นปที่ 4 ไมพบวามีนัยสําคัญทางสถิติ 

สรุปผลพบวานิสิตแพทย มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒมีความชุกของอาการโรคกระเพาะอาหาร อักเสบคอนขางมาก ความเครียดระดับสูงและรุนแรงมีความสัมพันธกับอาการของโรคกระเพาะอาหาร อักเสบโดยเฉพาะนิสิตแพทยชั้นปที่ 5 

คําสําคัญ: นิสิตแพทย, ความเครียด, โรคกระเพาะอาหาร 

7

Page 12: บทคัดย องานวิจัยmed.swu.ac.th/preventive/images/CM.511/511-2553.pdf · บทคัดย องานวิจัย ของ นิสิตชั้นป

ทัศนคติของผูปวยที่มตีอการปฏบิัติงานของนิสิตแพทย กมลทิพย อัศววรานันต, ญาณิศา ธรรมรุจา, ยุทธิวัจน วรคุณธาดา, ธนากรณ วงศเมธานเุคราะห, ธีรดา ศิริปุณย 

บทคัดยอ การเรียนการสอนของวิชาแพทยศาสตรจําเปนตองอาศัยความรวมมือจากผูปวยและความสัมพันธ 

อันดีระหวางผูปวยและบุคลากรทางการแพทย  การศึกษานี้จึงมีจุดมุงหมายเพื่อศึกษาทัศนคติที่ดีของผูปวย ตอการปฏิบัติงานของนิสิตแพทยชั้นคลินิกรวมกับแพทยเปรียบเทียบกับการปฏิบัติงานของแพทยโดยไมมี นิสิตแพทย 

การศึกษานี้เปนการศึกษาเชิงวิเคราะหแบบภาคตัดขวางโดยใชแบบสอบถามเกี่ยวกับทัศนคติที่ดี ของผูปวย  เปรียบเทียบเมื่อมีนิสิตแพทยรวมปฏิบัติงานในโรงพยาบาลดวย  กับเมื่อไมมีนิสิตแพทยรวมดวย โดยแบงทัศนคติออกเปน 4 ดานไดแก ความเชี่ยวชาญ มารยาท ทักษะการสื่อสาร และการใหบริการทาง การแพทย กลุมตัวอยางที่ใชในการศึกษาเปนผูปวยที่รักษาตัวอยูในหองพักสามัญและหองพักพิเศษของ ศูนยการแพทยสมเด็จพระเทพ ฯ จํานวน 126 คน วิเคราะหขอมูลแบบ Bivariate analysis ดวย paired t- test และควบคุมตัวแปรกวนดวย Stratified analysis กําหนดให p value < 0.05 

ผลการศึกษาพบวาทัศนคติดานความเชี่ยวชาญ มารยาท การใหบริการทางการแพทย และทัศนคติ โดยรวมมีความแตกตางกันอยางมีนัยสําคัญ โดยทัศนคติดานมารยาท การใหบริการทางการแพทย และ ทัศนคติโดยรวมจะดีกวาเมื่อมีนิสิตแพทยรวมตรวจรักษาดวย สวนทัศนคติดานความเชี่ยวชาญจะดีเมื่อ แพทยปฏิบัติงานโดยไมมีนิสิตแพทยรวมดวย เมื่อวิเคราะหดวย Stratified analysis ตามตัวแปรดานอายุ เพศ ระดับการศึกษา และรายไดพบวาไดผลใกลเคียงกัน 

สรุปผลพบวาผูปวยมีทัศนคติโดยรวมที่ดีเมื่อมีนิสิตแพทยรวมในการดูแลผูปวย โดยเฉพาะอยางยิ่ง ในดานมารยาท และการใหบริการทางการแพทย 

คําสําคัญ: ทัศนคติ, นิสิตแพทย 

8

Page 13: บทคัดย องานวิจัยmed.swu.ac.th/preventive/images/CM.511/511-2553.pdf · บทคัดย องานวิจัย ของ นิสิตชั้นป

ความรูและประสบการณในการทําหัตถการกบัผลตออัตราการไดรบัอุบตัิเหตจุากเขม็ฉีดยาและ เข็มเยบ็แผล ขวัญชนก ไตรยขันธ, ชมนาด ศิริรัตน, วรวัฒน แสงวิภาสนภาพร, กุลพรภัสร เบญญาจิราพชัร,  สิริวิมล มานะนาวิกผล 

บทคัดยอ บุคลากรทางการแพทยเปนผูที่มีความเสี่ยงตอการสัมผัสกับโรคติดเชื้อที่เกิดจากอุบัติเหตุขณะ 

ปฏิบัติงาน บางโรคยังไมสามารถรักษาใหหายขาดไดและยังเปนปจจัยเสี่ยงตอการเกิดโรคอ่ืน การศึกษานี้ จึงมีจุดมุงหมายเพื่อศึกษาความสัมพันธของระดับชั้นปกับอุบัติการณการเกิดอุบัติเหตุจากเข็มฉีดยาและ เข็มเย็บแผลทิ่มตําขณะปฏิบัติงาน  รวมทั้งปจจัยอ่ืน ๆ ที่สงผลตอการเกิดอุบัติเหตุดังกลาวในนิสิตแพทย มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ 

การศึกษาเชิงวิเคราะหแบบภาคตัดขวาง  โดยเก็บขอมูลทุติยภูมิจากแผนกควบคุมโรคติดเชื้อของ ศูนยการแพทยสมเด็จพระเทพ ฯ ศึกษาขอมูลของนิสิตแพทยชั้นปที่ 4-6 ตั้งแตมิถุนายน 2547 – กรกฎาคม 2553 จํานวน 921 คน เกิดอุบัติเหตุ 74 ครั้ง นําขอมูลที่ไดมาวิเคราะหแบงตามระดับชั้นป ปการศึกษา เพศ และหอผูปวยที่ขึ้นปฏิบัติงาน โดยใช Chi-square test  กําหนดคา p value< 0.05 

ผลการศึกษาพบวาอุบัติการณเกิดอุบัติเหตุจากเข็มฉีดยาหรือเข็มเย็บแผลของนิสิตแพทยรอยละ 3.48  แบงตามชั้นปไดดังนี้ ชั้นปที่ 4 พบรอยละ 3.23 (95%CI=-0.7  –  0.8) ชั้นปที่ 5 พบรอยละ 1.56 (95%CI=-0.7 – 0.8) และชั้นปที่ 6 พบรอยละ 5.77 (95%CI=-0.7 – 0.8) อุบัติการณแบงตามหอผูปวยที่ นิสิตแพทยขึ้นปฏิบัติงานไดดังนี้ อายุรศาสตรรอยละ 4.4 สูติ-นรีเวชศาสตรรอยละ 2.2 ศัลยศาสตรรอยละ 2 แผนกฉุกเฉินรอยละ 1.3 กุมารเวชศาสตรรอยละ 0.4 ศัลยกรรมกระดูกและขอรอยละ 0.2 และวิสัญญี ฯ รอยละ 0.1ไมพบความสัมพันธระหวางปการศึกษา เพศ และชั้นปที่เรียนกับอุบัติการณการเกิดอุบัติเหตุ ดังกลาว 

สรุปผลพบวาอุบัติการณเกิดอุบัติเหตุจากเข็มฉีดยาหรือเข็มเย็บแผลของนิสิตแพทย มหาวิทยาลัย ศรีนครินทรวิโรฒ ชั้นปที่  6 พบมากที่สุด รองลงมาคือชั้นปที่  4 และชั้นปที่  5 สําหรับหอผูปวยที่พบ อุบัติการณมากที่สุดคือหอผูปวยอายุรศาสตร 

คําสําคัญ: อุบัติเหตุจากเข็มฉีดยา, นิสิตแพทย 

9

Page 14: บทคัดย องานวิจัยmed.swu.ac.th/preventive/images/CM.511/511-2553.pdf · บทคัดย องานวิจัย ของ นิสิตชั้นป

เปรียบเทียบระดบัแอลกอฮอลในกระแสเลือดระหวางผูท่ีเสียชีวิตจากอุบัตเิหตุจราจรและการ เสียชีวติจากสาเหตุอื่น ธเนศ บญุเลศิ, นิตยา บุราณรักษ, กฤตกาล เตลผล, กิจจา รุงสิทธิชัย 

บทคัดยอ ปจจุบันปญหาเรื่องการดื่มเครื่องดื่มที่มีแอลกอฮอลแลวขับขี่ยานพาหนะกอใหเกิดอุบัติเหตุทาง 

จราจร ยังเปนปญหาที่สําคัญของประเทศไทย การศึกษานี้จึงมีจุดมุงหมายเพื่อหาความสัมพันธระหวาง ระดับแอลกอฮอลในกระแสเลือดของผูที่เสียชีวิตจากอุบัติเหตุจราจรกับการเสียชีวิตจากสาเหตุอ่ืน 

การศึกษานี้เปนการศึกษาเชิงวิเคราะหแบบภาคตัดขวางโดยรวบรวมขอมูลจากการผาชันสูตรศพ ของภาควิชานิติเวชศาสตร ศูนยการแพทยสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดา ฯ สยามบรมราชกุมารี เลือกมา เฉพาะรายที่มีการสงตรวจระดับแอลกอฮอลในกระแสเลือด ซึ่งมีจํานวนทั้งหมด 173 ราย มีผูเสียชีวิตที่เปน เพศชายจํานวน 142 ราย เพศหญิง 30 รายและมีผูเสียชีวิตที่ไมสามารถระบุเพศไดอีกจํานวน 1 ราย คัด แยกกลุมตัวอยางออกเปน 2 กลุมตามระดับแอลกอฮอลในเลือดที่ประเทศไทยไดกําหนดไวสําหรับผูขับขี่ไม เกิน 50  mg% วิเคราะหขอมูลแบบ Bivariate  analysis  ดวย Chi  square  test แลววิเคราะหขอมูลแบบ Multivariate analysis ดวย Logistic regressionกําหนดใหคา p value < 0.05 

ผลการศึกษาพบวามีผูเสียชีวิตจากอุบัติเหตุจราจรรอยละ 27.7 ผูที่เสียชีวิตจากอุบัติเหตุจราจรมี ระดับแอลกอฮอลในกระแสเลือดมากกวา 50 mg% จํานวน 18 ราย คิดเปนรอยละ 37.5 สวนผูที่เสียชีวิต จากสาเหตุอ่ืนมีระดับแอลกอฮอลในกระแสเลือดมากกวา 50mg% จํานวน 20 ราย คิดเปนรอยละ 16 เมื่อ วิเคราะหดวย Logistic regression พบวาระดับแอลกอฮอลในกระแสเลือดที่มากกวา 50 mg% เสียชีวิต จากอุบัติเหตุจราจรเปน 4 เทาของการเสียชีวิตจากสาเหตุอ่ืน (p = 0.001) และผูเสียชีวิตที่อายุมากกวา 40 ปมักเสียชีวิตจากสาเหตุอ่ืนที่ไมใชอุบัติเหตุจราจรเปน 9 เทาของผูเสียชีวิตที่มีอายุนอยกวา 21 ป  (p  < 0.001) 

สรุปผลพบวาผูที่เสียชีวิตจากอุบัติเหตุจราจรมักมีระดับแอลกอฮอลในเลือดสูงกวาเกณฑที่กําหนด และสวนใหญจะมีอายุนอย 

คําสาํคัญ: อุบัติเหตุจราจร, ระดับแอลกอฮอล 

10

Page 15: บทคัดย องานวิจัยmed.swu.ac.th/preventive/images/CM.511/511-2553.pdf · บทคัดย องานวิจัย ของ นิสิตชั้นป

ความรวมมือของพยาบาลสงผลตอความเครียดในการปฏิบัติงานบนหอผูปวยของนิสิตแพทย หรือไม กฤตธี ภูมาศวิน, ณฐัวดี เจียรพัฒนาคม, พิชชา เสถยีรวงศนุษา, พัทธมน ตันตจิรัสชยั 

บทคัดยอ การเรียนในชั้นคลินิกเปนการเรียนที่เนนการปฏิบัติงานบนหอผูปวยตองทํางานรวมกับสหวิชาชีพ 

โดยเฉพาะอยางยิ่งกับพยาบาล ซึ่งพบวาการมีปฏิสัมพันธที่ไมดีกับผูรวมวิชาชีพจะกอใหเกิดความเครียด จุดมุงหมายของงานวิจัยเพื่อหาความสัมพันธของความรวมมือจากผูปฏิบัติงานทางการพยาบาลกับระดับ ความเครียดของนิสิตแพทยชั้นปที่ 4 และ 5 มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ 

การศึกษาเชิงวิเคราะหแบบภาคตัดขวาง ใชแบบสอบถามเก็บขอมูลนิสิตแพทยชั้นปที่ 4 และ 5 มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ ชวงเวลา 27 – 30 ก.ย.2553 วัดระดับความเครียดดวยแบบวัดความเครียด ของโรงพยาบาลสวนปรุงโดยวัดเปนคะแนนความเครียด หาความสัมพันธดวย Bivariate analysis โดยใช Chi-square test และ Independent t test กับขอมูลเชิงคุณภาพและขอมูลเชิงปริมาณ ตามลําดับ พิสูจน สมมติฐานแบบทางเดียวที่ระดับนัยสําคัญ p<0.05 

ผลการศึกษาพบวากลุมตัวอยางจํานวน 137 คน (รอยละ 97.9) ในจํานวนนี้เปนนิสิตแพทยชั้นปที่ 4 รอยละ 45 เปนนิสิตแพทยหญิงรอยละ 58 นิสิตแพทยไดรับความรวมมือที่ไมดีจากพยาบาลรอยละ 85.4 หอผูปวยที่พบมากที่สุดเรียงตามลําดับคือ หอผูปวยศัลยกรรมกระดูกและขอ (รอยละ 95.3) หอผูปวย ศัลยกรรม (รอยละ 94.9) และหอผูปวยสูติ นรีเวชกรรม (รอยละ 83.3) ปญหาที่พบไดบอยเรียงตามลําดับ คือ พูดจาเหน็บแนม (รอยละ72.3) แสดงสีหนาหงุดหงิด (รอยละ 70.8) และน้ําเสียงประชดประชัน (รอยละ 68.6) นิสิตแพทยชั้นปที่ 4 มีความเครียดระดับสูงถึงรุนแรงรอยละ 65.6 สวนนิสิตแพทยชั้นปที่  5 มี ความเครียดระดับสูงถึงรุนแรงรอยละ 56.6 นิสิตแพทยชายมีความเครียดระดับสูงถึงรุนแรงรอยละ 64.9 สวนนิสิตแพทยหญิงมีความเครียดระดับสูงถึงรุนแรงรอยละ 57.5 เมื่อวิเคราะหดวย Simple  linear regression พบวาปญหาความเครียดที่มีนัยสําคัญทางสถิติ ไดแก ปญหาการเรียน (p=0.005) ปญหาดาน การเงิน (p=0.042) และปญหาความคาดหวังในชีวิต (p=0.043) สวนปญหาความรวมมือของพยาบาลใน หอผูปวยไมพบวาสัมพันธกับความเครียดของนิสิตแพทยอยางมีนัยสําคัญทางสถิติ (p=0.275) 

สรุปผลพบวานิสิตแพทยมหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ ชั้นปที่ 4 และ 5 ไมไดรับความรวมมือจาก พยาบาลในการปฏิบัติงานบนหอผูปวยคอนขางมากพบไดรอยละ 85 ปญหาที่พบสวนใหญจะเกี่ยวกับ คําพูดที่ใช แตไมพบวาสัมพันธกับความเครียดของนิสิตแพทย ปญหาที่สัมพันธกับความเครียดของนิสิต แพทยคือปญหาการเรียน ปญหาความคาดหวังในชีวิต และปญหาดานการเงิน 

คําสําคัญ: ความรวมมือของพยาบาล, ความเครียด, นิสิตแพทย 

11

Page 16: บทคัดย องานวิจัยmed.swu.ac.th/preventive/images/CM.511/511-2553.pdf · บทคัดย องานวิจัย ของ นิสิตชั้นป

จํานวนชั่วโมงในการเปดเคร่ืองปรับอากาศกบัการเกดิเชื้อราภายในหองพกันิสิตแพทย จิราชัย เสนหวงศ, นิสาชล ทพัสุริย, รัฐพร บํารุงผล, สัณฐวัฒน วรรณบุษประวิช, เศรษฐพล โรจนรัตนางกูร 

บทคัดยอ การเกิดเชื้อราภายในหองพักมีผลตอสุขภาพของผูอยูอาศัย  ปจจัยในการเกิดเชื้อราประกอบดวย 

ความชื้น  อุณหภูมิคอนขางสูง  และแสงสวางที่ไมเพียงพอ  ความชื้นเปนปจจยัที่สําคญัซึ่งการเปด เครื่องปรับอากาศมีผลตอความชื้นภายในหอง  ผูวิจัยจงึทําการศึกษาเพื่อหาความสัมพันธระหวางจํานวน ชั่วโมงการใชเครื่องปรบัอากาศกับการเกิดเชื้อราภายในหองพักของนิสิต  คณะแพทยศาสตร  มหาวิทยาลัย ศรีนครินทรวิโรฒ 

การศึกษาเชิงวเิคราะหแบบภาคตัดขวาง  เกบ็ขอมูลโดยใชแบบสอบถาม  สุมตัวอยางจากจํานวน หองพักของนิสิตแพทยแบบ  Stratified  random  sampling  ไดจํานวน  60  หองจากจํานวนทั้งสิน้  82  หอง วิเคราะหขอมูลแบบ Bivariate ดวย Independent  t  test และ Chi-square  test กับขอมูลเชิงปริมาณและ ขอมูลเชิงคณุภาพตามลําดับ  นํามาวเิคราะหแบบ  Multivariate  ดวย  Logistic  regression  พิสูจน สมมติฐานแบบสองทางที่ระดับนยัสําคัญ p<0.05 

ผลการศึกษาพบวามเีชื้อราภายในหองพักรอยละ  65  นิสติแพทยเปดเครื่องปรับอากาศรอยละ  95 มีวัสดุที่มีความชืน้ภายในหองพักรอยละ  100  ทําความสะอาดหองพักรอยละ  95  เปดประตูหนาตางเพื่อ ระบายอากาศรอยละ  85  เปดพัดลมดูดอากาศรอยละ  43  และมีแสงแดดสองถึงภายในหองพักรอยละ  70 ระยะเวลาในการเปดเครื่องปรับอากาศเฉลีย่วันละ 7.5 + 2.9 ชั่วโมง  อุณหภูมิในการเปดเครื่องปรับอากาศ เฉลี่ย 25 + 1.3 องศาเซลเซียส วเิคราะหดวย Logistic regression ไมพบความสัมพันธระหวางการเกิดเชื้อ ราในหองพักนิสิตแพทยกบัจํานวนชั่วโมงในการเปดเครื่องปรับอากาศ (Odds ratio = 0.82, 95%CI = 0.06 –  1.06)  อุณหภูมิในการเปดเครื่องปรบัอากาศ  (Odds  ratio  =  1.36,  95%CI  =  0.85  –  2.18)  การไมทํา ความสะอาดหองพัก  (Odds  ratio  =  0.39,  95%CI  =  0.03  –  5.65)  และการไมเปดประตหูนาตางเพื่อ ระบายอากาศ (Odds ratio = 0.75, 95%CI = 0.15 – 3.76) 

สรุปผลพบวาจํานวนชั่วโมงในการเปดเครื่องปรับอากาศทีเ่พิ่มขึ้นไมมีผลตอการเกิดเชื้อราภายใน หองพักนิสิตแพทย  นอกจากนี้  อุณหภูมิในการเปดเครื่องปรับอากาศ  การไมทําความสะอาดหองพัก  และ การไมเปดประตหูนาตางเพื่อระบายอากาศ  ไมมีผลตอการเกิดเชื้อราภายในหองพัก  ซึ่งวัสดุที่มคีวามชื้น ภายในหองพกัอาจมีผลรบกวนปจจัยอื่นในการเกดิเชื้อรา 

คําสาํคัญ: เชื้อราภายในหองพกั, เครื่องปรับอากาศ, นิสิตแพทย 

12

Page 17: บทคัดย องานวิจัยmed.swu.ac.th/preventive/images/CM.511/511-2553.pdf · บทคัดย องานวิจัย ของ นิสิตชั้นป

เพราะคนไขเดินทางลาํบากจึงผิดนัดแพทยจริงหรือ? ณิชาบูล โชติขจรเกียรติ, นภมณฑ ศุภรพันธ, นิคม โนรีย, รัชต ประภวานนท, อุกฤษฏ อุทัยเจริญพงษ 

บทคัดยอ ความสําเร็จในการรักษาโรคนอกจากความสามารถในการรักษาของแพทยแลวยังขึ้นกับการ 

ติดตามการรักษาอยางตอเนื่องของผูปวยซึ่งขึ้นกับปจจัยตาง ๆ ไดแก การเดินทางลําบาก การหลงลืมเวลา นัด เวลานัดตรงกับเวลางาน ปญหาดานคาใชจาย การไมเห็นความจําเปนในการรักษา ความไมพึงพอใจใน ระบบบริการของโรงพยาบาล เปนตน การศึกษานี้จึงมีจุดมุงหมายเพื่อหาความสัมพันธระหวางการเดินทาง มาโรงพยาบาลลําบากกับการมารักษาไมตรงตามนัด 

การศึกษาเชิงวิเคราะหแบบภาคตัดขวาง เก็บขอมูลชวงเวลา  28  – 30  ก.ย.2553  โดยใช แบบสอบถามกับผูปวยนอกแผนกตาง ๆ จํานวน 165 คน ที่มารับการรักษาที่ศูนยการแพทยสมเด็จพระเทพ ฯ ในชวงระยะเวลา 1 ปที่ผานมา กําหนดใหการผิดนัดแพทยหมายถึงการมารับการรักษาไมตรงตามนัด อยางนอย 1 ครั้ง หาความสัมพันธดวย Bivariate analysis โดยใช Chi-square test และ Independent t test  กับขอมูลเชิงคุณภาพและขอมูลเชิงปริมาณ ตามลําดับ พิสูจนสมมติฐานแบบทางเดียวที่ระดับ นัยสําคัญ p<0.05 

ผลการศึกษาพบวากลุมตัวอยางเปนเพศชายรอยละ 43 แบงตามชวงอายุ นอยกวา 40 ปรอยละ 35 อายุ 40-60 ปรอยละ 31 และอายุมากกวา 60 ปรอยละ 34 ผูปวยทั้งหมดเคยผิดนัดแพทยรอยละ 83.6 ในจํานวนนี้มีปญหาการเดินทางลําบากรอยละ 80.3 วิเคราะหดวย Logistic regression พบความสัมพันธ กับการผิดนัดแพทย ดังนี้ เวลานัดตรงกับเวลาทํางาน (Odds ratio = 39.1, 95% CI = 6.7 – 226.8) การไม เห็นความจําเปนในการมารักษา (Odds ratio = 21.9, 95% CI = 2.3 – 206.2) ยานพาหนะที่ใชในการ เดินทาง (Odds ratio = 5.1, 95% CI = 0.9 – 26.5) และความรูสึกลําบากในการเดินทาง (Odds ratio = 8.1, 95% CI = 0.9 – 73.3) 

สรุปผลผูปวยที่มารับบริการที่ศูนยการแพทยสมเด็จพระเทพ ฯ ผิดนัดแพทยคอนขางมาก การผิด นัดแพทยพบวาสัมพันธกับเวลาที่แพทยนัดตรงกับเวลาทํางานของผูปวยและผูปวยไมเห็นความจําเปนใน การมารักษา สวนปญหาดานยานพาหนะที่ใชในการเดินทางและความรูสึกลําบากในการเดินทาง หากเพิ่ม จํานวนผูปวยที่ศึกษานาจะมีนัยสําคัญทางสถิติ 

คําสาํคัญ: เดนิทางลําบาก, ผิดนัดแพทย 

13

Page 18: บทคัดย องานวิจัยmed.swu.ac.th/preventive/images/CM.511/511-2553.pdf · บทคัดย องานวิจัย ของ นิสิตชั้นป

คุณรูหรือไมวาการนอนโรงพยาบาลเสี่ยงตอการติดเชื้อ? ฝนทอง เหลือผล, สุภิญญา สงวนกลิน่, ณัฐนรี ภูพัฒนากลุ, มณฑลี สุทธิธรรม, สุณิสา ทองประยูร 

บทคัดยอ โรคติดเชื้อในโรงพยาบาล (Nosocomial  infection) นับเปนปญหาสําคัญอยางหนึ่งในระบบ 

สาธารณสุขของทุกประเทศทั้งในประเทศที่พัฒนาแลวและในประเทศที่กําลังพัฒนา การศึกษานี้จึงมี จุดมุงหมายเพื่อศึกษาลักษณะความสัมพันธระหวางระยะเวลาที่นอนโรงพยาบาลกับการติดเชื้อใน โรงพยาบาล และปจจัยเสี่ยงตอการติดเชื้อในโรงพยาบาลศูนยการแพทยสมเด็จพระเทพ ฯ 

การศึกษาแบบ Cohort รวบรวมขอมูลจากแบบบันทึกการเฝาระวังการติดเชื้อในโรงพยาบาลของ หนวยงานโรคติดเชื้อ ศูนยการแพทยสมเด็จพระเทพ ฯ เปนผูปวยที่เขารับการรักษาในเดือนมิถุนายน พ.ศ. 2553 จํานวนทั้งสิ้น 401 คน วิเคราะหขอมูลโดยใช survival analysis วิเคราะหแบบ Bivariate โดย Log- Rank นําเสนอดวย Kaplan –Meier curve และวิเคราะห multivariate โดย Cox regression กําหนดระดับ นัยสําคัญที่ p value<0.05 

ผลการศึกษาผูปวยติดเชื้อในโรงพยาบาลรอยละ 88 ในจํานวนนี้เปนผูปวยแผนกอายุรกรรมรอยละ 54.1 แผนกศัลยกรรมรอยละ 31.3 แผนกศัลยกรรมกระดูกและขอรอยละ 14.6 พิจารณาตามกลุมอายุที่ติด เชื้อในโรงพยาบาลพบวากลุมอายุนอยกวา 40 ปรอยละ 18.8 กลุมอายุ 40-60 ปรอยละ 29.2 และกลุมอายุ มากกวา 60 ปรอยละ 52 เมื่อวิเคราะหดวย Cox regression ไมพบความสัมพันธระหวางระยะเวลาที่ติด เชื้อในโรงพยาบาลกับปจจัยเหลานี้ ไดแก เพศ กลุมอายุ และหอผูปวย การติดเชื้อจะเพิ่มขึ้นรอยละ 50 เมื่อ นอนโรงพยาบาลเปนเวลา 37 วัน อัตราการติดเชื้อเพิ่มขึ้นอยางสม่ําเสมอในชวง 25 วันแรก โดยทุก ๆ 1 วันที่นอนโรงพยาบาลจะเพิ่มความเสี่ยงตอการติดเชื้อรอยละ 0.027 

สรุปผลระยะเวลาในการนอนโรงพยาบาลจะเพิ่มความเสี่ยงตอการติดเชื้อในโรงพยาบาลซึ่งอัตรา การติดเชื้อจะเพิ่มขึ้นอยางสม่ําเสมอในชวง 25 วันแรก และไมพบความสัมพันธกับเพศ กลุมอายุ และหอ ผูปวยของศูนยการแพทยสมเด็จพระเทพ ฯ 

คําสาํคัญ: การติดเชื้อในโรงพยาบาล, ระยะเวลา 

14

Page 19: บทคัดย องานวิจัยmed.swu.ac.th/preventive/images/CM.511/511-2553.pdf · บทคัดย องานวิจัย ของ นิสิตชั้นป

จํานวนชั่วโมงการทํางานของแพทยใชทุนกับความเครียดจากการทํางาน กันยา พาณชิยศิริ, ปยะวรรณ งามองอาจ, สันติ วิศษิฐชัยชาญ, สุรพล อัศวสุวรรณกิจ, อนมล ตัง้เจตน 

บทคัดยอ ปญหาความเครียดของแพทยใชทุนเปนปญหาที่เกิดไดจากชีวิตครอบครัวและหนาที่การงาน เปน 

ปจจัยที่ทําใหประสิทธิภาพในการทํางานลดลง  แพทยใชทุนเปนอาชีพที่ตองทํางานหนักและมีชั่วโมงการ ทํางานที่ยาวนานโดยเฉพาะอยางยิ่งในโรงเรียนแพทยเพราะตองดูแลผูปวยเปนดานแรก การศึกษานี้จึงมี จุดมุงหมายเพื่อศึกษาความสัมพันธระหวางจํานวนชั่วโมงการทํางานกับความเครียดของแพทยใชทุนใน ศูนยการแพทยสมเด็จพระเทพ ฯ 

การศึกษาเชิงวิเคราะหแบบภาคตัดขวาง เก็บขอมูลจากแพทยใชทุนทุกคนในศูนยการแพทยสมเดจ็ พระเทพ ฯ จํานวน 46 คนโดยใชแบบสอบถามในชวงเดือนกันยายน 2553 วัดความเครียดดวย General Health Questionnaires 28 (GHQ 28) แบงชั่วโมงการทํางานเปน 2 กลุมโดยแบงที่ 100 ชั่วโมงตอสัปดาห วิเคราะหขอมูลแบบ Bivariate ดวย Chi-square test หรือ Fisher’s exact test แลววิเคราะห Multivariate ดวย Logistic regression พิสูจนสมมติฐานแบบสองทางดวยระดับนัยสําคัญ p<0.05 

ผลการศึกษาแพทยใชทุนจํานวนทั้งสิ้น 46 คน พบวาเครียดรอยละ 28.3 มีชั่วโมงการทํางาน 41-80 ชั่วโมงตอสัปดาหรอยละ 32.6 ทํางาน 81-100 ชั่วโมงตอสัปดาหรอยละ 28.3 ทํางานมากกวา 100 ชั่วโมง ตอสัปดาหรอยละ 39.1 รายไดนอยกวา 40,000 บาทตอเดือนรอยละ 28.3 รายได 40,001-60,000 บาทตอ เดือนรอยละ 52.2 รายไดมากกวา 60.000 บาทตอเดือนรอยละ 19.5 เลือกสาขาใชทุนตามความชอบรอย ละ 76.1  เพื่อความกาวหนาในวิชาชีพรอยละ 21.7  และเลือกเพราะเปนประโยชนตอสังคมรอยละ 2.2 วิเคราะหดวย Logistic regression ระหวางความเครียดของแพทยใชทุนกับปจจัยตาง ๆ ดังนี้ ภาควิชาที่มี ภาระงานมาก (อายุรศาสตรและศัลยศาสตร) Odds ratio = 15.86 (95% CI = 2.58 – 97.54) การทํางาน มากกวา 100  ชั่วโมงตอสัปดาห Odds  ratio  =  3.68  (95%  CI  =  0.66  –  20.65)  เลือกสาขาใชทุนเพื่อ ความกาวหนาของวิชาชีพ Odds ratio = 7.08 (95% CI = 0.97 – 51.83) 

สรุปผลพบวาความเครียดของแพทยใชทุนสัมพันธกับการทํางานในภาควิชาที่มีภาระงานมากไดแก อายุรศาสตรและศัลยศาสตร สวนรายได ระยะเวลาในการทํางาน และการเลือกสาขาที่ใชทุนไมสัมพันธกับ ความเครียดของแพทยใชทุน ศูนยการแพทยสมเด็จพระเทพ ฯ 

คําสาํคัญ: ชั่วโมงการทํางาน, แพทยใชทุน, ความเครียด 

15

Page 20: บทคัดย องานวิจัยmed.swu.ac.th/preventive/images/CM.511/511-2553.pdf · บทคัดย องานวิจัย ของ นิสิตชั้นป

การไมไดกลบับานทําใหนิสิตแพทยเครียดมากขึ้นจริงหรือ อมรวรรณ คํากา, กรัณฑรัตน สัจวุฒิ, นัฏศรา ดํารงคพิวัฒน, ภัทรวรรณ ลิ้มบริบูรณ, สุภมน หยุมไธสง 

บทคัดยอ การเรียนแพทยตองใชระยะเวลานานและตองเผชิญกับความกดดันจากสภาพการเรียน ประกอบ 

กับคณะแพทยศาสตร มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒตั้งอยู ณ อ.องครักษ จ.นครนายก  ทําใหนิสิตแพทย จํานวนมากไดกลับบานนอยลงซึ่งอาจสงผลตอจิตใจของนิสิตแพทยเกิดความเครียดเพิ่มมากขึ้น  การศกึษา นี้จึงมีจุดมุงหมายเพื่อศึกษาความสัมพันธระหวางความเครียดของนิสิตแพทยกับการไมไดกลับบาน โดยใช แบบวัดความเครียดสวนปรุง 

การศึกษาเชิงวิเคราะหแบบภาคตัดขวาง เก็บขอมูลจากนิสิตแพทยชั้นปที่ 4 และชั้นปที่ 5  คณะ แพทยศาสตร มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ จํานวน 200 คน มีผูตอบแบบสอบถามจํานวนทั้งสิ้น 165 คน ตั้งแตวันที่ 2 – 4 ธันวาคม 2553 สอบถามขอมูลเกี่ยวกับการกลับบานของนิสิตแพทยใน1 เดือนที่ผานมา รวมกับการใชแบบวัดความเครียดสวนปรุงโดยกําหนดใหระดับความเครียดนอยและปานกลางเปนเกณฑที่ ไมมีความเครียดและกําหนดใหระดับความเครียดสูงขึ้นไปเปนเกณฑที่มีความเครียด วิเคราะหขอมูลแบบ Bivariate ดวย Chi-square test แลววิเคราะห Multivariate ดวย Logistic regression พิสูจนสมมติฐาน แบบสองทางดวยระดับนัยสําคัญ p<0.05 

ผลการศึกษาพบวานิสิตแพทยชั้นปที่ 4 และชั้นปที่ 5 เปนเพศชายรอยละ 33.9 เพศหญิงรอยละ 66.1 นิสิตแพทยมีความเครียดระดับสูงถึงรุนแรงรอยละ 49.5 ไมไดกลับบานในชวง 1 เดือนที่ผานมารอยละ 24.8 ไมพบความสัมพันธระหวางการไมไดกลับบานกับความเครียด (p = 0.818) วิเคราะหดวย logistic regression พบวาเพศหญิงมีความเครียดระดับสูงถึงรุนแรงเปรียบเทียบกับเพศชายคา odds ratio = 1.97 (95%CI = 1.02 – 3.78) และนิสิตแพทยที่มีเรื่องที่ทําใหไมสบายใจ ไดแก การเรียน, การเงิน, เพื่อน, และ ครอบครัว มีคา odds  ratio  = 4.30  (95%CI  =  1.22  –  15.15),  4.13  (95%CI  =  0.49  –  34.50),  3.67 (95%CI = 0.56 – 24.13), และ 1.45 (95%CI = 0.41 – 5.18) ตามลําดับ 

สรุปผลพบวาการไมไดกลับบานไมมีผลตอความเครียดของนิสิตแพทย แตพบวาความวิตกกังวล เรื่องการเรียนมีผลตอความเครียด และนิสิตแพทยหญิงมีความเครียดมากกวานิสิตแพทยชาย 1.9 เทา 

คําสาํคัญ: การไมไดกลับบาน, ความเครียด, นิสิตแพทย 

16

Page 21: บทคัดย องานวิจัยmed.swu.ac.th/preventive/images/CM.511/511-2553.pdf · บทคัดย องานวิจัย ของ นิสิตชั้นป

เวลาในการเร่ิมขึ้นปฏบิัติงานบนหอผูปวยตอการขับถายอุจจาระ พงษพนัส ศรชีม, กรกมล กําบุญเลิศ, นิโลบล ยาทองไชย, วรลักษณ สุติรัตนชัย 

บทคัดยอ การศึกษาชั้นคลินิกของนิสิตแพทยตองปรับตัวหลายเรื่องทั้งเรื่องการรับประทานอาหาร การนอน 

หลับ และการขับถายอุจจาระ  เวลาในการเริ่มขึ้นปฏิบัติงานบนหอผูปวยที่คอนขางเชาทําใหนิสิตแพทย จํานวนมากมีการเปลี่ยนแปลงของการขับถายอุจจาระที่แยลง การศึกษานี้จึงมีจุดมุงหมายเพื่อศึกษา ความสัมพันธระหวางเวลาเริ่มตนในการขึ้นปฏิบัติงานบนหอผูปวยกับลักษณะการขับถายอุจจาระที่แยลง โดยใช Bristol stool chart 

การศึกษาเชิงวิเคราะหแบบภาคตัดขวาง เก็บขอมูลจากนิสิตแพทยชั้นปที่ 4 และชั้นปที่ 5 ที่อาศัย อยูในหอพักนิสิตแพทย ณ วันที่ 2 ธันวาคม 2553 จํานวน 200 คน มีผูตอบแบบสอบถามจํานวน 165 คน วัดการเปลี่ยนแปลงลักษณะอุจจาระตาม Bristol  stool  chart  ซึ่งแบงเปน 7 ระดับ โดยคิดเปรียบเทียบ ระหวางชั้นพรีคลินิกกับชั้นคลินิกที่ระดับสูงกวามาเปนระดับต่ํากวา อยางนอย 1 ระดับ วิเคราะหขอมูลแบบ Bivariate ดวย Chi-square test แลววิเคราะห Multivariate ดวย Logistic regression พิสูจนสมมติฐาน แบบสองทางดวยระดับนัยสําคัญ p<0.05 

ผลการศึกษาพบวานิสิตแพทยชั้นปที่ 4  และชั้นปที่ 5  มีการเปลี่ยนแปลงลักษณะอุจจาระแยลง กวาเดิมรอยละ 33  วิเคราะหดวย logistic  regression  พบวาขึ้นปฏิบัติงานเวลา 7:00-9:00  น.และหลัง 9:00 น.เปรียบเทียบกับขึ้นปฏิบัติงานกอนเวลา 7:00 น.มีคา odds ratio = 0.05 (95%CI = 0.01 – 0.19) และ 0.29  (95%CI  =  0.08  –  1.05)  ตามลําดับ การปฏิบัติงานบน major  ward  เปรียบเทียบกับ minor ward คา odds ratio = 6.56 (95%CI = 2.60 – 16.58) ระยะเวลาปฏิบัติงาน 10 – 12 ชั่วโมง และ 13 – 15 ชั่วโมงเปรียบเทียบกับ 7 – 9 ชั่วโมง คา odds ratio = 11.05 (95%CI = 3.53 – 34.57) และ 2.36 (95%CI = 0.72 – 7.82) ตามลําดับ สวนการรับประทานอาหารเชามีคา odds ratio = 0.24 (95%CI = 0.12 – 0.51) 

สรุปผลพบวาเวลาในการเริ่มขึ้นปฏิบัติงานบนหอผูปวยของนิสิตแพทยชั้นปที่  4และปที่  5 มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ สัมพันธกับลักษณะการขับถายอุจจาระที่แยลงเมื่อเปรียบเทียบกับชั้นพรี คลินิก การขึ้นปฏิบัติงานกอนเวลา 7:00 น.ระยะเวลาปฏิบัติงาน 10 – 12 ชั่วโมง และการปฏิบัติงานบน major ward เปนปจจัยเสี่ยง สวนการรับประทานอาหารเชาชวยใหการขับถายอุจจาระดีขึ้น 

คําสาํคัญ: เวลาในการเริ่มข้ึนปฏิบัติงาน, การขับถายอุจจาระ, นิสิตแพทย 

17

Page 22: บทคัดย องานวิจัยmed.swu.ac.th/preventive/images/CM.511/511-2553.pdf · บทคัดย องานวิจัย ของ นิสิตชั้นป

การออกกาํลังกายมีความสัมพันธกบัระดบัความเครียดท่ีต่าํในนิสิตแพทยชั้นคลินิก ทิพยอุษา จนัทรทองศร,ี ภานุวัฒน เลิศลักษมีวิไล, สมปราชญ จติรศรีสวัสดิ,์ อภิรักษ หงวนบญุมาก 

บทคัดยอ การศึกษาในคณะแพทยศาสตรชั้นคลินิกนั้น ตองใชความมุมานะ พากเพียร และอดทนตอสภาพ 

ความกดดัน และความเครียดหลายดานเปนอยางมาก ซึ่งการออกกําลังกายอยางสม่ําเสมอนาจะเปน หนทางหนึ่งในการลดความเครียดที่เหมาะสมกับนิสิตแพทย การศึกษานี้จึงมีจุดมุงหมายเพื่อศึกษา ความสัมพันธระหวางการออกกําลังกายอยางสม่ําเสมอกับระดับความเครียดที่ต่ําของนิสิตแพทย โดยใช แบบวัดความเครียดสวนปรุง 

การศึกษาเชิงวิเคราะหแบบภาคตัดขวาง เก็บขอมูลจากนิสิตแพทยชั้นปที่ 4 และชั้นปที่ 5  คณะ แพทยศาสตร มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ จํานวน 200 คน มีผูตอบแบบสอบถามจํานวนทั้งสิ้น 166 คน ตั้งแตวันที่ 2 – 4 ธันวาคม 2553 สอบถามขอมูลเกี่ยวกับการออกกําลังกายอยางสม่ําเสมอของนิสิตแพทย โดยตองออกกําลังกายอยางนอยครั้งละ 30 นาที สัปดาหละ 3 ครั้งขึ้นไป รวมกับการใชแบบวัดความเครียด สวนปรุงโดยกําหนดใหระดับความเครียดสูงถึงรุนแรงเปนความเครียดระดับสูงซึ่งมีผลกระทบตอการดําเนิน ชีวิต สวนระดับความเครียดต่ําถึงปานกลางเปนความเครียดระดับต่ํา วิเคราะหขอมูลแบบ Bivariate ดวย Chi-square test แลววิเคราะห Multivariate ดวย Logistic regression พิสูจนสมมติฐานแบบสองทางดวย ระดับนัยสําคัญ p<0.05 

ผลการศึกษาพบวานิสิตแพทยชั้นปที่ 4 และชั้นปที่ 5 เปนเพศชายรอยละ 36 เพศหญิงรอยละ 64 นิสิตแพทยมีความเครียดระดับสูงถึงรุนแรงรอยละ 60 นิสิตแพทยออกกําลังกายอยางสม่ําเสมอรอยละ 22 นิสิตแพทยที่ออกกําลังกายอยางสม่ําเสมอมีความเครียดต่ํากวานิสิตแพทยที่ไมออกกําลังกายอยาง สม่ําเสมอ 2.88 เทา (p  =  0.01) นิสิตแพทยชายมีความเครียดต่ํากวานิสิตแพทยหญิง 2.63 เทา (p  = 0.012) นิสิตแพทยชั้นปที่ 5 มีความเครียดต่ํากวาชั้นปที่ 4 เทากับ 44.4 เทา (p = 0.002) สวนสถานภาพ (มี แฟน-ไมมีแฟน) ภาควิชาที่เรียน ระยะเวลาในการปฏิบัติงานบนหอผูปวย และรายไดตอเดือน ไมมี ความสัมพันธกับระดับความเครียดอยางมีนัยสําคัญ 

สรุปผลพบวานิสิตแพทยที่ออกกําลังกายอยางสม่ําเสมอมีระดับความเครียดที่ต่ํากวานิสิตแพทยที่ ออกกําลังกายไมสม่ําเสมอหรือไมออกกําลังกายเลย นอกจากนี้ยังมีปจจัยอ่ืนที่สัมพันธกับระดับ ความเครียดที่ต่ํา ไดแก เพศชาย และนิสิตแพทยที่เรียนอยูในชั้นปที่ 5 

คําสาํคัญ: การออกกําลังกาย, ความเครียด, นิสิตแพทย 

18

Page 23: บทคัดย องานวิจัยmed.swu.ac.th/preventive/images/CM.511/511-2553.pdf · บทคัดย องานวิจัย ของ นิสิตชั้นป

ความสัมพันธระหวางการเรียนระดับชั้นคลินิกกับดัชนีมวลกาย สุวิจักขณ อดิพัฒนตระกูล, ไพโรจน ศรีพิลาภ, ธีรยา ตันตปิยพจน, วริศรา ขวกิจกาญจนกุล, สิวะยศ ดเีทศน 

บทคัดยอ การเรียนแพทยในระดับชั้นพรีคลินิกและคลินิกมีความแตกตางกัน การเรียนในชั้นคลินิกเนนการ 

ปฏิบัติงานบนหอผูปวยซึ่งสงผลตอการดําเนินชีวิตของนิสิตแพทยหลายดาน ไดแก การรับประทานอาหาร การนอนหลับ และการออกกําลังกาย เปนตน พฤติกรรมเหลานี้อาจมีผลตอดัชนีมวลกายที่เพิ่มขึ้น การศึกษานี้จึงมีจุดมุงหมายเพื่อศึกษาความเปลี่ยนแปลงดัชนีมวลกายของนิสิตคณะแพทยศาสตร มหาวิทยาลัยศรีนครินทร- วิโรฒ ขณะศึกษาอยูระดับชั้นคลินิก (ชั้นปที่ 4) เปรียบเทียบกับระดบัชัน้พรคีลนิกิ (ชั้นปที่ 2) 

การศึกษาเชิงวิเคราะหแบบ retrospective cohort เก็บขอมูลจากนิสิตแพทยชั้นปที่ 4 และชั้นปที่ 5 คณะแพทยศาสตร มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ จํานวนทั้งหมด 250 คน มีผูตอบแบบสอบถามจํานวน 175 คน ตั้งแตวันที่ 2 – 5 ธันวาคม 2553 สอบถามขอมูลยอนหลังขณะเรียนอยูในชั้นปที่ 2 และชั้นปที่ 4 ซึ่ง เปนตัวแทนของระดับชั้นพรีคลินิกและระดับชั้นคลินิกตามลําดับ วิเคราะหขอมูลแบบ Bivariate ดวย Chi- square test พิสูจนสมมติฐานแบบสองทางดวยระดับนัยสําคัญ p<0.05 

ผลการศึกษาพบวานิสิตแพทยชายรอยละ 35 นิสิตแพทยหญิงรอยละ 65 เปนนิสิตแพทยชั้นปที่ 4 รอยละ 53 ชั้นปที่ 5 รอยละ 47 เมื่อเปรียบเทียบการเปลี่ยนแปลงระหวางระดับชั้นคลินิกกับระดับชั้นพรี คลินิกพบวา ดัชนีมวลกายเพิ่มขึ้น พฤติกรรมเสี่ยงในการรับประทานอาหาร (การรับประทานอาหารที่ไมมี ประโยชนและการรับประทานอาหารจุกจิก) เพิ่มขึ้น และระยะเวลาในการนอนหลับลดลง อยางมีนัยสําคัญ ทางสถิติ 

สรุปผลพบวานิสิตแพทยชั้นคลินิกมีดัชนีมวลกายเพิ่มขึ้นเมื่อเปรียบเทียบกับชั้นพรีคลินิก ปจจัยที่ นาจะมีผลตอการเปลี่ยนแปลงดัชนีมวลกาย ไดแก พฤติกรรมการรับประทานอาหารที่ไมมีประโยชน การ รับประทานอาหารจุกจิก และระยะเวลาการนอนหลับที่นอยลง 

คําสาํคัญ: การเรียนระดับชั้นคลนิิก, ดัชนีมวลกาย, นิสิตแพทย 

19

Page 24: บทคัดย องานวิจัยmed.swu.ac.th/preventive/images/CM.511/511-2553.pdf · บทคัดย องานวิจัย ของ นิสิตชั้นป

พฤติกรรมนิสิตแพทยมีผลตอความเครียดจากการทํางานของพยาบาลหรือไม จตุชยั จันทับ, ทุมมาวดี แกวใสย, รุจิเลขา บัวคําภู, ลักษณขณา ปะนดัตะนัง, ณัฐชัย กิตติพศ 

บทคัดยอ พยาบาลเปนงานที่ตองมีความรับผิดชอบสูงและตองใหบริการผูปวยเปนระยะเวลาที่นาน การ 

ทํางานในโรงพยาบาลที่เปนโรงเรียนแพทยนั้นตองทํางานรวมกับบุคคลอ่ืนโดยเฉพาะนิสิตแพทย ซึ่งอาจ กอใหเกิดความเครียดจากการทํางานมากขึ้น การศึกษานี้จึงมีจุดมุงหมายเพื่อศึกษาพฤติกรรมนิสิตแพทยที่ มีผลตอความเครียดของพยาบาล โดยใชแบบทดสอบความเครียดของกรมสุขภาพจิต 

การศึกษาเชิงวิเคราะหแบบภาคตัดขวาง เก็บขอมูลจากพยาบาลที่ปฏิบัติงานบนหอผูปวยศูนย การแพทยสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดา ฯ สยามบรมราชกุมารี คณะแพทยศาสตร มหาวิทยาลัยศรนีครนิทรวิ โรฒ มีผูตอบแบบสอบถามจํานวนทั้งสิ้น 88 คน ตั้งแตวันที่ 1 – 3 ธันวาคม 2553 สอบถามขอมูลเกี่ยวกับ พฤติกรรมของนิสิตแพทยที่สงผลตอพยาบาล รวมกับการใชแบบทดสอบความเครียดของกรมสุขภาพจิต วิเคราะหขอมูลแบบ Bivariate ดวย Chi-square test พิสูจนสมมติฐานแบบสองทางดวยระดับนัยสําคัญ p<0.05 

ผลการศึกษาพบวาพยาบาลชวงอายุ 20 – 40 ปมีความเครียดรอยละ 58  ปจจัยที่มีผลตอ ความเครียดในการทํางานของพยาบาลมากที่สุด 3 อันดับแรก ไดแก ขาดการสนับสนุนจากหัวหนา ระบบ โรงพยาบาลที่ไมสะดวก และการทํางานรวมกับนิสิตแพทย พยาบาลไมพอใจกับพฤติกรรมของนิสิตแพทย รอยละ 53 พฤติกรรมของนิสิตแพทยที่ไมเหมาะสมตามความคิดเห็นของพยาบาลที่พบมากที่สุด 3 อันดับ แรก ไดแก การกระทําที่ไมสุภาพตอผูปวย การดูแลผูปวยที่ไมเหมาะสม และการแสดงกิริยาที่ไมสุภาพ ไม พบความสัมพันธระหวางพฤติกรรมที่ไมเหมาะสมของนิสิตแพทยกับความเครียดของพยาบาล (p=0.684) 

สรุปผลพบวาพยาบาลมีความเครียดคอนขางมาก พยาบาลคิดวาการทํางานรวมกับนิสิตแพทย เปนปจจัยหนึ่งที่กอใหเกิดความเครียดในการทํางาน และพฤติกรรมที่ไมเหมาะสมของนิสิตแพทยที่พบมาก ที่สุด ไดแก การกระทําที่ไมสุภาพตอผูปวย 

คําสาํคัญ: การทํางานของพยาบาล, ความเครียด, พฤติกรรมนิสิตแพทย 

20

Page 25: บทคัดย องานวิจัยmed.swu.ac.th/preventive/images/CM.511/511-2553.pdf · บทคัดย องานวิจัย ของ นิสิตชั้นป

การใช facebook กับผลการเรียน ณหทยั จงประสทิธกุล, ธิติวัฒน ชัยกุล, ภาณุวัฒน กาญจนวาหะ, ศิวะ องคชัยวัฒนะ, อมรทิพย ตัสมา 

บทคัดยอ ปจจุบันนี้เทคโนโลยีในการติดตอส่ือสารมีความสะดวกสบายและทันสมัยเพิ่มมากขึ้น โดยเฉพาะ 

การติดตอผานชองทางของอินเตอรเน็ทซึ่งกระแสความนิยมใน facebook นี้ไดแพรหลายเขาสูกลุมนักเรียน นักศึกษาเปนอยางมากจนมีอิทธิพลตอการเรียน ทําใหผลการเรียนในกลุมนักศึกษาตกต่ําลงถึงรอยละ 20 การศึกษานี้มีจุดมุงหมายเพื่อหาความสัมพันธระหวางการใช facebook กับผลการเรียนในชั้นปที่ 4 ของ นิสิตแพทยชั้นปที่ 5 มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ 

การศึกษาเปนการศึกษาเชิงวิเคราะหแบบภาคตัดขวางโดยเก็บขอมูลจากนิสิตแพทยชั้นปที่ 5 มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒจํานวน 87 คน คิดเปนรอยละ 73.7 ในวันที่ 2-3 กุมภาพันธ 2554 สอบถาม ผลการเรียนยอนหลังในชั้นปที่ 4 เปรียบเทียบผลการเรียนทั้งสองภาคการศึกษาวาลดลงหรือไม พรอมกับ การสอบถามขอมูลเกี่ยวกับกิจกรรมที่กระทําในหนึ่งสัปดาหและอัตราการเลน facebook เปนชั่วโมงเฉลี่ย ตอวัน นําขอมูลมาวิเคราะหแบบ Bivariate analysis ดวย Chi-square test และ Independent t test แลว นํามาวิเคราะหแบบ Multivariate  analysis  ดวย Logistic  regression  พิสูจนสมมติฐานแบบสองทาง กําหนดระดับนัยสําคัญที่ p-value < 0.05 

ผลการศึกษาพบวากลุมตัวอยางเปนเพศชายรอยละ 35.6 รายไดตอเดือน 3,000 – 7,000 บาท รอยละ 69.8 ผลการเรียนลดลงจากภาคการศึกษาแรกรอยละ 48.4 เลน facebook  รอยละ 34.5 นิสิต แพทยทํากิจกรรมตางๆ โดยเฉลี่ยเปนชั่วโมงตอวันดังนี้ นอนหลับ 5.4 + 0.8, ใชอินเตอรเน็ท 3.1 + 1.8, ดู หนัง/ฟงเพลง 2.1 + 1.5, เลน facebook 2 + 1.6, เที่ยว 1.6 + 1.4, อานหนังสืออานเลน 1.1 + 1.1, เลน เกมส 1.0 + 1.4, และออกกําลังกาย 0.8 + 0.8 เมื่อวิเคราะหดวย Logistic regression ระหวางปจจัยตางๆ กับผลการเรียนที่ลดลง พบวาการใช facebook มีคา odds ratio = 1.49 (95%CI = 0.44 – 5.06) ปญหา ดานความรัก odds  ratio  =  0.42  (95%CI  =  0.10  –  1.77) ปญหาดานครอบครัว  odds  ratio  =  7.04 (95%CI = 0.65 – 76.82) อัตราการนอน odds ratio = 0.53 (95%CI = 0.25 – 1.15) และอัตราการเที่ยว odds ratio = 1.28 (95%CI = 0.77 – 2.13) 

สรุปผลพบวาการเลน facebook ของนิสิตแพทยชั้นปที่ 5 มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒไมสัมพันธ กับผลการเรียนที่ลดลง 

คําสําคัญ: facebook, ผลการเรียน, นิสิตแพทย 

21

Page 26: บทคัดย องานวิจัยmed.swu.ac.th/preventive/images/CM.511/511-2553.pdf · บทคัดย องานวิจัย ของ นิสิตชั้นป

ผักผลไมกับภาวะทองผูกในนิสิตแพทย ปาณิศา พันธุอุบล, อังศุมาลิน สุขทองสา, เกษณี รมโพธิ์ทอง, รัชมณี อินม,ี อุรวี ลิมปเวศน 

บทคัดยอ 

ทองผูกนับเปนปญหาที่สําคัญในนิสิตแพทยซึ่งสงผลตอการเรียนและการปฏิบัติงาน พบอาการ ทองผูกในนิสิตแพทยคอนขางสูง จากการศึกษาที่ผานมาพบวาการรับประทานผักและผลไมเปนประจําชวย ลดอาการทองผูกได การศึกษานี้จึงมีจุดมุงหมายเพื่อหาความสัมพันธระหวางการรับประทานผักและผลไม อยางเพียงพอกับการลดอาการทองผูกและหาความสัมพันธระหวางปจจัยอ่ืนๆ ที่มีผลตออาการทองผูกใน นิสิตแพทยชั้นปที่ 5 และ 6 มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ 

การศึกษานี้เปนการศึกษาเชิงวิเคราะหแบบภาคตัดขวาง เก็บขอมูลจากนิสิตแพทยชั้นปที่ 5 และ 6 ระหวางวันที่ 2-3 กุมภาพันธ 2554 จํานวน 100 คนจากจํานวนทั้งหมดประมาณ 240 คน กําหนดให ปริมาณผักและผลไมที่ควรรับประทานตอวันเทากับ 400 กรัม และอาการทองผูกหมายถึงการถายอุจจาระ นอยกวา 1 ครั้งตอสัปดาหหรือ 1-3 ครั้งตอสัปดาหรวมกับอุจจาระแข็งและถายลําบาก หรือมีอาการทองอืด นําขอมูลที่ไดมาวิเคราะหหาความสัมพันธระหวางตัวแปรเชิงคุณภาพดวย Chi-square  test  พิสูจน สมมติฐานแบบสองทาง กําหนดระดับนัยสําคัญที่ p-value < 0.05 

ผลการศึกษาพบวากลุมตัวอยางอายุเฉลี่ย 22.9 + 0.8 ปเปนนิสิตแพทยชายรอยละ 39 กลุม ตัวอยางทั้งหมดมีอาการทองผูกรอยละ 23 รับประทานผักและผลไมไมเพียงพอรอยละ 81 เมื่อวิเคราะห ความสัมพันธระหวางอาการทองผูกกับปจจัยเสี่ยงตางๆ พบวา การรับประทานผักและผลไมที่ไมเพียงพอ Odds  ratio = 1.3  (95%CI = 0.5  – 3.5), ความเครียด Odds  ratio = 0.5  (95%CI = 0.1  –  1.7), การ รับประทานชาหรือกาแฟ Odds ratio = 0.8 (95%CI = 0.3 – 1.9), การเริ่มปฏิบัติงานกอน 07.00 น. Odds ratio = 0.9 (95%CI = 0.3 – 2.2), และเพศหญิง Odds ratio = 2.1 (95%CI = 0.8 – 6.0) 

สรุปผลพบวาการรับประทานผักและผลไมที่เพียงพอไมสัมพันธกับการลดอาการทองผูกในนิสิต แพทยชั้นปที่ 5 และ 6 มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ รวมทั้งปจจัยเสี่ยงอ่ืนๆ ไดแก ความเครียด การ รับประทานชาหรือกาแฟ และการเริ่มปฏิบัติงานกอน 7.00 น. ไมมีความสัมพันธกับอาการทองผูก 

คําสําคัญ: อาการทองผูก, นิสิตแพทย, ผักและผลไม 

20 22

Page 27: บทคัดย องานวิจัยmed.swu.ac.th/preventive/images/CM.511/511-2553.pdf · บทคัดย องานวิจัย ของ นิสิตชั้นป

ความเครียดกับการปฏบิัตติัวไมเหมาะสมของนิสติแพทย ธัญลักษณ สวางบุญ, ลัดดารัตน ศรีคํา, นงลักษณ รุงศรศีศิธร, สุนันทา ฉ่ัวชืน่สุข, อทิตยา ศรีละออน 

บทคัดยอ การที่จํานวนผูปวยที่มากขึ้นในปจจุบัน ทําใหบุคลากรทางการแพทยในโรงพยาบาลของรัฐบาล 

รวมถึงนิสิตแพทยเกิดความเหนื่อยลาและเกิดความเครียดสูง ซึ่งอาจมีผลตอพฤติกรรมการปฏิบัติตอ ผูปวย เชน การแสดงความกาวราว หรือการละเลยไมเอาใจใสผูปวย เปนตน อันนําไปสูความขัดแยงในการ ทํางานระหวางนิสิตแพทยกับผูปวยหรือผูรวมงาน การศึกษานี้มีจุดมุงหมายเพื่อหาความสัมพันธของการ ปฏิบัติตัวที่ไมเหมาะสมกับความเครียดของนิสิตชั้นปที่ 5 คณะแพทยศาสตร มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวโิรฒ โดยใชแบบวัดความเครียดสวนปรุงและแบบประเมินพฤติกรรมของนิสิตแพทยตอผูรวมงาน ผูปวยและญาติ รวมทั้งหาความสัมพันธกับปจจัยเสี่ยงอ่ืนๆ ไดแก เพศ รายได โรคประจําตัว ระยะเวลาการนอน และสถานะ ทางครอบครัว 

การศึกษานี้เปนการศึกษาเชิงวิเคราะหแบบภาคตัดขวาง เก็บขอมูลจากนิสิตแพทยชั้นปที่  5 จํานวนทั้งสิ้น 120 คน ตอบแบบสอบถามจํานวน 85 คน ระหวางวันที่ 2-3 กุมภาพันธ 2554 โดยใชแบบวัด ความเครียดของโรงพยาบาลสวนปรุงกําหนดใหความเครียดระดับสูงถึงรุนแรงคือระดับที่มีความเครียด และแบบประเมินพฤติกรรม 3 ดาน ไดแก ดานการกระทํา ดานวาจา และดานจิตใจ ซึ่งทางกลุมผูวิจัยเปนผู คิดขึ้นเอง นําขอมูลที่ไดมาวิเคราะหหาความสัมพันธระหวางตัวแปรเชิงคุณภาพดวย Chi-square  test พิสูจนสมมติฐานแบบสองทาง กําหนดระดับนัยสําคัญที่ p-value < 0.05 

ผลการศึกษาพบวากลุมตัวอยางอายุเฉลี่ย 22.7 + 0.7 ป เปนเพศชายรอยละ 40 รายไดตอเดือน เพียงพอรอยละ 92.9 มีโรคประจําตัวรอยละ 18.8 นอนหลับไมเพียงพอ (< 7 ชั่วโมง) รอยละ 57.6 สถานะ ครอบครัวแยกกันอยูหรือหยารางรอยละ 11  เมื่อวิเคราะหหาความสัมพันธระหวางการปฏิบัติตนไม เหมาะสมกับปจจัยอ่ืนๆ พบวาความเครียด prevalence  rate  ratio  =  1.14  (p-value  =  0.82) เพศชาย prevalence rate ratio = 2.1 (95%CI = 1.06 – 4.17) รายไดตอเดือนที่ไมเพียงพอ prevalence rate ratio = 0.57 (95%CI = 0.09 – 3.54) มีโรคประจําตัว prevalence rate ratio = 0.86 (95%CI = 0.34 – 2.18) นอนหลับไมเพียงพอ prevalence rate ratio = 0.73 (95%CI = 0.37 – 1.44) สถานะครอบครัวแยกกันอยู หรือหยาราง prevalence rate ratio = 1.01 (95%CI = 0.30 – 3.44) 

สรุปผลพบวาความเครียดของนิสิตแพทยชั้นปที่ 5 มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒไมสัมพันธกับการ ปฏิบัติตัวไมเหมาะสมเชนเดียวกับปจจัยอ่ืนๆ ไดแก รายไดตอเดือนที่ไมเพียงพอ การมีโรคประจําตัว การ นอนหลับไมเพียงพอ และสถานะครอบครัวที่แยกกันอยูหรือหยาราง แตนิสิตแพทยชายมีความเสี่ยงตอการ ปฏิบัติตนไมเหมาะสมมากกวานิสิตแพทยหญิงอยางมีนัยสําคัญทางสถิติ คําสําคัญ: ความเครียด, นิสิตแพทย, การปฏิบัติตัวที่ไมเหมาะสม 

23

Page 28: บทคัดย องานวิจัยmed.swu.ac.th/preventive/images/CM.511/511-2553.pdf · บทคัดย องานวิจัย ของ นิสิตชั้นป

การฝากครรภท่ีเหมาะสมและอตัราการเขารักษาหอผูปวยวิกฤติทารกแรกเกิด กมลทิพย ไชยโกมล, ณฐัาภิญญ ธนินรัฏฐภัทร, ดิษรจุ โตวิกกัย, ตะลันต เทพอารีย, พิชมญฐ อินกอง 

บทคัดยอ ในปจจุบันทารกแรกเกิดจํานวนมากตองเขารักษาที่หอผูปวยวิกฤตทารกแรกเกิด (NICU)  ซึ่งมี 

สาเหตุจากปจจัยหลายดานรวมถึงการที่มารดาไมฝากครรภอยางเหมาะสมครบกําหนด การวิจัยนี้จึงมุงหา ความสัมพันธระหวางการฝากครรภและอัตราการเขารับรักษาใน NICU รวมไปถึงปจจัยอื่นที่อาจเปนสาเหตุ สําคัญในหญิงตั้งครรภที่มาคลอดที่ศูนยการแพทยสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี 

การศึกษานี้เปนการศึกษาเชิงวิเคราะหแบบ Case-control study โดยเก็บขอมูลจากหญิงตั้งครรภ ที่มาคลอดที่ศูนยการแพทยสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี ตั้งแต 1 เมษายน 2553 ถึง 30 กันยายน 2553 รวมทั้งสิ้น 686 ราย โดยกําหนดใหการฝากครรภที่เหมาะสมคือ การฝากครรภครั้งแรก ตอนอายุครรภนอยกวา 17 สัปดาหและฝากครรภอยางนอย 4 ครั้งตามเกณฑของกระทรวงสาธารณสุข นํา ขอมูลมาวิเคราะหแบบ Bivariate  analysis  ดวย Chi-square  test  กับขอมูลเชิงคุณภาพ และ Independent  t  test  กับขอมูลเชิงปริมาณ แลวควบคุมตัวแปรกวนดวย Multivariate  analysis  โดยใช Logistic regression พิสูจนสมมติฐานแบบสองทาง กําหนดระดับนัยสําคัญที่ p-value < 0.05 

ผลการศึกษาพบวาหญิงตั้งครรภที่มาคลอดที่ศูนยการแพทยสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยาม บรมราชกุมารีฝากครรภไมตรงตามเกณฑของกระทรวงสาธารณสุขรอยละ 33 ทารกแรกเกิดตองเขารับการ รักษาใน NICU รอยละ 11.4 วิเคราะหดวย Chi-square test ระหวางการฝากครรภอยางเหมาะสมกับการ เขารับการรักษาใน NICU  คา prevalence  rate  ratio  =  1.15  (95%CI  =  0.74  –  1.79)  วิเคราะหดวย Logistic regression พบวาการคลอดดวยการผาตัดทางหนาทอง odds ratio = 2.93 (95%CI = 1.51 – 5.69), Thin meconium stain มีคา odds ratio = 2.98 (95%CI = 1.00 – 8.84), Thick meconium stain มีคา odds ratio = 10.67 (95%CI = 4.75 – 23.98), และน้ําหนักแรกคลอดต่ํากวา 2,500 กรัม odds ratio = 8.36 (95%CI = 3.89 – 17.95) 

สรุปผลพบวาการฝากครรภที่ไมตรงตามเกณฑของกระทรวงสาธารณสุขของหญิงที่มาคลอดบุตรที่ ศูนยการแพทยสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารีไมสัมพันธกับการเขารับการรักษาของ บุตรใน NICU แตพบวาการคลอดดวยการผาตัดทางหนาทอง การพบ thin และ thick meconium stain และน้ําหนักทารกแรกคลอดที่ต่ํากวา 2,500 กรัม สัมพันธกับการเขารับการรักษาใน NICU  อยางมี นัยสําคัญทางสถิติ 

คําสําคัญ: การฝากครรภ, หอผูปวยวิกฤติทารกแรกเกิด, หญิงตั้งครรภ 

24

Page 29: บทคัดย องานวิจัยmed.swu.ac.th/preventive/images/CM.511/511-2553.pdf · บทคัดย องานวิจัย ของ นิสิตชั้นป

การเขียนสรปุเน้ือหามีผลทําใหผลการเรียนนิสิตแพทยชั้นปที่ 4 ดีขึ้นหรือไม สิทธิพล จันทนะวิจารณ, พชร พารักษา, พีรธัช วิสารกาญจน, ลิขสิทธิ์ โสนนัทะ, ณฐัพร นวลอุทยั 

บทคัดยอ วิชาแพทยศาสตรมีเนื้อหาสําคัญอยูมากและใชเวลาในการเรียนยาวนาน นิสิตแพทยสวนใหญ 

ประสบกับปญหาการปรับตัวในการเรียนชั้นคลินิกเนื่องจากมีเนื้อหามากและมีเวลาในการทบทวนนอย ทํา ใหผลการเรียนตกต่ํา นิสิตแพทยบางสวนจึงคิดแกปญหาโดยการสรุปเนื้อหาที่เรียนเพื่อที่จะสามารถเรียนรู และจดจําเนื้อหาตางๆ ในระยะเวลาอันสั้น การศึกษานี้มีจุดมุงหมายเพื่อหาความสัมพันธระหวางการเขียน สรุปเนื้อหาการเรียนกับผลการเรียนที่ดีของนิสิตแพทยในชั้นปที่ 5 มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ 

การศึกษานี้เปนการศึกษาเชิงวิเคราะหแบบภาคตัดขวาง เก็บขอมูลจากนิสิตแพทยชั้นปที่  5 จํานวน 95 ราย คิดเปนรอยละ 78.5 ในวันที่ 2-3 กุมภาพันธ 2554 โดยสอบถามขอมูลผลการเรียนเฉลี่ยใน ชั้นปที่ 4 กําหนดใหเกรดเฉลี่ยตั้งแต 3.25 ขึ้นไปถือวาผลการเรียนดี และการเขียนสรุปเนื้อหาคือการจด บันทึกใจความสําคัญตั้งแตรอยละ 50 ของจํานวนเนื้อหาที่เรียน นําขอมูลมาวิเคราะหแบบ Bivariate analysis ดวย Chi-square test กําหนดระดับนัยสําคัญที่ p-value < 0.05 

ผลการศึกษาพบวากลุมตัวอยางเปนเพศชายรอยละ 42 ผลการเรียนเฉลี่ยอยูในเกณฑดีรอยละ 47.4 มีการสรุปเนื้อหาการเรียนรอยละ 8.4 มีการนําเนื้อหาที่สรุปมาทบทวนรอยละ 12.6 อานหนังสือเฉลี่ย 7 ชั่วโมงตอสัปดาหขึ้นไปรอยละ 47.4 มีความตั้งใจในการปฏิบัติงานบนหอผูปวยรอยละ 87.4 นอนหลับใน หองเรียนรอยละ 72.6 และมีโรคประจําตัวที่มีผลตอการเรียนรอยละ 11.6 เมื่อวิเคราะหดวย Chi-square test  ระหวางผลการเรียนเฉลี่ยที่ดีกับปจจัยอ่ืนๆ พบวา เพศชาย odds  ratio  =  0.71  (95%CI =  0.31  – 1.62) การสรุปเนื้อหาการเรียน odds ratio = 1.12 (95%CI = 0.26 – 4.78) อานหนังสือเฉลี่ย 7 ชั่วโมงตอ สัปดาหขึ้นไป  odds  ratio  =  2.23  (95%CI =  0.98  –  5.08) มีความตั้งใจในการปฏิบัติงานบนหอผูปวย odds ratio = 1.30 (95%CI = 0.38 – 4.44) นอนหลับในหองเรียน odds ratio = 0.87 (95%CI = 0.35 – 2.13) และมีโรคประจําตัวที่มีผลตอการเรียน odds ratio = 0.60 (95%CI = 0.16 – 2.20) 

สรุปผลพบวาการเขียนสรุปเนื้อหาการเรียนของนิสิตแพทยในชั้นปที่ 5 มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิ โรฒไมสัมพันธกับผลการเรียนที่ดี การอานหนังสืออยางสม่ําเสมออาจชวยใหผลการเรียนดีขึ้นหากจํานวน กลุมตัวอยางมากพอ 

คําสําคัญ: การเขียนสรุปเนื้อหา, ผลการเรียน, นิสิตแพทย 

25