8
เอกสารหมายเลข มคอ. 3 รายละเอียดของรายวิชา ชื่อสถาบันอุดมศึกษา มหาวิทยาลัยราชภัฏเพชรบุรี วิทยาเขต/คณะ/ภาควิชา คณะเทคโนโลยีอุตสาหกรรม สาขาวิชาเทคโนโลยีไฟฟ้า หมวดที1 ข้อมูลทั่วไป 1.1 รหัสและชื่อรายวิชา รหัส 5571602 ชื่อรายวิชา ปฏิบัติ การวัดและเครื่องมือวัดไฟฟ้า(ภาษาไทย) Electrical Measurements and Instrumentation Laboratory (ภาษาอังกฤษ) 1.2 จํานวนหน่วยกิต 3(0-3-0) 1.3 หลักสูตร และประเภทรายวิชา หลักสูตร วิทยาศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาเทคโนโลยีไฟฟ้า ประเภทวิชา หมวดวิชาเฉพาะด้าน กลุ่มวิชาชีพบังคับ 1.4 อาจารย์ผู้รับผิดชอบรายวิชา ผู้ช่วยศาสตราจารย์พิศิษฐ์ บุญรอด 1.5 ระดับการศึกษา / ชั้นปีท่เรียน ภาคการศึกษาที1 ของชั้นปีท2 1.6 รายวิชาที่ต้องเรียนมาก่อน (Pre-requisite) (ถ้ามี) ไม่มีกําหนดไว้ในหลักสูตร 1.7 รายวิชาที่ต้องเรียนพร้อมกัน (Co-requisites) (ถ้ามี) ไม่มีกําหนดไว้ในหลักสูตร 1.8 สถานที่เรียน คณะเทคโนโลยีอุตสาหกรรม มหาวิทยาลัยราชภัฏเพชรบุรี 1.9 วันที่จัดทํารายละเอียดของรายวิชา หรือวันที่มีการปรับปรุงครั้งล่าสุด วันที3 เดือนสิงหาคม .. 2557

เอกสารหมายเลข มคอ. 3edu.pbru.ac.th/TQF/57/57104284.pdfเอกสารหมายเลข มคอ. 3 รายละเอียดของรายวิชา

  • Upload
    others

  • View
    3

  • Download
    0

Embed Size (px)

Citation preview

Page 1: เอกสารหมายเลข มคอ. 3edu.pbru.ac.th/TQF/57/57104284.pdfเอกสารหมายเลข มคอ. 3 รายละเอียดของรายวิชา

เอกสารหมายเลข มคอ. 3

รายละเอียดของรายวิชา

ชื่อสถาบันอุดมศึกษา มหาวิทยาลัยราชภัฏเพชรบุรี

วิทยาเขต/คณะ/ภาควิชา คณะเทคโนโลยีอุตสาหกรรม สาขาวิชาเทคโนโลยีไฟฟ้า

หมวดที่ 1 ข้อมูลทั่วไป

1.1 รหัสและชื่อรายวิชา รหัส 5571602 ชื่อรายวิชา ปฏิบัตกิารวัดและเครื่องมือวัดไฟฟ้า(ภาษาไทย) Electrical Measurements and Instrumentation Laboratory (ภาษาอังกฤษ)

1.2 จํานวนหน่วยกิต 3(0-3-0) 1.3 หลักสูตร และประเภทรายวิชา หลักสูตร วิทยาศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาเทคโนโลยีไฟฟ้า ประเภทวิชา หมวดวิชาเฉพาะด้าน กลุ่มวิชาชีพบังคับ

1.4 อาจารย์ผู้รับผิดชอบรายวิชา ผู้ช่วยศาสตราจารย์พิศิษฐ์ บุญรอด

1.5 ระดับการศึกษา / ชั้นปีที่เรียน ภาคการศึกษาที ่1 ของชั้นปีที่ 2

1.6 รายวิชาที่ต้องเรียนมาก่อน (Pre-requisite) (ถ้ามี) ไม่มีกําหนดไว้ในหลักสูตร

1.7 รายวิชาที่ต้องเรียนพร้อมกัน (Co-requisites) (ถ้ามี) ไม่มีกําหนดไว้ในหลักสูตร

1.8 สถานที่เรียน คณะเทคโนโลยีอุตสาหกรรม มหาวิทยาลัยราชภัฏเพชรบุรี

1.9 วันที่จัดทํารายละเอียดของรายวิชา หรือวันที่มีการปรับปรุงครั้งล่าสุด วันที่ 3 เดือนสิงหาคม พ.ศ. 2557

Page 2: เอกสารหมายเลข มคอ. 3edu.pbru.ac.th/TQF/57/57104284.pdfเอกสารหมายเลข มคอ. 3 รายละเอียดของรายวิชา

สํานักส่งเสริมวิชาการและงานทะเบียน มหาวิทยาลัยราชภัฏเพชรบุรี เอกสารหมายเลข มคอ.3 สามารถดาวน์โหลดเอกสารได้ที่ http://acad.pbru.ac.th/index.php?option=com_docman&Itemid=148

2

หมวดที่ 2 จุดมุ่งหมายและวัตถุประสงค ์

2.1 จุดมุ่งหมายของรายวิชา

1. มีความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับเนื้อหาหน่วยและมาตรฐานการวัด การทำงานของเครื่องมือวัดไฟตรง เครื่องมือวัดไฟสลับ ออสซิโลสโคปประเภทต่างๆ และอุปกรณ์ทรานสดิวเซอร์

2. มีหลักการในการออกแบบการออกแบบโวลท์มิเตอร์ แอมมิเตอร์ โอห์มมิเตอร์และมัลติมิเตอร์ 3. มีทักษะในการคํานวณการคํานวณหาค่าความเที่ยงตรงและความคลาดเคลื่อนของการวัด ค่าอิมพิแดนซ์

ด้วยวงจรบริดจ์ ขนาดคาบเวลา ความถี่ และมุมต่างเฟสจากออสซิโลสโคป 4. มีเจตคติที่ดีเป็นผู้มีจริยธรรมและจรรยาบรรณ

2.2 วัตถุประสงค์ในการพัฒนา/ปรับปรุงรายวิชา วัตถุประสงค์ในการพัฒนาหรือปรับปรุงรายวิชานี้ จะขอกล่าวถึงเฉพาะส่วนที่สําคัญๆเท่านั้น ดังนี้ 1. เพื่อให้นักศึกษามีความรู้ และหลักการในการออกแบบอย่างเป็นขั้นตอน 2. เพื่อให้นักศึกษาสามารถประยุกต์ความรู้ในวิชานี้ได้

หมวดที่ 3 ลักษณะและการดําเนินการ

3.1 คําอธิบายรายวิชา

ปฏิบัติการหน่วย มาตรฐานการวัด และความคลาดเคลื่อน ปฏิบัติการเครื่องมือวัดไฟฟ้ากระแสตรง

ปฏิบัติการเครื่องมือวัดไฟฟ้ากระแสสลับ ปฏิบัติการบริดจ์กระแสตรง และบริดจ์กระแสสลับ ปฏิบัติการใช้งาน

และวัดค่าทางไฟฟ้าด้วยออสซิลโลสโคป ปฏิบัติการอุปกรณ์ทรานส์ดิวเซอร์

3.2 จํานวนชั่วโมงที่ใช้/ภาคการศึกษา

ตารางที่ 3.1 แสดงจํานวนชั่วโมงที่ใช้ต่อภาคการศึกษาจําแนกตามรูปแบบการจัดการศึกษาแบบต่างๆ

บรรยาย สอนเสริม การฝึกปฏิบัติ การศึกษาด้วยตนเอง 14 ชั่วโมง ตามความจําเป็น 28 ชั่วโมง -

3.3 ระบุวันเวลาที่อาจารย์จะให้คําปรึกษาและแนะนําทางวิชาการแก่นักศึกษาเป็นรายบุคคล

1. อาจารย์ประจํารายวิชา ประกาศเวลาให้คําปรึกษาบริเวณหน้าห้องปฎิบัติการไฟฟ้า 5 2. อาจารย์จัดเวลาให้คําปรึกษาเป็นรายบุคคลหรือรายกลุ่ม 1 ชั่วโมงต่อสัปดาห์

Page 3: เอกสารหมายเลข มคอ. 3edu.pbru.ac.th/TQF/57/57104284.pdfเอกสารหมายเลข มคอ. 3 รายละเอียดของรายวิชา

สํานักส่งเสริมวิชาการและงานทะเบียน มหาวิทยาลัยราชภัฏเพชรบุรี เอกสารหมายเลข มคอ.3 สามารถดาวน์โหลดเอกสารได้ที่ http://acad.pbru.ac.th/index.php?option=com_docman&Itemid=148

3

หมวดที่ 4 การพัฒนาการเรียนรู้ของนักศึกษา

4.1 คุณธรรม จริยธรรม (1) คุณธรรม จริยธรรมที่ต้องพัฒนา

1. มีความซื่อสัตย์สุจริต มีวินัยตรงต่อเวลา มีความรับผิดชอบ 2. มีภาวะความเป็นผู้นําและการทํางานเป็นทีม ต่องานที่ได้รับมอบหมาย

(2) วิธีการสอนที่จะใช้พัฒนาการเรียนรู้ 1. ให้ฝึกปฏิบัติตามแบบฝึกหัดและหรือใบงานทดลองโดยจัดนักศึกษาเป็นกลุ่มย่อยไม่เกิน 3 – 4 คน

เพื่อ ฝึกทักษะ ในด้านต่างๆจากแบบฝึกหัดและหรือใบงาน การปฏิบัติตามขั้นตอน การสรุปและอภิปรายผลการ ทำ แบบฝึกหัดและหรือการทดลองโดยการระดมสมอง เขียนและส่งรายงานในลักษณะกลุ่ม

2. กําหนดวันเวลาในการส่งงาน เพื่อเน้นให้นักศึกษามีความรับผิดชอบต่องานความซื่อสัตย์และการตรง ต่อเวลา

3. ประกาศกฎเกณฑ์และเงื่อนไขการตรวจงาน เพื่อเน้นให้นักศึกษาปฏิบัติตนและปฏิบัติงานตรงตามที่ กำหนด (3) วิธีการประเมินผล

1. ให้คะแนนผลการปฏิบัติงานในส่วนของการส่งงานตรงตามเวลาที่กําหนดที่บ่งชี้ถึงความตรงต่อเวลา 2. ให้คะแนนผลการปฏิบัติงานในส่วนของปริมาณงานที่ทําได้สําเร็จ ที่บ่งชี้ถึงความรับผิดชอบต่องาน

ที่ได้รับมอบหมาย 4.2 ความรู้ (1) ความรู้ที่จะได้รับ

1. มีความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับเนื้อหาหน่วยและมาตรฐานการวัด การทำงานของเครื่องมือวัดไฟตรง เครื่องมือวัดไฟสลับ ออสซิโลสโคปประเภทต่างๆ และอุปกรณ์ทรานสดิวเซอร์

2. มีหลักการในการออกแบบการออกแบบโวลท์มิเตอร์ แอมมิเตอร์ โอห์มมิเตอร์และมัลติมิเตอร์ 3. มีทักษะในการคํานวณการคํานวณหาค่าความเที่ยงตรง และความคลาดเคลื่อนของการวัด ค่า

อิมพิแดนซ์ด้วยวงจรบริดจ์ ขนาดคาบเวลา ความถี่ และมุมต่างเฟสจากออสซิโลสโคป (2) วิธีการสอน

1. แจกแบบฝึกหัดและหรือใบงานทดลอง นําเสนอเนื้อหาด้วยโปรแกรมเพาเวอร์พอยท์ประกอบ การ บรรยาย อธิบาย เนื้อหาและหรือขั้นตอนการทดลอง นักศึกษาลงมือปฏิบัติการตามแบบฝึกหัดและหรือใบงาน ทดลองนั้นๆ

2. มอบหมายให้นักศึกษาทําการศึกษาเนื้อหาเพิ่มเติมนอกเวลาเรียน โดยการอ่านและค้นคว้าเพิ่มเติม และศึกษาด้วยตนเอง ก่อนนํามาเขียนสรุปและอภิปรายในแต่ละแบบฝึกหัดและหรือ ใบงานทดลอง

(3) วิธีการประเมิน 1. ประเมินจากผลคะแนนการทําข้อสอบภาคทฤษฎีหรือภาคปฏิบัติ 2. ประเมินจากผลคุณภาพและปริมาณแบบฝึกหัดและหรือใบงานทดลองที่ทําสําเร็จ

Page 4: เอกสารหมายเลข มคอ. 3edu.pbru.ac.th/TQF/57/57104284.pdfเอกสารหมายเลข มคอ. 3 รายละเอียดของรายวิชา

สํานักส่งเสริมวิชาการและงานทะเบียน มหาวิทยาลัยราชภัฏเพชรบุรี เอกสารหมายเลข มคอ.3 สามารถดาวน์โหลดเอกสารได้ที่ http://acad.pbru.ac.th/index.php?option=com_docman&Itemid=148

4

4.3 ทักษะทางปัญญา (1) ทักษะทางปัญญาที่ต้องพัฒนา 1. มีวิจารณญานในการใช้ความคิดที่เหมาะสม คิดและหาเหตุผลอย่างเป็นระบบ 2. สามารถรวบรวม ศึกษา สืบค้นข้อมูลและแสวงหาความรู้เพิ่มเติมได้ด้วยตนเอง 3. สามารถวิเคราะห์ปัญหาและเสนอแนวทางการแก้ไขปัญหาได้อย่างมีระบบ 4. มีความยืดหยุนในการปรับใช้องค์ความรู้ที่เกี่ยวข้องอย่างเหมาะสม (2) วิธีการสอน มอบหมายให้นักศึกษาศึกษาและฝึกปฏิบัติด้วยตนเอง ดังนั้นนักศึกษาจึงต้องใช้ทั้งความรู้และความคิด รวมถึงทักษะด้านต่างๆประกอบกันสําหรับดําเนินการตามขั้นตอนที่กําหนดไว้ในแบบฝึกหัดและหรือใบงานทดลอง (3) วิธีการประเมินผลทักษะทางปัญญาของนักศึกษา 1. ประเมินจากผลสําเร็จจากแบบฝึกหัดและหรือใบงานทดลอง 2. ประเมินจากผลคะแนนสอบภาคทฤษฎีและหรือภาคปฏิบัต ิ4.4 ทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบ (1) ทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบที่ต้องการพัฒนา 1. มีปฏิสัมพันธ์ที่ดีกับผู้อื่น 2. สามารถให้ความช่วยเหลือและอํานวยความสะดวกทั้งในบทบาทผู้นําหรือผู้ร่วมทีมงาน 3. มีทักษะในการแก้ปัญหาสถานการณ์ต่างๆ 4. วางตัวและแสดงความคิดเห็นได้อย่างเหมาะสมกับบทบาท หน้าที่ และความรับผิดชอบ 5. มีทักษะในการสร้างเสริมความสามัคคีและจัดการความขัดแย้งในกลุ่มอย่างเหมาะสม 6. มีความรับผิดชอบในการพัฒนาตนเอง (2) วิธีการสอน 1. มอบหมายให้นักศึกษาฝึกปฏิบัติตามแบบฝึกหัดและหรือใบงานทดลองโดยส่งเสริมให้มีการระดม สมองกลุ่มย่อย 2. เปิดโอกาส ยอมรับและส่งเสริมให้นักศึกษาในการแสดงความคิดเห็น 3. ส่งเสริมการเคารพสิทธิและการรับฟังความคิดเห็นของผู้อื่น (3) วิธีการประเมิน 1. ประเมินจากผลสําเร็จของแบบฝึกหัดและหรือใบงานทดลอง 2. สังเกตพฤติกรรมการเข้าร่วมกิจกรรมและติดตามการทํางานร่วมกับผู้อื่น 4.5 ทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลข การสื่อสารและการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ (1) ทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลข การสื่อสารและการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศที่ต้องพัฒนา 1. ทักษะการคิดคํานวณและการวิเคราะห์ปัญหาเชิงคณิตศาสตร์ 2. ทักษะในการสื่อสาร การเขียนด้วยลายมือตนเอง

3. ทักษะการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศและการค้นหาความรู้เพิ่มเติมด้วยตนเองโดยการสืบค้นข้อมูลทาง อินเทอร์เน็ต (2) วิธีการสอน 1. มอบหมายงานให้ศึกษาค้นคว้าด้วยตนเอง จาก Website สื่อการสอน e-Learning และรายงาน โดยเน้นการนําตัวเลขหรือมีสถิติอ้างอิง จากแหล่งที่มาข้อมูลที่น่าเชื่อถือ 2. นําเสนอโดยใช้รูปแบบและเทคโนโลยีที่เหมาะสม (3) วิธีการประเมิน ประเมินจากการสัมภาษณ์ความคิดเห็นเกี่ยวกับข้อมูลและการดาวน์โหลดไฟล์ข้อมูลต่างๆ เพื่อการจัดทํารายงานและนําเสนอด้วยสื่อเทคโนโลยี

Page 5: เอกสารหมายเลข มคอ. 3edu.pbru.ac.th/TQF/57/57104284.pdfเอกสารหมายเลข มคอ. 3 รายละเอียดของรายวิชา

สํานักส่งเสริมวิชาการและงานทะเบียน มหาวิทยาลัยราชภัฏเพชรบุรี เอกสารหมายเลข มคอ.3 สามารถดาวน์โหลดเอกสารได้ที่ http://acad.pbru.ac.th/index.php?option=com_docman&Itemid=148

5

หมวดที่ 5 แผนการสอนและการประเมินผล

5.1 แผนการสอน ตารางที่ 5.1 แสดงแผนการสอนโดยละเอียด สัปดาห ์ที่

หัวข้อ/รายละเอียด จํานวน ชั่วโมง

กิจกรรมการเรียนการสอน และสื่อที่ใช้

ผู้สอน

1 แนะนํารายวิชา เอกสารและใบงานทดลอง เครื่องมือวัดทางไฟฟ้า

3 การบรรยายและสาธิต ฝึกปฏิบัติตามใบงานทดลอง

ผศ.พิศิษฐ์ บุญรอด

2 สัญลักษณ์และหน้าปัด 3 การบรรยายและสาธิต ฝึกปฏิบัติตามใบงานทดลอง

ผศ.พิศิษฐ์ บุญรอด

3 ความคลาดเคลื่อนและคุณลักษณะ 3 การบรรยายและสาธิต ฝึกปฏิบัติตามใบงานทดลอง

ผศ.พิศิษฐ์ บุญรอด

4 การวิเคราะห์ความคลาดเคลื่อนด้วยสถิติ

3 การบรรยายและสาธิต ฝึกปฏิบัติตามใบงานทดลอง

ผศ.พิศิษฐ์ บุญรอด

5 การขยายย่านวัดแรงดันไฟตรง 3 การบรรยายและสาธิต ฝึกปฏิบัติตามใบงานทดลอง

ผศ.พิศิษฐ์ บุญรอด

6 การขยายย่านวัดกระแสไฟตรง 3 การบรรยายและสาธิต ฝึกปฏิบัติตามใบงานทดลอง

ผศ.พิศิษฐ์ บุญรอด

7 การขยายย่านวัดความต้านทาน 3 การบรรยายและสาธิต ฝึกปฏิบัติตามใบงานทดลอง

ผศ.พิศิษฐ์ บุญรอด

8 ทบทวนและสอบความรู้กลางภาค 3 แบบทดสอบ 9 การออกแบบมัลติมิเตอร์ 3 การบรรยายและสาธิต

ฝึกปฏิบัติตามใบงานทดลอง ผศ.พิศิษฐ์ บุญรอด

10 การออกแบบวัดแรงดันไฟสลับ แบบครึ่งคลื่นและแบบเต็มคลื่น

3 การบรรยายและสาธิต ฝึกปฏิบัติตามใบงานทดลอง

ผศ.พิศิษฐ์ บุญรอด

11 การใช้งานและการวัดกําลังไฟฟ้า 3 การบรรยายและสาธิต ฝึกปฏิบัติตามใบงานทดลอง

ผศ.พิศิษฐ์ บุญรอด

12 วงจรบริดจ์ 3 การบรรยายและสาธิต ฝึกปฏิบัติตามใบงานทดลอง

ผศ.พิศิษฐ์ บุญรอด

13 ปุ่มและการใช้งานออสซิโลสโคป 3 การบรรยายและสาธิต ฝึกปฏิบัติตามใบงานทดลอง

ผศ.พิศิษฐ์ บุญรอด

14 การวัดสัญญาณและมุมต่างเฟสด้วยออสซิโลสโคป

3 การบรรยายและสาธิต ฝึกปฏิบัติตามใบงานทดลอง

ผศ.พิศิษฐ์ บุญรอด

15 ตรวจสอบใบงานทดลองและทบทวน 3 ตรวจทานใบงานและทบทวนความรู้ ผศ.พิศิษฐ์ บุญรอด

16 สอบความรู้ภาคปฏิบัติ 3 แบบทดสอบ ตารางที่ 5.2 แสดงแผนการสอนโดยสรุป

Page 6: เอกสารหมายเลข มคอ. 3edu.pbru.ac.th/TQF/57/57104284.pdfเอกสารหมายเลข มคอ. 3 รายละเอียดของรายวิชา

สํานักส่งเสริมวิชาการและงานทะเบียน มหาวิทยาลัยราชภัฏเพชรบุรี เอกสารหมายเลข มคอ.3 สามารถดาวน์โหลดเอกสารได้ที่ http://acad.pbru.ac.th/index.php?option=com_docman&Itemid=148

6

สัปดาห์ ที่

หัวข้อ/รายละเอียด จํานวน ชั่วโมง

กิจกรรมการเรียนการสอน และสื่อที่ใช้

ผู้สอน

1-7 ใบงานปฏิบัติ 7 ใบงาน 7 14

การบรรยายและสาธิต ฝึกปฏิบัติตามใบงานทดลอง

ผศ.พิศิษฐ์ บุญรอด

8 สอบความรู้กลางภาค 4 แบบทดสอบ 9-15 ใบงานปฏิบัติ 7 ใบงาน 7

14 การบรรยายและสาธิต ฝึกปฏิบัติตามใบงานทดลอง

ผศ.พิศิษฐ์ บุญรอด

16 สอบความรู้ภาคปฏิบัติ 4 แบบทดสอบ 5.2 แผนการประเมินผลการเรียนรู้ ตารางที่ 5.3 แสดงแผนการประเมินผลการเรียนรู้

ผลการเรียนรู้ * วิธีการประเมิน กําหนดการประเมินสัปดาห์ที่ สัดส่วนของการประเมินผล

4.1 บันทึกการเข้าเรียน บันทึกการส่งงาน

ทุกสัปดาห์ 10

4.1, 4.2, 4.3, 4.4, 4.5 ตรวจใบงานทดลอง ทุกสัปดาห์ 60 4.2, 4.3 สอบภาคปฏิบัต ิ สัปดาห์ที่ 8,16 30

* ระบุผลการเรียนรู้หัวข้อย่อยตามที่ปรากฏในแผนที่แสดงการกระจายความรับผิดชอบต่อของรายวิชา (Curriculum Mapping) ของรายละเอียดหลักสูตร (แบบ มคอ.2)

Page 7: เอกสารหมายเลข มคอ. 3edu.pbru.ac.th/TQF/57/57104284.pdfเอกสารหมายเลข มคอ. 3 รายละเอียดของรายวิชา

สํานักส่งเสริมวิชาการและงานทะเบียน มหาวิทยาลัยราชภัฏเพชรบุรี เอกสารหมายเลข มคอ.3 สามารถดาวน์โหลดเอกสารได้ที่ http://acad.pbru.ac.th/index.php?option=com_docman&Itemid=148

7

หมวดที่ 6 ทรัพยากรประกอบการเรียน

6.1 ตําราที่กําหนด 1. พิศิษฐ์ บุญรอด. (2549). เครื่องมือวัดไฟฟ้า.

2. พิศิษฐ์ บุญรอด. (2557). ใบงานปฏิบัติการวัดและเครื่องมือวัดไฟฟ้า.

6.2 แหล่งอ้างอิงที่สําคัญ 1.สํานักวิทยาบริการ มหาวิทยาลัยราชภัฏเพชรบุรี 2.ห้องสมุดคณะเทคโนโลยีอุตสาหกรรม มหาวิทยาลัยราชภัฏเพชรบุรี

6.3 หนังสือและเอกสารอ้างอิงที่แนะนํา (วารสาร รายงาน และอื่นๆ) คู่มือการใช้งานออสซิโลสโคปและเครื่องมือวัดต่างๆ

6.4 สื่ออิเล็กทรอนิกส์ เว็บไซต์ 1. http://www.eit.or.th/ สมาคมวิศวกรรมสถานแห่งประเทศไทย

2. http://www.coe.or.th/ ข้อสอบทดสอบความรู้ระดับภาคีวิศวกร

3. http://www.thaiengineering.com/ THAIENGINEERING

4. http://www.9engineer.com/main/ 9engineer

5. http://www.tek.com/products ข้อมูลออสซิโลสโคป ยี่ห้อ Tektronix

6.5 เอกสารและข้อมูลการเรียนอื่นๆ ...................................................................................................................................................... ...................................................................................................................................................... ......................................................................................................................................................

Page 8: เอกสารหมายเลข มคอ. 3edu.pbru.ac.th/TQF/57/57104284.pdfเอกสารหมายเลข มคอ. 3 รายละเอียดของรายวิชา

สํานักส่งเสริมวิชาการและงานทะเบียน มหาวิทยาลัยราชภัฏเพชรบุรี เอกสารหมายเลข มคอ.3 สามารถดาวน์โหลดเอกสารได้ที่ http://acad.pbru.ac.th/index.php?option=com_docman&Itemid=148

8

หมวดที่ 7 การประเมินรายวิชาและกระบวนการปรับปรุง

7.1 กลยุทธ์การประเมินประสิทธิผลของรายวิชาโดยนักศึกษา แบบประเมินผู้สอน และแบบประเมินรายวิชา 7.2 กลยุทธ์การประเมินการสอน 1. ผลการสอบ 2. การทวนสอบผลประเมินการเรียนรู้ 7.3 การปรับปรุงการสอน 1. กําหนดงานมอบหมายและการจัดการเรียนการสอนให้นักศึกษาเพิ่มเติมความรู้ 2. การจัดการเรียนการสอนโดยการวิจัยในชั้นเรียน 7.4 การทวนสอบมาตรฐานผลสัมฤทธิ์รายวิชาของนักศึกษา 1. การทวนสอบการให้คะแนนจากการสุ่มตรวจผลงานของนักศึกษาโดยอาจารย์อื่น หรือผู้ทรงคุณวุฒิ ที่ไม่ใช่อาจารย์ผู้สอนแต่อาจารย์ที่ทวนสอบต้องมีความรู้ในวิชานี้ 2. มีการตรวจสอบผลการประเมินการเรียนรู้ของนักศึกษา โดยตรวจสอบข้อสอบ แบบฝึกหัด ใบงานทดลอง วิธีการให้คะแนนสอบ และการให้คะแนนพฤติกรรม โดยอาจารย์ผู้สอนและหรือคณะกรรมการตรวจสอบ 7.5 การดําเนินการทบทวนและการวางแผนปรับปรุงประสิทธิผลของรายวิชา ปรับปรุงรายวิชาทุกปีโดยการเปลี่ยนหรือเพิ่มเติมด้วยเนื้อหาเทคโนโลยีหรืออ้างอิงผลงานวิจัยที่เกี่ยวข้องที่ ทันสมัย หรือเป็นไปตามผลการทวนสอบมาตรฐานผลสัมฤทธิ์ตามข้อ 7.4