10
เอกสารหมายเลข มคอ. 3 รายละเอียดของรายวิชา ชื่อสถาบันอุดมศึกษา มหาวิทยาลัยราชภัฏเพชรบุรี วิทยาเขต/คณะ/ภาควิชา คณะเทคโนโลยีอุตสาหกรรม สาขาวิชาเทคโนโลยีไฟฟ้า หมวดที1 ข้อมูลทั่วไป 1.1 รหัสและชื่อรายวิชา 5574306 คุณภาพระบบไฟฟ้ากําลัง(ภาษาไทย) Electrical Power Systems Quality (ภาษาอังกฤษ) 1.2 จํานวนหน่วยกิต 3(2-2-5) 1.3 หลักสูตร และประเภทรายวิชา วิทยาศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาเทคโนโลยีไฟฟ้า 1.4 อาจารย์ผู้รับผิดชอบรายวิชา ผู้ช่วยศาสตราจารย์พิศิษฐ์ บุญรอด 1.5 ระดับการศึกษา / ชั้นปีท่เรียน ภาคการศึกษาที2 ของชั้นปีท3 1.6 รายวิชาที่ต้องเรียนมาก่อน (Pre-requisite) (ถ้ามี) ไม่มีกําหนดไว้ในหลักสูตร 1.7 รายวิชาที่ต้องเรียนพร้อมกัน (Co-requisites) (ถ้ามี) ไม่มีกําหนดไว้ในหลักสูตร 1.8 สถานที่เรียน คณะเทคโนโลยีอุตสาหกรรม มหาวิทยาลัยราชภัฏเพชรบุรี 1.9 วันที่จัดทํารายละเอียดของรายวิชา หรือวันที่มีการปรับปรุงครั้งล่าสุด วันที............เดือนกันยายน .. 2556

รายละเอียดของรายวิชา คณะ หมวดที่1 ข้อมูลทั่วไป 1edu.pbru.ac.th/TQF/56/56113704.pdfสํานักส่งเสริมวิชาการและงานทะเบียน

  • Upload
    others

  • View
    9

  • Download
    0

Embed Size (px)

Citation preview

Page 1: รายละเอียดของรายวิชา คณะ หมวดที่1 ข้อมูลทั่วไป 1edu.pbru.ac.th/TQF/56/56113704.pdfสํานักส่งเสริมวิชาการและงานทะเบียน

เอกสารหมายเลข มคอ. 3

รายละเอียดของรายวิชา

ชื่อสถาบันอุดมศึกษา มหาวิทยาลัยราชภัฏเพชรบุรี

วิทยาเขต/คณะ/ภาควิชา คณะเทคโนโลยีอุตสาหกรรม สาขาวิชาเทคโนโลยีไฟฟ้า

หมวดที่ 1 ข้อมูลทั่วไป

1.1 รหัสและชื่อรายวิชา 5574306 คุณภาพระบบไฟฟ้ากําลัง(ภาษาไทย) Electrical Power Systems Quality (ภาษาอังกฤษ)

1.2 จํานวนหน่วยกิต 3(2-2-5)

1.3 หลักสูตร และประเภทรายวิชา วิทยาศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาเทคโนโลยีไฟฟ้า

1.4 อาจารย์ผู้รับผิดชอบรายวิชา ผู้ช่วยศาสตราจารย์พิศิษฐ์ บุญรอด

1.5 ระดับการศึกษา / ชั้นปีที่เรียน ภาคการศึกษาที ่2 ของชั้นปีที่ 3

1.6 รายวิชาที่ต้องเรียนมาก่อน (Pre-requisite) (ถ้ามี) ไม่มีกําหนดไว้ในหลักสูตร

1.7 รายวิชาที่ต้องเรียนพร้อมกัน (Co-requisites) (ถ้ามี) ไม่มีกําหนดไว้ในหลักสูตร

1.8 สถานที่เรียน คณะเทคโนโลยีอุตสาหกรรม มหาวิทยาลัยราชภัฏเพชรบุรี

1.9 วันที่จัดทํารายละเอียดของรายวิชา หรือวันที่มีการปรับปรุงครั้งล่าสุด วันที่............เดือนกันยายน พ.ศ. 2556

Page 2: รายละเอียดของรายวิชา คณะ หมวดที่1 ข้อมูลทั่วไป 1edu.pbru.ac.th/TQF/56/56113704.pdfสํานักส่งเสริมวิชาการและงานทะเบียน

สํานักส่งเสริมวิชาการและงานทะเบียน มหาวิทยาลัยราชภัฏเพชรบุรี เอกสารหมายเลข มคอ.3 สามารถดาวน์โหลดเอกสารได้ที่ http://acad.pbru.ac.th/index.php?option=com_docman&Itemid=148

2

หมวดที่ 2 จุดมุ่งหมายและวัตถุประสงค ์

1 จุดมุ่งหมายของรายวิชา 1มีความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับเนื้อหาความหมายของคําศัพท์ที่เกี่ยวข้อง บอกวิธีควบคุมการกําเนิดและแพร่กระจายที่มีผลต่อคุณภาพระบบไฟฟ้าได้

2 มีหลักการในการจําแนกองค์ประกอบและเปรียบเทียบคุณภาพระบบไฟฟ้ากับเกณฑ์มาตรฐานได้ 3 มีทักษะในการคํานวณการตรวจสอบคุณภาพระบบไฟฟ้าด้วยเครื่องมือวัดได้ 4 มีเจตคติที่ดีเป็นผู้มีจริยธรรมและจรรยาบรรณ

2 วัตถุประสงค์ในการพัฒนา/ปรับปรุงรายวิชา (อธิบายโดยย่อเกี่ยวกับวัตถุประสงค์ในการพัฒนารายวิชานี้หรือการเปลี่ยนแปลงสําคัญๆ ที่เกิดขึ้น) 1 เพื่อให้นักศึกษามีความรู้ และหลักการในการพิจารณาอย่างเป็นขั้นตอน 2 เพื่อให้นักศึกษาสามารถประยุกต์ความรู้ในวิชานี้ได้

Page 3: รายละเอียดของรายวิชา คณะ หมวดที่1 ข้อมูลทั่วไป 1edu.pbru.ac.th/TQF/56/56113704.pdfสํานักส่งเสริมวิชาการและงานทะเบียน

สํานักส่งเสริมวิชาการและงานทะเบียน มหาวิทยาลัยราชภัฏเพชรบุรี เอกสารหมายเลข มคอ.3 สามารถดาวน์โหลดเอกสารได้ที่ http://acad.pbru.ac.th/index.php?option=com_docman&Itemid=148

3

หมวดที่ 3 ลักษณะและการดําเนินการ

1. คําอธิบายรายวิชา

นิยาม องค์ประกอบและการประเมิน แหล่งกําเนิด การประมาณการและผลกระทบ อุปกรณ์ป้องกันและการแก้ปัญหา เครื่องมือวัดและอุปกรณ์ประกอบการวัด การควบคุมและการเฝ้าสังเกตการณ์คุณภาพระบบไฟฟ้ากําลัง

2. จํานวนชั่วโมงที่ใช้/ภาคการศึกษา

บรรยาย สอนเสริม การฝึกปฏิบัติ การศึกษาด้วยตนเอง 28 คาบ ตามความจําเป็น 32 คาบ 5 คาบต่อสัปดาห ์

3 ระบุวันเวลาที่อาจารย์จะให้คําปรึกษาและแนะนําทางวิชาการแก่นักศึกษาเป็นรายบุคคล

- อาจารย์ประจํารายวิชา ประกาศเวลาให้คําปรึกษาผ่านเว็บไซต์คณะ - อาจารย์จัดเวลาให้คําปรึกษาเป็นรายบุคคล หรือ รายกลุ่มตามความต้องการ 1 ชั่วโมงต่อสัปดาห์ (เฉพาะรายที่ต้องการ)

Page 4: รายละเอียดของรายวิชา คณะ หมวดที่1 ข้อมูลทั่วไป 1edu.pbru.ac.th/TQF/56/56113704.pdfสํานักส่งเสริมวิชาการและงานทะเบียน

สํานักส่งเสริมวิชาการและงานทะเบียน มหาวิทยาลัยราชภัฏเพชรบุรี เอกสารหมายเลข มคอ.3 สามารถดาวน์โหลดเอกสารได้ที่ http://acad.pbru.ac.th/index.php?option=com_docman&Itemid=148

4

หมวดที่ 4 การพัฒนาการเรียนรู้ของนักศึกษา

4.1 คุณธรรม จริยธรรม

(1) คุณธรรม จริยธรรมที่ต้องพัฒนา ความรับผิดชอบต่องานที่ได้รับมอบหมาย วินัย จรรยาบรรณวิชาชีพ ความซื่อสัตย์ต่อหน้าที่

ความถ่อมตนและจิตใจเมตตาต่อเพื่อนร่วมงาน ความไม่ละโมบ และการปฏิบัติหน้าที่ที่ดีของประชาชนไทยตามรัฐธรรมนูญ (2) วิธีการสอนที่จะใช้พัฒนาการเรียนรู้

- ให้ทําโครงงานที่ต้องประยุกต์ความรู้ในวิชากับปัญหาจริง โดยให้นักศึกษาทําเป็นกลุ่ม - สอนแทรกคุณธรรม จริยธรรมสามารถในระหว่างที่ทําโครงงานโดยการพูดคุยกับนักศึกษา เน้นความรับผิดชอบต่องาน วินัย จรรยาบรรณ ความซื่อสัตย์ต่อหน้าที่ในกลุ่ม ความถ่อมตนและความมีน้ําใจต่อเพื่อนร่วมงาน และความไม่ละโมบ

(3) วิธีการประเมินผล สังเกตพฤติกรรมต่าง ๆ ของนักศึกษาที่เกิดระหว่างการทดลองใช้วิธีการสอนในข้อ (2)

ข้างต้นว่าเป็นไปตามคาดหมายไว้หรือไม่ ถ้าไม่เป็นไปตามที่คาดหมาย ก็อาจเปลี่ยนสถานะการณ์หรือปรับโครงการให้เหมาะสมมากขึ้น 4.2 ความรู้ (1) ความรู้ที่จะได้รับ นักศึกษาจะได้รับความรู ้ดังนี้ 1มีความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับเนื้อหาความหมายของคําศัพท์ที่เกี่ยวข้อง บอกวิธีควบคุมการกําเนิดและแพร่กระจายที่มีผลต่อคุณภาพระบบไฟฟ้าได้

2 มีหลักการในการจําแนกองค์ประกอบและเปรียบเทียบคุณภาพระบบไฟฟ้ากับเกณฑ์มาตรฐานได้ 3 มีทักษะในการคํานวณการตรวจสอบคุณภาพระบบไฟฟ้าด้วยเครื่องมือวัดได้ 4 มีเจตคติที่ดีเป็นผู้มีจริยธรรมและจรรยาบรรณ

(2) วิธีการสอน บรรยายโดยใช้ปัญหานําและตามด้วยการแก้ปัญหา อภิปรายโต้ตอบระหว่างอาจารย์และนักศึกษา

การทํางานกลุ่ม การนําเสนอรายงาน และการวิเคราะห์กรณีศึกษา (3) วิธีการประเมิน

- ทดสอบย่อย สอบกลางภาค สอบปลายภาค ด้วยข้อสอบ - นําเสนอสรุปการอ่านจากการค้นคว้าข้อมูลที่เกี่ยวข้อง - วิเคราะหก์รณีศึกษา

Page 5: รายละเอียดของรายวิชา คณะ หมวดที่1 ข้อมูลทั่วไป 1edu.pbru.ac.th/TQF/56/56113704.pdfสํานักส่งเสริมวิชาการและงานทะเบียน

สํานักส่งเสริมวิชาการและงานทะเบียน มหาวิทยาลัยราชภัฏเพชรบุรี เอกสารหมายเลข มคอ.3 สามารถดาวน์โหลดเอกสารได้ที่ http://acad.pbru.ac.th/index.php?option=com_docman&Itemid=148

5

4.3 ทักษะทางปัญญา (1) ทักษะทางปัญญาที่ต้องพัฒนา ความสามารถในการคิดและหาเหตุผลอย่างเป็นระบบ

(2) วิธีการสอน มอบหมายให้นักศึกษาแก้ปัญหาที่กําหนดโดยใช้ความรู้ในวิชานี้

และนําเสนอผลการแก้ปัญหาในรูปของการอภิปรายกลุ่ม (3) วิธีการประเมินผลทักษะทางปัญญาของนักศึกษา

ทดสอบย่อย สอบกลางภาคและปลายภาค โดยเน้นข้อสอบที่มีการวิเคราะห์และการประยุกต์ความรู้ที่ศึกษา 4.4 ทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบ

(1) ทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบที่ต้องการพัฒนา - ทักษะการสร้างสัมพันธภาพระหว่างนักศึกษาด้วยกัน - ทักษะความเป็นผู้นําและผู้ตามในการทํางานเป็นทีม - ทักษะการเรียนรู้ด้วยตนเอง และมีความรับผิดชอบในงานที่มอบหมายให้ครบถ้วนตามกําหนดเวลา - ทักษะการปฏิบัติหน้าที่ที่ดีของนักศึกษาและการปฏิบัติตัวที่ดีต่ออาจารย์

(2) วิธีการสอน - ให้ทําโครงการร่วมกันเป็นกลุ่มโดยเน้นการประยุกต์ความรู้ที่เรียนในวิชากับปัญหาที่กําหนด - เชิญบุคลที่ผลความสําเร็จในธุรกิจที่เกี่ยวข้องมาเล่าประสบการณ์ความสําเร็จและทักษะต่าง ๆ - แทรกประสบการณ์ของอาจารย์ในระหว่างสอนโดยผ่านการเล่าเรื่องต่าง ๆ - พูดคุยกับนักศึกษาถึงความจําเป็นของทักษะต่าง ๆ

(3) วิธีการประเมิน - ประเมินตนเอง และเพื่อน ด้วยแบบฟอร์มที่กําหนด - ประเมินรายงานที่นําเสนอและพฤติกรรมการทํางานเป็นทีม - ประเมินพฤติกรรมนอกห้องเรียน เช่น ช่วงรับประทานอาหารร่วมกันระหว่างอาจารย์และนักศึกษาในชั้นเรียน

4.5 ทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลข การสื่อสารและการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ

(1) ทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลข การสื่อสารและการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศที่ต้องพัฒนา - ทักษะการคิดคํานวณเชิงตัวเลข - ทักษะการวิเคราะห์ปัญหาและการโยงรูปธรรมของปัญหาไปสู่นามธรรมเชิงคณิตศาสตร์ - ทักษะในการสื่อสารทั้งการพูด การฟัง การแปล การเขียน โดยการทํารายงาน และนําเสนอในชั้นเรียน - ทักษะในการวิเคราะห์ข้อมูลจากกรณีศึกษา - ทักษะในการค้นหาความรู้เพิ่มเติมด้วยตัวเองโดยการสืบค้นข้อมูลทางอินเทอร์เน็ต - ทักษะการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศในการสื่อสาร - ทักษะในการนําเสนอรายงานโดยใช้รูปแบบ เครื่องมือ และเทคโนโลยีที่เหมาะสม

Page 6: รายละเอียดของรายวิชา คณะ หมวดที่1 ข้อมูลทั่วไป 1edu.pbru.ac.th/TQF/56/56113704.pdfสํานักส่งเสริมวิชาการและงานทะเบียน

สํานักส่งเสริมวิชาการและงานทะเบียน มหาวิทยาลัยราชภัฏเพชรบุรี เอกสารหมายเลข มคอ.3 สามารถดาวน์โหลดเอกสารได้ที่ http://acad.pbru.ac.th/index.php?option=com_docman&Itemid=148

6

(2) วิธีการสอน

- เน้นการสอนที่ใช้ปัญหานํา ทฤษฏีตาม และการพัฒนาแนวคิดจากปัญหาเพื่อนําไปสู่การค้นพบ ข้อสรุปหรือทฤษฏีใหม่

- มอบหมายงานให้ศึกษาค้นคว้าด้วยตนเอง จาก Website สื่อการสอน e-Learning และทํารายงาน โดยเน้นการนําตัวเลข หรือมีสถิติอ้างอิง จากแหล่งที่มาข้อมูลที่น่าเชื่อถือ

- นําเสนอโดยใช้รูปแบบและเทคโนโลยีที่เหมาะสม - ท้าทายเชิงวิชาการต่อนักศึกษาในระหว่างการสอนโดยการตั้งคําถามที่มาจากปัญหาจริงในอุตสาหกรรม หรือบทความวิชาการ เพื่อให้นักศึกษาฝึกคิดหาวิธีการแก้ปัญหา

(3) วิธีการประเมิน - การจัดทํารายงาน และนําเสนอด้วยสื่อเทคโนโลยี - การมีส่วนร่วมในการอภิปรายและวิธีการอภิปราย

Page 7: รายละเอียดของรายวิชา คณะ หมวดที่1 ข้อมูลทั่วไป 1edu.pbru.ac.th/TQF/56/56113704.pdfสํานักส่งเสริมวิชาการและงานทะเบียน

สํานักส่งเสริมวิชาการและงานทะเบียน มหาวิทยาลัยราชภัฏเพชรบุรี เอกสารหมายเลข มคอ.3 สามารถดาวน์โหลดเอกสารได้ที่ http://acad.pbru.ac.th/index.php?option=com_docman&Itemid=148

7

หมวดที่ 5 แผนการสอนและการประเมินผล

5.1 แผนการสอน สัปดาห์ที่ หัวข้อ/รายละเอียด จํานวน*ชั่วโมง กิจกรรมการเรียนการสอนและสื่อที่ใช้ ผู้สอน 1-6 บทนำ บทที่ 1-7 4 บรรยาย พร้อมยกตัวอย่าง 7 สอบความรู้ 4 8-15 งานมอบหมาย/ใบงาน 4 งานมอบหมาย

ใบงานและส่งผลงานในชั้นเรียน

16 สอบงานมอบหมาย 4 * จํานวนชั่วโมงต้องสอดคล้องกับจํานวนหน่วยกิต 5.2 แผนการประเมินผลการเรียนรู ้ผลการเรียนรู้

* วิธีการประเมิน กําหนดการประเมินสัปดาห์ที่ สัดส่วนของการประเมินผล

1 การสอบย่อย 1-7 50 2 การปฏิบัติงานมอบหมาย 8-15 50 * ระบุผลการเรียนรู้หัวข้อย่อยตามที่ปรากฏในแผนที่แสดงการกระจายความรับผิดชอบต่อของรายวิชา (Curriculum Mapping) ของรายละเอียดหลักสูตร (แบบ มคอ.2)

Page 8: รายละเอียดของรายวิชา คณะ หมวดที่1 ข้อมูลทั่วไป 1edu.pbru.ac.th/TQF/56/56113704.pdfสํานักส่งเสริมวิชาการและงานทะเบียน

สํานักส่งเสริมวิชาการและงานทะเบียน มหาวิทยาลัยราชภัฏเพชรบุรี เอกสารหมายเลข มคอ.3 สามารถดาวน์โหลดเอกสารได้ที่ http://acad.pbru.ac.th/index.php?option=com_docman&Itemid=148

8

หมวดที่ 6 ทรัพยากรประกอบการเรียน

6.1 ตําราที่กําหนด 1. การไฟฟ้าส่วนภูมิภาค. (2548). คู่มือถามตอบ2 ปัญหาเทคนิค ด้านคุณภาพไฟฟ้า

2. Roger C.Dugan , Mark F.McGranaghan , Surya Santoso and H. Wayne Beaty. (2004). Electrical

Power Systems Quality. 2rd.

3. พิศิษฐ์ บุญรอด.(2553). คุณภาพระบบไฟฟ้า.

4. คู่มือการใช้งานเครื่องมือวัดต่างๆ

6.2 แหล่งอ้างอิงที่สําคัญ ...................................................................................................................................................... ...................................................................................................................................................... ...................................................................................................................................................... ......................................................................................................................................................

6.3 หนังสือและเอกสารอ้างอิงที่แนะนํา (วารสาร รายงาน และอื่นๆ) 1. ปริญญานิพนธ์วิทยาศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาเทคโนโลยีอุตสาหกรรม(เทคโนโลยีไฟฟ้า) ปีการศึกษา 2551

เรื่อง การสํารวจสภาพแรงดันไฟฟ้าตกและแรงดันไฟฟ้าเกิน เรื่อง การสํารวจสภาพแรงดันไฟฟ้าสภาวะชั่วครู่ เรื่อง การสํารวจสภาพฮาร์โมนิกส์ เรื่อง การสํารวจสภาพแรงดันไฟฟ้าสภาวะชั่วขณะ เรื่อง การสํารวจสภาพการเปลี่ยนแปลงความถี่กําลังไฟฟ้า เรื่อง การสํารวจสภาพแรงดันไฟฟ้าไม่สมดุล เรื่อง การสํารวจสภาพแรงดันไฟฟ้ากระเพื่อม

6.4 สื่ออิเล็กทรอนิกส์ เว็บไซต์ 1. แผนกจัดการงานคุณภาพไฟฟ้า ( Power Quality Control

section) กองวิศวกรรมและบํารุงรักษา การไฟฟ้าส่วนภูมิภาค. (2551). แรงดันไฟฟ้าไม่สมดุลในระะบบ 3

เฟส มีผลกระทบกระเทือนต่อการทํางานของมอเตอร์ 3 เฟส ที่ต่ออยู่กับระบบไฟฟ้า [Online serial]. Available:

http://www.pea.co.th/peac2/pq/FQA5.htm [2551, ธันวาคม 2].

2. แผนกจัดการงานคุณภาพไฟฟ้า กองวิศวกรรมและบํารุงรักษา ฝ่ายบริการการไฟฟ้าส่วนภูมิภาค (2551).

คุณภาพไฟฟ้า [Online serial]. Available:

http://www.pea.co.th/peac2/pq/Pqbasic.pdf [2551, ธันวาคม 2].

3. ยุทธพงศ์ ทัพผดุง. ( 2551). สิ่งรบกวนในระบบไฟฟ้าที่มีผลต่อภาระทางไฟฟ้า [Online serial].

Available:

http://www.geocities.com/hellogear/disturbance.htm [2551, เมษายน 5].

Page 9: รายละเอียดของรายวิชา คณะ หมวดที่1 ข้อมูลทั่วไป 1edu.pbru.ac.th/TQF/56/56113704.pdfสํานักส่งเสริมวิชาการและงานทะเบียน

สํานักส่งเสริมวิชาการและงานทะเบียน มหาวิทยาลัยราชภัฏเพชรบุรี เอกสารหมายเลข มคอ.3 สามารถดาวน์โหลดเอกสารได้ที่ http://acad.pbru.ac.th/index.php?option=com_docman&Itemid=148

9

4. ศักดิ์ชัย นรสิงห์. (2551). คุณภาพกําลังไฟฟ้า [Online serial]. Available:

http://www.thainovation.com/download/thainovation_com/power_quanlity_sakchai.pdf

[2551,พฤศจิกายน 10].

5. ลักษมณ์ กิจจารักษ์. (2551). เรื่องน่ารู้ต่างๆเกี่ยวกับ คุณภาพไฟฟ้า , ชนิดต่างๆของ UPS

และการเลือกใช้งาน UPS ที่เหมาะสม [Online serial]. Available:

http://www.ee.mut.ac.th/home/peerapol/semi_6.htm [2551, กรกฎาคม 25].

6. http://www.eit.or.th/ สมาคมวิศวกรรมสถานแห่งประเทศไทย

7. http://www.coe.or.th/ ข้อสอบทดสอบความรู้ระดับภาคีวิศวกร

8. http://www.thaiengineering.com/ THAIENGINEERING

9. http://www.9engineer.com/main/ 9engineer

6.5 เอกสารและข้อมูลการเรียนอื่นๆ ...................................................................................................................................................... ...................................................................................................................................................... ......................................................................................................................................................

Page 10: รายละเอียดของรายวิชา คณะ หมวดที่1 ข้อมูลทั่วไป 1edu.pbru.ac.th/TQF/56/56113704.pdfสํานักส่งเสริมวิชาการและงานทะเบียน

สํานักส่งเสริมวิชาการและงานทะเบียน มหาวิทยาลัยราชภัฏเพชรบุรี เอกสารหมายเลข มคอ.3 สามารถดาวน์โหลดเอกสารได้ที่ http://acad.pbru.ac.th/index.php?option=com_docman&Itemid=148

10

หมวดที่ 7 การประเมินรายวิชาและกระบวนการปรับปรุง

1. กลยุทธ์การประเมินประสิทธิผลของรายวิชาโดยนักศึกษา - การสนทนากลุ่มระหว่างผู้สอนและผู้เรียน - การสะท้อนคิด จากพฤติกรรมของผู้เรียน - แบบประเมินผู้สอน และแบบประเมินรายวิชา

2. กลยุทธ์การประเมินการสอน

- การสังเกตการณ์สอนของผู้ร่วมทีมการสอน - ผลการสอบ - การทวนสอบผลประเมินการเรียนรู้

3. การปรับปรุงการสอน - สัมมนาการจัดการเรียนการสอน - การวิจัยในและนอกชั้นเรียน

4. การทวนสอบมาตรฐานผลสัมฤทธิ์รายวิชาของนักศึกษา - การทวนสอบการให้คะแนนจากการสุ่มตรวจผลงานของนักศึกษาโดยอาจารย์อื่น หรือผู้ทรงคุณวุฒิ ที่ไม่ใช่อาจารย์ผู้สอน แต่อาจารย์ที่ทวนสอบต้องมีความรู้ในวิชานี้

- มีการตั้งคณะกรรมการในสาขาวิชา ตรวจสอบผลการประเมินการเรียนรู้ของนักศึกษา โดยตรวจสอบข้อสอบ รายงาน วิธีการให้คะแนนสอบ และการให้คะแนนพฤติกรรม

5. การดําเนินการทบทวนและการวางแผนปรับปรุงประสิทธิผลของรายวิชา - ปรับปรุงรายวิชาทุก 3 ปี หรือ ตามข้อเสนอแนะและผลการทวนสอบมาตรฐานผลสัมฤทธิ์ตามข้อ 7.4 - เปลี่ยนหรือสลับอาจารย์ผู้สอนทุกปี เพื่อให้นักศึกษามีมุมมองในเรื่องการประยุกต์ความรู้นี้กับปัญหาที่มาจากงานวิจัยของอาจารย์หรืออุตสาหกรรมต่าง ๆ