9
แบบฟอร์ม มคอ. 5 รายงานผลการดําเนินการของรายวิชา ชื่อสถาบันอุดมศึกษา มหาวิทยาลัยราชภัฏเพชรบุรี คณะ/ภาควิชา คณะเทคโนโลยีอุตสาหกรรม หมวดที1 ข้อมูลทั่วไป 1. รหัสและชื่อรายวิชา 5574306 คุณภาพระบบไฟฟ้ากําลัง(ภาษาไทย) Electrical Power Systems Quality (ภาษาอังกฤษ) 2. รายวิชาที่ต้องเรียนก่อนรายวิชานี(ถ้ามี) - 3. อาจารย์ผู้รับผิดชอบ อาจารย์ผู้สอนและกลุ่มเรียน (Section) ผู้ช่วยศาสตราจารย์พิศิษฐ์ บุญรอด 4. ภาคการศึกษา/ปีการศึกษาท่เปิดสอนรายวิชา ภาคการศึกษาที.....1....... ปีการศึกษา .........2558.................. 5. สถานที่เรียน คณะเทคโนโลยีอุตสาหกรรม มหาวิทยาลัยราชภัฏเพชรบุรี

รายงานผลการดําเนินการของรายวิชาedu.pbru.ac.th/TQF/58/58115937-557430754.pdf · 2 มคอ.5 มหาวิทยาลัยราชภัฏเพชรบุรี

  • Upload
    others

  • View
    3

  • Download
    0

Embed Size (px)

Citation preview

Page 1: รายงานผลการดําเนินการของรายวิชาedu.pbru.ac.th/TQF/58/58115937-557430754.pdf · 2 มคอ.5 มหาวิทยาลัยราชภัฏเพชรบุรี

แบบฟอร์ม มคอ. 5

รายงานผลการดําเนินการของรายวิชา

ชื่อสถาบันอุดมศึกษา มหาวิทยาลัยราชภัฏเพชรบุรี

คณะ/ภาควิชา คณะเทคโนโลยีอุตสาหกรรม

หมวดที่ 1 ข้อมูลทั่วไป

1. รหัสและชื่อรายวิชา

5574306 คุณภาพระบบไฟฟ้ากําลัง(ภาษาไทย)

Electrical Power Systems Quality (ภาษาอังกฤษ)

2. รายวิชาที่ต้องเรียนก่อนรายวิชานี ้(ถ้ามี)

-

3. อาจารย์ผู้รับผิดชอบ อาจารย์ผู้สอนและกลุ่มเรียน (Section) ผู้ช่วยศาสตราจารย์พิศิษฐ์ บุญรอด

4. ภาคการศึกษา/ปีการศึกษาที่เปิดสอนรายวิชา

ภาคการศึกษาที่.....1....... ปีการศึกษา .........2558..................

5. สถานที่เรียน คณะเทคโนโลยีอุตสาหกรรม มหาวิทยาลัยราชภัฏเพชรบุรี

Page 2: รายงานผลการดําเนินการของรายวิชาedu.pbru.ac.th/TQF/58/58115937-557430754.pdf · 2 มคอ.5 มหาวิทยาลัยราชภัฏเพชรบุรี

2

มคอ.5 มหาวิทยาลัยราชภัฏเพชรบุรี

หมวดที่ 2 การจัดการเรียนการสอนที่เปรียบเทียบกับแผนการสอน

1. รายงานชั่วโมงสอนจริงเทียบกับแผนการสอน

ระบุหัวข้อ จํานวนชั่วโมงตามแผนการสอน จํานวนชั่วโมงที่สอนจริง ระบุเหตุผลที่การสอนจริงต่างจากแผนการสอนหากมีความแตกต่างเกิน 25%

หัวข้อ จํานวนชั่วโมง ตามแผนการสอน

จํานวนชั่วโมง ที่ได้สอนจริง

ระบุสาเหตุที่การสอนจริง ต่างจากแผนการสอนหากมีความแตกต่างเกิน

25% บทนํา ปัญหาคุณภาพไฟฟ้า บทที่1การเปลี่ยนแปลงแรงดันไฟฟ้าชั่วครู่

4 4

บทที่2การเปลี่ยนแปลงแรงดันไฟฟ้าช่วงสั้น บทที่3การเปลี่ยนแปลงแรงดันไฟฟ้าช่วงยาว

8 8

บทที่4แรงดันไฟฟ้าไม่สมดุลย์ 4 4 บทที่5สัญญาณรูปคลื่นผิดเพี้ยน บทที่6ไฟกระเพื่อม

8 8

บทที่7การเปลี่ยนแปลงความถีไฟฟ้ากําลัง 4 4 งานมอบหมาย ใบงาน 32 32

2. หัวข้อที่สอนไม่ครอบคลุมตามแผน ระบุหัวข้อที่สอนไม่ครอบคลุมตามแผน

และพิจารณานัยสําคัญของหัวข้อต่อผลการเรียนรู้ของรายวิชาและหลักสูตร ในกรณีที่มีนัยสําคัญให้เสนอแนวทางชดเชย

หัวข้อที่สอนไม่ครอบคลุม ตามแผน (ถ้ามี)

นัยสําคัญของหัวข้อที่สอน ไม่ครอบคลุมตามแผน

แนวทางชดเชย

Page 3: รายงานผลการดําเนินการของรายวิชาedu.pbru.ac.th/TQF/58/58115937-557430754.pdf · 2 มคอ.5 มหาวิทยาลัยราชภัฏเพชรบุรี

3

มคอ.5 มหาวิทยาลัยราชภัฏเพชรบุรี

3. ประสิทธิผลของวิธีสอนที่ทําให้เกิดผลการเรียนรู้ตามที่ระบุในรายละเอียดของรายวิชา ระบุว่าวิธีสอนเพื่อให้บรรลุผลการเรียนรู้แต่ละด้านตามที่ระบุในรายละเอียดรายวิชามีประสิทธิผลหรือไม่มี

และปัญหาของวิธีสอนที่ใช้ (ถ้ามี) พร้อมข้อเสนอแนะในการแก้ไข

ผลการเรียนรู้ วิธีสอนที่ระบุในรายละเอียดรายวิชา

ประสิทธิผล

ปัญหาของการใช้วิธีสอน (ถ้ามี) พร้อมข้อเสนอแนะในการแก้ไข

มี ไม่มี

1. คุณธรรม จริยธรรม

- เน้นการเข้าเรียน ตลอดการส่ง งานที่ตรงเวลา - ให้ทําแบบฝึกหัดที่ต้องประยุกต์ ความรู้ในวิชากับปัญหาจริง โดยให้นักศึกษาทําเป็นรายบุคคลและทําเป็นกลุ่ม - สอนแทรกคุณธรรม จริยธรรม ในระหว่างที่ทํางานโดยการพูดคุยกับนักศึกษา เน้นความรับผิดชอบต่องาน วินัย จรรยาบรรณ ความซื่อสัตย์ต่อหน้าที่ในกลุ่ม ความถ่อมตนและความมีน้ําใจต่อเพื่อนร่วมงาน และความไม่ละโมบ - มีการยกตัวอย่างเหตุการณ์ หรือ ประสบการณ์ต่างๆ ของผู้ที่ปฏิบัติ งานจริงโดยขาดคุณธรรม และจริยธรรม แล้วให้นักศึกษาช่วยกันอภิปรายว่าจะเกิดผลเสียอย่างไร - ยกตัวอย่างบุคคลที่ประสบ ผลสําเร็จ หรือประกอบคุณงามความดีในเรื่องต่างๆ ซึ่งเป็นที่รู้จักในสังคมโลก มาเล่าให้นักศึกษาฟัง เพื่อเป็นการเพิ่มพูนความรู้รอบตัว และให้นักศึกษาเห็นว่าการมีคุณธรรมและจรยิธรรมเป็นสิ่งที่ส่งผลให้มีความ สําเร็จในด้านต่างๆ

/ - การยกตัวอย่างจาก ประสบการณ์จริงทําให้นักศึกษาเกิดความสนใจและแสดงความคิดเห็นเป็นจํานวนมาก

2. ความรู้ - บรรยายโดยใช้ปัญหานําและตาม ด้วยการแก้ปัญหา (Self-Study)

/ - การกล่าวนําบทเรียน ด้วยปัญหาทําให้นักศึกษาให้ความสน

Page 4: รายงานผลการดําเนินการของรายวิชาedu.pbru.ac.th/TQF/58/58115937-557430754.pdf · 2 มคอ.5 มหาวิทยาลัยราชภัฏเพชรบุรี

4

มคอ.5 มหาวิทยาลัยราชภัฏเพชรบุรี

- อภิปรายโต้ตอบระหว่างอาจารย์ และนักศึกษา (Group Discussion) - การศึกษาด้วยตัวเอง (Self-Study) - ศึกษาค้นคว้างานเป็นกลุ่ม การ นําเสนอรายงาน (Group Study) - การวิเคราะห์กรณีศึกษา (Case Study) - โครงงาน (Project Base) งานวิจัยที่เกี่ยวข้อง

- การให้นักศึกษาร่วม อภิปรายการแก้ปัญหาที่อาจารย์ให้ไว้ จะทําให้นักศึกษานําความรู้ที่มีมาวิเคราะห์หาแนวทางการแก้ปัญหา ซึ่งผลของการแก้ปัญหานั้นก็จะแตกต่างกันไปตามประสบการณ์และความรู้ของนักศึกษาด้วย

3. ทักษะทางปัญญา - กระบวนการเรียนการสอนที่ ส่งเสริมให้ผู้เรียนเกิดความรู้ รู้จักคิดและวิเคราะห์ ทั้งในระดับบุคคลและกลุ่ม - จัดกิจกรรมให้นักศึกษารู้จักการ เรียนรู้ด้วยตนเอง และแสวงหาความรู้อย่างเป็นระบบ

/ - ทักษะในการแสวงหา ความรู้ด้วยตนเองของนักศึกษาค่อนข้างแตกต่างกันมาก สําหรับนักศึกษาที่มีความรับผิดชอบน้อยก็จะไม่ค่อยเกิดทักษะทางด้านปัญญามากเท่าที่ควร

4. ทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบ

- สร้างความรู้ โดยใช้การอภิปราย ร่วมกับนักศึกษา และแทรกประสบการณ์ของอาจารย์ หรือ การใช้งานเทคโนโลยีที่มีจริงในปัจจุบัน ซึ่งมีความสัมพันธ์กับเนื้อหาที่กําลังอภิปราย - ทําโครงการร่วมกันเป็นกลุ่มโดย เน้นการนําความรู้ที่ได้เรียนมาใช้แก้ปัญหา และรู้จักประยุกต์ความรู้ที่เรียนในวิชากับปัญหาที่กําหนด - พูดคุยกับนักศึกษาถึงความจําเป็น ของทักษะต่าง ๆ ในทุกโอกาสที่มี

/ - ในการทําโครงการ ร่วมกันของนักศึกษาพบว่า นักศึกษาบางคนมักไม่ให้ความร่วมมือในงานซึ่งแสดงถึงการขาดความรับผิดชอบ

5. ทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลข การสื่อสารและการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ

- กระบวนการเรียนการสอนให้ ผู้เรียนได้ฝึกทักษะการสื่อสารทั้งการพูด การฟัง การเขียน - มอบหมายงานให้ศึกษาค้นคว้า ด้วยตนเอง โดยใช้ Internet - ให้นักเรียนส่งงานทาง

/ - จากการวัดผล นักศึกษาส่วนมากมี ความรู้พื้นฐานทางด้าน Internet ดี - นักศึกษาให้ความ ร่วมมือในการส่งงานผ่าน E-learning ตามเวลาที่กําหนดดี

Page 5: รายงานผลการดําเนินการของรายวิชาedu.pbru.ac.th/TQF/58/58115937-557430754.pdf · 2 มคอ.5 มหาวิทยาลัยราชภัฏเพชรบุรี

5

มคอ.5 มหาวิทยาลัยราชภัฏเพชรบุรี

e-Learning ซึ่งนักศึกษาจะสามารถส่งจากที่ใดและเวลาใดก็ได้ที่มี Internetใช้ แต่จะต้องส่งตามเวลาที่กําหนดมิฉะนั้นจะไม่สามารถส่งงานได้ - ให้นักเรียนทดสอบย่อย โดยให้ทํา ข้อสอบจาก E-learning ซึ่งจะเป็นข้อสอบที่นักศึกษาแต่ละคนต้องทําในเวลาที่กําหนด และข้อสอบที่นักศึกษาแต่ละคนจะได้ทําจะไม่เหมือนกันเพราะจะสุ่มมาจากคลังข้อสอบตามจุดประสงค์ และบอกคะแนนให้หลังจากทําเสร็จแล้ว - นําเสนอโดยใช้รูปแบบและ เทคโนโลยีที่เหมาะสม - มอบหมายงานเชิงวิชาการต่อ นักศึกษาโดยการตั้งคําถามที่มาจากปัญหาจริงในอุตสาหกรรม หรือจากสายงานที่เกี่ยวข้องกับสาขาวิชา เพื่อให้นักศึกษาฝึกคิดหาวิธีการแก้ปัญหา

และส่วนใหญ่จะส่งงานในเวลาที่เป็นเวลาเลิกเรียน ซึ่งแสดงว่านักศึกษาใช้เวลานอกการเรียนศึกษาและทํางานส่งอาจารย์

4. ข้อเสนอการดําเนินการเพื่อปรับปรุงวิธีสอน ระบุข้อเสนอเพื่อการปรับปรุงวิธีสอน ซึ่งได้จากปัญหาที่พบในข้อ 3.

..................................................................................................................................................................................

..................................................................................................................................................................................

..................................................................................................................................................................................

..................................................................................................................................................................................

Page 6: รายงานผลการดําเนินการของรายวิชาedu.pbru.ac.th/TQF/58/58115937-557430754.pdf · 2 มคอ.5 มหาวิทยาลัยราชภัฏเพชรบุรี

6

มคอ.5 มหาวิทยาลัยราชภัฏเพชรบุรี

หมวดที่ 3 สรุปผลการจัดการเรียนการสอนของรายวิชา 1. จํานวนนิสิตที่ลงทะเบียนเรียน.........................1.........................คน

2. จํานวนนิสิตที่คงอยู่เมื่อสิ้นสุดภาคการศึกษา...........1................คน

3. จํานวนนิสิตที่ถอน (W) ...............................0...............................คน

4. การกระจายของระดับคะแนน (เกรด) ระดับคะแนน จํานวน คิดเป็นร้อยละ

A 0 0 B+ 0 0 B 0 0 C+ 1 100 C 0 0 D+ 0 0 D 0 0 F 0 0 ไม่สมบูรณ์ (I) 0 0 ผ่าน (P, S) - - ไม่ผ่าน (U) - -

5. ปัจจัยที่ทําให้ระดับคะแนนผิดปกติ (ถ้ามี)

..................................................................................................................................................................................

6. ความคลาดเคลื่อนจากแผนการประเมินผลที่กําหนดไว้ในรายละเอียดรายวิชา (ระบุความคลาดเคลื่อนจากแผนการประเมินผลการเรียนรู้ที่กําหนดไว้ใน มคอ.3 หมวด 5 ข้อ 2)

6.1 ความคลาดเคลื่อนด้านกําหนดเวลาการประเมิน

ความคลาดเคลื่อน เหตุผล

6.2 ความคลาดเคลื่อนด้านวิธีการประเมินผลการเรียนรู้ (ถ้ามี)

ความคลาดเคลื่อน เหตุผล

Page 7: รายงานผลการดําเนินการของรายวิชาedu.pbru.ac.th/TQF/58/58115937-557430754.pdf · 2 มคอ.5 มหาวิทยาลัยราชภัฏเพชรบุรี

7

มคอ.5 มหาวิทยาลัยราชภัฏเพชรบุรี

7. การทวนสอบผลสัมฤทธิ์ของนิสิต

วิธีการทวนสอบ สรุปผล

ประชุมกรรมการพิจารณาผลการเรียนรายวิชา

หมวดที่ 4 ปัญหาและผลกระทบต่อการดําเนินการ

1. ประเด็นด้านทรัพยากรประกอบการเรียนและสิ่งอํานวยความสะดวก

ปัญหาในการใช้แหล่งทรัพยากรประกอบการเรียนการสอน (ถ้ามี)

ผลกระทบ

2. ประเด็นด้านการบริหารและองค์กร

ปัญหาด้านการบริหารและองค์กร (ถ้ามี) ผลกระทบต่อผลการเรียนรู้ของนิสิต

Page 8: รายงานผลการดําเนินการของรายวิชาedu.pbru.ac.th/TQF/58/58115937-557430754.pdf · 2 มคอ.5 มหาวิทยาลัยราชภัฏเพชรบุรี

8

มคอ.5 มหาวิทยาลัยราชภัฏเพชรบุรี

หมวดที่ 5 การประเมินรายวิชา

1. ผลการประเมินรายวิชาโดยนักศึกษา (แนบเอกสาร)

1.1 ข้อวิพากษ์ที่สําคัญจากผลการประเมินโดยนักศึกษา (ระบุข้อวิพากษ์ทั้งที่เป็นจุดแข็งและจุดอ่อน)

1.2 ความเห็นของอาจารย์ผู้สอนต่อข้อวิพากษต์ามข้อ 1.1

2. ผลการประเมินรายวิชาโดยวิธีอื่น

2.1 ข้อวิพากษ์ที่สําคัญจากผลการประเมินโดยวิธีอื่น (ระบุข้อวิพากษ์ทั้งที่เป็นจุดแข็งและจุดอ่อน) จุดแข็ง จุดอ่อน

การใช้เทคโนโลยี Internet เข้ามาใช้ประกอบการเรียน การค้นความ การส่งงาน นั้นดีอยู่แล้ว ทําให้สามารถหาความรู้ได้มากมาย และเหมาะสมกับการบริหารเวลาของนักศึกษาแต่ละคน

เนื่องจากการค้นคว้าเพิ่มเติมโดยใช้ Internet สามารถทําได้ตลอดเวลา และมักมอบหมายให้ไปทํานอกเวลาเรียน ส่งผลนักศึกษาที่ยังขาดความรับผิดชอบละเลยในการศึกษาเพิ่มเติมนั้นๆ

2.2 ความเห็นของอาจารย์ผู้สอนต่อข้อวพิากษต์ามข้อ 2.1 ผู้สอนเห็นควรให้ใช้ระบบ Internet เข้ามาประกอบในการค้นคว้าหาความรู้ แต่ควรปรับเรื้อระยะเวลาในการส่งงาน อย่าให้มากเกินไป เนื่องจากเวลาที่ผ่านไปนานทําให้นักศึกษาอาจลืมหรือความกระตือรือร้นในการค้นคว้าลดลง

Page 9: รายงานผลการดําเนินการของรายวิชาedu.pbru.ac.th/TQF/58/58115937-557430754.pdf · 2 มคอ.5 มหาวิทยาลัยราชภัฏเพชรบุรี

9

มคอ.5 มหาวิทยาลัยราชภัฏเพชรบุรี

หมวดที่ 6 แผนการปรับปรุง

1. ความก้าวหน้าของการปรับปรุงการเรียนการสอนตามที่เสนอในรายงานของรายวิชาครั้งที่ผ่านมา

แผนการปรับปรุงของภาคเรียน/ ปีการศึกษาที่ผ่านมา

ผลการดําเนินการ

2. การดําเนินการอื่นๆ ในการปรับปรุงรายวิชา อธิบายการปรับปรุงโดยย่อ เช่น ปรับเปลี่ยนวิธีการสอนสําหรับภาคการศึกษา/ปีการศึกษานี้

การใช้อุปกรณ์การสอนแบบใหม่ เป็นต้น ปรับเปลี่ยนวิธีสอนและเพิ่มการฝึกปฏิบัติให้มากขึ้น และหาอุปกรณ์ให้เพียงพอกับการใช้งาน

3. ข้อเสนอแผนการปรับปรุงสําหรับภาคการศึกษา/ปีการศึกษาต่อไป ข้อเสนอ กําหนดเวลาแล้วเสร็จ ผู้รับผิดชอบ

4. ข้อเสนอแนะของอาจารย์ผู้รับผิดชอบรายวิชาต่ออาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตร

.........................................................................................................................................................................................

.........................................................................................................................................................................................

.........................................................................................................................................................................................

.........................................................................................................................................................................................

ลงชื่อ อาจารย์ผู้รับผิดชอบรายวิชา

( ผู้ช่วยศาสตราจารย์พิศิษฐ์ บุญรอด )

วันที่รายงาน

ลงชื่อ อาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตร

( )

วันที่รายงาน