18
1

Appreciative Inquiry : สุนทรียปรัศนี ศิลปะแห่งการตั้งคำถามเพื่อเสริมสร้างพลังชุมชน

Embed Size (px)

DESCRIPTION

ความคิดที่ “ระเบิดจากภายใน” ก่อตัวอย่างช้า ๆ จากการเข้าไปศึกษาชุมชนบ้านเราในรูปแบบที่ต่างไปจากเดิม พวกเราบางคนไปนัดหมายกับกลุ่มผู้นำธรรมชาติในชุมชนที่เคยตั้งกลุ่มทำอะไรต่อมิอะไรร่วมกันอย่างไม่เป็นทางการมาก่อน วงสนทนาระหว่างเพื่อนพ้องน้องพี่จะเป็นไปอย่างออกรส จากคำถามที่แอบฝึกกันตั้งก่อนล่วงหน้า เพื่อทำให้วงสนทนามีสุนทรียะ เริ่มจาก ประสบการณ์ความสำเร็จที่กลุ่มเคยร่วมทำด้วยกันมาก่อน ทุนของชุมชนที่พวกเขาเห็นว่ายังมีอยู่ ไม่ว่าจะเป็น รากเหง้า วงศ์วานว่านเครือ ของดีที่มีอยู่ ตั้งแต่ ประเพณี การละเล่นพื้นบ้าน ศิลปะ การแสดง โบราณสถานสำคัญ ผู้ที่เคารพนับถือ ภูมิปัญญาท้องถิ่น อาชีพเสริมหรือความสามารถใหม่ภายหลังจากที่ได้ร่วมกลุ่มกันมา และสิ่งอำนวยความสะดวกให้สามารถทำกิจกรรมชุมชนตามวิถีชีวิต วัฒนธรรมของเขาเอง สิ่งที่ประทับใจตามมาก็คือการค้นพบสิ่งที่ดีนั้นมีมากมายกว่าที่คิด และอานิสงค์ของความบันดาลใจให้ร่วมกันคิดมันเป็นเช่นนี้เอง

Citation preview

Page 1: Appreciative Inquiry : สุนทรียปรัศนี ศิลปะแห่งการตั้งคำถามเพื่อเสริมสร้างพลังชุมชน

1

Page 2: Appreciative Inquiry : สุนทรียปรัศนี ศิลปะแห่งการตั้งคำถามเพื่อเสริมสร้างพลังชุมชน

การเสริมสรางพลังชุมชน

ดวยการแลกเปลี่ยนเรียนรูเร่ืองราวแหงความสําเร็จ

และรวมกันคนหาความฝนของชุมชน (Empowering Community by Sharing Stories & Discovering Dreams)

ลองนึกวาดภาพโลกใบนี้ เพงตรงเฉพาะสิ่งดีงาม ความมีชีวิตชีวาของผูคน แลวต้ังความปรารถนาที่จะชวยกันเปลี่ยนแปลงไปสูสิ่งที่ตองการจะเห็น นี่คือที่มาของกระบวนการประสานความคิดเนรมิตชุมชนดวยสนุทรียปรัศน ี

ความเปลี่ยนแปลงที่บังเกิดในในชวงทศวรรษ ปที่ผานมา ทามกลางความปรัก หักพังของผลพวงที่เกิดขึ้นในยุคโลกาภิวัฒน มิใชเกิดขึ้นโดยบังเอิญ หากแตเปนการรวมกันจุดประกาย ผูคนจํานวนไมมากนัก ชวยประสานใหขาราชการพันธใหม นักพัฒนาในองคกรพัฒนาเอกชน สมาชิกองคการบริหารทองถิ่น และผูคนในชุมชน ไดมีโอกาสรวมกันคิด รวมกนัทํา โครงการสรางเสริมสุขภาพชองปากในลักษณะพหุภาคี

การกอรางสรางชุมชนเริ่มตนจากการเลาเรื่องราวของสมาชิกในแตละภาคี แตละกลุมที่ตางผลัดกันนําเอาเรื่องราวความสําเร็จ ที่เคยรวมทํากันแตหนหลัง มาเลาสูกันฟง แลวรอยเรียงเชื่อมโยง ปจจัยกอใหเกิดความสําเร็จ ดวยตาเปนประกาย ในบรรยากาศที่สนุกสนาน อบอุน และเปนกันเอง มันทําใหเกิดความเชื่อมั่นขึ้นอีกครั้งวาพวกเราทํากันเองไดเปนอยางดี เรามีความภาคภูมิใจและตระหนักถึงคุณคาแหงสติปญญาที่มีในตนเองและผูคนรอบขาง

อานิสงคของการเลาเรื่องราวแหงความสําเร็จสูกันฟง ยังจะชวยทําให การสื่อสาร 2 ทางเปนไปอยาง มีชีวิตชีวา เกิดอารมณรวม และมีความประทับใจในลีลาการแสดงออกของกันและกนั

2

Page 3: Appreciative Inquiry : สุนทรียปรัศนี ศิลปะแห่งการตั้งคำถามเพื่อเสริมสร้างพลังชุมชน

จากประสบการณของการประชุมรวมกันเปนระยะ ๆ จะทําใหเราสามารถรูซึ้งถึงเหตุสําคัญที่ทําใหเกิดความเปลี่ยนแปลงอยางที่ไมเคยปรากฏมากอน นั่นคือ การตั้งคําถามที่มีแนวคิดและทิศทางที่เปนไปในทางบวก สามารถทําใหเกิดความเปนไปไดในการรวมกันทํางานเปนทีม เกิดความเอาใจใสกันและกนั ทําใหไดคนพบสิ่งดีงามรวมกัน

เหนือสิ่งอื่นใด สิ่งดีที่สุดในลานสนทนาก็คือ เรามีโอกาสไดรวมกันตั้งความปรารถนาที่จะเห็นสิ่งดีงามเกิดขึ้นกับชุมชนในอนาคต

ความคิดที่ “ระเบิดจากภายใน” กอตัวอยางชา ๆ จากการเขาไปศึกษาชุมชนบานเราในรูปแบบที่ตางไปจากเดิม พวกเราบางคนไปนัดหมายกับกลุมผูนําธรรมชาติในชุมชนที่เคยตั้งกลุมทําอะไรตอมิอะไรรวมกันอยางไมเปนทางการมากอน วงสนทนาระหวางเพื่อนพองนองพี่จะเปนไปอยางออกรส จากคําถามที่แอบฝกกันตั้งกอนลวงหนา เพื่อทําใหวงสนทนามีสุนทรียะ เริ่มจาก ประสบการณความสําเร็จที่กลุมเคยรวมทําดวยกันมากอน ทุนของชุมชนที่พวกเขาเห็นวายังมีอยู ไมวาจะเปน รากเหงา วงศวานวานเครือ ของดีที่มีอยู ต้ังแต ประเพณี การละเลนพื้นบาน ศิลปะ การแสดง โบราณสถานสําคัญ ผูที่เคารพนับถือ ภูมิปญญาทองถิ่น อาชีพเสริมหรือความสามารถใหมภายหลังจากที่ไดรวมกลุมกันมา และสิ่งอํานวยความสะดวกใหสามารถทํากิจกรรมชุมชนตามวิถีชวิีต วัฒนธรรมของเขาเอง สิ่งที่ประทับใจตามมาก็คือการคนพบสิ่งที่ดีนั้นมีมากมายกวาที่คิด และอานิสงคของความบันดาลใจใหรวมกันคิดมันเปนเชนนี้เอง

สิ่งที่เรียกกันวาสุนทรียปรัศนีแทจริงแลวก็คือ กระบวนการที่เชื้อเชิญใหผูคนมาผลัดกันต้ังคําถามถึง “สิ่งที่ใหชีวิตชีวา” กับชมุชนแลวชื่นชมกันและกนั

ดวยกระบวนสุนทรียปรศันีที่กลาวถงึนี้ จึงเปนการคนหาประสบการณที่ดีที่สุด และการคนพบสิ่งใชการไดที่มีอยูแลว แทนที่จะคนหาสิ่งที่ไมดีแลวนํามาแกไข

3

Page 4: Appreciative Inquiry : สุนทรียปรัศนี ศิลปะแห่งการตั้งคำถามเพื่อเสริมสร้างพลังชุมชน

ศิลปะของการตั้งคําถามที่เสริมสรางพลัง : (ทําใหเกิดการจุดประกาย ความกระจางแจง นวัตกรรมและปฏิบัตกิาร)

อิทธิพลของการตั้งคําถาม

การตั้งคําถามที่ถูกตองเปนการสรางคานงัดไปสูการพัฒนาแนวใหมที่สําคัญยิ่ง ในฐานะผูนําการเปลี่ยนแปลงทุกสาขา ไมวาทางการศึกษา เศรษฐกิจ สังคม วัฒนธรรม สิ่งแวดลอม หรือทางการเมืองก็ตาม เราใชเวลาตั้งคําถามทั้งถามตัวเองและผูคนในแตละวัน แตเราคนหาคําตอบในคําถามที่ผิดทั้งกาละ เทศะและประชุมชน เพราะเราถูกฝกปรือมาเปนอยางดีในการแกไขปญหาแบบดั้งเดิม

แนวทางแกไขปญหาแบบดั้งเดิมสอนเรา ใหมุงคนหาสาเหตุของปญหา และวิเคราะหปญหาอยางถี่ถวน เราผลิตขอมูลออกมาหนาตอหนา วามีสิ่งใดผิดพลาดและวิภากษวิจารณในเชิงตําหนิติเตียนการกระทําผิดพลาดไปตลอดแนว ผลลัพธที่ไดหลงัจากนั้นก็คือ การพุงเปาไปที่องคกร และชุมชนมิไดกอใหเกิดความรวมมือหรือทางเลือกใหม ที่ดีกวาเดิมแตประการใด ในทางตรงขาม กลับกอใหเกิดการราวฉาน ปฏิกริยาตอตาน และทํารายจิตใจของผูคนทั้งในองคกรหรือชมุชนอยางกวางขวางเปนทวีคูณ

การมุงเนนไปที่สิ่งใชการได และสิ่งดี ตลอดจนสิ่งที่ดีที่สุด ที่เคยทํามาเปนแกนธรรมของการทํางานในกระบวนการ“สุนทรียปรศันี” (Appreciative Inquiry) เราเรียกการทํางานแบบนี้วา “การมองหาอะไรดี ๆ ในสิ่งที่มีอยู หรือสิ่งที่เคยทํา”

การตั้งตนทํางานดวยการมองโลกในแงดีแบบนี้ มาจากแนวคิดตนตํารับของ เดวิด โคออบเปอริเดอร เมื่อกวา 2 ทศวรรษที่ผานมา (ในปพ.ศ. 2529) จากการวิจัยทางธุรกิจ ของ Western Reserve University Business School

มีการนํากระบวนการทํางานแบบนี้ไปใชในบรรษทัชั้นนําระดับโลกหลายแหง แมจะไมคอยแพรหลายในวงการธุรกิจสวนใหญ แตสําหรับในกลุมนักพฒันาชุมชนและองคกรพัฒนาเอกชนแลว มีการกลาวขานถึง และเปนที่นิยมกันในแวดวงนักวิชาการ และนักวิจัยปฏิบัติการ อยางกวางขวางทั่วโลก ทั้งในหมูนักพัฒนาชุมชน ในประเทศที่กําลังพัฒนา ในศาสนจักรและวงการทหาร

4

Page 5: Appreciative Inquiry : สุนทรียปรัศนี ศิลปะแห่งการตั้งคำถามเพื่อเสริมสร้างพลังชุมชน

สุนทรียปรัศนี เปนรูปแบบหนึ่งของการทํางานเพื่อแกไขปญหาที่ใหความสําคัญกับคุณคาและศักดิ์ศรีของมนุษยและใชแทนการแกไขปญหาแบบดั้งเดิมที่แกอยางไรก็ไมสําเร็จ และเปนที่ประจักษชัดวาคนตางหากที่แกปญหา ไมใชกระบวนการหรือวิธีการ

วงจรแหงสุนทรียปรัศนี

รวมคนพบ สิ่งดีแลวชื่นชม (Discovery)

รวมถักทอฝน รวมสรางสรรค อยางสมศักด์ิศ ี สิ่งดีเพ่ือสังคม ร

(Destiny)

รวมออกแบบรวมออกแบบ ทํางานอยางสุนทรียทํางานอยางสุนทรีย

((DDeessiiggnn))

(Destiny)

5

Page 6: Appreciative Inquiry : สุนทรียปรัศนี ศิลปะแห่งการตั้งคำถามเพื่อเสริมสร้างพลังชุมชน

เมื่อพิจารณาวงจรแหงสุนทรียปรัศนใีนผังภาพขางบนจะพบวา แบงไดเปน 4 ข้ันตอนหรือระยะ ที่เนนสิ่งดี (4ดี) และไปพองพานกับคําในภาษาอังกฤษโดยบังเอิญ กลาวคือ

1 Discovery– Appreciate what is

2 Dream – Imagine what might be

3 Design – Determine what should be

4 Destiny – Sustaining/on-going learning

ดี1คือการรวมคนพบสิ่งดีแลวชื่นชม (Discovery) เริ่มตนดวยการตั้งคําถามวา “อะไรใหชีวิต ชีวากับทีมงาน องคกรหรือชุมชน” ดวยการจับคูระหวางสมาชิกกลุมผลัดกันเลาเรื่องราวจากคําถามที่วา “กรุณาบอกฉันทีวา มีชวงเวลาใดบางที่คุณตื่นเตนและภาคภูมิใจที่สุดที่ไดมีสวนรวมในการทํางานในองคกรนี้?”

ดี 2 คือการรวมถักทอความใฝฝนอยางสมศักดิ์ศรี (Dream) คําถามตั้งตนจาก“อะไรคือสิ่งที่ทานอยากจะ ....?”มันทําใหเราสามารถสรางสรรควิสัยทัศน ในอนาคตที่รวมเขาไดกับความสําเร็จที่เคยเกิดขึ้นแลวในอดีตและความตื่นตาตื่นใจ วิสัยทัศนกลายเปนประโยคทองในเรื่องโอกาสที่กําลังจะมีมาในอนาคต หลังจากนั้น วิสัยทัศนจะเขามากําหนดชะตาชีวิต โดยผานการนําเสนอที่สรางสรรค ดั่งคําประการเจตนารมณ การทองเที่ยวทางจินตนาการ ฯลฯ แลวทําใหมันชัดเจน

ดี 3 คือการออกแบบสรรสรางอยางสุนทรียะ(Design) ต้ังคําถามวา “หากจะทําใหความใฝฝนเปนจริง เราจะออกแบบ วิธีการ กระบวนการ โครงสรางและสัมพันธภาพในการทํางานอะไรบาง?”

ดี 4 คือการสรางสรรคสิ่งดีเพื่อชุมชน องคกรหรือสังคม (Destiny) คําถามที่นําไปสูการทํางานรวมกันอยางสรางสรรคก็คือ “เราจะทํากันอยางสรางสรรคไดยังไง?”เพื่อจะใชขุมพลังที่เรามีอยู รวมทั้งระยะเวลา และการกําหนดลําดับความสําคัญ .ในขั้นตอนนี้ทานตองทํางานเพื่อใหบรรลุวิสัยทัศนที่ไดกําหนดไวแลว

6

Page 7: Appreciative Inquiry : สุนทรียปรัศนี ศิลปะแห่งการตั้งคำถามเพื่อเสริมสร้างพลังชุมชน

สุนทรียปรัศนีในการพัฒนาโดยอาศัยสนิทรัพยชมุชน การพัฒนาโดยอาศัยสินทรัพยชุมชนเปนฐาน เปนตัวผลักใหสุนทรียปรัศนีเกิด

ความเคลื่อนไหว ความคิดที่เปนกุญแจดอกสําคัญในเรื่องนี้ก็คือ เมื่อใดก็ตามที่ชุมชนไดรับการมองในสวนที่มีสินทรัพยผลจะเปนไปในทางบวก ในขณะที่หากชุมชนถูกมองวาขาดแคลนผลก็จะออกมาในทางลบ หรือเปนปญหาที่จะตองแกไขเยียวยา

ปรัชญาของการทํางานในชุมชนนั้น เริ่มตั้งตนที่

“ปญญาของชุมชน”แทนที่จะตั้งตนที่“ปญหาของชุมชน”

การเสริมสรางพลังชุมชนจึงเปนเรื่องที่ชุมชนนั้นจะตัดสินใจใชวิธีการไหนจัดการกับสิ่งที่ทาทายในชุมชนของตนเอง ระหวาง

“จะแนวแนแกไขในสิ่งผิด” กับ “จะรักชาติยิ่งชีวิต ทําสิ่งถูก”

(We will either Do the THING right or Do the RIGHT thing)

7

Page 8: Appreciative Inquiry : สุนทรียปรัศนี ศิลปะแห่งการตั้งคำถามเพื่อเสริมสร้างพลังชุมชน

ตั้งคําถามอยางไรใหเสริมสรางพลัง? หากเรายังไมเคยเรียนรูในเรื่อง “คําถามที่เสริมสรางพลัง”มากอนลองมาให

คะแนน คําถามตอไปนี้ดูนะครับ วาคําถามใดจะทําใหเสริมสรางพลังมากกวากัน หากมีชวงคะแนน ต้ังแต1-10 และ10 คือคะแนนที่เสริมสรางพลังมากที่สุดทานทานจะใหคะแนนในคําถามตอไปนี้ กี่คะแนน ? - ตอนนี้กี่โมงแลว? - มีความเปนไปไดอะไรพอมีเหลืออยู ที่เรายังไมไดคิดถึงบาง? - ทานขาวแลวหรือยัง? - ที่วามีจริยธรรมนั้นหมายถึงยังไง? - ทานไปไหนมา? - เสื้อตัวนี้สวยดี ทานซื้อมาจากไหน?

คําถามที่เสริมสรางพลัง - ทําใหเกิดความอยากรูอยากเห็นและเชื้อเชิญใหตอบแบบสรางสรรค - มุงเนนไปยังการทําใหสะทอนความคิดออกจากตัวผูถาม - ทําใหอยากตอบดวยดวงตาที่เปนประกาย - คําตอบความหมายที่ลึกไปกวาปรกติและเปนสิ่งที่ผูตอบ“มี”อยูแลว - คําตอบทําใหกลายเปนเรื่องที่แพรกระจายไปในหมูเพื่อนฝูงหรือองคกรได

รวดเร็ว (ผูคนสนใจ แพรไปไดเร็ว)

8

Page 9: Appreciative Inquiry : สุนทรียปรัศนี ศิลปะแห่งการตั้งคำถามเพื่อเสริมสร้างพลังชุมชน

ลองออกแบบคําถามที่เสริมสรางพลัง คําถามที่เสริมสรางพลังมี 3 มิติ มิติแรก “ออกแบบกอสราง” ทําใหเกิดความแตกตางอยางเห็นไดชัดเจนระหวางการเปดกวาง กับการปดทางความคิดของผูตอบ คําถามตอไปน้ีเรียงกันอยูระหวางการเสริมสรางพลัง จากนอยไปหามาก

คําถามแบบ ถูก / ผิด ทําไม ยังไง อะไร สิ่งใด หากวา... ใคร เมื่อไหร ที่ไหน

ลองผูกเปนประโยคคําถามดูนะครับ ลูกหลานของเราที่นี่ไดออกกําลังกายตามที่อยากทําหรือไม? กรุณาอธิบายถึงตอนที่เด็ก ๆในชุมชนของเราเทาที่ผานมาไดมีความสุขและออกกําลังกายกันอยาง สนุกสนานไดไหมครับ ? มีการสนับสนุนกันในชุมชนของเราใหเด็ก ๆ มีสขุภาพดี ยังไงกันบางครับ? และหาไดจากไหน? ทําไมเด็ก ๆที่นี่จึงดูเฉื่อยชาไมสดใสและรับประทานกันอยางแยๆ ครับ? หากคิดจะทําดีใหลูก ทําถกูใหหลานของเราทานคิดวาชุมชนของเราจะสนับสนุนใหเด็ก มีชีวิตชีวา มีความสุข และรางกายแข็งแรงอยางไรไดบางครับ?

หากทาน เปลี่ยนจากคําถาม ถูก/ผิด? มาเปน ทําไม? แลวไปสู อะไรจะเกิดขึ้นบาง หากเรา….? คําถามจะทําใหมีการสะทอนความคิด และสรางสรรคมากขึ้นกวาเดิม

9

Page 10: Appreciative Inquiry : สุนทรียปรัศนี ศิลปะแห่งการตั้งคำถามเพื่อเสริมสร้างพลังชุมชน

ขอพึงระวัง ในกรณีที่มีการถามวาทําไม ? บางครั้งอาจยั่วยุใหผูตอบปกปองตัวเองจากการถูกตําหนิ มากวาที่จะคิดออกแบบอยางสรางสรรค ดังเชน ...ทําไมแนวรวมของเราจึงสดุดและไมขยายวงออกไป ? มิติท่ี 2 ขอบเขตของคําถาม การตั้งคําถามตองสื่อไดอยางเหมาะสม ลองดูผลกระทบของขอบเขตตอไปนี้

ในฐานะทีมงานเราจะแลกเปลี่ยนเรียนรูกันอยางดีที่สุดไดอยางไร? ในฐานะแนวรวม เราจะแลกเปลี่ยนเรียนรูกันอยางดีที่สุดไดอยางไร? ในชุมชนของเราเองเราจะแลกเปลี่ยนเรียนรูกันอยางดีที่สุดไดอยางไร?

คําถามขางบนแสดงถึงการตั้งคําถามที่กาวหนาและกวางขวางพอเหมาะ แตบางคําถามอาจกวางเกินไป แมวาจะนาสนใจ อาทิ

เราจะเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมสุขภาพคนในชาตขิองเราไดอยางไร? มิติท่ี 3 สมมติฐาน ปรกติแลวคําถามสวนใหญจะมีสมมติฐานอยูภายในตัวคําถาม

เราจะสรางระบบการศึกษาที่มี2ภาษาไดอยางไรในภาคเหนือ? เราไดทําผิดอะไร และใครควรจะรับผิดชอบ? เราลองคนหาดูวาอะไรทําใหเกิดความไมรวมมือกันระหวางพหุภาคี? มีบทเรียนอะไรบางจากสิ่งที่เกิดขึ้นและความเปนไปไดในอนาคตมีอะไรบาง?

10

Page 11: Appreciative Inquiry : สุนทรียปรัศนี ศิลปะแห่งการตั้งคำถามเพื่อเสริมสร้างพลังชุมชน

ลองตีความจากคําถามขางบนวา

• คําถามใดที่ทําใหเกิดการแกไขปญหา ?

-/+ • คําถามใดที่นําไปสูการตําหนิ? • คําถามใดที่กอใหเกิดการปกปองตัวเอง?

คําถามใดที่นําไปสูการสะทอนความคิด ความสรางสรรค? คําถามใดที่กอใหเกิดความรวมมือระหวางผูเกี่ยวของ?

กรณาตรวจสอบตอไปอีกวาแตละคําถามนําไปสูอะไรเปนสําคัญ

มีคติฐานหรือความเชื่ออะไรที่แฝงอยูในคําถามนั้น ๆ ? เราจะใชวิธีการอยางไรหากระบบความเชื่อดังกลาวแตกตางกันโดยสิ้นเชิง?

การทดลองตั้งคําถามเพื่อนําไปการใชกระบวนการสุนทรียปรัศนี จงใหความสนใจในเรื่อง การออกแบบ ขอบเขต และความเชื่อในคําถามที่เราตั้ง เมื่อเราทํางานรวมกันเปนทีม เราใชเวลาในการตั้งคําถาม 1 เริ่มจากการสนทนา ถึงวัตถุประสงคและ กระบวนการทํางาน 2 ทํางานกับทีมงานใหเขียนคําถามหลายคําถามในประเด็นที่เกี่ยวของกัน 3 พิจารณาและใหคะแนนคําถามเหลานั้นวา

คําถามใดที่ทําใหเกิดการสะทอนความคิดและความสรางสรรคไดดีที่สุด? คําถามใดที่ผลของมันจะออกมาในเชิงบวก? มีคติฐานอะไรที่แฝงอยูในแตละคําถามนั้น?

4 ลองเอาไปถามกับคนนอกที่ไมไดเกี่ยวของกับกรณีนั้น เพื่อดูวามันใชการไดดียังไง?และ พิจารณาวามันนําไปสูการสนทนาในแบบไหน?

11

Page 12: Appreciative Inquiry : สุนทรียปรัศนี ศิลปะแห่งการตั้งคำถามเพื่อเสริมสร้างพลังชุมชน

D1

ตัวอยางการตั้งคําถามเพื่อใชในกระบวนการสุนทรียสนทนา 1 การรวมคนพบสิ่งดีแลวช่ืนชม (Discovery) ตัวอยางคําถามที่รวมคนพบสิ่งดีแลวช่ืนชม

ทานมีความสุข และความสําเร็จที่สุดในการงาน ตอนไหน ? อะไรทําใหงานของทานมีคา/มีความหมาย? บทบาทของทานมีคุณคาหรือนาตื่นเตนอยางไรบาง? คุณไดรับความบันดาลใจมาจากไหน/ใคร? หากคุณเปนผูจัดการในองคกรคุณจะใหเวลามากกวาในสวนไหน? คุณมีความยินดีและภาคภูมิใจในอะไรมากที่สุด? คุณรูสึกมั่นใจในอะไรมากที่สุด? บอกมา 3 อยางที่ทานชอบมากที่สุดที่นี่? ธรรมชาติของงาน ตรงไหนที่ทานเห็นวามีคาที่สุด? งานที่นี่มีเสนหดึงดูดผูคนยังไงบาง? หากคุณสามารถจะคุยกับหัวหนาองคกรนี้ได คุณจะบอกทานวา ทานมีความสามารถอะไรที่จะทําใหงานของคุณดีข้ึน/เร็วข้ึน/สนุกกวาเดิม?

12

Page 13: Appreciative Inquiry : สุนทรียปรัศนี ศิลปะแห่งการตั้งคำถามเพื่อเสริมสร้างพลังชุมชน

D2 2 การรวมถักทอฝนอยางสมศักดศร ี(Dream) ตัวอยางคําถามที่ถักทอความใฝฝนรวมกัน:

ทานลองจินตนาการแลวบอกผมสิครับวา อะไรคือสิ่งที่ควรจะเกิดขึ้นจากนี้ตอไปในอนาคต อีก 5-10ปขางหนา? คุณปรารถนาอยากจะเห็นอะไรเกิดขึ้นกับองคกรที่นี่ในอนาคตบาง? หากคุณมีเวทมนต เสกใหสิ่งดีๆเกิดขึ้นในอนาคต คุณจะเสกอะไรสําหรับองคกรนี้? คุณอยากจะเห็นอะไรเกิดขึ้นในอีก 5 ปตอไปขางหนาที่องคกรนี้? มีวิถีทางใดบางที่เราจะอยูรวมกันกับผองเพื่อนที่นี่อยางมีความสุข? หากมีโอกาสอยางไมมีที่สิ้นสุด ทานและชุมชนทีน่ี่ ทานอยากจะเห็นอะไรเกิดขึ้นระหวางเราดวยกันบาง?

**แบงกลุมยอย พัฒนาวิสัยทัศน นําเสนอมันอยางมีศิลปะและสรางสรรค โดยใช ถอยคํา บัตรคํา การวาดรูป ใชแผนที่ความคิด และอื่น ๆ

D3 3 รวมออกแบบสรรคสรางอยางสุนทรียะ (Design) ตัวอยางคําถามในการออกแบบ “วิธีการ”รวมกัน

เมื่อคุณคนพบจุดแข็งและโอกาสในชวงแรกไดแลว เราจะหาทางสูฝนของเรา มันจะมีหนาตาเปนยังไง?

ลงเขียนประโยคทองที่สรางสรรค,ทาทายและนาตื่นเตน จากจุดปจจุบันที่เปนอยู,ใชความภาคภูมิใจในอดีตเปนตัวเริ่ม - ความสําเร็จที่มี ที่ปรารถนาปจจุบันสูอนาคต

คําถามคือ

13

Page 14: Appreciative Inquiry : สุนทรียปรัศนี ศิลปะแห่งการตั้งคำถามเพื่อเสริมสร้างพลังชุมชน

เราจะทําใหความปรารถนาของเราบรรลุผลสําเรจ็ไดอยางไร? หากจะทําใหฝนเปนจริง ลองหาวิธีการใหมๆที่จะสรางใหฝนเปนจริง? ปจเจก เขียน สิ่งที่ตนสนใจ เล็ก ๆ

จากนั้นระดมความคิดเปนกลุม

ทําใหเปนโมเดล

นําไปสูการสรางแผนปฏิบัติการ

D4 4.รวมสรางสรรคสิ่งดีเพื่อสังคม (Destiny) ตัวอยางคําถามที่กําหนดชะตากรรมรวมกัน

หากจะมีสิ่งดีๆเกิดขึ้นแกเรา เพื่อนรวมงานและองคกรของเรา เราจะตั้งตนทําอะไร รวมกันในวิธีการ/แนวทาง/กระบวนการ/กิจกรรม/เทคนิคใหม? หากเราหวังจะประสบความสําเร็จที่ยิ่งไมเคยมีมากอน เราจะตองไมทําแบบเดิมๆ ทีมงานทางแผนปฏิบัติการแลวใหแตละคน กําหนดวา ตัวเองจะเหมาะสมในงานไหน ตามความสามารถ / พรสวรรค และใชขุมพลังสินทรัพยที่มีอยู ?

14

Page 15: Appreciative Inquiry : สุนทรียปรัศนี ศิลปะแห่งการตั้งคำถามเพื่อเสริมสร้างพลังชุมชน

วิธีการคิดและตั้งคําถาม แบบ สุนทรียปรัศนี “มรรค 8:

สัมมาทิฐิ สมัมาวาจา สัมมากัมมันตะ สมัมาสังกัปปะ

สัมมาวายามะ สัมมาอาชีวะ สัมมาสติ สัมมาสมาธิ”

1 ใน อริยสัจ 4 ของพระสัมมาสัมพุทธเจา

เร่ิมจาก การมองโลกในแงดเีสมอ คําถามจึงเวียนวนอยูในแงบวก อาทิ ความมีชีวิตชวีา มีความหมาย มคีุณคา ความสขุ ความสําเร็จ ความหวัง พลังของตัวเรา องคกรของเราและชุมชนของเรา

เมื่อชุมชนใช สุนทรียปรัศน ีการแลกเปลี่ยนเรียนรูจึงสกดัความรูจาก

• ส่ิงที่ดีที่สุดของการปฏิบัติในชวงอดีตที่ผานมา • การมองไปในอนาคตขางหนาอยางงดงามสดใส กระจางชัด • การชื่นชมในคุณคาของสิ่งที่ประสพรวมกัน • การออกแบบทางเลือกใหมที่ตนเองเปนผูปฏิบัติในฐานะพลเมือง • การดําเนนิกิจกรรมอยางขันอาสา และรูคุณคาของสิ่งที่มี • ขอสําคัญที่สุดอยูที่ การจินตนาการ มองเหน็ตนเองเปน ผูปฏิบัติการ ผูให

ผูโรมรุกหรือ ผูเปล่ียนแปลง แทนที่จะเปน ผูรับกรรม ผูถูกปฏิบัติ ผูรับ

หรือผูรองรับ

ดังนั้น ผูที่ตั้งคาํถาม แบบสุนทรียปรัศนี จะตองรําลึกไวเสมอก็คือ

1.ถามถึงสิ่งที่ดีที่สุด ไมวาจะใหเลาในเรื่อง

• ผลลัพธที่เคยเกิดขึ้น ในเรื่องของปริมาณ คุณภาพ อะไร อยางไร เทาใด ?

15

Page 16: Appreciative Inquiry : สุนทรียปรัศนี ศิลปะแห่งการตั้งคำถามเพื่อเสริมสร้างพลังชุมชน

• วิธีการที่ทําใหเกิด ในรูปแบบใด กลวิธีใด กุศโลบายใด หรือยุทธศาสตรใด ? • ปจจัยที่เอื้ออํานวยใหเกิด อาทิ ผูรวมกันทําคือใคร ในชวงเวลาใด ที่ส่ิงที่มีคุณคาใดทีไ่ดถูก

นํามาใชใหเกดิผลลัพธ เชนนั้น ? ฯลฯ

2. ใชคําถามในเชิงบวก ที่มาจากคติฐานในทางบวกเชนเดียวกัน เชน เพื่อนรวมงานของเราเปนอยางไรบาง ทีท่ําใหทานดีใจที่ไดทํางานชิน้นี ้ ?

3. ใชประเดน็ที่ทําใหเกิดความตื่นเตน ทาทาย เชน “ผูนํา”นั้นอาจเปนใครก็ไดที่ตองการชวยใหงานชิ้นนี้ประสพความสําเร็จ.

4. ใชคําถามที่แสดงออกถึงการเชื้อเชิญ การใหแสดงความรูสึกที่ดี ๆ หรือ การใหเห็นโลกในแงบวก

5. ตั้งคําถามที่นําไปสูการ เลาเรื่องราวประสบการณที่นาประทัปใจของผูตอบเอง เปนหลัก

6. ทาทีของการตั้งคําถามใหออกเปนทํานอง ชวนสนทนา ไมเปนทางการ เปนแบบพี่ ๆ นอง ๆ และที่สําคัญที่สุดคือ ทาทีของการตั้งใจฟง ใหเกียรติ สุภาพ ช่ืนชม ยกยอง ประดุจกัลยาณมิตร หรือญาติธรรม ปราศจาก การหักหาญน้ําใจ ประชด แซว หรือลบหลู

7. ใชคําถามปลายเปด ซ่ึงไมตองการคําตอบตายตัว ยิ่งเปนการไมคาดฝน หรือนาอัศจรรยใจ ยิ่งทําใหเกิดรดชาด และความรูสึกที่ดี คาดหวังวาจะทําใหเกดิการเรียนรูอยางอยางที่นาตื่นเตน ประหลาดใจ

8. แสดงความชิ่นชมในประสบการณที่เขาเลาอยางจริงใจ

คิดบวก มองบวก เห็นบวก พูดบวก เมื่อลงมือทําก็เลยบวกตามไปดวย !!!!!!!

คิดในทางบวก

“พลังของการตั้งคาํถามที่เปนตนตอแหงปญญาและสัมมาทิฐิ”

√ ใครก็ตามทีต่ั้งคําถามจะเปนผูช้ีนําแนวทางและมีพลังของผูนําการเปลี่ยนแปลง (โปรดพิจารณาความแตกตางระหวางการถามหัวหนาตํารวจ เกี่สวกับอาชยากรรมกับการรักษาความปลอดภัยของชุมชน)

16

Page 17: Appreciative Inquiry : สุนทรียปรัศนี ศิลปะแห่งการตั้งคำถามเพื่อเสริมสร้างพลังชุมชน

√ ภาพลักษณแหงอนาคตนั้นมีอิทธิพล เราสามารถเคลื่อนไปในทิศทางที่เราสรางจินตนาการ √ ภาพลักษณแหงอนาคตและการสนทนาที่เปนลบนั้นทําใหเราสิ้นหวังและออนแอทั้งกายและใจ ในทางกลับกนั ภาพลักษณแหงอนาคตและการสนทนาที่เปนบวกนัน้ก็ทําใหเราเตม็เปยมไปดวยความหวังและเขมแข็ง มันสามารถนําเราไปในทิศทางที่เราประสพความสําเร็จได

√ การสนทนาวิสาสะในทางบวกนัน้มีอิทธิพลตอสุขภาพจิต และจําเปนที่พวกเราตองไดรับการฝกหัด ในชีวติประจําวันของเรานั้นแวดลอมดวยเหตุการณและถอยคําที่เปนลบ มันบั่นทอนทั้งพลังกายและพลังจิตเราจึงตองแทนทีม่ันดวยการสรางความเชื่อมัน่ใหกับตัวเอง และผูคนในชมุชนดวย

√ ภาพลักษณที่เปนบวกของเยาวชนมีความสําคัญตอการกอรางสรางวัฒนธรรมทางสังคมใหม ในอันที่จะจุดประกายปลุกเราและกระตุนใหเยาวชนทําสิ่งดงีามใหกับสังคม ทุกวันนี้เราไดรับขอมูลขาวสารทั้งในทางวิทยุ โทรทัศนและในวงสนทนาที่สอใหเห็นวาเยาวชนเปนผูกอปญหา หรือกออาชญากรรมที่นากลัว เราจาํเปนตองมีตัวอยางของเยาวชนที่แสดงออกอยางสุนทรียะ มีความมุงมัน่ มานะพยายาม ทําตัวเองใหมคีุณคา และแสดงออกตอเพื่อนมนุษยอยางผูที่มีเกียรติ มศีักดิ์ศรีและประสพความสําเร็จ เหนือส่ิงอื่นใด เราตองเสริมสรางพลังเยาวชน ดวยการเปลี่ยนแปลงมุมมองของผูใหญที่มีตอเยาวชนเสียใหม

√ ระบบชีวิตของมนุษยตองการการเลื่อนไหวไปสูทิศทางที่เปนบวก ดุจดอกทานตะวนัที่หันหนาไปทางที่มีแสงตะวนัอยูเปนนิจ การตั้งคําถามที่เปนไปในทางบวกรวมทัง้การแสดงความรูสึกในทางชื่นชมอยางไมมีเงื่อนไข ทําใหเกดิพลังงาน เปรยีบประดจุแสงตะวนัทําใหพชืพันธมีชีวิตชวีา และเติบโต

√ คนหนุมสาวสามารถชวยใหสังคมที่พลังสดใสและมีภาวะแวดลอมเปนไปในทางบวก ส่ิงทั้งหลายทั้งปวงขึ้นอยูกับชวีติและทิศทางของผูใหญที่จะมองบวกและทําใหเกดิความเปนไปไดในทางบวก โดยเฉพาะอยางยิ่งโลกตองการภาวะผูนําและความกลาหาญของผูใหญเปนสําคัญ

√ การตราชื่อ การใหรางวัลและการถามหาสิ่งที่ตองการพบพานนัน้ กอใหเกดิผลลัพธอันเลอเลิศในการทํางานรวมกันอยางไมตองสงสัย มันสามารถเขาไปแทนที่การลําเลิก ตําหนิตเิตียน ประณาม พรํ่าบน ดวยความประสงคทาํใหเกิดผลลัพธที่ดีขึ้นไดอยางนาอัศจรรย ผูนําการเปลี่ยนแปลงตองทาํใหไดจนเปนนิสัย

“…..ระบบชีวิตของมนุษยเติบโตไดอยางงดงาม จากการตั้งคําถามที่ทรงพลัง”

เดวิด คูเปอรริเดอร และ ไดนา วิทนีย

17

Page 18: Appreciative Inquiry : สุนทรียปรัศนี ศิลปะแห่งการตั้งคำถามเพื่อเสริมสร้างพลังชุมชน

REFERENCES Barrett, F.J. (1998). “Creativity and Improvisation in Jazz and Organizations: Implications for Organizational Learning,” Organization Science, 9(5), 605-622. Brewer, J., & Hunter, A. (1989). Multi-method Research: A Synthesis of Styles, Newbury Park, California: Sage Publications. Cooperrider, D.L. & Srivastva, S. (1987). “Appreciative Inquiry in Organizational Life,” Research in Organizational Change and Development, I, 129-169. Cooperrider, D.L., (1990). “Positive Image, Positive Action: The Affirmative Basis of Organizing,” Appreciative Management and Leadership, San Francisco, CA: Jossey Bass. Cooperrider, D. L. & Whitney, D., (1999). Appreciative Inquiry: Collaborating for Change. San Francisco, California: Berrett-Koehler Communications, Inc. Cooperrider, D.L., Whitney, D., & Stavros, J.M. (2003). Appreciative Inquiry Handbook: The First in a Series of AI Workbooks for Leaders of Change. Cleveland, Ohio: Lakeshore Communications. Creswell, J. W. (1994). Research Design: Qualitative & Quantitative Approaches. Thousand Oaks, California: Sage Publications. Fry, R., Barrett, F., Seiling, J., & Whitney, D. (2002). Appreciative Inquiry and Organization Transformation, Reports From The Field. Westport, Connecticut: Quorum Books. Ludema, J.D., Cooperrider, D.L. & Barrett, F.J. (2001). Appreciative Inquiry: the Power of the Unconditional Positive Question. In P. Reason and H. Bradbury (Eds.), Handbook of Action Research: Participatory Inquiry and Practice. (pp.189-199). Thousand Oaks, California:Sage Publications. Strauss, A. & Corbin, J. (1990). Basics of Qualitative Research: Grounded Theory Procedures and Techniques. Newbury Park, California: Sage Publications. U.S. Department of Health and Human Services, National Center for Health Statistics. (1997, September). National Nursing Home Survey (ICPSR 6998). Ann Arbor, MI: ICPSR. Watkins, J. M. & Mohr, B. J. (2001). Appreciative Inquiry: Change at the Speed of Imagination. San Francisco, California: Jossey-Bass/Pfeiffer Vogt, E., Brown, J., and Issacs, D. (2003). The Art of Powerful Questions: Catalyzing Insight, Innovation, and Action. Yaeger, T.F. & Sorensen, Jr., P.F. (2001). What Matters Most in Appreciative Inquiry. In D. Cooperider, P. Sorensen, Jr., T. Yaeger, & D. Whitney (Eds.), Appreciative Inquiry: An Emerging Direction For Organization Development. (pp.129-142). Champaign, Illinois: Stipes Publishing L.L.C.

18