33
โดย ศาสตราจารย์พิเศษ ประมวล จันทร์ชีวะ คณะกรรมการประกันภัยทางทะเลและโลจิสติกส์ สมาคมประกันว นาศภัยไทย TGIA.28.03.15 Carrier’s Liability Policy for Cross Border Countries ความคุ ้มครองตามเอกสารแนบท้ายแบบ ขส.3 และ ขส.4

Carrier’s Liability Policy for · 2015-03-30 · ใช้คู่กับกรมธรรม์ประกันภัยความรับผิดของผู้ขนส่ง

  • Upload
    others

  • View
    1

  • Download
    0

Embed Size (px)

Citation preview

Page 1: Carrier’s Liability Policy for · 2015-03-30 · ใช้คู่กับกรมธรรม์ประกันภัยความรับผิดของผู้ขนส่ง

โดย

ศาสตราจารยพิ์เศษ ประมวล จนัทรชี์วะ คณะกรรมการประกนัภยัทางทะเลและโลจิสติกส ์

สมาคมประกนัวินาศภยัไทย TGIA.28.03.15

Carrier’s Liability Policy for Cross Border Countries

ความคุ้มครองตามเอกสารแนบท้ายแบบ ขส.3 และ ขส.4

Page 2: Carrier’s Liability Policy for · 2015-03-30 · ใช้คู่กับกรมธรรม์ประกันภัยความรับผิดของผู้ขนส่ง

ทีม่า : สนข. 2

Page 3: Carrier’s Liability Policy for · 2015-03-30 · ใช้คู่กับกรมธรรม์ประกันภัยความรับผิดของผู้ขนส่ง

ทีม่า : สนข. 3

Page 4: Carrier’s Liability Policy for · 2015-03-30 · ใช้คู่กับกรมธรรม์ประกันภัยความรับผิดของผู้ขนส่ง

ทีม่า : สนข. 4

Page 5: Carrier’s Liability Policy for · 2015-03-30 · ใช้คู่กับกรมธรรม์ประกันภัยความรับผิดของผู้ขนส่ง

ความตกลงว่าด้วยการขนส่งข้ามพรมแดน ในอนุภมิูภาคลุ่มแม่น ้าโขง

GMS Cross Border Transport Agreement: GMS CBTA

• ความตกลงท่ีครอบคลมุการขนส่งทัง้สินค้าและผูโ้ดยสาร

• ความตกลงท่ีครอบคลมุทัง้การขนส่งข้ามแดน ผา่นแดน และการขนส่งต่อเน่ืองหลายรปูแบบ

• ความตกลงท่ีรวมเรื่องการอ านวยความสะดวกในส่วนของพิธีการขนส่งมาไว้ด้วยกนั

• ความตกลงท่ีมีต้นแบบมาจากทางยโุรป

• ความตกลงท่ีได้รบัการสนับสนุนอย่างจริงจงัจาก ADB ที่มา: dlt.go.th

5

Page 6: Carrier’s Liability Policy for · 2015-03-30 · ใช้คู่กับกรมธรรม์ประกันภัยความรับผิดของผู้ขนส่ง

พ.ร.บ. การอ านวยความสะดวก ในการขนส่งข้ามพรมแดน พ.ศ. 2556

• ปัจจบุนัเพ่ือเป็นการรองรบัการด าเนินการแบบ SSI กระทรวงคมนาคม ได้จดัท าพระราชบญัญติัการอ านวยความสะดวกในการขนส่งข้ามพรมแดน พ.ศ. 2556 เรียบร้อยแลว้

• เพ่ือรองรบัพนัธกรณีท่ีประเทศไทยมีอยูต่ามความตกลงว่าด้วย การขนส่งข้ามพรมแดนในอนุภมิูภาคลุ่มแม่น ้าโขง (Greater Mekong Sub-region Crossborder Transport Agreement: GMS CBTA)

• เปรียบเสมือนเป็น พ.ร.บ. สะพาน คือ เป็นสะพานเพ่ือเช่ือมให้เจ้าหน้าท่ีของไทยสามารถไปปฏิบติังาน ณ ต่างประเทศ และรบัเจ้าหน้าท่ีของต่างประเทศมาท างานในประเทศไทย โดยเจ้าหน้าท่ียงัคงมีอ านาจหน้าท่ีตามกฎหมายของตนเองเหมือนเดิม

• “สถานท่ีท างานร่วมกนัของเจ้าหน้าท่ี” คือ พืน้ท่ีควบคมุร่วมกนั หรือ Common Control Area: CCA

• มีผลใช้บงัคบัวนัท่ี 30 มีนาคม 2556 ที่มา: dlt.go.th

6

Page 7: Carrier’s Liability Policy for · 2015-03-30 · ใช้คู่กับกรมธรรม์ประกันภัยความรับผิดของผู้ขนส่ง

สาระส าคญัของความตกลงฯ

• การยอมรบัยานพาหนะทางถนน - พวงมาลยัซ้าย-ขวา พาหนะเพ่ือการพาณิชย ์หรือ เพ่ือ

ส่วนตวั - น ้าหนัก ขนาด สดัส่วนของรถ เป็นไปตามระเบียบของ

ประเทศผูร้บั - แผน่ป้ายทะเบียนรถ เป็นภาษาองักฤษ และเลขอารบิก - การยอมรบัหนังสือรบัรองการตรวจสภาพรถ - ประกนัภยับคุคลท่ี 3 ภาคบงัคบั ให้ปฏิบติัตามเง่ือนไขของ

ประเทศผูร้บั

ที่มา: dlt.go.th

7

Page 8: Carrier’s Liability Policy for · 2015-03-30 · ใช้คู่กับกรมธรรม์ประกันภัยความรับผิดของผู้ขนส่ง

สาระส าคญัของความตกลงฯ

• การแลกเปล่ียนสิทธิการจราจรเพ่ือการพาณิชย ์- อนุญาตให้ประกอบการขนส่งระหว่างประเทศ แต่ห้าม

ประกอบการขนส่งในประเทศ (CABOTAGE)

- ยอมรบัใบอนุญาตประกอบการขนส่งระหว่างประเทศของประเทศสมาชิก

- ก าหนดปริมาณให้บริการ (จ านวนรถ) ในระยะแรก

(500 Permit/คนั)

- การก าหนดราคา เป็นไปตามกลไกตลาดเสรี

ที่มา: dlt.go.th

8

Page 9: Carrier’s Liability Policy for · 2015-03-30 · ใช้คู่กับกรมธรรม์ประกันภัยความรับผิดของผู้ขนส่ง

ความตกลงระหว่างประเทศด้านการขนส่งทางถนน ระดบัทวิภาคีของประเทศไทย (Bilateral Agreements)

1. ความตกลงว่าด้วยการขนส่งทางถนนระหว่างไทย-ลาว พ.ศ. 2542

ครอบคลมุการขนส่งสินค้าและผูโ้ดยสารทัง้กรณีข้ามแดนและผา่นแดน ซ่ึงมีผลท าให้ยานพาหนะของไทยและลาวสามารถเดินทางเข้าไปในดินแดนของอีกฝ่ายได้ หรือผา่นแดนไปยงัประเทศท่ีสามท่ีมีความตกลงกบัประเทศคู่สญัญาได้

ไม่ครอบคลมุถึงการขนส่งสินค้าและผูโ้ดยสารระหว่างจดุภายในดินแดนของประเทศภาคีคู่สญัญา (Cabotage) และการขนส่งสินค้าอนัตรายหรือสินค้าต้องห้ามตามกฎหมาย

ที่มา: dlt.go.th

9

Page 10: Carrier’s Liability Policy for · 2015-03-30 · ใช้คู่กับกรมธรรม์ประกันภัยความรับผิดของผู้ขนส่ง

ความตกลงระหว่างประเทศด้านการขนส่งทางถนน ระดบัทวิภาคีของประเทศไทย (Bilateral Agreements)

ความตกลงว่าด้วยการขนส่งทางถนนระหว่างไทย-ลาว (ต่อ)

– กฎหมายภายในของประเทศภาคีคู่สญัญายงัใช้บงัคบัแก่การขนส่งภายในประเทศอยู่

– เปิดเสรีผูป้ระกอบการขนส่งทางถนนไทย-ลาว

– มีการยอมรบัการประกอบการขนส่ง การจดทะเบียนยานพาหนะ และการตรวจสภาพรถระหว่างกนั

– การก าหนดราคาค่าขนส่งสินค้าเป็นไปตามกลไกตลาด แต่รฐับาลของทัง้สองประเทศจะเข้าไปควบคมุดแูลในการก าหนดอตัราค่าโดยสาร

– พาหนะท่ีอนุญาตให้มีการใช้ในการขนส่งได้ คือ รถบรรทกุเด่ียว (Rigid vehicle) และรถท่ีมีการพ่วง (Articulated vehicle or semi-trailer)

ที่มา: dlt.go.th

10

Page 11: Carrier’s Liability Policy for · 2015-03-30 · ใช้คู่กับกรมธรรม์ประกันภัยความรับผิดของผู้ขนส่ง

ความตกลงระหว่างประเทศด้านการขนส่งทางถนน ระดบัทวิภาคีของประเทศไทย (Bilateral Agreements)

ปัจจบุนัได้มีการเปิดเส้นทางการเดินรถโดยสารระหว่างประเทศไทย-ลาวแล้วทัง้ส้ินจ านวน 4 เส้นทาง ได้แก่

1. หนองคาย-เวียงจนัทน์

2. อดุรธานี-เวียงจนัทน์

3. อบุลราชธานี-ปักเซ

4. มกุดาหาร-สะหวนันะเขต รวมถึงรถ Shuttle Bus ท่ีว่ิงระหว่างเชิงสะพานมิตรภาพแห่งท่ี 2

5. ขอนแก่น-เวียงจนัทน์ (14 ก.พ. 51)

• รถบรรทกุไม่ประจ าทาง (70) 227 ราย 8911 คนั

• รถบรรทกุส่วนบคุคล (80 ) 84 ราย 861 คนั

• รถโดยสารไม่ประจ าทาง (30) 61 ราย 199 คนั

• รถโดยสารส่วนบคุคล (40) 2 ราย 3 คนั

ที่มา: dlt.go.th

11

Page 12: Carrier’s Liability Policy for · 2015-03-30 · ใช้คู่กับกรมธรรม์ประกันภัยความรับผิดของผู้ขนส่ง

ความตกลงระหว่างประเทศด้านการขนส่งทางถนน ระดบัทวิภาคีของประเทศไทย (Bilateral Agreements)

บนัทึกความเข้าใจระหว่างไทย-มาเลเซียว่าด้วยการขนส่งสินค้าเน่าเสียง่ายผา่นแดนโดยทางถนนจากประเทศไทยผา่นมาเลเซียไปยงัสิงคโปร ์ รฐับาลมาเลเซียยินยอมให้มีการขนส่งเฉพาะสินค้าเน่าเสียงา่ยผา่นแดน

โดยทางถนนจากประเทศไทยผา่นมาเลเซียเพ่ือไปยงัสิงคโปรไ์ด้ โดยไม่ต้องเสียภาษีอากร ค่าธรรมเนียม หรือค่าภาระอ่ืนๆ

“สินค้าเน่าเสียง่าย” หมายถึง ปลา สตัวน์ ้าจ าพวกท่ีมีเปลือกห่อหุ้มตวั หอย ผลไม้ ผกัท่ีสด แช่เยน็ หรือแช่แขง็ และเน้ือสตัวแ์ช่เยน็หรือแช่แขง็

มี quota 30,000 ตนั ต่อปี หากเกินจ านวนดงักล่าวต้องเสียภาษีตามปกติ ผูป้ระกอบการขนส่งสินค้าเน่าเสียผา่นแดนท่ีจะได้รบัสิทธิขนส่งผา่นแดน

และสินค้าได้รบัยกเว้นภาษีศกุากรจะต้องได้รบัอนุญาตจากหน่วยงานของรฐัท่ีรบัผิดชอบของ ทัง้ไทยและมาเลเซีย

12 ที่มา: dlt.go.th

Page 13: Carrier’s Liability Policy for · 2015-03-30 · ใช้คู่กับกรมธรรม์ประกันภัยความรับผิดของผู้ขนส่ง

เอกสารแนบท้าย แบบ ขส.3 (น.68-79) เพ่ือขยายความคุ้มครอง มีผลท าให้คุ้มครองความรบัผิด

จากการขนส่งทัง้ในและนอกประเทศ

ใช้คู่กับกรมธรรม์ประกันภัยความรับผิดของผู้ขนส่ง (Carrier’s Liability Policy)

ใช้ตารางกรมธรรมป์ระกนัภยัร่วมกนัได้

ขส.3 มีตารางเพ่ิมเติมเพ่ือระบรุายละเอียดเพ่ิม

ควรใช้เอกสารแนบท้าย ขส.3 ร่วมกบั ขส.4

ควรแนะน าให้ผู้เอาประกนัภยัใช้ใบตราส่ง (Consignment note) เม่ือขนส่งข้ามแดน

13

Page 14: Carrier’s Liability Policy for · 2015-03-30 · ใช้คู่กับกรมธรรม์ประกันภัยความรับผิดของผู้ขนส่ง

แบบ ขส.3 ข้อ 1 ขยายความคุ้มครองการขนส่งทางถนนระหว่าง

ประเทศตามความตกลง GMS โดยมีไทยเป็นจดุเกาะเก่ียว หรอืตามความตกลงของคู่สญัญา (ม.4 / น.95)

ใช้ไม่ได้กบัการขนส่งทางรถไฟ (กรณีต่างกบัข้อ 2.1 ของกรมธรรม ์Carrier’s liability)

ใช้ไม่ได้กบัการขนส่งทางน ้าตามข้อ 2.3 ของ กรมธรรม ์Carrier’s liability

ไม่ใช้กบัการขนส่งทางถนนภายในประเทศ

14

Page 15: Carrier’s Liability Policy for · 2015-03-30 · ใช้คู่กับกรมธรรม์ประกันภัยความรับผิดของผู้ขนส่ง

แบบ ขส.3 ข้อ 2 แก้ข้อ 2.1 และ 2.2 ในหมวดท่ี 2 เดิม

ปัญหาการ tranship ในทางปฏิบติั เพ่ือไม่ให้กรมธรรมป์ระกนัภยัเป็นอุปสรรคต่อธุรกิจและคบัแคบแต่มีเ ง่ือนไขว่าการ tranship ต้องท านอกประเทศไทย / รถท่ีมารบัช่วงขนต่อต้องจดทะเบียนถกูต้อง / คนขบัมีใบอนุญาตตามกฎหมาย

ลกัษณะของการ tranship ท่ียอมให้ได้ / 2.1 กรณีหวัรถลากโดยแท้ / 2.2 รถบรรทกุ + รถพ่วง

15

Page 16: Carrier’s Liability Policy for · 2015-03-30 · ใช้คู่กับกรมธรรม์ประกันภัยความรับผิดของผู้ขนส่ง

แบบ ขส.3 ข้อ 4 เพ่ิมหน้าท่ีผูเ้อาประกนัภยั 4.1 – ให้ความรว่มมือ

4.2 – เพื่อรองรบั ม.15 (ก่อนของไปถึงสถานท่ีส่งมอบ) และ ม.25 ม.26 (อ านาจในการสัง่ผูข้นส่ง) พ.ร.บ. การรบัขนของทางถนนระหว่างประเทศ พ.ศ. 2556 / บริษทัคิดเบื้ยประกนัภยัเพ่ิมหรือเพ่ิมความรบัผิดส่วนแรก / อาจไม่รบัพิจารณา claim

(แบบ ขส.4) • เพ่ือรองรับมาตรา 16 (ของไปถึงสถานท่ีส่งมอบแล้ว)

พ.ร.บ. การขนของทางถนนระหว่างประเทศ พ.ศ. 2556 16

Page 17: Carrier’s Liability Policy for · 2015-03-30 · ใช้คู่กับกรมธรรม์ประกันภัยความรับผิดของผู้ขนส่ง

แบบ ขส.3 ข้อ 3 ข้อ 5 และข้อ 6 ข้อ 3 – เพ่ิมค าว่า “ปศุสตัว์” (น.66) (เพ่ิมเติมจาก

กรมธรรมข์้อ 2.7 หมวดท่ี 3)

ข้อ 5 – รองรบั ม.34 วรรคท้ายของ พ.ร.บ.ฯ ผูข้นส่งต้องรบัผิดค่าภาษีอากรด้วย / แต่บริษัทรบัผิดไม่เกิน limit per accident หรือ per vehicle หรือ aggregate แล้วแต่จ านวนใดจะน้อยกว่า

ข้อ 6 – การยกเว้นไม่คุ้มครองการสบัเปล่ียนทะเบียน (เพ่ิมเติมจากข้อยกเว้นในกรมธรรม์ ข้อ 9 หมวดท่ี 3 (น.15) – การปลอมแปลงเลขตวัถงั / ทะเบียนรถ)

17

Page 18: Carrier’s Liability Policy for · 2015-03-30 · ใช้คู่กับกรมธรรม์ประกันภัยความรับผิดของผู้ขนส่ง

ประโยชน์ท่ีได้รบัจากการใช้แบบ ขส.3 และ Consignment Note เม่ือขนส่งข้ามแดน กฎหมายท่ีใช้กบัการขนส่งทางถนนภายในประเทศกบัต่างประเทศ

เป็นคนละฉบบั

กรมธรรมไ์ม่คุ้มครองความรบัผิดจากการขนส่งทางถนนระหว่างประเทศโดยไม่มีการขยายความคุ้มครองตามแบบ ขส.3 (ข้อ 8)

ใบตราส่งตามแบบ Consignment Note เป็นมาตรฐานของ GMS

ใบตราส่งตาม พ.ร.บ.ฯ แต่ละฉบบัท าหน้าท่ีไม่เหมือนกนั

ทัง้ผู้รบัประกนัภยัและผู้เอาประกนัภยัได้ประโยชน์จากการจ ากดัความรบัผิดตาม พ.ร.บ.ฯ ร่วมกนั

ข้อสงัเกตเรื่อง Consignment Note 18

Page 19: Carrier’s Liability Policy for · 2015-03-30 · ใช้คู่กับกรมธรรม์ประกันภัยความรับผิดของผู้ขนส่ง

เปรียบเทียบ ป.พ.พ. กบั พ.ร.บ.ฯ (น.75-79)

ขอบเขตการบงัคบัใช้ (น.75)

ใบตราส่ง (น.76) – การออกใบตราส่ง / จ านวน / การเวนคืน – อ านาจในการสัง่ผูข้นส่ง

พืน้ฐานความรบัผิดของผูข้นส่ง – การค านวณค่าเสียหาย

ข้อยกเว้นความรบัผิด – ป.พ.พ. 3 ข้อ / พ.ร.บ.ฯ 10 ข้อ

การจ ากดัความรบัผิด – ป.พ.พ. – contractual / พ.ร.บ. – statutory

19

Page 20: Carrier’s Liability Policy for · 2015-03-30 · ใช้คู่กับกรมธรรม์ประกันภัยความรับผิดของผู้ขนส่ง

ประกาศในราชกิจจานุเบกษาเม่ือ 17 ธนัวาคม 2556

มีผลใช้บงัคบัเมื่อพ้น 90 วนั เร่ิมใช้วนัท่ี 17 มีนาคม 2557

จะไม่น าบทบญัญติัเร่ืองการรบัขนของตาม ป.พ.พ. มาใช้การรบัขนของทางถนนท่ีอยู่ภายใต้บงัคบั พ.ร.บ. ฉบบัน้ี

พระราชบญัญติั การรบัขนของทางถนนระหว่างประเทศ

พ.ศ. 2556

20

Page 21: Carrier’s Liability Policy for · 2015-03-30 · ใช้คู่กับกรมธรรม์ประกันภัยความรับผิดของผู้ขนส่ง

ใช้บงัคบักบัการรบัขนของทางถนนด้วยรถ (ม.4) • จากสถานท่ีรบัมอบของในราชอาณาจกัรไปยงัสถานท่ีส่งมอบของนอก

ราชอาณาจกัร

• จากสถานท่ีรบัมอบของนอกราชอาณาจกัรมายงัสถานท่ีส่งมอบของในราชอาณาจกัร

• จากสถานท่ีรบัมอบของในประเทศหน่ึงไปยงัสถานท่ีส่งมอบของในอีกประเทศหน่ึงโดยผา่นเข้ามาในราชอาณาจกัร

• กรณีท่ีคู่สญัญาฝ่ายหน่ึงฝ่ายใดมีสญัชาติไทยหรือเป็นนิติบุคคลตามกฎหมายไทย เว้นแต่คู่สญัญาระบุให้ใช้กฎหมายของประเทศอ่ืนหรือกฎหมายระหว่างประเทศ

• กรณีท่ีมีการขนส่งทางอ่ืนด้วย ไม่ว่าจะเป็นทางรถไฟ ทางน ้า หรือทางอากาศ โดยไม่มีการขนถ่ายของลงจากรถ

ขอบเขตการใช้บงัคบั : พ.ร.บ.ฯ

21

Page 22: Carrier’s Liability Policy for · 2015-03-30 · ใช้คู่กับกรมธรรม์ประกันภัยความรับผิดของผู้ขนส่ง

ไม่ใช้บงัคบักบั

• การรบัขนไปรษณียภ์ณัฑร์ะหว่างประเทศ (ม.4 วรรคสอง)

• การสญูหาย / เสียหาย / ส่งมอบชกัช้าท่ีเกิดขึ้นในระหว่างการขนส่งทางอ่ืน หากผู้ขนส่งพิสูจน์ได้ว่าการสูญหาย / เสียหาย / ส่งมอบชกัช้าไม่ได้เกิดจากการกระท า / ละเว้นหน้าท่ีของผูข้นส่ง แต่เกิดจากเหตุอ่ืนซ่ึงอาจเกิดขึน้ได้กบัการขนส่งทางอ่ืน ให้ความรบัผิดของผู้ขนส่งเป็นไปตามกฎหมายท่ีใช้กบัการขนส่งรปูแบบอ่ืนนัน้ (ม.5)

• สญัญารบัขนของทางถนนระหว่างประเทศท่ีผูข้นส่งได้รบัมอบของไว้แล้วก่อนวนัท่ี พ.ร.บ. น้ีใช้บงัคบั (ม.44)

ขอบเขตการใช้บงัคบั : พ.ร.บ.ฯ

22

Page 23: Carrier’s Liability Policy for · 2015-03-30 · ใช้คู่กับกรมธรรม์ประกันภัยความรับผิดของผู้ขนส่ง

ผูส่้ง – ผูเ้ป็นคู่สญัญากบัผูข้นส่งในสญัญารบัขนของทางถนนระหว่างประเทศ

ผูร้บัตราส่ง – ผูซ่ึ้งมีช่ือระบไุว้ในใบตราส่งให้เป็นผูร้บัตราส่ง/ผูมี้สิทธิในการรบัของจากผูข้นส่ง

ผูข้นส่ง – ผูป้ระกอบธรุกิจการรบัขนของทางถนนเพ่ือค่าระวาง โดยท าสญัญารบัขนของทางถนนระหว่างประเทศกบัผูส่้ง

ผูข้นส่งช่วง – บุคคลท่ีผูข้นส่งมอบหมายให้ขนของ ไม่ว่าช่วงใดช่วงหน่ึง และรวมถึงลูกจ้าง ตวัแทนของผูข้นส่งช่วง และบุคคลอ่ืนท่ีผูข้นส่งช่วงมอบหมายช่วงต่อให้ท าการรบัขนของ ไม่ว่าจะมีการมอบหมายช่วงกนัก่ีทอดกต็าม

บคุคลท่ีเก่ียวข้องกบัการขนส่ง : พ.ร.บ.ฯ (ม.3)

23

Page 24: Carrier’s Liability Policy for · 2015-03-30 · ใช้คู่กับกรมธรรม์ประกันภัยความรับผิดของผู้ขนส่ง

เอกสารท่ีผู้ขนส่งออกให้ผู้ส่งเพ่ือเป็นหลกัฐานแห่งสญัญารบัขนของทางถนนระหว่างประเทศ และเป็นหลกัฐานในการรบัมอบของ (ม.3)

ผูข้นส่งต้องออกใบตราส่งให้ผูส่้ง (ม.9)

แต่หากผู้ขนส่งไม่ออกใบตราส่ง / ใบตราส่งบกพร่องหรือสูญหาย ก็ไม่กระทบต่อความมีอยู่ / ความถกูต้องของสญัญารบัขน และให้อยู่ภายใต้บงัคบั พ.ร.บ. ฉบบัน้ี (ม.9 วรรคสอง)

ต้องจดัท าเป็นต้นฉบบัจ านวน 3 ฉบบั มอบให้ผู้ส่ง + ติดไปกบัของ + เกบ็ไว้ท่ีผูข้นส่ง (ม.10 วรรคหน่ึง)

กรณีมีการบรรทุกของไว้ในรถต่างคนั / เป็นของต่างชนิดกนั / แบ่งของท่ีขนส่งออกเป็นหลายส่วน ผูส่้งมีสิทธิเรียกให้ผู้ขนส่งออกใบตราส่งส าหรบัรถแต่ละคนั / ของแต่ละชนิด / แต่ละส่วนแห่งของท่ีขนส่งได้ (ม.11)

ใบตราส่ง : พ.ร.บ.ฯ

24

Page 25: Carrier’s Liability Policy for · 2015-03-30 · ใช้คู่กับกรมธรรม์ประกันภัยความรับผิดของผู้ขนส่ง

แจ้งและถามเอาค าสัง่จากผู้มีสิทธิในการจดัการของ หากก่อนของจะไปถึงสถานท่ีส่งมอบ การรบัขนของกลายเป็นพ้นวิสยั / ยงัสามารถด าเนินการต่อไปได้ แต่ต้องด าเนินการแตกต่างไปจากสัญญา (ม.15 วรรคหน่ึง)

ด าเนินการเท่าท่ีจ าเป็นและเกิดประโยชน์แก่ผู้มีสิทธิในการจดัการของ หากผูข้นส่งไม่สามารถแจ้งและถามเอาค าสัง่จากผู้มีสิทธิในการจดัการของ / ถามแล้วแต่ไม่ได้รบัค าสัง่ภายในเวลาอนัควร (ม.15 วรรคสอง)

หน้าท่ีของผูข้นส่ง : พ.ร.บ.ฯ

25

Page 26: Carrier’s Liability Policy for · 2015-03-30 · ใช้คู่กับกรมธรรม์ประกันภัยความรับผิดของผู้ขนส่ง

แจ้งและถามเอาค าสัง่จากผู้ส่ง หากของไปถึงสถานท่ีส่งมอบ แต่มีเหตทุ าให้ผู้ขนส่งไม่สามารถส่งมอบของให้ผู้รบัตราส่งได้ / ผู้รบัตราส่งปฏิเสธไม่ยอมรบัมอบของ และให้น าม.15 วรรคสอง มาใช้โดยอนุโลม (ม.16 วรรคหน่ึง)

• ในระหว่างท่ีผู้ขนส่งยงัไม่ได้รบัค าสัง่จากผู้ส่ง ผู้รบัตราส่งอาจเรียกให้ผู้ขนส่งส่งมอบของแก่ตนได้ แม้ผู้รบัตราส่งจะได้ปฏิเสธไม่ยอมรบัมอบของมาก่อนแล้วกต็าม (ม.16 วรรคสอง)

• หากเหตุท่ีท าให้ผู้ขนส่งไม่สามารถส่งมอบของได้เกิดขึ้นภายหลงัจากท่ีสิทธิในการจดัการของผู้ส่งส้ินสุดลงตาม ม.26 (1) ผู้รบัตราส่งมีสิทธิสัง่ให้ผู้ขนส่งส่งมอบของแก่บุคคลอ่ืน และให้ถือว่าผู้รบัตราส่งเป็นผู้ส่งและบุคคลอ่ืนเป็นผู้รบัตราส่ง และให้น า ม.16 วรรคหน่ึงและวรรคสอง มาใช้โดยอนุโลม (ม.16 วรรคสาม)

หน้าท่ีของผูข้นส่ง : พ.ร.บ.ฯ

26

Page 27: Carrier’s Liability Policy for · 2015-03-30 · ใช้คู่กับกรมธรรม์ประกันภัยความรับผิดของผู้ขนส่ง

แจ้งผู้ส่งโดยทนัทีเพ่ือท าความตกลงใหม่ กรณีท่ีผู้ส่งสัง่ให้ผู้ขนส่งเปล่ียนแปลงการขนส่งแต่การเปล่ียนแปลงนัน้ไม่อยู่ในวิสยัท่ีสามารถท าได้ หากไม่สามารถตกลงกนัได้ ให้ส่งของกลบัคืนสถานท่ีรบัมอบ (ม.25 วรรคสอง)

สิทธิของผูข้นส่ง : พ.ร.บ.ฯ ได้รบัค่าใช้จ่ายอนัเกิดจากการแจ้งและถามเอาค าสัง่จากผู้มี

สิทธิในการจดัการของ และการปฏิบติัตามค าสัง่ ในกรณีท่ีการรบัขนตามสญัญากลายเป็นพ้นวิสยัก่อนของถึง หรือเม่ือไปถึงแล้ว ส่งมอบของไม่ได้ (ม.18)

หน้าท่ีของผูข้นส่ง : พ.ร.บ.ฯ

27

Page 28: Carrier’s Liability Policy for · 2015-03-30 · ใช้คู่กับกรมธรรม์ประกันภัยความรับผิดของผู้ขนส่ง

ผู้ส่งมีสิทธิสัง่ให้ผู้ขนส่งเปล่ียนแปลงการขนส่ง โดยหยุดการขนส่ง / ส่งของกลบัคืนสถานท่ีรบัมอบ / เปล่ียนสถานท่ีส่งมอบ / ส่งมอบของแก่ผู้รบัตราส่งอ่ืน เว้นแต่ผู้ส่งได้ก าหนดไว้ในใบตราส่ง ให้ผู้รบัตราส่งเป็นผู้มีสิทธิในการจดัการของนับแต่เวลาท่ีมีการออกใบตราส่ง (ม.25)

สิทธิในการจดัการของผูส่้งส้ินสดุเม่ือ (ม.26) 1) ของไปถึงสถานท่ีส่งมอบ + ผูร้บัตราส่งเรียกให้ผู้ขนส่งส่งมอบ

ของ / เรียกให้ผู้ขนส่งส่งมอบใบตราส่งฉบบัท่ี 2 และได้รบัมอบใบตราส่งแล้ว

2) มีการส่งมอบของให้ผูร้บัตราส่ง เม่ือสิทธิของผูส่้งส้ินสดุลง ให้ผูข้นส่งปฏิบติัตามค าสัง่ของผูร้บัตราส่ง

สิทธิในการสัง่ผูข้นส่ง : พ.ร.บ.ฯ

28

Page 29: Carrier’s Liability Policy for · 2015-03-30 · ใช้คู่กับกรมธรรม์ประกันภัยความรับผิดของผู้ขนส่ง

ข้อยกเว้นความรบัผิดตามกฎหมายมี 10 เหต ุ(ม.32 และ ม.33) 1) เหตสุดุวิสยั 2) สภาพแห่งของนัน้เอง 3) การกระท าโดยจงใจหรือประมาทเลินเล่อของผู้ส่งหรือ

ผูร้บัตราส่ง 4) การปฏิบติัตามค าสัง่ของผู้ส่งหรือผู้รบัตราส่ง แล้วแต่

กรณี เว้นแต่เป็นผลจากการกระท าหรือละเว้นการปฏิบติัหน้าท่ีโดยมิชอบ หรือความประมาทเลินเล่อของผูข้นส่งหรือบคุคลท่ีผูข้นส่งต้องร่วมรบัผิดตาม ม.30

ข้อยกเว้นความรบัผิดผูข้นส่ง : พ.ร.บ.ฯ

29

Page 30: Carrier’s Liability Policy for · 2015-03-30 · ใช้คู่กับกรมธรรม์ประกันภัยความรับผิดของผู้ขนส่ง

5) ผู้ส่งได้มอบของโดยไม่บรรจุหีบห่อ หรือสภาพหีบห่อบกพร่องหรือไม่เหมาะสม อนัท าให้ของนัน้เส่ือมสภาพหรือเสียหาย

6) ผู้ส่งได้มอบของโดยไม่ท าเครื่องหมาย หรือไม่ระบุจ านวนหีบห่อให้ชดัเจนหรือให้ครบถ้วน

7) การใช้รถท่ีไม่มีวสัดุคลุมสินค้า ซ่ึงได้ตกลงและได้จดแจ้งในใบตราส่ง เว้นแต่ปรากฏว่าของนัน้มีปริมาณลดลงอย่างผิดปกติหรือของท่ีเป็นหีบห่อสญูหาย

8) การยกขน การบรรทุก การจดัเรียง หรือการขนถ่ายของซ่ึงได้กระท าโดยผู้ส่ง ผู้รบัตราส่ง หรือตัวแทนของบุคคลดงักล่าว

ข้อยกเว้นความรบัผิดผูข้นส่ง : พ.ร.บ.ฯ

30

Page 31: Carrier’s Liability Policy for · 2015-03-30 · ใช้คู่กับกรมธรรม์ประกันภัยความรับผิดของผู้ขนส่ง

9) การขนส่งของ ท่ี ง่ายต่อความสูญหาย หรือเ สียหาย โดยเฉพาะอย่างย่ิงจากการแตกหกั เป็นสนิม เน่าเป่ือย แห้ง รัว่ หรือการกระท าของแมลงหรือสตัวอ่ื์น ทัง้น้ี ถ้าการขนส่งนั้นได้ใช้รถท่ีมีอุปกรณ์พิเศษเพ่ือควบคุมอุณหภูมิหรือความช้ืนของอากาศ ผูข้นส่งต้องพิสูจน์ด้วยว่าตนได้ปฏิบติัตามหน้าท่ีท่ีพึงกระท าในการใช้และบ ารงุรกัษาอปุกรณ์นัน้ รวมทัง้ตามค าสัง่พิเศษท่ีตนได้รบัมาครบถ้วนแล้ว

10) การรบัขนปศุสตัว์ โดยผู้ขนส่งต้องพิสูจน์ว่าตนได้ปฏิบติัตามหน้าท่ีท่ีพึงกระท า รวมทัง้ตามค าสัง่พิเศษท่ีตนได้รบัมาครบถ้วนแล้ว

ข้อยกเว้นความรบัผิดผูข้นส่ง : พ.ร.บ.ฯ

31

Page 32: Carrier’s Liability Policy for · 2015-03-30 · ใช้คู่กับกรมธรรม์ประกันภัยความรับผิดของผู้ขนส่ง

Statutory Limitation (ม.36)

1) กรณีของสูญหายหรือเสียหาย ให้จ ากดัความรบัผิดของผู้ขนส่งไว้ไม่เกินกิโลกรมัละ 8.33 หน่วยสิทธิพิเศษถอนเงินต่อน ้าหนักทัง้หมดแห่งของท่ีสญูหายหรอืเสียหายนัน้

2) กรณีส่งมอบชกัช้า ให้จ ากดัความรบัผิดของผู้ขนส่งไว้ไม่เกินค่าธรรมเนียมการรบัขน

ข้อจ ากดัความรบัผิดผูข้นส่ง : พ.ร.บ.ฯ

32

Page 33: Carrier’s Liability Policy for · 2015-03-30 · ใช้คู่กับกรมธรรม์ประกันภัยความรับผิดของผู้ขนส่ง

ศาลทรพัยสิ์นทางปัญญาและการค้าระหว่างประเทศ (ม.39) หรือศาลในประเทศท่ีมีความตกลงกบัประเทศไทยเก่ียวกบั

การรบัขนของทางถนนระหว่างประเทศ ซ่ึงเป็นศาลท่ีมีเขตอ านาจพิจารณาคดีดงักล่าวตามกฎหมายของประเทศนัน้ได้ ดงัน้ี

1) ศาลในประเทศท่ีเป็นจดุเร่ิมต้น / จดุปลายทางของการรบัขนของ

2) ศาลในประเทศท่ีของสญูหายหรือเกิดความเสียหายขึน้ 3) ศาลในประเทศท่ีเป็นท่ีตัง้ส านักงานใหญ่ของผูข้นส่ง 4) ศาลในประเทศท่ีโจทกมี์ภมิูล าเนา

ศาลท่ีมีอ านาจพิจารณาคดี : พ.ร.บ.ฯ

33