90
ศักยภาพชุมชนในการจัดการการทองเที่ยวเชิงนิเวศ กรณีศึกษา : ชุมชนหวยยาง ตําบลเหลาโพนคอ อําเภอโคกศรีสุพรรณ จังหวัดสกลนคร สุนารี หมื่นหาวงศ พัฒนานิพนธเลมนี้เปนสวนหนึ่งของการศึกษารายวิชาฝกงานการพัฒนาชุมชน Practicum in Community Development (0109411) ภาคเรียนที1 ปการศึกษา 2554 มหาวิทยาลัยมหาสารคาม

ecotourism management

Embed Size (px)

DESCRIPTION

การจัดการการท่องเที่ยวเชิงนิเวศ

Citation preview

Page 1: ecotourism management

ศักยภาพชุมชนในการจัดการการทองเที่ยวเชิงนิเวศ กรณีศึกษา : ชุมชนหวยยาง ตําบลเหลาโพนคอ อําเภอโคกศรีสุพรรณ จังหวัดสกลนคร

สุนารี หมื่นหาวงศ

พัฒนานิพนธเลมนี้เปนสวนหนึ่งของการศึกษารายวิชาฝกงานการพัฒนาชุมชน

Practicum in Community Development (0109411) ภาคเรียนที่ 1 ปการศึกษา 2554

มหาวิทยาลัยมหาสารคาม

Page 2: ecotourism management
Page 3: ecotourism management

ประกาศคุณูปการ

พัฒนานิพนธฉบับนี้สําเร็จลุลวงไดดวยความอนุเคราะหอยางสูงจากทานอาจารยสายไหม ไชยศิรินทร ซ่ึงเปนอาจารยท่ีปรึกษา ท่ีคอยใหคําช้ีแนะในส่ิงท่ีเปนประโยชนตองานวิจัย และขอขอบพระคุณ คุณภักดี พรมเมือง นักวิชาการพัฒนาชุมชนชํานาญการ สํานักงานพัฒนาชุมชนโคกศรีสุพรรณ จังหวัดสกลนคร อาจารยภาคสนามเปนอยางสูงท่ีคอยใหคําแนะนําและชวยเหลือในการฝกงานภาคสนาม ซ่ึงทานไดคอยแนะนําในเรื่องตางๆใหกับผูศึกษาตลอดมา ขอกราบขอบพระคุณเปนอยางสูงไว ณ ท่ีนี้ดวย

ขอขอบพระคุณสํานักงานพัฒนาชุมชนโคกศรีสุพรรณ จังหวัดสกลนคร ท่ีใหนิสิตฝกงานไดรับประสบการณท่ีดีในการฝกงานครั้งนี้ ใหการตอนรับนิสิตฝกงานเปนอยางด ี

ขอขอบพระคุณคุณสิทธิชัย ธนะคําดี นายกอบต.เหลาโพนคอ สิบเอกมีชัย อุนวิเศษ ปลัดอบต.เหลาโพนคอ คุณเกียรติศักดิ์ ขันทีทาว นักวิชาการเกษตร คุณรัตนะ คําโสมศรี หัวหนาสํานักปลัด คุณอนุชา ไฝทาคํา นักพัฒนาชุมชน คุณดารุณี พลราชม นักวิชาการศึกษาและเจาหนาท่ีองคการบริหารสวนตําบลเหลาโพนคอทุกทานท่ีคอยใหขอมูล คําแนะนํา รวมถึงใหการตอนรับนิสิตฝกงานเปนอยางด ี ขอขอบพระคุณพอวิกรานต โตะชาลี ท่ีคอยใหขอมูล คําแนะนํา ท่ีพักกับผูศึกษา ซ่ึงชาวบานบานหวยยางเหนือ หมูท่ี 9 บานหวยยาง หมูท่ี 6 นั้นการตอนรับแกผูศึกษาดวยดีเสมอมา ขอขอบพระคุณชาวบานทุกๆคน

ขอขอบพระคุณอาจารยประจําภาควิชาสังคมวิทยาและมานุษยวิทยาทุกทานท่ีคอยอบรมส่ังสอน คอยช้ีแนะมาตลอด

ขอกราบขอบพระคุณคุณพอผัน หม่ืหาวงศ บิดา คุณแมหนูจิตร หม่ืนหาวงศ มารดาของผูศึกษา สมาชิกในครอบครัว ท่ีคอยเปนกําลังใจใหแกผูศึกษาทําใหการศึกษาครั้งนี้สําเร็จไปดวยดี ขอบคุณเพ่ือนๆนิสิตสาขาการพัฒนาชุมชน ช้ันปท่ี 4 ทุกคนท่ีชวยเหลือสนบัสนุนท้ังแรงกายแรงใจและกําลังสติปญญาตลอดมา

ประโยชนและคุณคาของพัฒนานิพนธฉบับนี้ ผูศึกษาขอมอบใหแกคุณพอผัน หม่ืหาวงศ บิดาของผูศึกษา คุณแมหนูจิตร หม่ืนหาวงศ มารดาผูใหกําเนิด สมาชิกในครอบครัวหม่ืนหาวงศทุกคน รวมถึงผูท่ีสนใจพัฒนานิพนธฉบับนี ้

สุนารี หม่ืนหาวงศ

Page 4: ecotourism management

ชื่อเร่ือง ศักยภาพชุมชนในการจัดการการทองเท่ียวเชิงนิเวศ กรณีศึกษา ชุมชนหวยยาง

ตําบลเหลาโพนคอ อําเภอโคกศรีสุพรรณ จังหวัดสกลนคร

ผูศึกษา นางสาวสุนารี หม่ืนหาวงศ อาจารยที่ปรึกษา อาจารยสายไหม ไชยศิรินทร ปริญญา ศิลปศาสตรบัณฑิต (ศศ.บ.) สาขาการพัฒนาชุมชน

มหาวิทยาลัย มหาวิทยาลัยมหาสาคาม ปท่ีพิมพ 2554

บทคัดยอ

การศึกษาเรื่องศักยภาพชุมชนในการจัดการการทองเท่ียวเชิงนิเวศ กรณีศึกษา ชุมชนหวยยาง ตําบลเหลาโพนคอ อําเภอโคกศรีสุพรรณ จังหวัดสกลนคร มีวัตถุประสงค ดังนี้ 1)เพ่ือศึกษาศักยภาพชุมชนดานแหลงทองเท่ียวเชิงนิเวศ 2)เพ่ือศึกษาศักยภาพชุมชนในการสงเสริมการทองเท่ียวเชิงนิเวศ 3)เพ่ือเสนอแนวทางการสงเสริมการจัดการการทองเท่ียวเชิงนิเวศโดยชุมชนหวยยาง ตําบลเหลาโพนคอ อําเภอโคกศรีสุพรรณ จังหวัดสกลนคร ขอบเขตของการศึกษา คือ พ้ืนท่ีชุมชนหวยยาง บานหวยยาง หมูท่ี 6 และ บานหวยยางเหนือ หมูท่ี 9 โดยมีกลุมเปาหมาย คือ หัวหนาครัวเรือน จํานวน 10 คน คณะกรรมการหมูบานและผูนําชุมชน จํานวน 20 คน ตัวแทน ตัวแทนกลุมแมบาน จํานวน 10 คน ระยะเวลาในการศึกษาระหวางเดือนมิถุนายนถึงเดือนสิงหาคม 2554 วิธีการดําเนินการศึกษาครั้งนี้ ศึกษาขอมูลเอกสารท่ีเกี่ยวกับท่ัวไปของชุมชนและการศึกษาภาคสนามจากการเก็บขอมูล เครื่องมือท่ีใชในการศึกษา การสังเกตการณแบบมีสวนรวม การสัมภาษณจากกลุมเปาหมาย การบันทึกภาคสนาม แผนชุมชน กลองถายรูป แลวนําขอมูลท่ีไดจากการศึกษามารวมสรุปและวิเคราะหเขียนรายงานเปนผลการศึกษา ผลการศึกษามีดังนี้ ประการแรก พบวา ชุมชนหวยยาง อยูติดกับเทือกเขาภูพาน อาศัยน้ําฝนในการทํานา ทําการเกษตร ตอมาเม่ือปพ.ศ. 2524 บานหวยยาง – บานหวยยางเหนือ พบปญหาภัยแลงเชนเดียวกับปพ.ศ. 2510 ชาวบานหวยยางจึงพากันไปขอทานกินตามจังหวัดใกลเคียง เชน จังหวัดนครพนม จังหวัดมุกดาหาร และจังหวัดกาฬสินธุ ประมาณ 90% ของครัวเรือนท้ังหมด จนกระท่ังหนังสือพิมพเดลินิวสฟาดหัวขาวหนา 1 วาพบหมูบานขอทานแหงแรกของจังหวัดสกลนคร โดยนายเสวก จันทรพรหม ผูลงขาว ขาวไดทราบถึงพระบาทสมเด็จพระเจาอยูหัวฯ พระองคทานจึงไดมอบหมายงานใหกรมชลประทานดําเนินการกอสรางอางเก็บน้ําหวยโท - หวยยางขึ้น ในป พ.ศ. 2528 แลวเสรจ็เม่ือปพ.ศ. 2530 ในการนี้พระบาทสมเด็จพระเจาอยูหัวฯ ทรงเสด็จมาเปดอางเก็บน้ําหวยโท - หวยยางดวยพระองคเอง เม่ือป พ.ศ. 2532 ตั้งแตบัดนั้นเปนตนมาจนถึงปจจุบัน ทําใหบานหวยยาง – บานหวยยางเหนือ และหมูบานใกลเคียงในเขตตําบลเหลาโพนคอ

Page 5: ecotourism management

เปนหมูบานเศรษฐกิจพอเพียง จากหมูบานขอทานกลายมาเปนหมูบานเศรษฐกิจพอเพียงนํารองดานการเกษตรอันดับหนึ่งของสํานักงานพัฒนาชุมชนอําเภอโคกศรีสุพรรณ จังหวัดสกลนคร โดยเฉพาะดานกลาไม

ชุมชนหวยยางเปนชุมชนท่ีตั้งอยูใกลเขตอุทยานแหงชาติภูผายลจึงทําใหแหลงทองเท่ียวของชุมชนหวยยางมีศักยภาพอยูในระดับสูง เพราะมีสภาพพ้ืนท่ีเปนแหลงทรัพยากรธรรมชาติท่ีอุดมสมบูรณ มีวิถีชีวิตชุมชน ประเพณี วัฒนธรรม มีแหลงประวัติศาสตร มีสถานท่ีสําคัญ เขาถึงสะดวกรวดเร็ว

ประการท่ีสอง พบวา ศักยภาพชุมชนในการสงเสริมการทองเท่ียวเชิงนิเวศ ชุมชนหวยยางยังไมมีระบบการบริหารจัดการท่ีเปนแนวทางชัดเจน ไมมีรูปแบบกิจกรรมการทองเท่ียว บุคลากรในชุมชนหวยยางมีความพยายามท่ีจะคนควาหาความรูเกี่ยวกับการจัดการการทองเท่ียวดวยตนเอง แตคนในชุมชนมีความรูความเขาใจเกี่ยวกับการทองเท่ียวอยูบาง สวนเอกสารความรูเกี่ยวกับแหลงทองเท่ียวองคการบริหารสวนตําบลเหลาโพนคอไดจัดทําไวแลว

ในการฝกงานครั้งนี้ไดจัดโครงการพัฒนาความรู ความสามารถดานการบริหารจัดการการทองเท่ียวใหกับชุมชน ณ ชุมชนหวยยาง ตําบลเหลาโพนคอ อําเภอโคกศรีสุพรรณ จังหวัดสกลนคร เพ่ือเปนการสงเสริมความรูดานการบริหารจัดการการทองเท่ียวใหกับชุมชน

โดยสรุปแลวการศึกษาครั้งนี้ใหความสําคัญกับการสงเสริมชุมชนในการจัดการการทองเท่ียว รวมกับหนวยงานท่ีสงเสริมการทองเท่ียวในทองถ่ิน

Page 6: ecotourism management

สารบัญ

บทที่ หนา

1 บทนํา ......................................................................................................................................... 1

ภูมิหลัง .................................................................................................................................. 1 วัตถุประสงคของการศึกษา ................................................................................................... 6

ประโยชนท่ีคาดวาจะไดรับ ................................................................................................... 6

ขอบเขตของการศึกษา ........................................................................................................... 7

ประชากรและกลุมตัวอยาง .................................................................................................... 7 แนวคิดท่ีใชในการศึกษา ....................................................................................................... 8

งานวิจัยท่ีเกี่ยวของ .............................................................................................................. 20

วิธีดําเนินการศึกษา .............................................................................................................. 21

นิยามศัพทเฉพาะ ................................................................................................................. 22

2 บริบทท่ัวไปของชุมชน ................................................................................................................ 23

ประวัติความเปนมาของชุมชนหวยยาง ............................................................................... 23

บริบทท่ัวไปของชุมชนหวยยาง ........................................................................................... 24

3 ศักยภาพแหลงทองเท่ียวในชุมชนหวยยาง ................................................................................... 30

ศักยภาพแหลงทองเท่ียวในชุมชน ....................................................................................... 30

4 ศักยภาพของชุมชนในการสงเสริมการทองเท่ียวเชิงนิเวศ ........................................................... 38

ศักยภาพชุมชนดานประเพณีและวัฒนธรรม ........................................................................ 38

ศักยภาพชุมชนดานส่ิงอํานวยความสะดวก ......................................................................... 40

ศักยภาพชุมชนดานการคมนาคมหรือการเขาถึง .................................................................. 41 บทบาทขององคการบริหารสวนตําบลเหลาโพนคอในการสงเสริมการทองเท่ียว .............. 42

ปญหาความรูความเขาใจดานการจัดการการทองเท่ียวเชิงนิเวศ .......................................... 43

Page 7: ecotourism management

5 สรุปผล อภิปรายผลและขอเสนอแนะ .......................................................................................... 46

วัตถุประสงคของการศึกษา ................................................................................................. 46

ประชากรและกลุมตัวอยาง .................................................................................................. 47

เครื่องมือท่ีใชในการศึกษา ................................................................................................... 47

การเก็บรวบรวมขอมูล ......................................................................................................... 47

สรุปผล ................................................................................................................................ 48 อภิปรายผล .......................................................................................................................... 54

ขอเสนอแนะ ....................................................................................................................... 55

บรรณานุกรม .................................................................................................................................... 57

ภาคผนวก

ภาคผนวก ก แบบสัมภาษณ .............................................................................................. 61 ภาคผนวก ข แผนผังหมูบาน ............................................................................................. 64 ภาคผนวก ค ปฏิทินวัฒนธรรม .......................................................................................... 67

ภาคผนวก ง เสนทางการทองเท่ียว ................................................................................... 69

ภาคผนวก จ รูปกิจกรรม ................................................................................................... 72

ภาคผนวก ฉ แผนพับแนะนําแหลงทองเท่ียว .................................................................... 79

ประวัติยอของผูศึกษา ........................................................................................................................ 81

Page 8: ecotourism management

สารบัญตาราง

ตาราง หนา

1 ขอมูล ปราชญชาวบาน หรือ ผูนําชุมชน ท่ีชาวบานใหความเคารพนับถือบานหวยยางเหนือ หมูท่ี 9 .......................................................... 17

2 ขอมูล ปราชญชาวบาน หรือ ผูนําชุมชน ท่ีชาวบานใหความเคารพนับถือบานหวยยาง หมูท่ี 6 .................................................................. 22 3 สถานท่ีตั้งของแหลงทองเท่ียวตางๆ .............................................................................................. 37

4 รายช่ือกลุมบานพักโฮมสเตยชุมชนหวยยาง ................................................................................. 44

Page 9: ecotourism management

บัญชีภาพประกอบ

ภาพประกอบ หนา

1 อางเก็บน้ําหวยโท – หวยยางและบริเวณสรางศาลาทรงงาน ......................................................... 30

2 ถํ้าผาเก .......................................................................................................................................... 31

3 พระธาตุดอยอางกุง ....................................................................................................................... 31

4 พระพุทธศิริมงคล ......................................................................................................................... 32

5 จุดชมวิวเสาเฉลียง ......................................................................................................................... 32

6 น้ําตกศรีตาดโตน .......................................................................................................................... 33

7 จุดพบฟอสซิลไดโนเสาร .............................................................................................................. 33

8 สํานักสงฆภูนอยอางกุง ................................................................................................................. 34

9 ภูผานอย ........................................................................................................................................ 34

10 ภาพเขียนทางประวัติศาสตร ....................................................................................................... 35

11 ผาขาม ......................................................................................................................................... 35

12 ถํ้าผานาง (ถํ้าเสรีไทย) ................................................................................................................. 36

13 โบสถดิน ..................................................................................................................................... 36

14 บานพักโฮมเสตยของนางบัวลอย โตะชาลี ................................................................................. 40 15 เสนทางการคมนาคมในชุมชน .................................................................................................... 41

Page 10: ecotourism management

บทที่ 1

บทนํา

ภูมิหลัง

ชุมชนหวยยาง ตั้งอยูในเขตตําบลเหลาโพนคอ อําเภอโคกศรีสุพรรณ จังหวัดสกลนคร บานหวยยางเหนือ หมูท่ี 9 มีประชากรท้ังหมด 858 คน แยกเปนเพศชายจํานวน 420 คน เพศหญิงจํานวน 438 คน มีจํานวนครัวเรือนท้ังส้ิน 168 ครัวเรือนและบานหวยยาง หมูท่ี 6 มีประชากรท้ังหมด 923 คน แยกเปน ชาย 255 คน หญิง 485 คน มีครัวเรือนท้ังส้ิน 199 ครัวเรือน ในปงบประมาณ 2554 นี้ตําบลเหลาโพนคอไดถูกเลือกใหเปนตําบลเปาหมายในการพัฒนาใหเปนหมูบานเศรษฐกิจพอเพียง โดยมีชุมชนเปาหมายในตําบลคือบานหวยยาง หมูท่ี 6 นอกจากนี้บานหวยยางเหนือ หมูท่ี 9 เปนพ้ืนท่ีเปาหมายขององคการบริหารสวนตําบลเหลาโพนคอ ท่ีสงเสริมใหเปนหมูบานทองเท่ียวเชิงนิเวศ โดยใหชุมชนไดเขามามีสวนรวมในการบริหารจัดการการทองเท่ียวเชิงนิเวศท่ีมีอยูในชุมชน เพ่ือเปนอาชีพเสริมใหกับชุมชน ใหชุมชนมีรายไดเพ่ิมขึ้นนอกจากรายไดจากภาคการเกษตร และยังเปนหมูบานเปาหมายของสํานักงานพัฒนาชุมชนอําเภอโคกศรีสุพรรณในการพัฒนาใหเปนหมูบานเศรษฐกิจพอเพียง

บานหวยยางเหนือ หมูท่ี 9 ตําบลเหลาโพนคอ อําเภอโคกศรีสุพรรณ จังหวัดสกลนคร แบงแยกออกจากบานหวยยาง หมูท่ี 6 เม่ือปพ.ศ. 2538 ผูใหญบานช่ือ นายวิกรานต โตะชาลี อายุ 48 ป การศึกษาประกาศนียบัตรวิชาชีพการบัญชีจากโรงเรียนพณิชยการสกลนคร เม่ือปพ.ศ.2524 เปนผูใหญบานคนท่ี 2 ตอจากนายสนิท ยางธิสาร เม่ือวันท่ี 10 มีนาคม 2540 สมัยนี้เปนสมัยท่ี 3 บานหวยยางเหนือ เปนหมูบานยากจนอันดับตนๆของจังหวัดสกลนคร เคยเปนหมูบานประสบภัยแลงถึง 2 ครั้ง ครั้งท่ี 1 พ.ศ. 2510 หนีภัยแลงไป 20 ครัวเรือน ยายไปท่ีบานทามวง ตําบลน้ําจั่น อําเภอเซกา จังหวัดหนองคาย กลุมท่ี 2 ยายไปอยูบานโคกสําราญ ตําบลชุมภูพร จังหวัดบึงกาฬ ครั้งท่ี 2 หนีภัยแลงไป 12 ครัวเรือน โดยยายตามญาติพ่ีนอง 3 กลุม คือ

กลุมท่ี 1 ยายไปบานทามวง ตําบลน้ําจั่น อําเภอเซกา จังหวัดหนองคาย

กลุมท่ี 2 ยายไปบานคําบอน ตําบลน้ําจั่น อําเภอเซกา จงัหวัดหนองคาย

กลุมท่ี 3 ยายตามญาติพ่ีนองไปบานหวยลึก บานบุงคลา จังหวัดหนองคาย ตามประวัติเดิมแลวบานหวยยางเหนือ อยูติดกับเทือกเขาภูพาน อาศัยน้ําฝนในการทํานา ทําการเกษตร ตอมาเม่ือปพ.ศ. 2524 บานหวยยาง – บานหวยยางเหนือ พบปญหาภัยแลงเชนเดียวกบัปพ.ศ.

Page 11: ecotourism management

2510 ชาวบานบานหวยยางจึงพากันไปขอทานกินตามจังหวัดใกลเคียง เชน จังหวัดนครพนม จังหวัดมุกดาหาร และจังหวัดกาฬสินธุ ประมาณ 90% ของครัวเรือนท้ังหมด จนกระท่ังหนังสือพิมพเดลินิวสฟาดหัวขาวหนา 1 วาพบหมูบานขอทานแหงแรกของจังหวัดสกลนคร โดยนายเสวก จันทรพรหม ผูลงขาว ขาวไดทราบถึงพระบาทสมเด็จพระเจาอยูหัวฯ พระองคทานจึงไดมอบหมายงานใหกรมชลประทานดําเนินการกอสรางอางเก็บน้ําหวยโท - หวยยางขึ้น ในป พ.ศ. 2528 แลวเสร็จเม่ือปพ.ศ. 2530 ในการนี้พระบาทสมเด็จพระเจาอยูหัวฯ ทรงเสด็จมาเปดอางเก็บน้ําหวยโท - หวยยางดวยพระองคเอง เม่ือป พ.ศ. 2532 ตั้งแตบัดนั้นเปนตนมาจนถึงปจจุบัน ทําใหบานหวยยาง – บานหวยยางเหนือ และหมูบานใกลเคียงในเขตตําบลเหลาโพนคอ เปนหมูบานเศรษฐกิจพอเพียง จากหมูบานขอทานกลายมาเปนหมูบานเศรษฐกิจพอเพียงนํารองดานการเกษตรอันดับหนึ่งของสํานักงานพัฒนาชุมชนอําเภอโคกศรีสุพรรณ จังหวัดสกลนคร โดยเฉพาะดานกลาไม เชน มะกรูด มะนาว ผักหวานปา ฯลฯ ในแตละปมีผูมาศึกษาดูงานไมต่ํากวา 1,000 – 2,000 คน ผูวาราชการจังหวัดสกลนครท่ีใหการสนับสนุนและเขามาเยี่ยมเยือน อาทิเชน 1.นายถนอม ชานุวงศ 2.นายรุงฤทธ์ิ มกรพงษ 3.นายพีระพล ไตรธสาวิท 4.นายปรีชา กมลบุตร เม่ือป พ.ศ. 2546 นายรุงฤทธ์ิ มกรพงษ ผูวาราชการจังหวัดสกลนครไดมอบเงินจํานวน 125,000 บาท โดยใหเปลาเปนการสนับสนุนกลุมเพาะพันธุกลาไม ในปพ.ศ. 2548 หมูบานไดรับการคัดเลือกจากองคกรพัฒนาประชาชน(คอป.) จํานวน 200,000 บาท เปนหมูบานติดอันดับ 1 ใน 8 ของหมูบานท่ัวประเทศไทย และติดติด 1 ใน 2 หมูบานในภาคตะวันออกเฉียงเหนือในนามกลุมเพาะพันธุกลาไม บานหวยยางเหนือ หมูท่ี 9 ตําบลเหลาโพนคอ อําเภอโคกศรีสุพรรณ จังหวัดสกลนคร โดยมีนายเริง ยางธิสารเปนประธานกลุมเพาะพันธุกลาไม และนายวิกรานต โตะชาลี เปนประธานท่ีปรึกษา นอกจากนี้บานหวยยางเหนือยังเปนพ้ืนท่ีท่ีมีทรัพยากรธรรมชาติท่ีสวยงาม เพราะอยูใกลกับอุทยานแหงชาติภูผายล จึงมีสถานท่ีท่ีสวยงามมาก เชน น้ําตกศรีตาดโตน เปนน้ําตกท่ีใสสะอาด มองเห็น ปู ปลา มีดอกไมขึ้นเต็มริมแมน้ํา จุดหัวภูสุดอางกุง เปนจุดชมวิวท่ีสามารถมองเห็นไดรอบทิศทาง เหมาะสําหรับดูพระอาทิตยขึ้นในตอนเชาและทะเลหมอกท่ีสวยงาม รอบดานเปนหุบเขาจะสามารถมองเห็นภูผาลม ภูผาแดง ภแูผงมา จุดชมวิวเสาเสล่ียง เปนโขดหินท่ีแปลกสามารถมองเห็นภูผาแดง ภูแผงมาและเทือกเขาจากประเทศลาว พระธาตุดอยอางกุงหรือภูยางอ้ึง เปนจุดชมวิวท่ีสามารถมองเห็นวิวทิวทัศนท่ีสวยงาม สามารถมองเห็นหนองหาร เหมาะสําหรับผูท่ีศรัทธาในพระพุทธศาสนาท่ีมากราบไหว เริ่มจากหลวงปูภาไดสรางเจดียองคเล็กไว ตอมาป 2500 หลวงปูดวงก็ไดบูรณะพระธาตุอางกุงโดยครอบเจดียองคเดิม และยังเปนจุดหนึ่งท่ีคนพบซากฟอสซิลไดโนเสาร ท่ีคาดวาเปนไดโนเสารในบริเวณเทือกเขาภูพาน อยูในเขตอุทยานแหงชาติภูผายล โดยสภาพท่ัวไปของพระธาตุดอยอางกุงหรือภูยางอ้ึงไมวาจะเปนหินช้ันดิน และสภาพปาท่ีมีอยูโดยท่ัวไปเปนพันธุไมดึกดําบรรพ จึงเช่ือวาบริเวณนี้เปนท่ีอยูอาศัยของไดโนเสารในสมัยโบราณ ซ่ึงการเดินทางขึ้นไปชมซากฟอสซิลไดโนเสารไดนั้นจะตองขามอางเก็บน้ําหวยโท – หวยยาง ซ่ึงเปนอางเกบ็น้ําท่ีอยูใกลบานหวยยางเหนือ เปนตน

Page 12: ecotourism management

องคการบริหารสวนตําบลเหลาโพนคอจะสงเสริมและใหการสนับสนุนชุมชนในเรื่องการเรือขามฟาก เพราะการจะขึ้นไปทองเท่ียวในท่ีตางๆจะตองนั่งเรือผานอางเก็บน้ําหวยโท – หวยยาง และเดินขึ้นเขาตอเพ่ือไปเท่ียวยังจุดตางๆตามแผนผังเสนทางการทองเท่ียวของตําบลเหลาโพนคอ โดยองคการบริหารสวนตําบลเหลาโพนคอจะพัฒนาสถานท่ีทองเท่ียวในแตละแหงใหมีจุดเดนมากขึ้น เพ่ือดึงดูดนักทองเท่ียว เริม่พัฒนาจากอางเก็บน้ําหวยโท – หวยยางในการสรางศาลาทรงงานเฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจาอยูหัวฯท่ีพระองคเคยเสด็จมาเปดอางเก็บน้ําหวยโท – หวยยางดวยพระองคเองเม่ือป พ.ศ. 2531 และจะเนนพัฒนาในจุดท่ีคนพบซากฟอสซิลไดโนเสารในเขตบานหวยยาง-หวยยางเหนือ ใหชัดเจนและพัฒนาเสนทางใหสามารถเดินทางไดสะดวกมากขึ้น เพราะเสนทางในการเขาไปยังจุดท่ีคนพบซากฟอสซิลไดโนเสารจะคอนขางลําบาก เนื่องจากเปนภูเขาซ่ึงเต็มไปดวยหนาผาและโขดหิน บางแหงมีน้ําตกเล็กๆและมีปาไมขึ้นประปราย จึงจะพบซากฟอสซิลไดโนเสารแหลงท่ี 1 และ 2 อยูท่ีบริเวณผาแดง อยูหางจากอางเก็บน้ําหวยโท – หวยยาง 1.5 กม. โดยซากท่ีพบมีจํานวนมาก จะไหลเปนทางยาวตามลําธารซ่ึงจุดนี้เปนจุดใหญ และเดินอีกเล็กนอยก็ถึงสถานท่ีพบซากฟอสซิล แหงท่ี 3 เม่ือดูจากสภาพช้ันหินช้ันดิน ดูจากสภาพปาแลวและดูจากขอมูลของนักธรณีวิทยาแลวเช่ือวา บริเวณนี้จะเปนแหลงท่ีอยูอาศัยของไดโนเสารสมัยในสมัยโบราณ กอนหนานี้องคการบริหารสวนตําบลเหลาโพนคอไดเชิญเจาหนาท่ีจากพิพิธภัณฑสิรินธรภูอุมขาว จังหวัดกาฬสินธุ มาตรวจสอบแลวและยืนยันวาเปนฟอสซิลไดโนเสารจริง และสมควรจะไดรับการคุมครอง การคนพบซากฟอสซิลไดโนเสารแหงนี้ จะทําใหสามารถรับรูเรื่องราวของชีวิตในอดีตยอนหลัง อันจะเปนประโยชนในการบริหารจัดการแหลงซากดึกดําบรรพท่ีพบ และสงเสริมใหเปนแหลงทองเท่ียวเพ่ือการเรียนรูของเยาวชนตอไป

ในรอบทศวรรษท่ีผานมา การทองเท่ียวเชิงนิเวศไดกลายมาเปนธุรกิจท่ีเจริญเติบโตรวดเร็วท่ีสุดในแวดวงของอุตสาหกรรมการทองเท่ียว แตในขณะเดียว กัน การทองเท่ียวเชิงนิเวศก็เปนแนวคิดใหมท่ียังมีความสับสน มีการถกเถียงและการนําเสนอมุมมองท่ีแตกตางกันในหลายดานดวยกัน

ในการสัมมนาระดับนานาชาติเรื่อง "การทองเท่ียวเชิงนิเวศเพ่ือการอนุรักษปาและการพัฒนาชุมชน" ท่ีจัดขึ้น ณจังหวัดเชียงใหม เม่ือเดอืนมกราคม 2540 การทองเท่ียวเชิงนิเวศไดรับการนิยามความหมายวาเปน "การทองเท่ียวไปยังแหลงธรรมชาติโดยมีวัตถุประสงคเพ่ือเรียนรูทําความเขาใจกับพัฒนาการทางวัฒนธรรม และสภาพแวดลอม ดวยความระมัดระวังไมใหเกิดความเสียหายตอระบบนิเวศ และในขณะเดียวกัน ก็ชวยสรางโอกาสทางเศรษฐกิจเพ่ือใหชาวบานในทองถ่ินไดรับประโยชนโดยตรงจากการอนุรักษธรรมชาติแวดลอม" ในการจัดสัมมนาครั้งนั้น Gail Nash นักวิจัยจากสมาคมการทองเท่ียวเชิงนิเวศ (The Ecotourism Society) ไดนําเสนอหลักการพ้ืนฐาน 7 ประการของการทองเท่ียวเชิงนิเวศไวดังนี ้

Page 13: ecotourism management

ประการแรก การทองเท่ียวเชิงนิเวศจะตองหลีกเล่ียงการสรางผลกระทบทางดานลบท่ีจะกอใหเกิดความเสียหายหรือการทําลายสภาพแวดลอมทางธรรมชาต ิและวัฒนธรรมของพ้ืนท่ีทองเท่ียว

ประการท่ีสอง การทองเท่ียวเชิงนิเวศจะตองใหการศึกษาแกนักทองเท่ียว ใหตระหนักถึงความสําคัญของการอนุรักษธรรมชาติแวดลอมและวัฒนธรรม

ประการท่ีสาม รายไดจากการทองเท่ียวเชิงนิเวศ จะตองนําไปสูการอนุรักษธรรมชาติแวดลอมและการจัดการเขตอนุรักษ

ประการท่ีส่ี ชุมชนทองถ่ิน รวมท้ังชุมชนท่ีอยูใกลเคียง จะตองเปนผูไดรับผลประโยชนโดยตรงจากการทองเท่ียวเชิงนิเวศ

ประการท่ีหา การทองเท่ียวนิเวศจะตองเนนความสําคัญของการวางแผน และการเจริญเติบโตของการทองเท่ียวอยางยั่งยืน โดยเนนการสรางหลักประกันวา จํานวนนักทองเท่ียวจะตองอยูภายในขอบเขตของศักยภาพในการรองรับ (carrying capacity) ตามธรรมชาติของระบบนิเวศทองถ่ิน

ประการท่ีหก รายไดสวนใหญจากการทองเท่ียวเชิงนิเวศ จะตองตกอยูกับประเทศผูเปนเจาของแหลงทองเท่ียว ดวยเหตุนี้เอง การทองเท่ียวเชิงนิเวศจึงเนนการใชผลิต-ภัณฑและบริการของทองถ่ินเปนสําคัญ และ

ประการท่ีเจ็ด การทองเท่ียวเชิงนิเวศ จะตองใหความสําคัญกับการใชจากโครงสรางพ้ืนฐานท่ีไดรับการพัฒนาขึ้นบนฐานคิด ซ่ึงเนนความสําคัญของการจัดการทรัพยากรอยางยั่งยืน ลดละการใชน้ํามันเช้ือเพลิง อนุรักษพันธุพืชพ้ืนบาน และจัดการทองเท่ียวใหสอดคลองกับธรรมชาติแวดลอมอยางแทจริง

หลักการพ้ืนฐานท้ัง 7 ประการของการทองเท่ียวเชิงนิเวศดังกลาวขางตน แมจะครอบคลุมประเด็นสําคัญตางๆ หลายดานดวยกัน แตก็ยังขาดมุมมองสําคัญเกี่ยวกับบทบาท และการมีสวนรวมของชุมชนทองถ่ิน

โดยเนื้อแทความจริงแลว การทองเท่ียวเชิงนิเวศจะประสบความสําเร็จไดก็ตอเม่ือวางอยูบนแนวคิดท่ีเนนความสําคัญของการผสมผสานจุดมุงหมายของการอนุรักษธรรมชาติแวดลอมและการพัฒนาชุมชนไวเปนเรื่องเดียวกัน อีกท้ังใหความสําคัญกับมิติของการจัดการทรัพยากรธรรมชาติและการพัฒนาอยางยั่งยืน อยางไรก็ตาม การทองเท่ียวเชิงนิเวศไมควรมีสูตรสําเร็จรปูแบบท่ีตายตัวหรือนโยบายท่ีมีมาตรฐานเดียว หากแตการทองเท่ียวเชิงนิเวศควรเปนสวนหนึ่งของทางเลือกในการพัฒนา และกอใหเกิดกระบวนการเรียนรูอยางแทจริง

ในสภาวะท่ีชุมชนชนบทมากมายหลายแหงท่ัวประเทศ กําลังเผชิญหนากับปญหาวิกฤติในดานของความยากจนและปญหาความเส่ือมโทรมของธรรมชาติแวดลอม การทองเท่ียวเชิงนิเวศ จึงนาจะเปนสวนหนึ่งของคําตอบในการแกปญหาอันพึงไดรับการสงเสริมสนับสนุนเปนอยางยิ่ง การมองการทองเท่ียวเชิงนิเวศในบริบทของการพัฒนาอยางยั่งยืนยังเปนแนวคิดท่ีใหความสําคัญกับการนําเอารายไดจากการทองเท่ียวมาใชในโครงการพัฒนาชุมชนดวยตัวเองในรูปแบบตาง ๆท้ังในดานของการสรางกองทุนชุมชน

Page 14: ecotourism management

การพัฒนาอาชีพและฝมือแรงงานในการประดิษฐหัตถกรรมพ้ืนบาน และการพลิกฟนกระบวนการเรียนรูของชุมชนในดานของการจัดการทรัพยากรพันธุกรรม การอนุรักษและพัฒนาสายพันธุพืชพ้ืนบาน และการเช่ือมตอภูมิปญญาทองถ่ินกับวิทยาศาสตรสมัยใหม เปนตน

การทองเท่ียวในงานพัฒนาชุมชน เปนการใหความสําคัญกับสิทธิชุมชนในการเขามามีสวนรวมในการจัดการทรัพยากรธรรมชาติและส่ิงแวดลอม โดยมุงพัฒนาให “ คนในชุมชน ” เปนหัวใจสําคัญในการจัดการการทองเท่ียว จึงเปนการสรางกระบวนการเรียนรูของคนในชุมชนและใหคนในชุมชนไดเขามามีบทบาทในการจัดการการทองเท่ียว เพ่ือนําไปสูการดูแลรักษาและฟนฟูทรัพยากรธรรมชาติโดยใหมีความสมดุลกับภูมิปญญาทองถ่ินและอัตลักษณทางวัฒนธรรม รวมถึงการเกื้อกูลตอเศรษฐกิจของชุมชนในรูปแบบ “ การทองเท่ียวโดยชุมชน ” ซ่ึงจะตั้งอยูบนฐานคิดท่ีเนนใหเห็นถึงความสําคัญของการผสมผสานจุดมุงหมายของการฟนฟูและอนุรักษสภาพแวดลอม รวมท้ังอัตลักษณและความหลากหลายทางวัฒนธรรมของชุมชน นอกจากนี้ยังมีจุดมุงหมายใหคนในชุมชนรูจักการสรางสํานึกทองถ่ิน เรงเราความภาคภูมิใจในความเปนอัตลักษณของวัฒนธรรมประเพณีของตน สามารถใหคําอธิบายกับคนนอกหรือนักทองเท่ียวไดรับรู และเขาใจในวิถีชีวิตและวัฒนธรรมทองถ่ิน วามีความสวยงามและมีคุณคาอยางไร ตลอดจนการส่ือใหเห็นพัฒนาการของวัฒนธรรม จารีตประเพณี เพ่ือใหคนในทองถ่ินและนักทองเท่ียวมีสวนรวมในกระบวนการเรียนรูซ่ึงกันและกัน การเคารพตอความเช่ือ วัฒนธรรม ประเพณี และพิธีกรรมของชุมชน ท้ังนี้การทองเท่ียวโดยชุมชนอาจนําไปสูการสรางกระบวนการทางสังคมท่ีชุมชนทองถ่ินมีความพยายามในการปรับตัว ภายใตบริบทของสภาพการณท่ีเปล่ียนแปลงไปอยางตอเนื่อง รวมท้ังสรางดุลยภาพระหวางการผลิตในภาคการเกษตรกรรมกับการประกอบอาชีพเสริมของชาวบานท่ีเช่ือมโยงกับฐานทรัพยากรของชุมชน เพ่ือเปนการยกระดับคุณภาพชีวิตของคนในชุมชนใหดีขึ้น มีรายไดเพ่ิมขึ้นนอกเหนือจากภาคการเกษตร ชุมชนสามารถพ่ึงพาตนเองได ตามหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง ซ่ึงมีตัวช้ีวัดวาชุมชนนั้นๆจะเปนหมูบานเศรษฐกิจพอเพียงหรือไม ตองขึ้นอยูกับตัวช้ีวัด 6 x 2 ของหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง

จากสถานการณ ความสําคัญของการทองเท่ียวเชิงนิเวศและปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงดังกลาวขางตน ผูวิจัยจึงมีความสนใจท่ีจะศึกษาเรื่องศักยภาพชุมชนในการจัดการการทองเท่ียวเชิงนิเวศ กรณีศึกษา ชุมชนหวยยาง ต.เหลาโพนคอ อ.โคกศรีสุพรรณ จ.สกลนคร โดยมีความตองการจะคนหาคําตอบวา แหลงทองเท่ียวทางธรรมชาติและวัฒนธรรมของชุมชนมีอะไรบาง มีจุดเดนอยางไร ชุมชนหวยยางไดรับการสนับสนุนสงเสริมดานการทองเท่ียวเชิงนิเวศจากหนวยงานใด อยางไร ท้ังนี้ผูวิจัยจะไดคนหาคําตอบดังกลาวเพ่ือเสนอเปนแนวทางในการสงเสริมใหเกิดการจัดการการทองเท่ียวเชิงนิเวศโดยชุมชนหวยยาง ตอหนวยงานท่ีเกี่ยวของตอไป

Page 15: ecotourism management

วัตถุประสงคของการศึกษา

1.เพ่ือศึกษาศักยภาพชุมชนดานแหลงทองเท่ียวเชิงนิเวศ 2.เพ่ือศึกษาศักยภาพชุมชนในการสงเสริมการทองเท่ียวเชิงนิเวศ

3.เพ่ือเสนอแนวทางการสงเสริมการจัดการการทองเท่ียวเชิงนิเวศโดยชุมชนหวยยาง ตําบลเหลาโพนคอ อําเภอโคกศรีสุพรรณ จังหวัดสกลนคร

ประโยชนที่คาดวาจะไดรับ

1. เพ่ือทราบถึงแหลงทองเท่ียวเชิงนิเวศของชุมชนหวยยาง

2. เพ่ือทราบถึงศักยภาพชุมชนในการสงเสริมการทองเท่ียวเชิงนิเวศ

3 .งานวิจัยช้ินนี้นาจะเปนประโยชนตอชุมชนในการวางแผนการสงเสริมชุมชนในเรื่องการจัดการการทองเท่ียวเชิงนิเวศ

ขอบเขตของการศึกษา

ขอบเขตเชิงพ้ืนท่ี

1. ศึกษาชุมชนหวยยาง คือ บานหวยยางเหนือ หมูท่ี 9 และบานหวยยาง หมูท่ี 6 ตําบลเหลาโพนคอ อําเภอโคกศรีสุพรรณ จังหวัดสกลนคร

2. ศึกษาแหลงทองเท่ียวหวยโท-หวยยางและแหลงทองเท่ียวในเขตอุทยานแหงชาติภูผายล ตําบลเหลาโพนคอ อําเภอโคกศรีสุพรรณ จังหวัดสกลนคร

ขอบเขตเชิงเวลา

ผูวิจัยไดกําหนดขอบเขตระยะเวลาในการศึกษาในชวงระหวางเดือนมิถุนายน ถึง เดือนสิงหาคม 2554 รวมเปนเวลา 3 เดือน

ขอบเขตเชิงเนื้อหา

1. ศึกษาขอมูลบริบททางเศรษฐกิจ การเมือง สังคมและวัฒนธรรมของชุมชนหวยยาง บานหวยยางเหนือ หมูท่ี 9 และบานหวยยาง หมูท่ี 6 ตําบลเหลาโพนคอ อําเภอโคกศรีสุพรรณ จังหวัดสกลนคร

2. ศึกษาขอมูลแหลงทองเท่ียวในชุมชนหวยยางและในเขตอุทยานแหงชาติภูผายล ตําบลเหลาโพนคอ อําเภอโคกศรีสุพรรณ จังหวัดสกลนคร

Page 16: ecotourism management

3. ศึกษาขอมูลเกี่ยวกับศักยภาพชุมชนในการสงเสริมการทองเท่ียวเชิงนิเวศ ในประเด็น ศักยภาพดานประเพณีวัฒนธรรม ศักยภาพดานส่ิงอํานวยความสะดวก และศักยภาพดานการคมนาคมความรู ความเขาใจดานการทองเท่ียวเชิงนิเวศและจัดการการทองเท่ียวเชิงนิเวศของชาวบานและผูนําชุมชนหวยยาง

4. ศึกษาขอมูลเกี่ยวกับบทบาทขององคการบรหิารสวนตําบลเหลาโพนคอในการจัดกิจกรรมสงเสริมการทองเท่ียวในชุมชน

5. ศึกษาปญหาดานความรู ความเขาใจเกี่ยวกับการทองเท่ียวเชิงนิเวศและจัดการการทองเท่ียวเชิงนิเวศของชาวบานและผูนําชุมชนหวยยาง

ประชากรและกลุมตัวอยาง

การศึกษาครั้งนี้ไดกําหนดประชากรและกลุมตัวอยางในการศึกษา ดังนี้คือ

ประชากรในการศึกษา ไดแก ชาวบาน บานหวยยางเหนือ หมูท่ี 9 จํานวน 923 คน ชาวบาน บานหวยยาง หมูท่ี 6 จํานวน 858 คน

กลุมตัวอยางในการศึกษา จากการสุมตัวอยางแบบเจาะจง ทําใหไดกลุมตัวอยาง จํานวน 40 คน คือ

1. หัวหนาครัวเรือนท่ีเขารวมประชุมกิจกรรมโฮมเสตย จํานวน 10 คน 2. คณะกรรมการหมูบาน จํานวน 20 คน 3. คณะกรรมการกลุมแมบาน จํานวน 10 คน

แนวคิดที่ใชในการศึกษา

แนวคิดการทองเที่ยวเชิงนิเวศ (Ecotourism) ความหมายและความสําคัญของการทองเท่ียวเชิงนิเวศ

การจัดการทองเท่ียว ในแตละพ้ืนท่ีนั้น มักประสบปญหาความขัดแยงระหวางอนุรักษกับการพัฒนา

ความหมาย ทางออก และทางเลือกของการทองเท่ียว ท่ีไมกอใหเกิดผลกระทบ ตอสภาพส่ิงแวดลอม และวัฒนธรรมของชุมชน

เสร ีเวชบุษกร (2538) ใหคําจํากัดความการทองเท่ียวเชิงนิเวศวา เปนการเดินทางทองเท่ียวอยางมีความรับผิดชอบในแหลงธรรมชาติท่ีมีเอกลักษณเฉพาะถ่ิน และแหลงวัฒนธรรมท่ีเกี่ยวเนื่องกับระบบนิเวศส่ิงแวดลอมและการทองเท่ียว โดยมีกระบวนการเรียนรูรวมกันของผูเกี่ยวของ ภายใตการจัดการอยางมีสวนรวมของทองถ่ินเพ่ือมุงใหเกิดจิตสํานึกตอการรักษาระบบนิเวศอยางยั่งยืน การทองเท่ียวเชิงนิเวศ มี

Page 17: ecotourism management

องคประกอบสําคัญท่ีควรพิจารณา คือ การสรางจิตใตสํานึกเกี่ยวกับการอนุรักษธรรมชาติและส่ิงแวดลอม ความพึงพอใจของนักทองเท่ียว และการมีสวนรวมของชุมชนทองถ่ิน รวมถึงการกระจายรายได

ในการสัมมนาระดับนานาชาติเรื่อง "การทองเท่ียวเชิงนิเวศเพ่ือการอนุรักษปาและการพัฒนาชุมชน" ท่ีจัดขึ้น ณจังหวัดเชียงใหม เม่ือเดือนมกราคม 2540 การทองเท่ียวเชิงนิเวศไดรับการนิยามความหมายวาเปน "การทองเท่ียวไปยังแหลงธรรมชาติโดยมีวัตถุประสงคเพ่ือเรียนรูทําความเขาใจกับพัฒนาการทางวัฒนธรรม และสภาพแวดลอม ดวยความระมัดระวังไมใหเกิดความเสียหายตอระบบนิเวศ และในขณะเดียวกัน ก็ชวยสรางโอกาสทางเศรษฐกิจเพ่ือใหชาวบานในทองถ่ินไดรับประโยชนโดยตรงจากการอนุรักษธรรมชาติแวดลอม"

ในการจัดสัมมนาครั้งนั้น Gail Nash นักวิจัยจากสมาคมการทองเท่ียวเชิงนิเวศ (The Ecotourism Society) ไดนําเสนอหลักการพ้ืนฐาน 7 ประการของการทองเท่ียวเชิงนิเวศไวดังนี ้

ประการแรก การทองเท่ียวเชิงนิเวศจะตองหลีกเล่ียงการสรางผลกระทบทางดานลบท่ีจะกอใหเกิดความเสียหายหรือการทําลายสภาพแวดลอมทางธรรมชาต ิและวัฒนธรรมของพ้ืนท่ีทองเท่ียว

ประการท่ีสอง การทองเท่ียวเชิงนิเวศจะตองใหการศึกษาแกนักทองเท่ียว ใหตระหนักถึงความสําคัญของการอนรุักษธรรมชาติแวดลอมและวัฒนธรรม

ประการท่ีสาม รายไดจากการทองเท่ียวเชิงนิเวศ จะตองนําไปสูการอนุรักษธรรมชาติแวดลอมและการจัดการเขตอนุรักษ

ประการท่ีส่ี ชุมชนทองถ่ิน รวมท้ังชุมชนท่ีอยูใกลเคียง จะตองเปนผูไดรับผลประโยชนโดยตรงจากการทองเท่ียวเชิงนิเวศ

ประการท่ีหา การทองเท่ียวนิเวศจะตองเนนความสําคัญของการวางแผน และการเจริญเติบโตของการทองเท่ียวอยางยั่งยืน โดยเนนการสรางหลักประกันวา จํานวนนักทองเท่ียวจะตองอยูภายในขอบเขตของศักยภาพในการรองรับ (carrying capacity) ตามธรรมชาติของระบบนิเวศทองถ่ิน

ประการท่ีหก รายไดสวนใหญจากการทองเท่ียวเชิงนิเวศ จะตองตกอยูกับประเทศผูเปนเจาของแหลงทองเท่ียว ดวยเหตุนี้เอง การทองเท่ียวเชิงนิเวศจึงเนนการใชผลิต-ภัณฑและบริการของทองถ่ินเปนสําคัญ และ

ประการท่ีเจ็ด การทองเท่ียวเชิงนิเวศ จะตองใหความสําคัญกับการใชจากโครงสรางพ้ืนฐานท่ีไดรับการพัฒนาขึ้นบนฐานคิด ซ่ึงเนนความสําคัญของการจัดการทรัพยากรอยางยั่งยืน ลดละการใชน้ํามันเช้ือเพลิง อนุรักษพันธุพืชพ้ืนบาน และจัดการทองเท่ียวใหสอดคลองกับธรรมชาติแวดลอมอยางแทจริง นอกจากนั้น ยศ สันตสมบัติ ไดเสนอวาการทองเท่ียวเชิงนิเวศควรไดรับการพัฒนาขึ้นบนพ้ืนฐานของแนวคิดหลัก 5 ประการดังตอไปนี้

Page 18: ecotourism management

แนวคิด ประการแรก คือ การมองการทองเท่ียวเชิงนิเวศในบริบทของการเปล่ียนแปลงโครงสรางทางเศรษฐกิจ การเมืองและสภาพแวดลอมธรรมชาต ิ

ในลักษณะเชนนี ้การทองเท่ียวเชิงนิเวศมิไดเปนปรากฏการณท่ีหยุดนิ่งไรความเคล่ือนไหว หากแตเปนการปรับตัวของชุมชนโดยสัมพันธกับเง่ือนไขภายนอกในระดับมหภาค การมองการทองเท่ียวเชิงนิเวศในบริบทของการเปล่ียนแปลงโครงสรางทางเศรษฐกิจการเมืองและธรรมชาติแวดลอม เปนแนวคิดท่ีชวยใหเราสามารถเช่ือมโยงปรากฏการณในทองถ่ินกับเง่ือนไขภายนอก และชวยช้ีใหเห็นทิศทางของการพัฒนาประเทศท่ีมีผลตอวิถีชีวิตของชุมชนทองถ่ินอยางชัดเจน

การท่ีภาคเอกชนเขามาผูกขาดธุรกิจทองเท่ียว ซ่ึงเนนการสรางรายไดและความเจริญเติบโตของธุรกิจทองเท่ียวแตเพียงอยางเดียว อาจทําใหภาคธุรกจิอุตสาหกรรมการทองเท่ียวไดประโยชน แตในขณะเดียวกัน ก็มีผลในดานของการทําลายวัฒนธรรมทองถ่ิน กอใหเกิดความเส่ือม โทรมของสภาพแวดลอมธรรมชาติและความยากจน เพราะชุมชนทองถ่ินขาดอํานาจในการจัดการการทองเท่ียว และไมสามารถพัฒนาศักยภาพของการพ่ึงตนเองไดอยางตอเนือ่ง การพิจารณาการทองเท่ียวในบริบทของการพัฒนาท่ีเนนทิศทางเดียว คือ การเจริญเติบโตขยายตัวทางเศรษฐกิจเทานั้น ชวยใหเราทําความเขาใจกับปญหาความสัมพันธระหวางชุมชนทองถ่ินกับสังคมภายนอกไดอยางชัดเจน

แนวคิดประการท่ีสอง คือ การมองการทองเท่ียวเชิงนิเวศจากมิติของความสัมพันธระหวางมนุษยกับธรรมชาติในฐานะเปนวิถีชีวิตในระบบนิเวศเดียวกัน โดยไมอาจแบงแยกออกจากกันไดโดยเด็ดขาด

ในลักษณะเชนนี ้การทองเท่ียวเชิงนิเวศเปนรูปแบบหนึ่งของการสรางแรงจูงใจ เพ่ือใหชุมชนทองถ่ินทําการใช ประโยชนจากทรัพยากรธรรมชาติอยางยั่งยืน และเปนธรรม ภายใตหลักการท่ีวาคนท่ีดูแลรักษาทรัพยากรยอมสมควรไดรับประโยชนจากการดูแลรักษานั้น การทองเท่ียวเชิงนิเวศจึงเปนการปรับเปล่ียนความสัมพันธระหวางมนุษยกับธรรมชาติใหมีลักษณะเปนการอนุรักษและพัฒนาอยางเขมขมยิ่งขึ้น โดยเนนการรักษาสภาพความอุดมสมบูรณของผืนปา สายน้ํา ฝูงปลา นก และสัตวปาไวใหนักทองเท่ียวไดช่ืนชม และชุมชนไดประโยชนจากกิจกรรมการทองเท่ียว ในขณะเดียวกัน มีการกระจายผลประโยชนจากการทองเท่ียวออกไปในวงกวาง เพ่ือใหสมาชิกของชุมชนท้ังหมด ไดรับอานิสงสจากการทองเท่ียวโดยตรง

การพิจารณาการทองเท่ียวเชิงนิเวศในบริบทของความสัมพันธระหวางมนุษยกับธรรมชาติชวยใหเรามองเห็นวา ความเปนธรรมทางสังคม เปนเง่ือนไขสําคัญของความเปนธรรมของระบบนิเวศ การทองเท่ียวเชิงนิเวศจะประสบความสําเร็จได มิใชบนพ้ืนฐานของสํานึกในคุณคาของการอนุรักษธรรมชาติแวดลอมเทานั้นแตยังขึ้นอยูกับหลักการสําคัญของการสรางแรงจูงใจใหผูท่ีทําการอนุรักษธรรมชาติแวดลอมไดรับประโยชนโดยตรงจากการกระทําของตน

แนวคิดประการท่ีสาม คือ การมองการทองเท่ียวเชิงนิเวศจากมิติทางวัฒนธรรม ในลักษณะเชนนี ้การทองเท่ียวเชิงนิเวศเปนการใหความเคารพแกอัตลักษณ และความหลากหลายทางวัฒนธรรมของกลุมชาติพันธุตางๆ ซ่ึงมีวิถีชีวิต และจารีตประเพณีแตกตางกันออกไป มุมมองทางดานวัฒนธรรมเนนการใหความ

Page 19: ecotourism management

เคารพแกศักดิ์ศร ีและสิทธิในทางเปนมนุษยของกลุมชาติพันธุตางๆ มิใชมองคนเปนสัตวประหลาด และเปดโอกาสใหการทองเท่ียวสงผลใหเกิดการละเมิดจาบจวงความเช่ือ วัฒนธรรม ประเพณีและพิธีกรรมของชุมชนทองถ่ิน

ในทางตรงกันขาม การทองเท่ียวเชิงนิเวศมุงเนนใหชุมชนทองถ่ินมีสํานึกและความภาคภูมิใจในอัตลักษณทางชาติพันธุและวัฒนธรรมประเพณีของตน สามารถอธิบายใหคนนอกหรือนักทองเท่ียวไดรับรูและเขาใจในวิถีชีวิตและวัฒนธรรมทองถ่ิน วามีความสวยงามและมีคุณคาอยางไร เพ่ือใหท้ังชุมชนทองถ่ินและนักทองเท่ียวมีสวนรวมในกระบวนการเรียนรูซ่ึงกันและกัน อันเปนบอเกิดแหงความเขาใจ และเอกภาพในความหลากหลายทางวัฒนธรรมของมนุษย

แนวคิดประการท่ีส่ี คือ การมองการทองเท่ียวเชิงนิเวศในฐานะเปนขบวนการทางสังคม หรือความพยายามของชุมชนในการปรับตัวภายในบริบท และสภาวการณท่ีเปล่ียนแปลงไปอยางตอเนื่อง เพ่ือสรางดุลยภาพระหวางการผลิตในภาคเกษตรและการประกอบอาชีพของชาวบานกับระบบนิเวศ ตลอดจน การสรางสรรคความเปนธรรมภายในสังคมและการรวมตัวกันเพ่ือตอสูกับการเอารัดเอาเปรียบจากบริษัทนําเท่ียวจากภายนอก

บอยครั้งท่ีการทองเท่ียวเชิงนิเวศมิไดจํากัดตัวเองอยูแตเพียงชุมชนหมูบานแหงใดแหงหนึ่งอยางโดดๆ หากแตมีการรวมตัวกันของชุมชนหลายแหงเปนเครือขาย เพ่ือทําการจัดการทรัพยากรรวมกัน หรือจัดโปรแกรมการทองเท่ียวรวมกัน เปนตน ในแงนี ้การจัดการทองเท่ียวเชิงนิเวศจึงเปนขบวนการปรับตัวทางสังคมท่ีเกิดขึ้นท้ังในระดับชุมชนและระดับเครือขายภายในบริบทของระบบนิเวศชุดหนึ่ง เพ่ือทําการปกปองผลประโยชนและทําการจัดการทรัพยากรธรรมชาติอยางยั่งยืนและเปนธรรม

การมองการทองเท่ียวเชิงนิเวศจากแงมุมของขบวนการทางสังคม ทําใหเราจําตองใหความสําคัญกับการจัดองคกรสังคมท้ังในระดับชุมชนและระดับเครือขาย เพ่ือทําการบริหารจัดการโปรแกรม การทองเท่ียว เพ่ือสรางกระบวนการเรียนรูทางสังคม เพ่ือจัดการทรัพยากร และสรางอํานาจตอรองกับภายนอกอยางเปนระบบ

แนวคิดประการท่ีหา คือ การมองการทองเท่ียวเชิงนิเวศในบริบทของการพัฒนาชนบทและการอนุรักษฟนฟูธรรมชาติแวดลอมอยางยั่งยืน โดยนัยนี้ การทองเท่ียวเชิงนิเวศเปนกระบวนการแสวงหาทางเลือก เพ่ือกําหนดทิศทางการพัฒนาของตนเอง บนพ้ืนฐานของวัฒนธรรมและจารีตประเพณีอันหลากหลายของชุมชนและกลุมชาติพันธุตางๆ และยังเปนความพยายามในการอนุรักษฟนฟูธรรมชาติแวดลอมไปพรอมกัน

ในสภาวะท่ีชุมชนชนบทมากมายหลายแหงท่ัวประเทศ กําลังเผชิญหนากับปญหาวิกฤติในดานของความยากจนและปญหาความเส่ือมโทรมของธรรมชาติแวดลอม การทองเท่ียวเชิงนิเวศ จึงนาจะเปนสวน

Page 20: ecotourism management

หนึ่งของคําตอบในการแกปญหาอันพึงไดรับการสงเสริมสนับสนุนเปนอยางยิ่ง การมองการทองเท่ียวเชิงนิเวศในบริบทของการพัฒนาอยางยั่งยืนยังเปนแนวคิดท่ีใหความสําคัญกับการนําเอารายไดจากการทองเท่ียวมาใชในโครงการพัฒนาชุมชนดวยตัวเองในรูปแบบตาง ๆท้ังในดานของการสรางกองทุนชุมชน การพัฒนาอาชีพและฝมือแรงงานในการประดิษฐหัตถกรรมพ้ืนบาน และการพลิกฟนกระบวนการเรียนรูของชุมชนในดานของการจัดการทรัพยากรพันธุกรรม การอนุรักษและพัฒนาสายพันธุพืชพ้ืนบาน และการเช่ือมตอภูมิปญญาทองถ่ินกับวิทยาศาสตรสมัยใหม เปนตน

ภายใตกรอบความคิดดังกลาวขางตน ยศ สันตสมบัติ ไดนิยามความหมายของ "การทองเท่ียวเชิงนิเวศ" วาเปนการรวมตัวกันขององคกรประชาชนในระดับชุมชน และ/หรือ ในระดับเครือขายภายในระบบนิเวศชุดหนึ่ง เพ่ือแสวงหาทางเลือกในการพัฒนาตนเอง รวมท้ังการจัดการและใชประโยชนจากธรรมชาติแวดลอมสําหรับการทองเท่ียวอยางยั่งยืนและเปนธรรม บนฐานของภูมิปญญาทองถ่ิน ซ่ึงเนนหลักการทางศีลธรรมและความม่ันคงในการยังชีพของชุมชน และความสมดุลของสภาพแวดลอมธรรมชาติเปนสําคัญ

การจัดการการทองเท่ียวเชิงนิเวศ

การจัดการการทองเท่ียวเชิงนิเวศจะตองพิจารณาถึง สาระสําคัญดังนี ้1. การจัดการทรัพยากร จําเปนตองมีการจัดการท่ีดีมีประสิทธิภาพ

2. ความตองการทางดานเศรษฐกิจ โดยคํานึงวาการทองเท่ียวเปนกิจกรรมทางเศรษฐกิจชนิดหนึ่ง ท่ีจําเปนตองมีความสามารถในการสรางกําไรเพ่ือความอยูรอดและผลประโยชนของชุมชน

3. การตอบสนองความตองการหรือพันธะทางสังคม หมายถึง การใหความเคารพตอชีวิตและวัฒนธรรมของชุมชนตาง ๆ รวมตลอดจนความหลากหลายและมรดกเชิงวัฒนธรรม

4. สุนทรียภาพ เปนองคประกอบท่ีสําคัญของส่ิงแวดลอมและวัฒนธรรมตาง ๆ ไมวาสถานท่ีนั้นจะมีความยิ่งใหญเพียงใด หรือมีช่ือเสียงมากนอยเพียงไร การธํารงรักษาไวซ่ึงสุนทรีภาพของสภาพของสถานท่ีเหลานั้น คือภารกิจสําคัญของการพัฒนาการทองเท่ียว

5. การคํานึงถึงกระบวนการและขอบเขตทางเชิงนิเวศวิทยา เพ่ือใหการพัฒนาสามารถดํารงสภาพแวดลอมตาง ๆ ท้ังทางกายภาพและทางชีวภาพท่ีเปราะบางเอาไว

6. การรักษาไวซ่ึงความหลากหลายทางชีวภาพ (Biological Diversity) ของพืชพรรณและสัตวตาง ๆ เพราะส่ิงเหลานี้คือทรัพยากรท่ีสําคัญของการทองเท่ียว

7. การดํารงไวซ่ึงระบบสนับสนุนชีวิต (Life-supporting Systems) ซ่ึงจะชวยใหมนุษยและส่ิงมีชีวิตท้ังหมดในโลก มีชีวิตรอดอยูไดตอไป กลาวโดยสรุป คือ การทองเท่ียวเชิงนิเวศ เปนการทองเท่ียวท่ีสามารถ

Page 21: ecotourism management

ตอบสนองความตองการทางเศรษฐกิจ สังคม และสุนทรียภาพ ท่ีสามารถรักษาความสมบูรณทางวัฒนธรรมความหลากหลายทางชีวภาพ และระบบสนับสนุนชีวิตไวไดอยางยั่งยืน

การทองเท่ียวเชิงนิเวศกับการมีสวนรวมของชุมชน

มีการศึกษาวิจัยโดยชุมชนเปนฐานในเรื่องการทองเท่ียวเชิงนิเวศ แตยังขาดการศึกษาประเมินความยั่งยืนของการมีสวนรวมของชุมชนในการดูแลจัดการการทองเท่ียวเชิงนิเวศ อยางไรก็ตามไดมีส่ิงบงช้ีวาการมีสวนรวมของชุมชนจะยั่งยืนได ขึ้นอยูกับปจจัยหลายประการ ซ่ึงสรุปไดดังนี ้

1. ความตองการของชุมชน โครงการพัฒนาการทองเท่ียวเชิงนิเวศสําหรับชุมชนใดก็ตามจะตองเกิดจากความสนใจและความตองการของสมาชิกชุมชนเองเปนหลัก มิใชหนวยงานของทางราชการหรือองคการภาคเอกชนหรือใครก็ตามไปยัดเยียดใหโดยท่ีชุมชนไมเต็มใจท่ีรับโครงการไวและมีสวนรวม อาจเพราะความเกรงใจเกรงบารมีหรืออํานาจตามวิสัยธรรมชาติของชุมชนในชนบท

2. ความรูและความตระหนักของชุมชน เปนปจจัยสําคัญอีกตัวหนึ่งท่ีจะช้ีวาการมีสวนรวมของชุมชนจะยั่งยืนหรือไม ความรูและความตระหนักนี้ รวมไปถึงแนวคิดและองคประกอบของการทองเท่ียวเชิงนิเวศ ทรัพยากรทองเท่ียวของชุมชนและศักยภาพ ผลกระทบท่ีอาจเกิดขึ้นตอวัฒนธรรมและวิถีชีวิตของชุมชน (ตนทุนทางสังคม) และสภาพแวดลอมธรรมชาติ (ตนทุนทางธรรมชาติแวดลอม) หากดําเนินงานดานการทองเท่ียวเชิงนิเวศและความรูอ่ืนๆ ท่ีจําเปนตองใชในการพัฒนาและการบริหารจัดการ

3. การไดรับการสนับสนนุจากภายนอก ชุมชนทองถ่ินในชนบทสวนใหญมักอยูในภาวะดอยโอกาสในหลายเรื่อง โดยเฉพาะอยางยิ่งเรื่องความรูและทักษะในการพัฒนาและการจัดการ ยิ่งเรื่องการทองเท่ียวเชิงนิเวศ ซ่ึงเปนงานบริการท่ีตองมีมาตรฐานขั้นต่ํา เพราะมีการแขงขันทางการตลาดแลว เปนส่ิงท่ีชุมชนทองถ่ินไมคุนเคย ก็เปนสาเหตุทําใหเกิดความทอแทและไมสามารถดําเนินการตางๆ ตามความตั้งใจได ตรงจุดนี้หนวยงานภาคราชการ หรือภาคเอกชนรวมท้ัง NGOs หรือผูรูตางๆ จะตองเขามาสนับสนุนหรือชวยเหลือ สรางความ เขมแข็งใหแกชุมชนดังกลาวในขอ 2 อยางจริงจังและตอเนื่อง พรอมสรางภูมิตานทานตออิทธิพลตางๆ เพ่ือรองรับการเปล่ียนแปลงท่ีมีผลมาจากการทองเท่ียวดวย

4. การตัดสินใจและการแบงปนประโยชน การมีสวนรวมของชุมชนทองถ่ินจะตองพัฒนาใหรวมไปถึงการมีสวนรวมในการคิด การปฏิบัติ การแกไขปญหา และการติดตามประเมินผลแบบครบวงจร ไมใชผูนําหรือกลุมผูนําทองถ่ินดําเนินการเองท้ังหมด และท่ีสําคัญจะตองมีกลไกและระบบการแบงปนรายไดหรือประโยชนอ่ืนๆ อันเกิดจากการทองเท่ียวเชิงนิเวศท่ีเปนธรรมและความโปรงใส โดยเฉพาะประเด็นหลังนี้มักจะพบวาเปนสาเหตุของความไมยั่งยืนในการมีสวนรวมของชุมชนทองถ่ินคอนขางสูง

Page 22: ecotourism management

การพัฒนาการทองเท่ียวอยางยั่งยืน

การพัฒนาการทองเท่ียวท่ีจะกอใหเกิดการพัฒนาอยางยั่งยืน ซ่ึงจะพิจารณาไดจากองคประกอบหลัก

4 ประการ คือ 1. การดําเนินกิจกรรมการทองเท่ียวในขอบเขตความสามารถของธรรมชาต ิชุมชน ขนบธรรมเนียม

ประเพณีวัฒนธรรม และวิถีชีวิตความเปนอยูของชุมชนตอกิจกรรมการทองเท่ียว

2. การตระหนักในกิจกรรมการทองเท่ียวท่ีมีผลกระทบตอ ชุมชน ขนบธรรมเนียม ประเพณีวัฒนธรรม และวิถีชีวิตความเปนอยูของชุมชน

3. การมีสวนรวมของประชาชนในกิจกรรมการทองเท่ียว ท่ีมีผลกระทบตอระบบนิเวศ ชุมชน ขนบธรรมเนียม ประเพณี วัฒนธรรม และวิถีชีวิตท่ีมีตอการทองเท่ียว

4. การประสานความตองการทางเศรษฐกิจ การคงอยูของสังคม และการอนุรักษส่ิงแวดลอมอยางยั่งยืน

แนวคิดการบริหารจัดการ

อรุกุล รมกลาง. 2547 : 39-40 ; อางอิงมาจาก Gulick. 1963 โดย Gulick และ Urwick เปนเจาของสํานักบริหารท่ีเนนเรื่องระบบและรูปแบบ โดยเสนอทฤษฎีการบริหารท่ีโดงดังมาก คือ “ POSDCORB ” เปนทฤษฎีท่ีใชกันมากเพราะเปนกระบวนการทํางานท่ีมี 7 ขั้นตอน ดังนี ้ 1. Planning หมายถึง การวางแผนการทํางาน

2. Organizing หมายถึง การจัดองคการหรือการจัดโครงสรางขององคการ 3. Staffing หมายถึง การจัดคนเขาทํางาน โดยจัดคนท่ีมีความสามารถเหมาะสมกับงาน

4. Directing หมายถึง การอํานวยการใหลุลวงตามแผนงานท่ีกําหนดไว 5. Co-iodinating หมายถึง การประสานงานเพ่ือใหการดําเนินงานราบรื่น สามารถแกปญหาไดอยางรวดเร็ว

6. Reporting หมายถึง การรายงานผลการปฏิบัติงานใหผูเกี่ยวของหรือผูสนใจรับทราบ

7.Budgeting หมายถึง การงบประมาณ โดยศึกษาวิธีการในการบริหารงบประมาณและการเงิน

สรุปแนวคิดหลักในการจัดการทรัพยากรการทองเท่ียว บริเวณแหลงทองเท่ียวไวเปน 2 ประเภท (วรรณา วงษวานิช. 2539 : 76-77) คือ

1.การใหบริการและใหความสะดวก ตลอดจนใหความรูแกนักทองเท่ียว

2.การรักษาไวซ่ึงทรัพยากรธรรมชาติและส่ิงแวดลอมใหคงอยูตลอดไป

นอกจากนั้นการจัดการเพ่ือการทองเท่ียวตองคํานึงถึงความสามารถท่ีจะไดรับของพ้ืนท่ี (Carrying Capacity) 3 ประการ คือ

Page 23: ecotourism management

1.ความสามารถท่ีจะไดรับในเชิงกายภาพ (Physical Carrying) หมายถึง สภาพหรือลักษณะของพ้ืนท่ีจะเอ้ืออํานวยใหเปนสถานท่ีทองเท่ียว

2.ความสะดวกท่ีจะไดรับทางสังคม (Social Carrying Capacity) ความสามารถท่ีจะอํานวยความสะดวกตางๆของพ้ืนท่ีแหลงทองเท่ียวเพ่ือนักทองเท่ียว หรือความสามารถของสถานท่ีทองเท่ียวท่ีสามารถใหบริการแกผูมาเท่ียวไดสูงสุด โดยปกติสถานท่ีทองเท่ียวประเภทชายหาดจะมีความสามารถท่ีรับนักทองเท่ียวไดสูงกวาสถานท่ีทองเท่ียวประเภทอุทยานแหงชาต ิ

3.ความสามารถท่ีจะรับไดเชิงนิเวศวิทยา (Ecological Carrying Capacity) หมายถึง ความสามารถของส่ิงแวดลอมทางธรรมชาติในสถานท่ีนั้นและบริเวณใกลเคียงกับสถานท่ีทองเท่ียวนั้นการรองรับธุรกิจการทองเท่ียว ท้ังนี้ในพ้ืนท่ีทรัพยากรธรรมชาติแหลงทองเท่ียวแตละแหงจะมีวิธีการและเทคนิคของการจัดการตางกัน โดยตองคํานึงถึงความสามารถท่ีจะรองรับไดของพ้ืนท่ี โดยวิธีการ ดังนี้

3.1การกระจายจํานวนนักทองเท่ียว เพ่ือไมใหนักทองเท่ียวไปรวมตัวกันท่ีใดท่ีหนึ่งของพ้ืนท่ีจะลดผลกระทบตอการใชทรัพยากรในพ้ืนท่ีนั้น ซ่ึงตางกระทําไดโดย

3.1.1 การแบงเขตแหลงทองเท่ียวเปนเขตยอยๆ เชน บริเวณชมทิวทัศน เปนตน

3.1.2 การเก็บคาธรรมเนียมเขาชมสถานท่ี

3.2 การพัฒนาพ้ืนท่ีแหลงทองเท่ียวใหเกิดผลกระทบตอทรัพยากรธรรมชาติและส่ิงแวดลอมนอยท่ีสุด เชน การสรางถนนเพ่ือเช่ือมโยงจุดสําคัญในพ้ืนท่ีโดยไมใหภูมิทัศนบริเวณนั้นๆเสียไป

3.3 การจัดกิจกรรมเสริมในรูปแบบตางๆ เพ่ือใหนักทองเท่ียวเกิดความเพลิดเพลินและพึงพอใจและใหความรูความเขาใจในทรัพยากรธรรมชาติ อันจะนําไปสูความหวงแหนในทรพัยากรในพ้ืนท่ีนั้นๆ กิจกรรมตางๆ มีดังนี ้

การออกไปบรรยายนอกสถานท่ี การมีศูนยบริการนักทองเท่ียว

การจัดนิทรรศการประเภทตางๆ การนํานักทอเท่ียวไปตามจุดตางๆพรอมท้ังบรรยายประกอบ

การจัดทําทางเทา พรอมท้ังแผนปายบรรยายหรือเอกสารแนะนํา

ใชภาพไสลดและคําบรรยาย การจัดทําเครื่องหมายและคําเตือนตาง ๆ

นอกจากนี้อาจกําหนดแนวทางการใชประโยชน กฎขอบังคับ ตลอดจนการตรวจตราพ้ืนท่ีทองเท่ียวและออกกฎหมายลงโทษผูละเมิดกฎขอบังคับตางๆ เพ่ือปองกันการรักษาทรัพยากรธรรมชาติในพ้ืนท่ีอีกดวย

Page 24: ecotourism management

แนวคิดปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง

ความหมายปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง

“เศรษฐกิจพอเพียง” เปนปรัชญาท่ีพระบาทสมเด็จพระเจาอยูหัวทรงมีพระราชดํารัสช้ีแนะแนวทาง การดําเนินชีวิตแกพสกนิกรชาวไทยมาโดยตลอดนานกวา 25 ป ตั้งแตกอนเกิดวิกฤติการณทางเศรษฐกิจ และเม่ือภายหลังไดทรงเนนย้ํา แนวทางการแกไขเพ่ือใหรอดพน และสามารถดํารงอยูไดอยางม่ันคงและยั่งยืนภายใตกระแสโลกาภิวัตนและความเปล่ียนแปลง มีหลักพิจารณา ดังนี ้ กรอบแนวคิด เปนปรัชญาท่ีช้ีแนะแนวทางการดํารงอยูและปฏิบัติตนในทางท่ีควรจะเปนโดยมีพ้ืนฐานมาจากวิถีชีวิตดั้งเดิมของสังคมไทย สามารถนํามาประยุกตใชไดตลอดเวลา และเปนการมองโลกเชิงระบบท่ีมีการเปล่ียนแปลงอยูตลอดเวลา มุงเนนการรอดพนจากภัยและวิกฤติ เพ่ือความม่ันคงและความยั่งยืนของการพัฒนา

คุณลักษณะ เศรษฐกิจพอเพียงสามารถนํามาประยุกตใชกับการปฏิบัติตนไดในทุกระดับ โดยเนนการปฏิบัติบนทางสายกลาง และการพัฒนาอยางเปนขั้นตอน

คํานิยาม ความพอเพียงจะตองประกอบดวย 3 คุณลักษณะพรอม ๆ กัน ดังนี ้ 1. ความพอประมาณ หมายถึง ความพอดีท่ีไมนอยเกิดไปและไมมากเกินไป โดยไมเบียดเบียนตนเองและผูอ่ืน เชน การผลิตและการบริโภคท่ีอยูในระดับพอประมาณ

2. ความมีเหตุผล หมายถึง การตัดสินใจเกี่ยวกับระดับของความพอเพียงนั้นจะตองเปนไปอยางมีเหตุผล โดยพิจารณาจากเหตุปจจัยท่ีเกี่ยวของตลอดจนคํานึงถึงผลท่ีคาดวาจะเกิดขึ้นจากการกระทํานั้น ๆ อยางรอบคอบ

3. การมีภูมิคุมกันท่ีดีในตัว หมายถึง การเตรียมตัวใหพรอมรับผลกระทบ และการเปล่ียนแปลงดานตาง ๆ ท่ีจะเกิดขึ้นโดยคํานึงถึงความเปนไปไดของสถานการณตาง ๆ ท่ีคาดวาจะเกิดขึ้นในอนาคตท้ังใกลและไกล

เง่ือนไข การตัดสินใจและการดําเนินกิจกรรมตาง ๆ ใหอยูในระดับพอเพียงนั้น ตองอาศัยท้ังความรู และคุณธรรมเปนพ้ืนฐาน กลาวคือ

1. เง่ือนไขความรู ประกอบดวย ความรอบรูเกี่ยวกับวิชาการตาง ท่ีเกี่ยวของอยางรอบดาน ความรอบคอบท่ีจะนําความรูเหลานั้นมาพิจารณาใหเช่ือมโยงกัน เพ่ือประกอบการวางแผนและความระมัดระวังในขั้นปฏิบัต ิ

2. เง่ือนไขความธรรม ท่ีจะตองเสริมสรางประกอบดวย มีความตระหนักในคุณธรรม มีความช่ือสัตยสุจริต และมีความอดทน มีความพากเพียร ใชสติปญญาในการดําเนินชีวิต

Page 25: ecotourism management

แนวทางปฏิบัต/ิผลท่ีคาดวาจะไดรับ จากการนําปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงมาประยุกตใช คือ การพัฒนาท่ีสมดุลและยั่งยืน พรอมรับตอการเปล่ียนแปลงในทุกดาน ท้ังดานเศรษฐกิจ สังคมส่ิงแวดลอม ความรูและเทคโนโลย ี

ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง: แนวคิดใหมในการพัฒนาเศรษฐกิจ

1.1 เปาหมายการพัฒนาเศรษฐกิจโดยท่ัวไป ผูบริหารเศรษฐกิจมีเปาหมายท่ีสําคัญสามประการคือ ก) ดานประสิทธิภาพคือ การขยายตัวทางเศรษฐกิจ โดยมักจะพิจารณาจากการขยายตัวของผลผลิตมวลรวมภายในประเทศ (Gross Domestio Product) ซ่ึงแสดงวาในระยะเวลา 1 ป ประเทศผลิตสินคาและบริการรวมแลวเปนมูลคาเทาใด ดังนั้น การท่ีประเทศมี GDP ขยายตัว จึงหมายถึงวาสังคมมีการผลิตสินคาและบริการเพ่ิมขึ้นเรื่อยๆอยางตอเนื่อง มีทรัพยากรมากขึ้น ประชาชนโดยรวมมีความม่ังคั่งมากขึ้น ซ่ึงการขยายตัวไดดีแสดงวาระบบเศรษฐกิจมีประสิทธิภาพ มีการจัดสรรทรัพยากรท่ีด ี ข) ดานเสถียรภาพทางเศรษฐกิจ คือ การท่ีตัวแปรทางเศรษฐกิจท่ีสําคัญไมเปล่ียนแปลงอยางรวดเร็ว การไมมี shock ในระบบเศรษฐกิจ ท้ังนี้ ประชาชนโดยท่ัวไปยอมไมชอบการเปล่ียนแปลงอยางรวดเร็ว ทําใหปรับตัวไดยาก ในดานเสถียรภาพนี้มักจะมองไดหลายมิติคือ การมีเสถียรภาพในระดับราคาของสินคา หมายถึง การท่ีระดับราคาของสินคาไมเปล่ียนแปลงอยางฉับพลัน ประชาชนสามารถคาดการณราคาสินคาและบริการได การมีเสถียรภาพของการมีงานทํา หมายถึง การท่ีตําแหนงงานมีความเพียงพอตอความตองการของตลาดแรงงาน การมีเสถียรภาพของอัตราแลกเปล่ียนเงินตราตางประเทศ หมายถึง การท่ีอัตราแลกเปล่ียนเงินตราตางประเทศไมมีการเปล่ียนแปลงอยางฉับพลัน ซ่ึงจะมีผลตอเสถียรภาพของราคาในประเทศ และทําใหวางแผนการทําธุรกรรมระหวางประเทศมีความยุงยากมากขึ้น ค) ดานความเทาเทียมกัน โดยท่ัวไปหมายถึง ความเทาเทียมกันทางรายได เม่ือเศรษฐกิจมีการเปล่ียนแปลงไปในทางท่ีดีขึ้น แตปรากฏวา รายไดของคนในประเทศมีความแตกตางกันมากขึ้นเรื่อยๆ แสดงใหเห็นวามีคนเพียงกลุมนอยไดประโยชนจากการขยายตัวของเศรษฐกิจ สถานการณจะเลวรายไปกวานี้อีก หากเศรษฐกิจมีการเปล่ียนแปลงไปในทางท่ีดีขึ้น แตปรากฏวา มีคนจนมากขึ้นเรื่อย ๆ

1.2 โครงสรางและเนื้อหาปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง

พระบาทสมเด็จพระเจาอยูหัวทรงมีกระแสพระราชดํารัสใหผูบริหารประเทศและประชาชน เห็นถึงความสําคัญของการพัฒนาท่ีสมดุล มีการพัฒนาเปนลําดับขั้น ไมเนนเพียงการขยายตัวทางเศรษฐกิจอยางรวดเร็วมาเปนเวลานานแลว เชนพระบรมราโชวาทเม่ือวันท่ี 19 กรกฎาคม 2517 ท่ีวา "ในการพัฒนาประเทศนั้นจําเปนตองทําตามลําดับขั้น เริ่มดวยการสรางพ้ืนฐาน คือความมีกินมีใชของ

Page 26: ecotourism management

ประชาชนกอน ดวยวิธีการท่ีประหยัดระมัดระวัง แตถูกตองตามหลักวิชา เม่ือพ้ืนฐานเกิดขึ้นม่ันคงพอควรแลว การชวยเหลือสนับสนนุประชาชนในการประกอบอาชีพและตั้งตัวใหมีความพอกินพอใชกอนอ่ืนเปนพ้ืนฐานนั้น เปนส่ิงสําคัญอยางยิ่งยวด เพราะผูท่ีมีอาชีพและฐานะเพียงพอ ท่ีจะพ่ึงตนเองยอมสามารถสรางความเจริญกาวหนาระดับท่ีสูงขึ้นตอไปไดโดยแนนอน สวนการถือหลักท่ีจะสงเสริมความเจริญ ใหคอยเปนคอยไปตามลําดับดวยความรอบคอบระมัดระวังและประหยัดนั้น ก็เพ่ือปองกันการผิดพลาด ลมเหลว" และพระราชดํารัสเม่ือวันท่ี 4 ธันวาคม 2517 " ใหเมืองไทยอยูแบบพออยูพอกิน ไมใชวาจะรุงเรืองอยางยอด แตวามีความพออยูพอกิน มีความสงบเปรียบเทียบกับประเทศอ่ืนๆ ถาเรารักความพออยูพอกินนี้ได เราก็จะยอดยิ่งยวด " ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง เปนปรัชญาช้ีถึงแนวการดํารงอยูและปฏิบัติตนของประชาชนในทุกระดับ ตั้งแตระดับชุมชน จนถึงระดับรัฐท้ังในการพัฒนาและบริหารประเทศใหดําเนนิไปในทางสายกลาง โดยเฉพาะการพัฒนาเศรษฐกิจเพ่ือใหกาวทันตอโลกยุคโลกาภิวัฒนความพอเพียง หมายถึง ความพอประมาณ ความมีเหตุผล รวมถึงความจําเปน ท่ีจะตองมีระบบภูมิคุมกันในตัวท่ีดีพอสมควร ตอการมีผลกระทบใด ๆ อันเกิดจากการเปล่ียนแปลงท้ังภายนอกและภายใน ท้ังนี้ จะตองอาศัยความรอบรู ความรอบคอบ และความระมัดระวังอยางยิ่งในการนําวิชาการตางๆ มาใชในการวางแผนและการดําเนินการทุกขั้นตอน และขณะเดียวกันจะตองเสริมสรางพ้ืนฐานจิตใจของคนในชาติ โดยเฉพาะเจาหนาท่ีของรัฐ นักทฤษฎี และนักธุรกิจในทุกระดับ ใหมีสํานึกในคุณธรรมความซ่ือสัตยสุจริต และใหมีความรอบรูท่ีเหมาะสม ดําเนินชีวิตดวยความอดทน ความเพียร มีสติ ปญญาและความรอบคอบ เพ่ือใหสมดุลและพรอมตอการรองรับการเปล่ียนแปลงอยางรวดเร็วและกวางขวางท้ังดานวัตถุ สังคม ส่ิงแวดลอมและวัฒนธรรมจากโลกภายนอกไดเปนอยางดี จากปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงนี้ ไดมีการศึกษาโครงสรางและเนื้อหา โดยกลุมพัฒนากรอบแนวคิดทางเศรษฐศาสตรของปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง โดยจําแนกองคประกอบของปรัชญาเปนกรอบความคิด คุณลักษณะ คํานิยาม เง่ือนไข และแนวทางปฏิบัต/ิผลท่ีคาดวาจะไดรับ สรุปวา กรอบความคิด ของปรชัญานี้ เปนการช้ีแนะแนวทางการดํารงอยูและปฏิบัติตนท้ังแนวทางปฏิบัติและตัวอยางการประยุกตท่ีเกิดขึ้น โดยปรัชญาใชไดท้ังระดับปจเจกชนครอบครัว ชุมชน ประเทศ ในท่ีนี้มองในแงการบริหารเศรษฐกิจ (ระดับประเทศ) เปนการมองโลกในลักษณะท่ีเปนพลวัต มีการเปล่ียนแปลง มีความไมแนน และมีความเช่ือมโยงกับกระแสโลก คือไมใชปดประเทศ แตในขณะเดียวกันก็ไมเปนเสรีเต็มท่ีอยางไมมีการควบคุมดูแล ไมใชอยูอยางโดดเดี่ยวหรืออยูโดยพ่ึงพิงภายนอกท้ังหมด คุณลักษณะเนนการกระทําท่ีพอประมาณบน

พ้ืนฐานของความมีเหตุมีผลและการสรางภูมิคุมกนั ความพอเพียง คือ ความพอประมาณ ความมีเหตุมีผล มีระบบภูมิคุมกันท่ีดีตอผลกระทบของการเปล่ียนแปลง หากขาดองคประกอบใดก็ไมเปนความพอเพียงท่ีสมบูรณ

Page 27: ecotourism management

ความพอประมาณ คือ ความพอดี กลาวอยางงายๆวาเปนการยืนไดโดยลําแขงของตนเอง โดยมีการกระทําไมมากเกินไป ไมนอยเกินไปในมิติตางๆ เชน การบริโภค การผลิตอยูในระดับสมดุล การใชจาย การออมอยูในระดับท่ีไมสรางความเดือดรอนใหกับตนเอง พรอมรับการเปล่ียนแปลง ความมีเหตุมีผล หมายความวา การตัดสินใจเกี่ยวกับระดับความพอประมาณ ในมิติตางๆ จะตองเปนไปอยางมีเหตุมีผล ตองเปนการมองระยะยาว คํานึงถึงความเส่ียง มีการพิจารณาจากเหตุปจจัยและขอมูลท่ีเกี่ยวของ ตลอดจนคํานึงถึงผลท่ีคาดวาจะเกิดการมีภูมิคุมกันการมีภูมิคุมกันในตัวดีพอสมควร พลวัตในมิติตาง ๆ ทําใหมีการเปล่ียนแปลงในสภาวะตางๆ อยางรวดเร็วขึ้น จึงตองมีการเตรียมตัวพรอมรับผลกระทบท่ีคาดวาจะเกิดขึ้นจากการเปล่ียนแปลงดานตางๆ การกระทําท่ีเรียกไดวาพอเพียงไมคํานึงถึงเหตุการณและผลในปจจุบัน แตจําเปนตองคํานึงถึงความเปนไปไดของสถานการณตางๆท่ีจะเกิดขึ้นในอนาคต ภายใตขอจํากัดของขอมูลท่ีมีอยู และสามารถสรางภูมิคุมกันพรอมรับการเปล่ียนแปลง ท้ังนี้ เง่ือนไขการปฏิบัติ ตามปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงคือ การมีความรอบรู รอบคอบระมัดระวัง มีคุณธรรมความซ่ือสัตยสุจริต ความรอบรู คือ มีความรูเกี่ยวกับวิชาการตางๆอยางรอบดาน ในเรื่องตางๆท่ีเกี่ยวของ เพ่ือใชเปนประโยชนพ้ืนฐานเพ่ือนําไปใชในการปฏิบัติอยางพอเพียง การมีความรอบรูยอมทําใหมีการตัดสินใจท่ี

ถูกตอง ความรอบคอบ คือ มีการวางแผน โดยสามารถท่ีจะนําความรูและหลักวิชาตางๆมาพิจารณาเช่ือมโยงสัมพันธกัน ความระมัดระวัง คือ ความมีสติ ตระหนักถึงการเปล่ียนแปลงท่ีเกิดขึ้นได ในการนําแผนปฏิบัติท่ีตั้งอยูบนหลักวิชาตางๆเหลานั้นไปใชในทางปฏิบัติ โดยเปนการระมัดระวังใหรูเทาทันเหตุการณท่ีเปล่ียนแปลงไปดวย ในสวนของคุณธรรม ความซ่ือสัตยสุจริต ซ่ึงคลุมคนท้ังชาติ รวมท้ังเจาหนาท่ี นักวิชาการ นักธุรกิจ มีสองดานคือ ดานจิตใจ/ปญญาและดานกระทํา ในดานแรกเปนการเนนความรูคูคุณธรรมตระหนักในคุณธรรม มีความซ่ือสัตยสุจริต และมีความรอบรูท่ีเหมาะสม สวนดานการกระทําหรือแนวทางดําเนินชีวิต เนนความอดทน ความเพียร สติ ปญญา และความรอบคอบ เง่ือนไขนี้จะทําใหการปฏิบัติตามเนื้อหาของความพอเพียงเปนไปได ปรัชญากลาวถึงแนวทางปฏิบัติและผลท่ีคาดวาจะไดรับดวย โดยความพอเพียงเปนท้ังวิธีการและผล (End and mean) จากการกระทํา โดยจะทําใหเกิดวิถีการพัฒนาและผลของการพัฒนาท่ีสมดุล และพรอมรับการเปล่ียนแปลง ความสมดุลและความพรอมรับการเปล่ียนแปลงหมายถึง ความสมดุลในทุกดาน ท้ังดานเศรษฐกิจ สังคม ส่ิงแวดลอมและวัฒนธรรม ในขณะเดียวกัน ความสมดุลของการกระทําท้ังเหตุและผลจะนําไปสู ความยั่งยืนของการพัฒนา ภายใตพลวัตท้ังภายในและภายนอกประเทศ จากคุณลักษณะ ของปรัชญานี้ช้ีใหเห็นวา การบริหารเศรษฐกิจจะตองเปนทางสายกลาง รูเทาทันเพ่ือการใชประโยชนจากกระแสโลกาวิวัฒน ดังนั้น นโยบายเศรษฐกิจจะไมใชการปดประเทศ ตองสงเสริมการคาและความสัมพันธทางเศรษฐกิจระหวางประเทศ ณัฏฐพงศ ทองภักดีและคณะ(2542) ช้ีวาการใชประโยชนจากกระแสโลกาภิวัฒนตามแนวนี้ จะสอดคลองกับแนวคิดทางเศรษฐศาสตรเรื่องการผลิตและ

Page 28: ecotourism management

การคาทําตามความไดเปรียบโดยเปรียบเทียบของประเทศเปนหลักการสําคัญ นั่นคือการสรางความไดเปรียบอยางแทจริงของประเทศ นโยบายเศรษฐกิจจะตองสนับสนุนการแขงขันทางการผลิตและการคาเพ่ือใหสังคมมีประสิทธิภาพ และผูบริโภคไดประโยชน ไมปกปองอุตสาหกรรมขนาดใหญ ไมมีความไดเปรียบในการผลิตโดยตั้งภาษีนําเขาสูง ซ่ึงจะทําใหไมไดประโยชนจากการคาระหวางประเทศ เพราะสินคานําเขาจะมีราคาแพง ตนทุนการผลิตในประเทศสูงขึ้น การสงออกทําไดยากขึ้นในขณะเดียวกันตองมีนโยบายสําหรับผูเดือดรอนจากการกระแสโลกาภิวัฒนใหปรับตัวได

งานวิจัยที่เกี่ยวของ

กรวรรณ สังขกร (2552 : 146-147) ไดศึกษาเรื่องแนวคิดเศรษฐกิจพอเพียงกับการทองเท่ียวชุมชน พบวา การประยุกตใชแนวคิดเศรษฐกิจพอเพียงตอการพัฒนาการทองเท่ียวชุมชนอยางยั่งยืนตามนิยามตางๆ วาเปนการพัฒนาบนทางสายกลางและความไมประมาท ประกอบดวย 3 คุณลักษณะ 2 เง่ือนไข ดังนี้ (1) 3 คุณลักษณะ ประกอบดวย ความพอประมาณ คือ ความพอดี พองาม ความสัมพันธอันดีระหวางคนในชุมชนและระหวางคนกับธรรมชาติมีการวางแผนใชทรัพยากรและทุนทางสังคมท่ีมีอยูอยางเหมาะสมและเกิดประโยชนตอชุมชน และจัดการทองเท่ียวเชิงอนุรักษท่ีไมเบียดเบียนส่ิงแวดลอม รวมถึงการการฟนฟูวัฒนธรรมท่ีดีในวิถีชุมชน และมีการสืบทอดภูมิปญญาทองถ่ินจากผูสูงอายุสูคนรุนใหม ความมีเหตุผล มีการกําหนดกฎกติกาตางๆท่ีนํามาใชจัดการการทองเท่ียวรวมกันในชุมชน การมีภูมิคุมกัน ตองมีระบบการบริหารจัดการท่ีดี มีผูนําดี มีคุณธรรม มีลูกบานเปนผูตามท่ีดี มีการบริหารจัดการทรัพยากรสวนรวมอยางมีคุณคา (2) ในสวนประกอบ 2 เง่ือนไข คือ ความรู นอกจากตนเองตองสนใจการเรียนรูแลว ชุมชนควรมีการสงเสริมการเรียนรู พัฒนาบุคลากรของชุมชนโดยการอบรม นอกจากนี้ยังมีการพัฒนาภูมิปญญาทองถ่ินประยุกตกับวิทยาการสมัยใหมในรูปแบบตางๆ และคุณธรรม ผูนําดีมีคุณธรรม ซ่ือสัตยสุจริต กระจายรายไดจากการทองเท่ียวอยางเปนธรรมและท่ัวถึง มุงประโยชนโดยรวมของชุมชนเปนท่ีตั้ง ซ่ึงจะทําใหเกิดความสามัคคีในชุมชน

ธัญญลักษณ มีหมู (2552 : 114-116) ไดศึกษาเรื่องศักยภาพและแนวทางการจัดการการทองเท่ียวเชิงนิเวศวัฒนธรรม ในเขตตําบลทาหินงาม อําเภอเมือง จังหวัดชัยภูมิ สรุปผลการวิจัยดังนี้ ศักยภาพการทองเท่ียวเชิงนิเวศวัฒนธรรม ความสามารถ ความพรอม คุณคาและส่ิงอํานวยความสะดวกตางๆของแหลงทองเท่ียว สรุปเปน (1) ดานความสะดวก (2) ดานการบริการ (3) ดานผลิตภัณฑชุมชน (4) การสงเสริมการตลาด ดานแนวทางการจัดการการทองเท่ียวเชิงนิเวศวัฒนธรรม มาตรการ วิธีการ การบริหารจัดการแหลงทองเท่ียว สรุปไดดังนี้ (1) แนวทางการจัดการเกี่ยวกับท่ีพัก (2) แนวทางการจัดการดานความปลอดภัย (3) แนวทางการจัดการเกี่ยวกับผลิตภัณฑสินคาชุมชน (4) แนวทางการจัดการเกี่ยวกบัสภาพแวดลอม (5) แนวทางการจัดการดานตลาด

Page 29: ecotourism management

บังอร ทาประเสริฐ (2552 : 180-183) ไดศึกษาเรื่อง ตลาดน้ําวัดลําพญา : การจัดการเพ่ือพัฒนาการทองเท่ียวทางวัฒนธรรมโดยการมีสวนรวมของชุมชน พบวา ศักยภาพทางดานการทองเท่ียวทางวัฒนธรรมชุมชนตลาดน้ําวัดลําพญา ตําบลลําพญา อําเภอบางเลน จังหวัดนครปฐม สรุปไดดังนี้ (1) วิถีชีวิตความเปนอยูของชุมชนตลาดน้ําวัดลําพญา สวนใหญดําเนินชีวิตในรูปสังคมเกษตรกรรม พ่ึงพาธรรมชาติและส่ิงแวดลอม (2) ประเพณีวัฒนธรรม ชาวชุมชนตลาดน้ําวัดลําพญาศรัทธาถือปฏิบัติกิจสําคัญทางพระพุทธศาสนา ประเพณีวัฒนธรรมประจําจังหวัดนครปฐม เชน งานนมัสการองคพระปฐมเจดีย งานนมัสการปดทองหลวงพอวัดไรขิง ฯลฯ (3) ศักยภาพแหลงทองเท่ียวของตลาดน้ําวัดลําพญา มีพระพุทธรูปศักดิ์สิทธ์ิ คือ หลวงพอมงคลมาลานิมิต เปนพระพุทธรูปปางมารวิชัย สรางดวยศิลาแลงพอกปูนและปดทองทับไว (4) ปญหาการทองเท่ียว โดยเฉพาะเรื่องขยะ และส่ิงปฏิกูล และปญหามลภาวะทางน้ําเปนอันดับรอง (5) ความตองการของชุมชนในการพัฒนาการทองเท่ียว การมีสวนรวมของชุมชนในการวางแผนการพัฒนาการทองเท่ียวแบบยั่งยืน การจัดการตลาดน้ําวัดลําพญา เพ่ือพัฒนาการทองเท่ียวทางวฒันธรรม โดยการมีสวนรวมของชุมชน (1) แนวทางการจัดการท่ัวไป ชุมชนควรมีจิตสํานึกในการรักษาส่ิงแวดลอมรวมกัน ควรเนนการประชาสัมพันธตลาดใหเปนท่ีรูจักมากขึ้น (2) การจัดการ (3) แผนการพัฒนาการทองเท่ียว (4) แบบการทองเท่ียว (5) การมีสวนรวม (6) แผนการทองเท่ียวคัดสรร

วิธีดําเนินการศึกษา

ในการศึกษาครั้งนี้ผูศึกษาจะใชระเบียบวิธีวิจัยเชิงคุณภาพ โดยท่ีผูศึกษาจะใชชีวิตอยูในชุมชนเพ่ือสังเกตการณแบบมีสวนรวมและการสัมภาษณผูใหขอมูลสําคัญ เครื่องมือท่ีใชในการเก็บรวบรวมขอมูล มีดังนี ้

1. สมุดจดบันทึก

2. กลองถายรูป

3. แบบสัมภาษณ 4. การสังเกตการณแบบมีสวนรวม

5. แบบประเมินผลของการจัดโครงการ

อีกท้ังผูศึกษายังมีการศึกษาขอมูลมือสองและศึกษาเอกสารท่ีเกี่ยวของกับการทองเท่ียวเชิงนิเวศ เพ่ือนําขอมูลมาวิเคราะหและอธิบายอยางเปนระบบ

Page 30: ecotourism management

นิยามศัพทเฉพาะ

การทองเท่ียวเชิงนิเวศ หมายถึง การเดินทางทองเท่ียวอยางมีความรับผิดชอบในแหลงธรรมชาติท่ีมีเอกลักษณเฉพาะถ่ิน และแหลงวัฒนธรรมท่ีเกี่ยวเนื่องกับระบบนิเวศ ส่ิงแวดลอม และการทองเท่ียวโดยมีระบบการเรียนรูรวมกันของผูท่ีเกี่ยวของ ภายใตการจัดการอยางมีสวนรวมของทองถ่ิน เพ่ือมุงใหเกิดจิตสํานึกตอการรักษาระบบนิเวศอยางยั่งยืน

ศักยภาพ หมายถึง ความสามารถหรือความพรอมของชุมชนในการบริหารจัดการการทองเท่ียว เชิงนิเวศ

ชุมชนหวยยาง คือ บานหวยยางเหนือ หมูท่ี 9 และบานหวยยาง หมูท่ี 6 ตําบลเหลาโพนคอ อําเภอโคกศรีสุพรรณ จังหวัดสกลนคร

Page 31: ecotourism management

บทที่ 2

บริบททั่วไปของชุมชน

ประวัติความเปนมาของชุมชนหวยยาง ชนเผาภูไทในอดีตสรางบานแปงเมืองอยูกันเปนอาณาจักรใหญ มีเมืองแถนเปนราชธานีมีขุนบรมราชาธิราช เปนกษัตริยปกครองเมืองแถน มีมเหสี 2 องค คือ พระนางเอกแดง (เอคแกง) มีโอรส 4 องค และพระนางยมพาลามีโอรส 3 องค รวม 7 องค เม่ือโอรสเติบโตขึ้นจึงไดใหไปสรางเมืองตางๆ พรอมมอบทรัพยสมบัติใหอาณาจักรแถนจึงอยูอยางอิสระและหางไกลจากไทกลุมอ่ืน ไดปรากฏหลักฐานขึ้นอีกครั้งหนึ่งมีเนื้อความวาผูไทมีอยู 12 เมืองจึงเรียกดินแดนนี้วา “สิบสองจุไท” โดยแบงเปน

1. ภูไทดํา มีอยู 8 เมืองนิยมแตงกายดวยชุดเส้ือผาสีดําและสีคราม

2. ภูไทขาว มีอยู 4 เมือง อยูใกลชิดติดกับชายแดนจีนนิยมแตงกายดวยชุดเส้ือผาสีขาว บานหวยยางอพยพมาจาก Hun Phan เนื่องจากในยุคสมัยนั้นมีโจรจีนฮอเขามาปลนบานเมือง ฆาคน ชิงทรัพยและเผาบานเผาเมืองเปนจํานวนมากจึงไดรับความเดือนรอนตองหนีโจรเขาปาเปนจํานวนมากเพราะความดุรายของจีนฮอ โดยมีผูนํากลุมคือ “ยางธิสาร” ทานมีความเกงกลาและวิชาอาคม ยางธิสารไดนําชนเผาภูไทในความปกครองของตนมาจากบานม่ัน เมืองเซะ สาระวัน คําทอง ขามแมน้ําโขงมาสูนครพนมแลวเดินทางตอมาจนถึงภูพาน ซ่ึงปจจุบัน คือ บานหวยยาง ตําบลเหลาโพนคอ อําเภอโคกศรีสุพรรณ จังหวัดสกลนคร เพราะทานเห็นวาท่ีแหงนี้มีดินดีมีน้ําอุดมสมบูรณเหมาะแกการเพาะปลูก

ในป พ.ศ. 2510 บานหวยยางเปนหมูบานยากจนอันดับตนๆของจังหวัดสกลนคร เปนหมูบานท่ีประสบภัยแลงถึง 2 ครั้ง ครั้งท่ี 1 ยายไปอยูท่ีบานทามวง ตําบลน้ําจั่น อําเภอเซกา จังหวัดหนองคาย หนีภัยไป 20 ครัวเรือน กลุมท่ี 2 ยายไปอยูท่ี บานโคกสําราญ ตําบลชุมภูพร จังหวัดบึงกาฬ ครัง้ท่ี 2 หนีภัยไป 12 ครัวเรือน โดยยายตามญาติพ่ีนอง 3 กลุม คือ

กลุมท่ี 1 ยายไปบานทามวง อําเภอเซกา จังหวัดหนองคาย

กลุมท่ี 2 ยายไปบานคําบอน ตําบลน้ําจั่น อําเภอเซกา จังหวัดหนองคาย

กลุมท่ี 3 ยายตามญาติพ่ีนองไปบานหวยลึก บานบุงคลา จังหวัดหนองคาย

ตอมาในป พ.ศ. 2524 บานหวยยาง-เหนือพบกับปญหาภัยแลงเชนเดียวกับป พ.ศ. 2510 ชาวบานหวยยาง-เหนือจึงพากันไปขอทานกินตามจังหวัดใกลเคียง เชนนครพนม มุกดาหาร กาฬสินธุ ประมาณ 90%ของครัวเรือนท้ังหมด จนกระท่ังหนังสือพิมพเดลินิวสพาดหัวขาวหนา 1 วาพบหมูบานขอทานแหงแรกของสกลนคร โดยนายเสวก จันทรพรหม ผูลงขาว ขาวไดทราบถึงพระบาทสมเด็จพระเจาอยูหัว พระองคทานได

Page 32: ecotourism management

มอบหมายงานใหกรมชลประทานดําเนินการกอสรางอางเก็บน้ําหวยโท-หวยยางขึ้นในป 2528 แลวเสร็จเม่ือป พ.ศ. 2530 ในการนี้พระองคทรงเสด็จมาเปดอางเก็บน้ําดวยพระองคเอง เม่ือป พ.ศ. 2531 ตั้งแตบัดนั้นเปนตนมาจนถึงปจจุบันทําใหบานหวยยาง-เหนือและหมูบานใกลเคียงในเขตตําบลเหลาโพนคอ เปนหมูบานเศรษฐกิจพอเพียงจากหมูบานขอทานกลายมาเปนหมูบานเศรษฐกิจนํารองดานการเกษตรอันดับ 1 ของอําเภอโคกศรีสุพรรณ จังหวัดสกลนคร โดยเฉพาะดานกลาไม เชน มะกรูด มะนาว ผักหวานปา ฯลฯ

ป พ.ศ. 2548 ไดรับการคัดเลือกจากองคกรพัฒนาประชาชน (คอป.) ไดรับงบประมาณ 200,000 บาท เปนหมูบานติดอันดับ 1 ใน 8 ของหมูบานท่ัวประเทศ และติด 1 ใน 2 หมูบานในภาคอีสานในนามกลุมเพาะพันธุกลาไม บริบททั่วไปของชุมชนหวยยาง

ขอมูลประชากร

บานหวยยางเหนือเ หมูท่ี 9 มีประชากรท้ังส้ิน 858 คน แยกเปน ชาย 420 คน หญิง 438 คน

มีครัวเรือนท้ังส้ิน 163 ครัวเรือน บานหวยยาง หมูท่ี 6 มีประชากรท้ังส้ิน 1,010 คน แยกเปน ชาย 255 คน หญิง 485 คน มี

ครัวเรือนท้ังส้ิน 199 ครัวเรือน

ท่ีตั้งชุมชนหวยยาง

บานชุมชนหวยยาง บานหวยยางเหนือ หมูท่ี 9 และบานหวยยาง หมูท่ี 6 ตั้งอยูในเขตตําบลเหลาโพนคอ อําเภอโคกศรีสุพรรณ จังหวัดสกลนคร

อาณาเขตบานหวยยางเหนือ หมูท่ี 9

ทิศเหนือ ติดเขตบานโพนสูง ตําบลเหลาโพนคอ อําเภอโคกศรีสุพรรณ

จังหวัดสกลนคร

ทิศใต ติดเขตบานโพนงาม ตําบลหนองบอ อําเภอนาแก จังหวัดนครพนม

ทิศตะวันออก ติดเขตบานหวยยาง ตําบลเหลาโพนคอ อําเภอโคกศรีสุพรรณ จังหวัดสกลนคร

ทิศตะวันตก ติดเขตเทือกเขาภูพาน อําเภอโคกศรีสุพรรณ จังหวัดสกลนคร

Page 33: ecotourism management

อาณาเขตบานหวยยาง หมูท่ี 6

ทิศเหนือ ติดเขตบานโพนคอ ตําบลเหลาโพนคอ อําเภอโคกศรีสุพรรณ

จังหวัดสกลนคร

ทิศใต ติดกับเขาภูพาน เขตตําบลหนองบอ อําเภอนาแก จังหวัดนครพนม

ทิศตะวนัออก ติดเขตบานเหลา ตําบลเหลาโพนคอ อําเภอโคกศรีสุพรรณ จังหวัดสกลนคร

ทิศตะวันตก ติดเขตบานหวยยางเหนือ ตําบลเหลาโพนคอ อําเภอโคกศรีสุพรรณ จังหวัดสกลนคร

ขอมูลดานการเมือง การปกครองบานหวยยางเหนือ หมูท่ี 9

1 ผูใหญบาน ช่ือ นายวิกรานต โตะชาลี

2 ผูชวยผูใหญบาน 1. นายมานะชัย แสนธิจักร

2. นายวิวร โตะชาลี

3. นายวิตตะ ยางธิสาร (ผรส.) 3. สมาชิก อบต. 1. นายจบ ยางธิสาร

2. นางวงคจันทร ยางธิสาร

4. จํานวนคุม ในหมูบาน มี 4 คุม ดังนี ้ 1. ช่ือคุม คุมกลางใหญ หัวหนาคุม ช่ือ นายจบ ยางธิสาร

2. ช่ือคุม คุมกลางตอนบน หัวหนาคุม ช่ือ นายไมตรี ศูนยราช

3. ช่ือคุม คุมหนองไผตอนบน หัวหนาคุม ช่ือ นายสนธีร ยางธิสาร 4. ช่ือคุม คุมหนองไผตอนลาง หัวหนาคุม ช่ือ นายคําตา นาริเพ็ง 5. ประธานประชาคม นายเจริญ โตะชาลี ขอมูลดานการเมือง การปกครองบานหวยยาง หมูท่ี 6

1. ผูใหญบาน ช่ือ นายหวล ยางธิสาร

2. ผูชวยผูใหญบาน 1. นายเมคินธ ยางธิสาร

2. นางญาณี ยางธิสาร

3. นายวีระชัย แสนธิจักร (ผรส.) 3. สมาชิก อบต. 1. นายสุรัน โตะชาลี

Page 34: ecotourism management

2. นายสาคร ยางธิสาร

4. จํานวนคุม ในหมูบาน มี 4 คุม ดังนี ้ 1. ช่ือคุม คุมวัดโพธ์ิชัย หัวหนาคุม ช่ือ นายสาคร ยางธิสาร

2. ช่ือคุม คุมแสงสวาง หัวหนาคุม ช่ือ นายลิขิต ยางธิสาร

3. ช่ือคุม คุมโรงเรียน หัวหนาคุม ช่ือ นายหวล ยางธิสาร 4. ช่ือคุม คุมบานนอย หัวหนาคุม ช่ือ นายเรง ยางธิสาร

ขอมูลดานอาชีพ และการมีงานทําในชุมชนบานหวยยางเหนือ หมูท่ี 9

ประชากร มีอาชีพทํานา 163 ครอบครัว ทําสวน - ครอบครัว อาชีพรับจาง 100 ครอบครัว อาชีพคาขาย 6 ครอบครัว อาชีพเล้ียงสัตว 120 ครอบครัว อาชีพรับราชการ 13 คน ประกอบอาชีพอยางเดียว 163 ครัวเรือน ประกอบอาชีพหลายอยาง 163 ครัวเรือน คนวางงานในหมูบาน จํานวน - คน

ขอมูลดานอาชีพ และการมีงานทําในชุมชนบานหวยยาง หมูท่ี 6

ประชากร มีอาชีพทํานา 199 ครอบครัว ทําสวน 32 ครอบครัว อาชีพรับจาง 28 ครอบครัว

อาชีพคาขาย 8 ครอบครัว อาชีพเล้ียงสัตว 85 ครอบครัว อาชีพรับราชการ 10 คน ประกอบอาชีพอยางเดียว 24 ครัวเรือน ประกอบอาชีพหลายอยาง 12 ครัวเรือน คนวางงานในหมูบาน จํานวน 32 คน

ขอมูลดานสังคม ประเพณี และวัฒนธรรมทองถ่ินชุมชนหวยยาง

ชุมชนหวยยาง ไดดําเนินชีวิตประจําวันตามหลักของ ฮีต 12 คอง 14 ตามประเพณีท่ีนับถือมาแตโบราณกาล มีวัฒนธรรมเรื่องการนับถือผี

การเล้ียงผีปูตา ในเดือนสามของแตละปจะมีการเล้ียงผีปูตา ซ่ึงชาวบานจะรวมกันเก็บรวบรวมเงินตามศรัทธาของชาวบานมาซ้ือไกทําพิธี โดยมีตัวแทนเรียกวาเจาจ้ํา มาทําพิธีตามหลักท่ีเคยนับถือกันมา

การฟอนภูไท

Page 35: ecotourism management

ฟอนภูไท มีอยู 2 จังหวัดคือ จังหวัดนครพนมและจังหวัดสกลนคร ซ่ึงเปนศิลปดั้งเดิมของชาวภูไทท่ีไดอนุรักษศิลปการรํานี้ไว ปจจุบันการฟอนภูไทจังหวัดนครพนม เปนการรําเพ่ือพิธีกรรมเซนสรวงส่ิงศักดิ์สิทธ์ิตามศิลปดั้งเดิมอยางหนึ่งหรือเปนการรําเพ่ือความสนุกสนานในงานการละเลนของหมูบาน

จังหวัดสกลนคร บางปท่ีขาวออกรวงงามดีก็จะพากันทําพิธีแหขาวเมาไปสักการะท่ีพระธาตุเชิงชุมแลวทําพิธีถวายตามประเพณีเดิม เปนการแสดงออกใหเห็นถึงความสามัคคีในหมูคณะเดียวกันโดยจะฟอนในงานเทศกาลเดือน 5 และเดือน 6

อุปกรณและวิธีการเลน เชน แคน กลอง หาง ฉิ่ง ฉาบ กลองสองหนา ซอ พิณ ฆองวงเล็ก ไมกั๊บแกบ วิธีเลน หนุมสาว ชายหญิง จับคูเปนคูๆแลวฟอนทาตางๆใหเขากับจังหวะดนตรีโดยรําเปนวงกลมและมีทารํา 16 ทา เวลาฟอนท้ังชายหญิงจะไมสวมถุงเทาและรองเทา ท่ีสําคัญ ในขณะฟอนฝายชายจะถูกเนื้อตองตัวฝายหญิงไมไดเด็ดขาด มิฉะนั้นจะผิดผี อาจจะถูกปรับไหมตามจารีตประเพณีได คุณคา/แนวคิด/สาระ เปนการนําเอาเอกลักษณดานการแตงกาย ดานการฟอนรํา ดานมวยโบราณ มาแสดงออกเปนศิลปวัฒนธรรม เพ่ือใหคนท่ัวไปไดช่ืนชมการฟอนภูไท เปนประเพณีท่ีมีมาแตบรรพบุรุษและถือวาเปนศิลปะเอกลักษณทางดานวัฒนธรรมประจําเผาภูไท

พิธีเหยา

การเหยา (การรําผีฟา) เปนพิธีกรรมความเช่ือในการนับถือผี เปนการเส่ียงทาย เม่ือมีการเจ็บปวยในครอบครัวก็เช่ือวาเปนการกระทําของผีจึงตองทําพิธีเหยาเพ่ือ “แกผี” วาผูเจ็บปวยนี้ผิดผีดวยสาเหตุใด ผีตองการใหทําอะไรจะไดปฎิบัติตาม เช่ือวาทําการแกผีแลวอาการเจ็บปวยก็จะหายตามปกติ โดยจะมีผูทําพิธีเหยาเรียกวา “ผีหมอ” จําพิธีเซนผี ติดตอส่ือสารกับผีโดยวิธีรองรําประกอบดนตรีประเภท แคน คํารองนั้นเช่ือวาเปนคําบอกของผีท่ีจะเช่ือมโยงถึงผูปวย คนคุมหรือคนเล้ียงผีเรียกวา “แมเมือง” ในปหนึ่งๆลูกเมือง (ผีหมอ) จะทําการคารวะแมเมือง 1 ครั้ง เรียกวา “พิธีเล้ียงผีของผีหมอ” (หมอเหยา) พิธีเหยาจําแนกได 4 ลักษณะดังนี ้

1. การเหยาเพ่ือชีวิต เปนลักษณะการเหยาเพ่ือรักษาอาการเจ็บปวยหรือเหยาตออายุ ภาษาหมอเหยาหรือผีหมอเรียกวา “เหยาเพ่ือเล้ียงม้ิงเล้ียงหอ”

2. การเหยาเพ่ือคุมผีออกเปนการสืบทอดหมอเหยา กลาวคือ เม่ือมีผูปวยรักษาอยางไรก็ไมหายหมอเหยาจะมีการเหยาคุมผีออก (เนื่องจากมีผีรายเขาสิง) ถาผีออกผูปวยจะลุกขึ้นมารายรํากับหมอเหยาและผูปวยท่ีหายเจ็บไขก็จะกลายเปนหมอเหยาตอ

3. การเหยาเพ่ือเล้ียงผี เปนการจัดเล้ียงเพ่ือขอบคุณผี โดยจะจัดในชวงเดือน 4 หรือเดือน 6 ของทุกๆป ถาปใดหมอเหยาไมไดเหยามากนักหรือขาวปลาไมอุดมสมบูรณก็จะไมเล้ียง หากแตจะทําพิธีฟายน้ําเหลา (ใชใบและดอกไมมาจุมน้ําเหลาและประพรมใหกระจายออกไป)

Page 36: ecotourism management

4. การเหยาเอาฮูปเอาฮอย เปนพิธีกรรมเหยาในงานประเพณี จะทํากันในงานบุญพระเวสฯของแตละปและจะทําติดตอกัน 3 ปเวน 1 ปจึงจะทําอีกสวนใหญผูท่ีทําพิธีเหยานี้จะเปนผูชายลวน

พิธีสรงน้ําพระภ ู

พิธีสรงน้ําพระภูนี้ ชาวบานจะทําในชวงเดือน 6 ของทุกป โดยชาวบานในชุมชนหวยยางและหมูบานใกลเคียงจะทําอาหารขึ้นไปถวายเพลพระสงฆ และรับประทานรวมกันบนพระธาตุดอยอางกุง ในชวงบายพระสงฆจะทําพิธีและจะสรงน้ําพระพุทธศิริมงคลและพระธาตุดอยอางกุง โดยชาวบานมีความเช่ือวาหากปไหนไมไดทําพิธีสรงน้ําพระภูจะทําใหฝนไมตกตองตามฤดูกาล

ขอมูลดานทรัพยากรธรรมชาติและส่ิงแวดลอม

ชุมชนหวยยาง มีสภาพแวดลอมท่ีดีลอมรอบดวยทุงนา และติดเทือกเขาภูพานทางทิศใต มีปาชุมชน ซ่ึงประชาชนใชประโยชนรวมกัน 2 แหง และหนองน้ําสาธารณะ 7 แหง

ขอมูลสถานบริการของรัฐและสถานท่ีสําคัญในชุมชน

ชุมชนหวยยางมีสถานบริการของรัฐและสถานท่ีสําคัญในชุมชน ดังนี ้ ชุมชนหวยยางมีรานคาขายของชํา 20 แหง วัด 2 แหง สํานักสงฆ 1 แหง ท่ีอานหนังสือพิมพ 2 แหง หอกระจายขาว 2 แหง ศูนยสาธารณะสุขมูลฐาน 2 แหง รานซอมรถ 3 แหง แหลงทองเท่ียวในชุมชน 15 แหงรานตัดผม 1 แหง

ขอมูลกลุมองคกรชุมชน/ปราชญชาวบานบานหวยยางเหนือ หมูท่ี 9

1. กลุมเพาะพันธุกลาไม จํานวน 53 คน ช่ือประธาน นายเริง ยางธิสาร

2. กลุมเยาวชน จํานวน 65 คน ช่ือประธาน นายแสงเพชร ยางธิสาร

3. กลุมกลุมสตรีแมบานออมทรัพย จํานวน 76 คน ช่ือประธาน นางวงคจันทร ยางธิสาร

4. กลุมเล้ียง โคพันธุพ้ืนเมือง จํานวน 84 คน ช่ือประธาน นายวิวร โตะชาลี

5. กลุมทอผาไหม จํานวน 63 คน ช่ือประธาน นางวงคจันทร ยางธิสาร

ขอมูลกลุมองคกรชุมชน/ปราชญชาวบาน บานหวยยาง หมูท่ี 6

1. กลุมเพาะพันธกลาไม จํานวน 23 คน ช่ือประธาน นายเรง ยางธิสาร

2. กลุมเยาวชน จํานวน 45 คน ช่ือประธาน นายชัชวาล ยางธิสาร

Page 37: ecotourism management

3. กลุมกลุมสตรีแมบานออมทรัพย จํานวน 65 คน ช่ือประธาน นางจิตนา พลราชม

4. กลุมเล้ียง โคพันธุพ้ืนเมือง จํานวน 84 คน ช่ือประธาน นายมวลชัย ยางธิสาร

5. กลุมทอผาไหม จํานวน 72 คน ช่ือประธาน นางเรณู ยางธิสาร

6. กลุมผลิตปุยชีวภาพ จํานวน 42 คน ช่ือ ประธาน นายหวล ยางธิสาร

ตารางท่ี 1 ขอมูล ปราชญชาวบาน หรือ ผูนําชุมชน ท่ีชาวบานใหความเคารพนับถือบานหวยยางเหนือ หมูท่ี 9

ช่ือ – สกุล บานเลขท่ี ความรู/ความสามารถ/ภูมิปญญาเดน

1. นายเซง คําเพชรด ี 124 เวทมนต เปางู ไลปอบ

2. นายชุย แสนธิจักร 154 ไลปอบ

3. นายขันคํา ยางธิสาร 88 เปาฝหัวดํา

4. นางจอม จองสระ 30 หมอสมุนไพร 5. นายบุญมา โตะชาลี 134 สานกระติบขาว ตารางท่ี 2 ขอมูล ปราชญชาวบาน หรือ ผูนําชุมชน ท่ีชาวบานใหความเคารพนับถือบานหวยยาง หมูท่ี 6

ช่ือ - สกุล บานเลขท่ี ความรู/ความสามารถ/ภูมิปญญาเดน

1. นายพาดี ยางธิสาร 11 จักสาน

2. นางผองคํา โตะชาลี 76 หมอเปา

3. นายหวล ยางธิสาร 215 ดนตรีพ้ืนบาน

4. นางแต คําเครือ หมอสมุนไพร 5. นายเกียรติ โตะชาลี 73 เปา

Page 38: ecotourism management

บทที่ 3

ศักยภาพแหลงทองเที่ยวในชุมชนหวยยาง

ในการศึกษาศักยภาพแหลงทองเท่ียวในชุมชนหวยยาง ผูศึกษาจะอธิบายถึงสถานท่ีสําคัญ แหลงทองเท่ียวทางธรรมชาติ รวมถึงประเพณี และวัฒนธรรมของชุมชน ดังนี ้ ศักยภาพดานแหลงทองเที่ยว

1.จุดชมวิวอางเก็บน้ําหวยโท-หวยยาง

อดีตเคยเปนท่ีทรงงานของพระบาทสมเด็จพระเจาอยูหัวฯ เนื่องจากพระองคไดมอบหมายงานใหกรมชลประทานมาสรางอางเก็บน้ําในป 2528 แลวเสร็จในป พ.ศ.2530 เพ่ือแกไขปญหาภัยแลงของหมูบานหวยยางใหมีน้ําในการทําการเกษตร ในการนี้พระองคเสด็จมาเปดอางดวยพระองคเองในป พ.ศ.2532 ปจจุบันบานหวยยาง-บานหวยยางเหนือ จากท่ีเคยเปนหมูบานประสบปญหาภัยแลงและตองไปขอทานท่ีจังหวัดใกลเคียงเปนหมูบานเศรษฐกิจพอเพียงและมีน้ําในการทําการเกษตรตลอดท้ังป โดยอางเก็บน้ําหวยโท-หวยยาง โดยไดตั้งช่ือสมมุติวา “ พัทยานอย” ในขณะนี้ไดมีการจัดสรางศาลาทรงงานของพระบาทสมเด็จพระเจาอยูหัว ท่ีบริเวณอางเก็บน้ําหวยโท-หวยยาง

ภาพประกอบ 1 อางเก็บน้ําหวยโท – หวยยางและบริเวณสรางศาลาทรงงาน

Page 39: ecotourism management

2. ถํ้าผาเก

ถํ้าผาเกเปนถํ้าท่ีหลวงปูภา พระเกจิอาจารยในอดีตเคยจําพรรษาและนั่งกรรมฐาน กอนถึงตัวถํ้าตองไตบันไดลงไปประมาณ 200 เมตร ภายในถํ้ามีพระนอนองคใหญ มีพระพุทธรูปหลายยุคหลายสมัย เหมาะสําหรับนักทองเท่ียวท่ีชอบนั่งจําศีลภาวนา มีน้ําไหลออกจากถํ้าตลอดท้ังป ชาวบานเรียกวา “น้ําทิพย” และชาวบานเช่ือวาถาไดดื่มกินก็จะสามารถรักษาโรคตางๆได

ภาพประกอบ 2 ถํ้าผาเก

3.พระธาตุดอยอางกุง

เปนพระธาตุท่ีกอสรางครอบพระอรหันธาตุ 24 พระองค เดิมหลวงปูภาเปนผูสรางองคเล็กไว ในอดีตชาวบานเคยอัญเชิญพระอรหันธาตุท้ัง 24 พระองคไว กอนหนานี้เปนโพรงไมจะมีพระหลายองค ชาวบานไดเชิญไปไวท่ีวัด แตตอนกลางคืนมีดวงไฟลอยกลับมาท่ีเดิม ตอมาปพ.ศ. 2499 พระครูดวง (อาจารยครูดวง) เปนผูพาชาวบานมาสรางพระธาตุครอบพระพุทธรูปไว

ภาพประกอบ 3 พระธาตุดอยอางกุง

Page 40: ecotourism management

4. พระพุทธศิริมงคล

เปนพระพุทธรูปท่ีสรางพรอมกับพระธาตุดอยอางกุง ซ่ึงสรางในบริเวณเดียวกัน พระพุทธศิริมงคลเปนพระพุทธรูปองคใหญ ในทุกปประชาชนในตําบลเหลาโพนคอและตําบลใกลเคียงจะทําพิธีสรงน้ําพระธาตุดอยอางกุง เพ่ือเปนการขอฝน เพ่ือทําใหฝนตกตามฤดูกาล

ภาพประกอบ 4 พระพุทธศิริมงคล

5. จุดชมวิวเสาเฉลียง เปนกอนหินใหญท่ีตั้งซอนกันและยื่นออกไปจากหนาผา สามารถชมวิวทิวทัศนท่ีสวยงามอีกจุด

หนึ่งสามารถมองเห็นภูผาแดง ภูแผงมาและเทือกเขาประเทศลาว บรรยากาศยามเชามีทะเลหมอกและมีพระอาทิตยขึ้นท่ีสวยงาม และสามารถมองเห็นจุดท่ีพบฟอสซิลไดโนเสารไดเกือบทุกจุด

ภาพประกอบ 5 จุดชมวิวเสาเฉลียง

Page 41: ecotourism management

6. น้ําตกศรีตาดโตน

เปนน้ําตกท่ีสวยงาม ใสสะอาดมองเห็นปู ปลา มีดอกไมขึ้นเต็มริมแมน้ํา มีโขดหินเขียวชะอุม มีลานหินกวาง สามารถเปนท่ีพักแรมคางคืนได โดยน้ําตกศรีตาดโตนจะไหลลงสูจุดชมวิวหวยโท-หวยยาง

ภาพประกอบ 6 น้ําตกศรีตาดโตน

7. จุดพบฟอสซิลไดโนเสาร ชุมชนหวยยาง-หวยยางเหนือมีการพบซากฟอสซิลไดโนเสาร โดยมีพระธุดงครูปหนึ่ง ช่ือ พระกึ่ม

ซ่ึงไดมาจําพรรษาท่ีสํานักสงฆภูนอยอางกุง เปนผูคนพบ จากนั้นองคการบริหารสวนตําบลเหลาโพนคอไดทําการสํารวจและเชิญนักธรณีวิทยาจากภูอุมขาวมาตรวจสอบ พบวาเปนไดโนเสารประเภทกินเนื้อ มีอายุ 107 ลานปเพราะดูจากสภาพของช้ันหิน

Page 42: ecotourism management

ภาพประกอบ 7 จุดพบฟอสซิลไดโนเสาร 8. สํานักสงฆภูนอยอางกุง

เปนสํานักสงฆท่ีเครงครัดดานศาสนา มีความสงบ มีพระนอนโบราณองคใหญ มีจุดชมวิวท่ีเปนวัดท่ีพ่ึงทางจิตใจ สามารถมองเห็นอางเก็บน้ําหวยโท-หวยยาง

ภาพประกอบ 8 สํานักสงฆภูนอยอางกุง

9. ภูผานอย

มีลักษณะหินสูงสลับซับซอนตั้งซอนกันอยู สวยงามมาก ซ่ึงผูกอการรายคอมมิวนิสตในอดีตใชเปนหอคอยระวังภัย เปนสถานท่ีลึกลับถาไมสังเกตชัดๆจะหาไมพบ

ภาพประกอบ 9 ภูผานอย

Page 43: ecotourism management

10. ภาพเขียนทางประวัติศาสตร เปนภาพเขียนโบราณท่ีเขียนไวบนถํ้าหินขนาดเล็ก สันนิษฐานวานาจะอยูในยุคเดียวกับภาพเขียนท่ี

ผาแตม คนเฒาคนแกเลาวาเปนภาพเขียนลายแทงขุมทรัพย หากสังเกตดูจะเหมือนลักษณะภูมิประเทศของเขตอุทยานภูผายล เพราะมีการทําจุดท่ีสําคัญๆไว

ภาพประกอบ 10 ภาพเขียนทางประวัติศาสตร

11. ผาขาม

เปนหนาผาสูง ขางบนเปนจุดชมวิว เปนลานหิน เปนท่ีนั่งพักของนักเดินทาง จุดนี้สามารถมองเห็นภูมิประเทศของภูยางอ่ึงและภูผาลม มีลมพัดเย็นตลอดท้ังป

ภาพประกอบ 11 ผาขาม

Page 44: ecotourism management

12. ถํ้าผานาง (ถํ้าเสรีไทย) เปนท่ีขนุพลภูพาน “นายเตียง ศิริขันธ ” มาพักหลบซอนเปนแหลงเก็บอาวุธและเปนท่ีฝกอาวุธ เปน

ถํ้าท่ีมีทําเลดีมาก คือ หนาถํ้าจะเปนหนาผา ศัตรูจะเขาขางหนาไมได โจมตีทางอากาศก็ลําบาก โบราณเลาวาท่ีหนาถํ้าจะมีภาพเขียนเปนภาพ “นางเปลือง”จะสามารถมองเห็นไดโดยการการปนผาด ู

ภาพประกอบ 12 ถํ้าผานาง (ถํ้าเสรีไทย)

13. โบสถดิน

เปนโบสถดินแหงแรกของประเทศไทย จัดสรางท่ีวัดปาพุทธนิมิตรสถิตสีมาราม (วัดบานนอย) โดยมีพระราชรัตนมงคล ผูชวยเจาอาวาสวัดบวรนิเวศวิหาร พระอารามหลวง เปนผูริเริ่มในการสรางโบสถดิน เพ่ือถวายแดพระบาทสมเด็จพระเจาอยูหัว

ภาพประกอบ 13 โบสถดิน

Page 45: ecotourism management

จากการศึกษาศักยภาพดานแหลงทองเท่ียวในชุมชนหวยยาง พบวา แหลงทองเท่ียวมีสถานท่ีตั้งท้ังท่ีอยูในชุมชนหวยยางและแหลงทองเท่ียวท่ีตั้งอยูในเขตอุทยานแหงชาติภูผายล (ดังตารางท่ี 3 สถานท่ีตั้งของแหลงทองเท่ียวตางๆ) ตารางท่ี 3 สถานท่ีตั้งของแหลงทองเท่ียวตางๆ

แหลงทองเท่ียวในชุมชน แหลงทองเท่ียวในเขตอุทยานแหงชาติภูผายล

1.โบสถดิน 1.ถํ้าผาเก 2. จุดชมวิวอางเก็บน้ําหวยโท-หวยยาง 2.พระธาตุดอยอางกุง 3.สํานักสงฆภูนอยอางกุง 3.พระพุทธศิริมงคล 4.จุดชมวิวเสาเฉลียง

5.น้ําตกศรีตาดโตน

6.จุดพบฟอสซิลไดโนเสาร 7.ภูผานอย

8.ภาพเขียนทางประวัติศาสตร 9.ผาขาม

10.ถํ้าผานาง (ถํ้าเสรีไทย)

Page 46: ecotourism management

บทที่ 4

ศักยภาพของชุมชนในการสงเสริมการทองเที่ยวเชิงนิเวศ

ในการศึกษาศักยภาพของชุมชนในการสงเสริมการทองเท่ียวเชิงนิเวศ ผูศึกษาจะอธิบายถึงศักยภาพ

ดานประเพณีและวัฒนธรรมชุมชน ศักยภาพชุมชนดานส่ิงอํานวยความสะดวก ศักยภาพชุมชนดานการคมนาคมหรือการเขาถึง บทบาทขององคการบริหารสวนตําบลเหลาโพนคอในการสงเสริมการทองเท่ียวเชิงนิเวศ และปญหาความรูความเขาใจเกี่ยวกับการจัดการการทองเท่ียวเชิงนิเวศของชุมชน

ศักยภาพชุมชนดานประเพณีและวัฒนธรรม

การเล้ียงผีปูตา ในเดือนสามของแตละปจะมีการเล้ียงผีปูตา ซ่ึงชาวบานจะรวมกันเก็บรวบรวมเงินตามศรัทธาของชาวบานมาซ้ือไกทําพิธี โดยมีตัวแทนเรียกวาเจาจ้ํา มาทําพิธีตามหลักท่ีเคยนับถือกันมา

การฟอนภูไท

ฟอนภูไท มีอยู 2 จังหวัดคือ จังหวัดนครพนมและจังหวัดสกลนคร ซ่ึงเปนศิลปดั้งเดิมของชาวภูไทท่ีไดอนุรักษศิลปการรํานี้ไว ปจจุบันการฟอนภูไทจังหวัดนครพนม เปนการรําเพ่ือพิธีกรรมเซนสรวงส่ิงศักดิ์สิทธ์ิตามศิลปดั้งเดิมอยางหนึ่งหรือเปนการรําเพ่ือความสนุกสนานในงานการละเลนของหมูบาน

จังหวัดสกลนคร บางปท่ีขาวออกรวงงามดีก็จะพากันทําพิธีแหขาวเมาไปสักการะท่ีพระธาตุเชิงชุมแลวทําพิธีถวายตามประเพณีเดิม เปนการแสดงออกใหเห็นถึงความสามัคคีในหมูคณะเดียวกันโดยจะฟอนในงานเทศกาลเดือน 5 และเดือน 6

อุปกรณและวิธีการเลน เชน แคน กลอง หาง ฉิ่ง ฉาบ กลองสองหนา ซอ พิณ ฆองวงเล็ก ไมกั๊บแกบ วิธีเลน หนุมสาว ชายหญิง จับคูเปนคูๆแลวฟอนทาตางๆใหเขากับจังหวะดนตรีโดยรําเปนวงกลมและมีทารํา 16 ทา เวลาฟอนท้ังชายหญิงจะไมสวมถุงเทาและรองเทา ท่ีสําคัญ ในขณะฟอนฝายชายจะถูกเนื้อตองตัวฝายหญิงไมไดเด็ดขาด มิฉะนั้นจะผิดผี อาจจะถูกปรับไหมตามจารีตประเพณีได คุณคา/แนวคิด/สาระ เปนการนําเอาเอกลักษณดานการแตงกาย ดานการฟอนรํา ดานมวยโบราณ มาแสดงออกเปนศิลปวัฒนธรรม เพ่ือใหคนท่ัวไปไดช่ืนชมการฟอนภูไท เปนประเพณีท่ีมีมาแตบรรพบุรุษและถือวาเปนศิลปะเอกลักษณทางดานวัฒนธรรมประจําเผาภูไท

Page 47: ecotourism management

พิธีเหยา

การเหยา (การรําผีฟา) เปนพิธีกรรมความเช่ือในการนับถือผี เปนการเส่ียงทาย เม่ือมีการเจ็บปวยในครอบครัวก็เช่ือวาเปนการกระทําของผีจึงตองทําพิธีเหยาเพ่ือ “แกผี” วาผูเจ็บปวยนี้ผิดผีดวยสาเหตุใด ผีตองการใหทําอะไรจะไดปฎิบัติตาม เช่ือวาทําการแกผีแลวอาการเจ็บปวยก็จะหายตามปกติ โดยจะมีผูทําพิธีเหยาเรียกวา “ผีหมอ” จําพิธีเซนผี ติดตอส่ือสารกับผีโดยวิธีรองรําประกอบดนตรีประเภท แคน คํารองนั้นเช่ือวาเปนคําบอกของผีท่ีจะเช่ือมโยงถึงผูปวย คนคุมหรือคนเล้ียงผีเรียกวา “แมเมือง” ในปหนึ่งๆลูกเมือง (ผีหมอ) จะทําการคารวะแมเมือง 1 ครั้ง เรียกวา “พิธีเล้ียงผีของผีหมอ” (หมอเหยา) พิธีเหยาจําแนกได 4 ลักษณะดังนี ้

1. การเหยาเพ่ือชีวิต เปนลักษณะการเหยาเพ่ือรักษาอาการเจ็บปวยหรือเหยาตออายุ ภาษาหมอเหยาหรือผีหมอเรียกวา “เหยาเพ่ือเล้ียงม้ิงเล้ียงหอ”

2. การเหยาเพ่ือคุมผีออกเปนการสืบทอดหมอเหยา กลาวคือ เม่ือมีผูปวยรักษาอยางไรก็ไมหายหมอเหยาจะมีการเหยาคุมผีออก (เนื่องจากมีผีรายเขาสิง) ถาผีออกผูปวยจะลุกขึ้นมารายรํากับหมอเหยาและผูปวยท่ีหายเจ็บไขก็จะกลายเปนหมอเหยาตอ

3. การเหยาเพ่ือเล้ียงผี เปนการจัดเล้ียงเพ่ือขอบคุณผี โดยจะจัดในชวงเดือน 4 หรือเดือน 6 ของทุกๆป ถาปใดหมอเหยาไมไดเหยามากนักหรือขาวปลาไมอุดมสมบูรณก็จะไมเล้ียง หากแตจะทําพิธีฟายน้ําเหลา (ใชใบและดอกไมมาจุมน้ําเหลาและประพรมใหกระจายออกไป)

4. การเหยาเอาฮูปเอาฮอย เปนพิธีกรรมเหยาในงานประเพณี จะทํากันในงานบุญพระเวสฯของแตละปและจะทําติดตอกัน 3 ปเวน 1 ปจึงจะทําอีกสวนใหญผูท่ีทําพิธีเหยานี้จะเปนผูชายลวน

พิธีสรงน้ําพระภ ู

พิธีสรงน้ําพระภูนี้ ชาวบานจะทําในชวงเดือน 6 ของทุกป โดยชาวบานในชุมชนหวยยางและหมูบานใกลเคียงจะทําอาหารขึ้นไปถวายเพลพระสงฆ และรับประทานรวมกันบนพระธาตดุอยอางกุง ในชวงบายพระสงฆจะทําพิธีและจะสรงน้ําพระพุทธศิริมงคลและพระธาตุดอยอางกุง โดยชาวบานมีความเช่ือวาหากปไหนไมไดทําพิธีสรงน้ําพระภูจะทําใหฝนไมตกตองตามฤดูกาล

ศักยภาพชุมชนดานส่ิงอํานวยความสะดวก 1) ท่ีพัก มีบานของชาวบานหวยยาง ท่ีสามารถจัดทําเปนท่ีพักแบบ Home Stay ไวรองรับนักทองเท่ียวไดประมาณ จํานวน 10 หลัง เชน บานของนางบัวลอย โตะชาลี (ภาพประกอบ 14 บานพักโฮมเสตยของนางบัวลอย โตะชาลี) เปนบานพักท่ีมีลักษณะของตัวบานท่ีม่ันคง แข็งแรง ไมเส่ียงอันตรายตอการใชสอย วัสดุท่ีใชสรางบานมีความแข็งแรง มีอากาศถายเทสะดวก มีแสงสวางเขาถึง มีหองน้ําและหองสวมสะอาด โดยเจาของบานพักจะทําความสะอาดท่ีพักและรอบบริเวณบานพักอยูเสมอ ดานความ

Page 48: ecotourism management

ปลอดภัยของท่ีพัก ซ่ึงความปลอดภัยถือวาเปนส่ิงท่ีสําคัญอีกประการหนึ่งท่ีนักทองเท่ียวใชเปนองคประกอบในการตัดสินใจเดินทางเขารวมกิจกรรมท่ีพักเชิงนิเวศ

ภาพประกอบ 14 บานพักโฮมเสตยของนางบัวลอย โตะชาลี

2) รานอาหารและเครื่องดื่ม ภายในชุมชนหวยยางจะมีรานอาหารและเครื่องดื่ม จํานวน 4 ราน

ไดแก รานกวยเตี๋ยวน้ําตก สูตรโบราณ รานกวยเตี๋ยวนางไหมคํา รานอาหารตามส่ังนายจิมม่ีและรานอาหารในสวน ไวคอยบริการคนในชุมชนและนักทองเท่ียว

3) การตอนรับ ชาวบานในชุมชนหวยยางเปนผูมีจิตใจโอบออมอารี เอ้ือเฟอเผ่ือแผ ดังสํานวนสุภาษิตไทยท่ีวา “เปนธรรรมเนียมไทยแทแตโบราณ ใครมาถึงเรือนชานตองตอนรับ” (ธัญญลักษณ มีหมู. 2552.) การตอนรับนักทองเท่ียวดุจญาติมิตรจะทําใหนักทองเท่ียวเกิดความรูสึกอบอุน มีการจัดเตรียมพ้ืนท่ีตอนรับในลักษณะศูนยกลางของชุมชน คือ ท่ีวัดโพธ์ิชัยและตลาดชุมชนบานหวยยาง

4) ดานอาหารพ้ืนเมือง ชุมชนหวยยางมีวิถีชีวิตอยูกับธรรมชาติหาอยูหากินกันตามไรตามนา ตามปาตามเขา อาหารของชาวบานจึงเปนอาหารท่ีหามาไดตามธรรมชาติ อาหารตามฤดูกาล อาหารตามทองทุงนา เชน หอยเชอรี่ เขียด ปลา ปู อาหารจากปา เชน หอยหอม นก หนอไม เห็ด เปนตน อาจมีบางอยางท่ีชุมชนตองพ่ึงจากตลาด เชน เนื้อสัตว ผักบางชนิด ซ่ึงในแตละวันชาวบานจะขึ้นไปหาอาหารปาท่ีภูเขาท่ีอยูใกลเขตชุมชน บางสวนจะไปหาปลาท่ีอางเก็บน้ําหวยโท – หวยยาง การปรุงอาหารหรือการประกอบอาหารจะเปนอาหารท่ีเปนเอกลักษณพ้ืนบาน สามารถท่ีจะหาไดในชุมชนมาปรุงเปนอาหารได เชน น้ําพริก ผักนึ่ง แกงหวายใสไก แกงหนอไม เปนตน ซ่ึงรสชาติของอาหารจะไมจัดจนเกินไป

ศักยภาพชุมชนดานการคมนาคมหรือการเขาถึง

Page 49: ecotourism management

การคมนาคมของชุมชนหวยยาง เปนถนนคอนกรีต การเดินทางไปมาสะดวกและรวดเร็ว โดยชุมชนอยูหางจากตัวจังหวัดสกลนครเพียง 37 กิโลเมตรตามถนนสกล-นาแก มีรถประจําทางจากจังหวัดสกลนครผานปากทางเขาหมูบานทุกวัน ตั้งแตเวลา 06.30 – 17.30 น.อัตราคาโดยสาร 20 บาท มีรถมอเตอรไซครับจางเขาหมูบาน อัตราคาโดยสาร 20 บาท

ภาพประกอบ 15 เสนทางการคมนาคมในชุมชน

บทบาทขององคการบริหารสวนตําบลเหลาโพนคอในการสงเสริมการทองเที่ยว 1. บทบาทการสงเสริมการทองเท่ียวเชิงนิเวศในตําบลเหลาโพนคอ

พันธกิจการพัฒนาการทองเท่ียวตําบลเหลาโพนคอ

1. กําหนดใหพ้ืนท่ีเปนแหลงทองเท่ียวตามธรรมชาติ ทางวัฒนธรรม และประเพณีท่ีมีการกําหนดขอบเขตการใชทรัพยากรการทองเท่ียวรวมกันระหวางชุมชนและหนวยงานท่ีเกี่ยวของ

2. มีการพัฒนาการทองเท่ียวในรูปเชิงนิเวศมุงเนนการอนุรักษทรัพยากรการทองเท่ียว ท้ังทางธรรมชาติ ประวัติศาสตร วัฒนธรรม ประเพณีและวิถีชีวิตชุมชน

3. มีการพัฒนากิจกรรมการทองเท่ียว มุงเนนการแลกเปล่ียนท้ังภายในและภายนอกชุมชน โดยรักษาไวซ่ึงเอกลักษณท่ีดีของชุมชน

4. มีการบริหารจัดการการทองเท่ียวในรูปแบบธุรกิจชุมชน เนนความมีสวนรวมของคนในชุมชนและองคกรประสานงานหลักดานการบริหารจัดการ

Page 50: ecotourism management

5. มุงสูการเปนศูนยกลางการเรียนรูโลกดึกดําบรรพเสนทางไดโนเสาร

เปาหมายการพัฒนาการทองเท่ียวเชิงนิเวศของตําบลเหลาโพนคอ

1. มีขอตกลงรวมกันในการใชทรัพยากรการทองเท่ียวระหวางชุมชนและหนวยงานท่ีเกี่ยวของ

2. รักษาสภาพของทรัพยากรการทองเท่ียวทางธรรมชาติ ประวัติศาสตร วัฒนธรรม ประเพณีและวิถีชีวิตของชุมชนอยางยั่งยืน

3. กอใหเกิดการแลกเปล่ียนความรูจากส่ิงท่ีใหทําในแตละกิจกรรมท้ังภายในและภายนอกชุมชน

4. มีการบริหารจัดการในรูปแบบธุรกิจชุมชน เนนการใหทุกคนในชุมชนมีสวนรวมเพ่ือกอใหเกิดอาชีพและกระจายรายไดท่ีเปนธรรมและท่ัวถึง ตลอดจนมีผลตอการพัฒนาคุณภาพชีวิตของชุมชน

แผนการพัฒนาการทองเท่ียเชิงนิเวศของตําบลเหลาโพนคอ

เนนในดานการควบคุมและการสงเสริมการทองเท่ียวเชิงนิเวศ เปนโครงการท่ีควรดําเนินงานในระยะ 5 ปเปนสวนใหญ ประกอบดวยแผนการพัฒนาดานการบริหารจัดการ แผนการพัฒนาแหลงทองเท่ียว/กิจกรรมทองเท่ียวและโครงสรางพ้ืนฐาน แผนพัฒนาดานการบริการทางการทองเท่ียวและแผนการพัฒนาดานการตลาด สวนใหญเปนชุดโครงการท่ีตองประสานความรวมกันในหลายหนวยงานและองคกรท่ีเกี่ยวของ ดังนี ้

1. แผนการพัฒนาดานการบริหารจัดการ มี 5 โครงการ ประกอบดวย 1.1 โครงการจัดทําแผนการพัฒนาการทองเท่ียวเชิงนิเวศ

1.2 โครงการพัฒนาความรู ความสามารถดานการจัดการทองเท่ียวเชิงนิเวศแกองคการธุรกิจชุมชน

1.3 โครงการจัดตั้งองคการธุรกิจชุมชนดานการทองเท่ียวเชิงนิเวศ

1.4 โครงการจัดทําระเบียบชุมชนในการใชประโยนชทรัพยากรทองเท่ียวเชิงนิเวศ

1.5 โครงการจัดตั้งองคกรประสานงานหลักดานการทองเท่ียวเชิงนิเวศ

2. แผนการพัฒนาแหลงทองเท่ียว/กิจกรรมทองเท่ียวและโครงสรางมี 7 โครงการ ประกอบดวย 2.1 โครงการปรับปรุง/พัฒนาจุดชมวิวบนยอดเขาเสาเสลียง

2.2 โครงการปรับปรุง/พัฒนาเสนทางศึกษาธรรมชาต ิ

2.3 โครงการฟนฟูการทองเท่ียวดานประเพณี วัฒนธรรมและเทศกาลสําคัญของตําบลเหลาโพนคอ

2.4 โครงการพัฒนาระบบโทรศัพท

Page 51: ecotourism management

2.5 โครงการพัฒนาถนนและระบบการขนสงทางบกในพ้ืนท่ี

2.6 โครงการพัฒนาระบบการจัดเก็บขยะมูลฝอยในแหลงทองเท่ียว

2.7 โครงการปรับปรุงพัฒนาแหลงทองเท่ียวทางโบราณวัตถุและซากฟอสซิลไดโนเสารของตําบลเหลาโพนคอ

3. แผนพัฒนาดานการบริการทางการทองเท่ียวมี 3 โครงการ ประกอบดวย

3.1 โครงการพัฒนาทักษะการใหบริการดานการทองเท่ียวเชิงนิเวศโดยชุมชนทองถ่ิน

3.2 โครงการสงเสริมการประสานการรวมมือระหวางผูประกอบการทองเท่ียวในพ้ืนท่ี

3.3 โครงการจัดตั้งรานคาและรานอาหารโดยองคกรธุรกิจชุมชน

4. แผนการพัฒนาดานการตลาดมี 3 โครงการ ประกอบดวย

4.1 โครงการพัฒนาความรูดานการตลาด

4.2 โครงการพัฒนาผลิตภัณฑท่ีเปนเอกลักษณของชุมชนทองถ่ิน

4.3 โครงการเผยแพรการอนุรักษทรัพยากรธรรมชาติและส่ิงแวดลอม

งบประมาณ

1. จากการสํารวจไดจัดทํางบประมาณโครงการขึ้นมาระยะ 1 ป มีท้ังส้ิน 500,000 บาทและ

งบประมาณท่ียังไมรวมโครงการบางโครงการ ซ่ึงยังไมไดกําหนดงบประมาณไว เพราะ เปนภารกิจของหนวยงานท่ีรับผิดชอบ มีหนวยงานหลักท่ีรับผิดชอบในพ้ืนท่ี ไดแก องคการบริหารสวนตําบลเหลาโพนคอ โดยมีหนวยงานภาครัฐโดยเฉพาะอําเภอโคกศรีสุพรรณท่ีใหคําปรึกษาและใหการสนับสนุน

2. ขอรับงบประมาณดานการสงเสริมการทองเท่ียวจากการทองเท่ียวแหงประเทศไทย (ททท.) 3. จัดงบประมาณในขอบัญญัติงบประมาณรายจายขององคการบริหารสวนตําบลเหลาโพนคอประจํา

ทุกป นอกจากนั้นองคการบริหารสวนตําบลเหลาโพนคอยังชวยประชาสัมพันธแหลงทองเท่ียวผานทางอินเตอรเน็ต http://laophonkhor.go.th/index.php เพ่ือใหเปนท่ีรูจักกันอยางแพรหลาย

2. บทบาทการสงเสริมการทองเท่ียวเชิงนิเวศในชุมชนหวยยาง

Page 52: ecotourism management

เนื่องจากชุมชนหวยยาง หมูท่ี 6 และหวยยางเหนือ หมูท่ี 9 เปนชุมชนท่ีตั้งอยูใกลแหลงทองเท่ียวทางธรรมชาติในเขตอุทยานแหงชาติภูผายล ดังนั้นในปพ.ศ. 2551 องคการบริหารสวนตําบลเหลาโพนคอไดมีการจัดตั้งกลุมบานพักโฮมสเตยและกลุมอาสาสมัครทองเท่ียว ใหแกผูนําและชาวบานหวยยางไวรองรับการทองเท่ียวและนักทองเท่ียวท่ีจะเขามาทองเท่ียวในอนาคต (ตารางท่ี 4 รายช่ือกลุมบานพักโฮม สเตยชุมชนหวยยาง)

ตารางท่ี 4 รายช่ือกลุมบานพักโฮมสเตยชุมชนหวยยาง

ลําดับ ช่ือ-สกุล ตําแหนง

1 นายปรารถนา แสนธิจักร ประธานกลุม

2 นางไหมคํา ฮมปา รองประธาน

3 นางธิดารัตน ยางธิสาร เลขานุการ

4 นางบัวลอย โตะชาลี กรรมการ

5 นายมีพิมพ ยางธิสาร กรรมการ

6 นางสมบูรณ ยางธิสาร กรรมการ

7 นายไมตรี ยางธิสาร กรรมการ

8 นายแกง แพงด ี กรรมการ

ลําดับ ช่ือ – สกุล ตําแหนง 9 นายหนูเตรียม พลราชม กรรมการ

10 นายอรุณรัตน ยางธิสาร กรรมการ

11 นายทอน ยางธิสาร กรรมการ

12 นางอรัญญา ยางธิสาร กรรมการ

13 นายชัยพิทักษ ยางธิสาร กรรมการ

14 นายสรสินธ โตะชาลี กรรมการ

ปญหาความรูความเขาใจดานการจัดการการทองเที่ยวเชิงนิเวศ

Page 53: ecotourism management

จากการสัมภาษณ สอบถามของผูศึกษากับผูนําชุมชน ตัวแทนชุมชน กลุมบานพักโฮมสเตยและประชาชนในชุมชนรวมกันเกี่ยวกับความรูในการบริหารจัดการการทองเท่ียวนั้น ชุมชนยังไมมีรูปแบบในกิจกรรมการทองเท่ียว เนื่องจากไดรับการอบรมจากองคการบริหารสวนตําบลเหลาโพนคอ 1 ครั้ง ในการจัดตั้งกลุมโฮมสเตย ชุมชนตองการพัฒนาศักยภาพในดานนี้ใหมากขึ้น ดังนั้นควรมีการจัดอบรมในเรื่องมัคคุเทศนใหกับชุมชนและพาผูนําชุมชน ตัวแทนชุมชน กลุมบานพักโฮมสเตยไปศึกษาดูงานดานการบริหารจัดการการทองเท่ียวและการพัฒนาปรับปรุงแหลงทองเท่ียวของชุมชนท่ีประสบผลสาเร็จในการบริหารจัดการการทองเท่ียวแลว เพ่ือนําความรูท่ีไดรับและประโยชนท่ีจะนํามาใชในการพัฒนาการบริหารจัดการดานการทองเท่ียวในชุมชนของตนเอง นอกจากนี้ชุมชนควรมีการแบงบทบาทหนาท่ีของคนในชุมชน ไมวาจะเปนผูนําชุมชน ตัวแทนชุมชน กลุมบานพักโฮมสเตยและประชาชนในชุมชนใหชัดเจน รวมกันวางแผนรูปแบบกิจกรรมการทองเท่ียวใหชัดเจนมากขึ้น

Page 54: ecotourism management

บทที่ 5

สรุปผล อภิปรายผลและขอเสนอแนะ

ในการศึกษาเรื่อง ศักยภาพชุมชนในการจัดการการทองเท่ียวเชิงนิเวศ กรณีศึกษา ชุมชน

หวยยาง ตําบลเหลาโพนคอ อําเภอโคกศรีสุพรรณ จังหวัดสกลนคร มีวัตถุประสงคเพ่ือศึกษาศักยภาพชุมชนดานแหลงทองเท่ียวเชิงนิเวศ เพ่ือศึกษาศักยภาพชุมชนในการสงเสริมการทองเท่ียวเชิงนิเวศ เพ่ือเสนอแนวทางการสงเสริมการจัดการการทองเท่ียวเชิงนิเวศโดยชุมชนหวยยาง ตําบลเหลาโพนคอ อําเภอโคกศรีสุพรรณ จังหวัดสกลนคร โดยเก็บขอมูลท่ีชุมชนหวยยาง บานหวยยางหมูท่ี 6 และหมูบานหวยยางเหนือ หมูท่ี 9 ตําบลเหลาโพนคอ อําเภอโคกศรีสุพรรณ จังหวัดสกลนคร ระยะเวลาในการศึกษาระหวางเดือนมิถุนายน ถึงเดือนสิงหาคม 2554 วิธีการเก็บขอมูล คือ การสังเกตการณแบบมีสวนและการสัมภาษณผูใหขอมูลหลัก การศึกษาขอมูลมือสองและเอกสารท่ีเกี่ยวของกับการทองเท่ียวเชิงนิเวศ ใชแนวคิดการทองเท่ียวเชิงนิเวศ ( Ecotourism ) แนวคิดการบริหารจัดการของอรุกุล รมกลาง และแนวคิดปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง ผูศึกษาสรุปผลได ดังนี ้

1. วัตถุประสงคของการศึกษา

2. ประชากรและกลุมตัวอยาง

3. เครื่องมือท่ีใชในการศึกษา

4. การเก็บรวบรวมขอมูล

5. สรุปผล

6. อภิปรายผล

7. ขอเสนอแนะ

1. วัตถุประสงคของการศึกษา

1.เพ่ือศึกษาศักยภาพชุมชนดานแหลงทองเท่ียวเชิงนิเวศ 2.เพ่ือศึกษาศักยภาพชุมชนในการสงเสริมการทองเท่ียวเชิงนิเวศ

3.เพ่ือเสนอแนวทางการสงเสริมการจัดการการทองเท่ียวเชิงนิเวศโดยชุมชนหวยยาง ตําบลเหลาโพนคอ อําเภอโคกศรีสุพรรณ จังหวัดสกลนคร

Page 55: ecotourism management

2.ประชากรและกลุมตัวอยาง

กลุมเปาหมายท่ีใชในการศึกษา คือ ประชากรบานหวยยางเหนือ จํานวน 923 คน ประชากรบานหวยยาง จํานวน 858 คน และมีกลุมตัวอยางในการศึกษา คือ หัวหนาครัวเรือน จํานวน 10 คน คณะกรรมการหมูบานและผูนําชุมชน จํานวน 20 คน ตัวแทน ตัวแทนกลุมแมบาน จํานวน 10 คน และผูรู จํานวน 6 คน

3. เคร่ืองมือที่ใชในการศึกษา เครื่องมือท่ีใชในการเก็บรวบรวมขอมูลสําหรับ ศักยภาพชุมชนในการจัดการการทองเท่ียวเชิงนิเวศ กรณีศึกษา ชุมชนหวยยาง ตําบลเหลาโพนคอ อําเภอโคกศรีสุพรรณ จังหวัดสกลนคร ผูศึกษาไดใชเครื่องมือในการเก็บรวบรวมขอมูลจากการศึกษาภาคสนาม ดังนี ้

6. สมุดจดบันทึก

7. กลองถายรูป

8. แบบสัมภาษณ 9. การสังเกตการณแบบมีสวนรวม

10. แบบประเมินผลของการจัดโครงการ 4.การเก็บรวบรวมขอมูล

การเก็บรวบรวมขอมูลมาใชในการศึกษาครั้งนี้ ผูศึกษาไดดําเนินการตามลําดับ ดังนี ้

1. ศึกษาหนังสือท่ีเกี่ยวของจากหองสมุดมหาวิทยาลัยมหาสารคาม เพ่ือประกอบในการศึกษาครั้งนี ้2. ศึกษาเอกสารมือสองท่ีไดจากหมูบานและองคการบริหารสวนตําบลเหลาโพนคอ

3. ขอหนังสือจากคณะมนุษยศาสตรและสังคมศาสตร มหาวิทยาลัยมหาสารคาม เพ่ือขออนุญาตเขาไปศึกษาและหนังสือสงตัวนิสิตในการฝกงาน

4. ดําเนินการเก็บรวบรวมขอมูล โดยการสังเกตการณแบบมีสวนรวมและสัมภาษณประชากรตามท่ีกําหนดไวโดยผูศึกษาดําเนินการเก็บรวบรวมขอมูลดวยตนเอง เนื่องจากการศึกษาคนควาครั้งนี้เปนการวิจัยเชิงคุณภาพ 5.สรุปผล

จากการใชระเบียบวิธีวิจัยดังกลาวขางตนพบผลการศึกษา สรุปไดดังนี ้

Page 56: ecotourism management

ประการแรก ในประเด็นของศักยภาพชุมชนดานแหลงทองเท่ียวเชิงนิเวศ แหลงทองเท่ียวของชุมชนหวยยางมีศักยภาพอยูในระดับสูง เพราะมีสภาพพ้ืนท่ีเปนแหลงทรัพยากรธรรมชาติท่ีอุดมสมบูรณ มีวิถีชีวิตชุมชน ประเพณี วัฒนธรรม มีแหลงประวัติศาสตร เขาถึงสะดวกรวดเร็ว มีสถานท่ีสําคัญ ดังนี ้ 1. ศักยภาพของแหลงทองเที่ยวในชุมชน

1.1 จุดชมวิวอางเก็บน้ําหวยโท-หวยยาง

อดีตเคยเปนท่ีทรงงานของพระบาทสมเด็จพระเจาอยูหัวฯ เนื่องจากพระองคไดมอบหมายงานใหกรมชลประทานมาสรางอางเก็บน้ําในป 2528 แลวเสร็จในป พ.ศ.2530 เพ่ือแกไขปญหาภัยแลงของหมูบานหวยยางใหมีน้ําในการทําการเกษตร ในการนีพ้ระองคเสด็จมาเปดอางดวยพระองคเองในป พ.ศ.2532 ปจจุบันบานหวยยาง-บานหวยยางเหนือ จากท่ีเคยเปนหมูบานประสบปญหาภัยแลงและตองไปขอทานท่ีจังหวัดใกลเคียงเปนหมูบานเศรษฐกิจพอเพียงและมีน้ําในการทําการเกษตรตลอดท้ังป โดยอางเก็บน้ําหวยโท-หวยยาง โดยไดตัง้ช่ือสมมุติวา “พัทยานอย”

1.2 ถํ้าผาเก

ถํ้าผาเกเปนถํ้าท่ีหลวงปูภา พระเกจิอาจารยในอดีตเคยจําพรรษาและนั่งกรรมฐาน กอนถึงตัวถํ้าตองไตบันไดลงไปประมาณ 200 เมตร ภายในถํ้ามีพระนอนองคใหญ มีพระพุทธรูปหลายยุคหลายสมัย เหมาะสําหรับนักทองเท่ียวท่ีชอบนั่งจําศีลภาวนา มีน้ําไหลออกจากถํ้าตลอดท้ังป ชาวบานเรียกวา “น้ําทิพย” และชาวบานเช่ือวาถาไดดื่มกินก็จะสามารถรักษาโรคตางๆได 1.3 ถํ้าอางกุง

เปนถํ้าท่ีลึก ใหญ กวางขวางมาก ตามประวัติเปนถํ้าท่ีในอดีตเคยใชเปนสถานท่ีวิปสสนากรรมฐาน ปจจุบัน สภาพของถํ้ายังมีสภาพคงเดิมไมเปล่ียนแปลง แทนท่ีทานท่ีใชนั่งวิปสสนากรรมฐานยังคงสภาพเดิม

1.4 พระธาตุดอยอางกุง

เปนพระธาตุท่ีกอสรางครอบพระอรหันธาตุ 24 พระองค เดิมหลวงปูภาเปนผูสรางองคเล็กไว ในอดีตชาวบานเคยอัญเชิญพระอรหันธาตุท้ัง 24 พระองคไว กอนหนานี้เปนโพรงไมจะมีพระหลายองค ชาวบานไดเชิญไปไวท่ีวัด แตตอนกลางคืนมีดวงไฟลอยกลับมาท่ีเดิม ตอมาปพ.ศ. 2499 พระครูดวง (อาจารยครูดวง) เปนผูพาชาวบานมาสรางพระธาตุครอบพระพุทธรูปไว 1.5 พระพุทธศิริมงคล

Page 57: ecotourism management

เปนพระพุทธรูปท่ีสรางพรอมกับพระธาตุดอยอางกุง ซ่ึงสรางในบริเวณเดียวกัน พระพุทธศิริมงคลเปนพระพุทธรูปองคใหญ ในทุกปประชาชนในตําบลเหลาโพนคอและตําบลใกลเคียงจะทําพิธีสรงน้ําพระธาตุดอยอางกุง เพ่ือเปนการขอฝน เพ่ือทําใหฝนตกตามฤดูกาล

1.6 จุดชมวิวเสาเฉลียง

เปนกอนหินใหญท่ีตั้งซอนกันและยื่นออกไปจากหนาผา สามารถชมวิวทิวทัศนท่ีสวยงามอีกจุดหนึ่งสามารถมองเห็นภูผาแดง ภูแผงมาและเทือกเขาประเทศลาว บรรยากาศยามเชามีทะเลหมอกและมีพระอาทิตยขึ้นท่ีสวยงาม และสามารถมองเห็นจุดท่ีพบฟอสซิลไดโนเสารไดเกือบทุกจุด

1.7 น้ําตกศรีตาดโตน

เปนน้ําตกท่ีสวยงาม ใสสะอาดมองเห็นปู ปลา มีดอกไมขึ้นเต็มริมแมน้ํา มีโขดหินเขียวชะอุม มีลานหินกวาง สามารถเปนท่ีพักแรมคางคืนได โดยน้ําตกศรีตาดโตนจะไหลลงสูจุดชมวิวหวยโท-หวยยาง

1.8 จุดพบฟอสซิลไดโนเสาร

ชุมชนหวยยาง-หวยยางเหนือมีการพบซากฟอสซิลไดโนเสาร โดยมีพระธุดงครูปหนึ่ง ช่ือ พระกึ่ม เปนผูคนพบ จากนั้นองคการบริหารสวนตําบลเหลาโพนคอไดทําการสํารวจและเชิญนักธรณีวิทยาจากภูอุมขาวมาตรวจสอบ พบวาเปนไดโนเสารประเภทกินเนื้อ มีอายุ 107 ลานปเพราะดูจากสภาพของช้ันหิน

1.9 สํานักสงฆภูนอยอางกุง

เปนสํานักสงฆท่ีเครงครัดดานศาสนา มีความสงบ มีพระนอนโบราณองคใหญ มีจุดชมวิวท่ีเปนวัดท่ีพ่ึงทางจิตใจ สามารถมองเห็นอางเก็บน้ําหวยโท-หวยยาง

1.10 ภูผานอย

มีลักษณะหินสูงสลับซับซอนตั้งซอนกันอยู สวยงามมาก ซ่ึงผูกอการรายคอมมิวนิสตในอดีตใชเปนหอคอยระวังภัย เปนสถานท่ีลึกลับถาไมสังเกตชัดๆจะหาไมพบ

1.11 ภาพเขียนทางประวัติศาสตร

เปนภาพเขียนโบราณท่ีเขียนไวบนถํ้าหินขนาดเล็ก สันนิษฐานวานาจะอยูในยุคเดียวกับภาพเขียนท่ีผาแตม คนเฒาคนแกเลาวาเปนภาพเขียนลายแทงขุมทรัพย หากสังเกตดูจะเหมือนลักษณะภูมิประเทศของเขตอุทยานแหงชาติภูผายล เพราะมีการทําจุดท่ีสําคัญๆไว

Page 58: ecotourism management

1.12 ผาขาม

เปนหนาผาสูง ขางบนเปนจุดชมวิว เปนลานหิน เปนท่ีนั่งพักของนักเดินทาง จุดนี้สามารถมองเห็นภูมิประเทศของภูยางอ่ึงและภูผาลม มีลมพัดเย็นตลอดท้ังป 1.13 ถํ้าผานาง (ถํ้าเสรีไทย)

เปนท่ีขุนพลภูพาน “นายเตียง ศิริขันธ ” มาพักหลบซอนเปนแหลงเก็บอาวุธและเปนท่ีฝกอาวุธ เปนถํ้าท่ีมีทําเลดีมาก คือ หนาถํ้าจะเปนหนาผา ศัตรูจะเขาขางหนาไมได โจมตีทางอากาศก็ลําบาก โบราณเลาวาท่ีหนาถํ้าจะมีภาพเขียนเปนภาพ “นางเปลือง”จะสามารถมองเห็นไดโดยการการปนผาด ู

1.14 โบสถดิน

เปนโบสถดินแหงแรกของประเทศไทย จัดสรางท่ีวัดปาพุทธนิมิตรสถิตสีมาราม (วัดบานนอย) โดยมีพระราชรัตนมงคล ผูชวยเจาอาวาสวัดบวรนิเวศวิหาร พระอารามหลวง เปนผูริเริ่มในการสรางโบสถดิน

จากการศึกษาศักยภาพดานแหลงทองเท่ียวในชุมชนหวยยาง พบวา แหลงทองเท่ียวมีสถานท่ีตั้งท้ังท่ีอยูในชุมชนหวยยางและแหลงทองเท่ียวท่ีตั้งอยูในเขตอุทยานแหงชาติภูผายล ดังนี ้ แหลงทองเท่ียวท่ีตั้งอยูในชุมชน ไดแก โบสถดิน จุดชมวิวอางเก็บน้ําหวยโท – หวยยาง และสํานักสงฆภูนอยอางแกว

แหลงทองเท่ียวท่ีตั้งอยูในเขตอุทยานแหงชาติภูผายล ไดแก ถํ้าผาเก ถํ้าอางกุง พระธาตุดอยอางกุงพระพุทธศิริมงคล จุดชมวิวเสาเฉลียง น้ําตกศรีตาดโตน จุดพบฟอสซิลไดโนเสาร ภูผานอย ภาพเขยีนทางประวัติศาสตร ผาขามและถํ้าผานาง (ถํ้าเสรีไทย)

ประการท่ีสอง ในประเด็นของศักยภาพของชุมชนในการสงเสริมการทองเท่ียวเชิงนิเวศ บุคลากรในชุมชนหวยยางมีความพยายามท่ีจะคนควาหาความรูเกี่ยวกับการจัดการการทองเท่ียวดวยตนเอง แตคนในชุมชนมีความรูความเขาใจเกี่ยวกับการทองเท่ียวอยูบาง สวนเอกสารความรูเกี่ยวกับแหลงทองเท่ียวองคการบริหารสวนตําบลเหลาโพนคอไดจัดทําไวแลว

ศักยภาพประเพณีและวัฒนธรรม

ชุมชนหวยยาง ไดดําเนินชีวิตประจําวันตามหลักฮีต 12 คอง 14 ตามประเพณีท่ีนับถือกันมาแตโบราณกาล มีวัฒนธรรมเรื่องการนับถือผี เชน ผีปูตา

Page 59: ecotourism management

การเล้ียงผีปูตา ในเดือนสามของแตละปจะมีการเล้ียงผีปูตา ซ่ึงชาวบานจะรวมกันเก็บรวบรวมเงินตามสรัทธาของชาวบานมาซ้ือไกทําพิธี โดยมีตัวแทนเรียกวาเจาจ้ํา มาทําพิธีตามหลักท่ีเคยนับถือกันมา การฟอนผูไท

ฟอนผูไท มีอยู 2 จังหวัดคือ จังหวัดนครพนมและจังหวัดสกลนคร ซ่ึงเปนศิลปดั้งเดิมของชาวผูไทท่ีไดอนุรักษศิลปการรํานี้ไว ปจจุบันการรําผูไทจังหวัดนครพนม เปนการรําเพ่ือพิธีกรรมเซนสรวงส่ิงศักดิ์สิทธ์ิตามศิลปดั้งเดิมอยางหนึ่งหรือเปนการรําเพ่ือความสนุกสนานในงานการละเลนของหมูบาน

จังหวัดสกลนคร บางปท่ีขาวออกรวงงามดีก็จะพากันทําพิธีแหขาวเมาไปสักการะท่ีพระธาตุเชิงชุมแลวทําพิธีถวายตามประเพณีเดิม เปนการแสดงออกใหเห็นถึงความสามัคคีในหมูคณะเดียวกันโดยจะฟอนในงานเทศกาลเดือน 5 และเดือน 6

อุปกรณและวิธีการเลน เชน แคน กลอง หาง ฉิ่ง ฉาบ กลองสองหนา ซอ พิณ ฆองวงเล็ก ไมกั๊บแกบ วิธีเลน หนุมสาว ชายหญิง จับคูเปนคูๆแลวฟอนทาตางๆใหเขากับจังหวะดนตรีโดยรําเปนวงกลมและมีทารํา 16 ทา เวลาฟอนท้ังชายหญิงจะไมสวมถุงเทาและรองเทา ท่ีสําคัญ ในขณะฟอนฝายชายจะถูกเนื้อตองตัวฝายหญิงไมไดเด็ดขาด มิฉะนั้นจะผิดผี อาจจะถูกปรับไหมตามจารีตประเพณีได คุณคา/แนวคิด/สาระ เปนการนําเอาเอกลักษณดานการแตงกาย ดานการฟอนรํา ดานมวยโบราณ มาแสดงออกเปนศิลปวัฒนธรรม เพ่ือใหคนท่ัวไปไดช่ืนชมการฟอนภูไท เปนประเพณีท่ีมีมาแตบรรพบุรุษและถือวาเปนศิลปะเอกลักษณทางดานวัฒนธรรมประจําเผาภูไท

พิธีเหยา

การเหยา (การรําผีฟา) เปนพิธีกรรมความเช่ือในการนับถือผี เปนการเส่ียงทาย เม่ือมีการเจ็บปวยในครอบครัวก็เช่ือวาเปนการกระทําของผีจึงตองทําพิธีเหยาเพ่ือ “แกผี” วาผูเจ็บปวยนี้ผิดผีดวยสาเหตุใด ผีตองการใหทําอะไรจะไดปฎิบัติตาม เช่ือวาทําการแกผีแลวอาการเจ็บปวยก็จะหายตามปกติ โดยจะมีผูทําพิธีเหยาเรียกวา “ผีหมอ” จําพิธีเซนผี ติดตอส่ือสารกับผีโดยวิธีรองรําประกอบดนตรีประเภท แคน คํารองนั้นเช่ือวาเปนคําบอกของผีท่ีจะเช่ือมโยงถึงผูปวย คนคุมหรือคนเล้ียงผีเรียกวา “แมเมือง” ในปหนึ่งๆลูกเมือง (ผีหมอ) จะทําการคารวะแมเมือง 1 ครั้ง เรียกวา “พิธีเล้ียงผีของผีหมอ” (หมอเหยา) พิธีเหยาจําแนกได 4 ลักษณะดังนี ้

1. การเหยาเพ่ือชีวิต เปนลักษณะการเหยาเพ่ือรักษาอาการเจ็บปวยหรือเหยาตออายุ ภาษาหมอเหยาหรือผีหมอเรียกวา “เหยาเพ่ือเล้ียงม้ิงเล้ียงหอ”

Page 60: ecotourism management

2. การเหยาเพ่ือคุมผีออกเปนการสืบทอดหมอเหยา กลาวคือ เม่ือมีผูปวยรักษาอยางไรก็ไมหายหมอเหยาจะมีการเหยาคุมผีออก (เนื่องจากมีผีรายเขาสิง) ถาผีออกผูปวยจะลุกขึ้นมารายรํากับหมอเหยาและผูปวยท่ีหายเจ็บไขก็จะกลายเปนหมอเหยาตอ

3. การเหยาเพ่ือเล้ียงผี เปนการจัดเล้ียงเพ่ือขอบคุณผี โดยจะจัดในชวงเดือน 4 หรือเดือน 6 ของทุกๆป ถาปใดหมอเหยาไมไดเหยามากนักหรือขาวปลาไมอุดมสมบูรณก็จะไมเล้ียง หากแตจะทําพิธีฟายน้ําเหลา (ใชใบและดอกไมมาจุมน้ําเหลาและประพรมใหกระจายออกไป) 4. การเหยาเอาฮูปเอาฮอย เปนพิธีกรรมเหยาในงานประเพณี จะทํากันในงานบุญพระเวสฯของแตละปและจะทําติดตอกัน 3 ปเวน 1 ปจึงจะทําอีกสวนใหญผูท่ีทําพิธีเหยานี้จะเปนผูชายลวน

พิธีสรงน้ําพระภ ู

พิธีสรงน้ําพระภูนี้ ชาวบานจะทําในชวงเดือน 6 ของทุกป โดยชาวบานในชุมชนหวยยางและหมูบานใกลเคียงจะทําอาหารขึ้นไปถวายเพลพระสงฆ และรับประทานรวมกันบนพระธาตุดอยอางกุง ในชวงบายพระสงฆจะทําพิธีและจะสรงน้ําพระพุทธศิริมงคลและพระธาตุดอยอางกุง โดยชาวบานมีความเช่ือวาหากปไหนไมไดทําพิธีสรงน้ําพระภูจะทําใหฝนไมตกตองตามฤดูกาล

ศักยภาพชุมชนดานส่ิงอํานวยความสะดวก 1) ท่ีพัก มีบานของชาวบานหวยยาง ท่ีสามารถจัดทําเปนท่ีพักแบบ Home Stay ไวรองรับนักทองเท่ียวไดประมาณ จํานวน 10 หลัง เชน บานของนางบัวลอย โตะชาลี เปนบานพักท่ีมีลักษณะของตัวบานท่ีม่ันคง แข็งแรง มีอากาศถายเทสะดวก มีแสงสวางเขาถึง มีหองน้ําและหองสวมสะอาด

2) รานอาหารและเครื่องดื่ม ภายในชุมชนหวยยางจะมีรานอาหารและเครื่องดื่ม จํานวน 4 ราน ไดแก รานกวยเตี๋ยวน้ําตก สูตรโบราณ รานกวยเตี๋ยวนางไหมคํา รานอาหารตามส่ังนายจิมม่ีและรานอาหารในสวน ไวคอยบริการคนในชุมชนและนักทองเท่ียว 3) การตอนรับ ชาวบานในชุมชนหวยยางเปนผูมีจิตใจโอบออมอารี ตอนรับนักทองเท่ียวดุจญาติมิตรจะทําใหนักทองเท่ียวเกิดความรูสึกอบอุน 4) ดานอาหาร ชุมชนหวยยางมีวิถีชีวิตอยูกับธรรมชาติหาอยูหากินกันตามไรตามนา ตามปาตามเขา อาหารของชาวบานจึงเปนอาหารท่ีหามาไดตามธรรมชาติ อาหารตามฤดูกาล อาหารตามทองทุงนา เชน หอยเชอรี่ เขียด ปลา ปู อาหารจากปา เชน หอยหอม นก หนอไม เห็ด เปนตน อาจมีบางอยางท่ีชุมชนตองพ่ึงจากตลาด เชน เนื้อสัตว ผักบางชนิด การปรุงอาหารหรือการประกอบอาหารจะเปนอาหารท่ีเปนเอกลักษณพ้ืนบาน สามารถท่ีจะหาไดในชุมชนมาปรุงเปนอาหารได เชน น้ําพริก ผักนึ่ง แกงหวายใสไก แกงหนอไม เปนตน ซ่ึงรสชาติของอาหารจะไมจัดจนเกินไป

Page 61: ecotourism management

ศักยภาพชุมชนดานการคมนาคมหรือการเขาถึง การคมนาคมของชุมชนหวยยาง เปนถนนคอนกรีต การเดินทางไปมาสะดวกและรวดเร็ว โดยชุมชนอยูหางจากตัวจังหวัดสกลนครเพียง 37 กิโลเมตรตามถนนสกล-นาแก มีรถประจําทางจากจังหวัดสกลนครผานปากทางเขาหมูบานทุกวัน ตั้งแตเวลา 06.30 – 17.30 น.อัตราคาโดยสาร 20 บาท มีรถมอเตอรไซครับจางเขาหมูบาน อัตราคาโดยสาร 20 บาท บทบาทขององคการบริหารสวนตําบลเหลาโพนคอในการสงเสริมการทองเที่ยว

ชุมชนหวยยาง หมูท่ี 6 และหวยยางเหนือ หมูท่ี 9 มีลักษณะการพัฒนาการทองเท่ียวในพ้ืนท่ีใหเปนการทองเท่ียวเชิงนิเวศ จัดเปนแหลงทองเท่ียวตามธรรมชาติ วัฒนธรรม โดยมุงเนนการอนุรักษ การพักผอนหยอนใจ การศึกษาธรรมชาติ และการแลกเปล่ียนความรูซ่ึงจัดใหมีโครงสรางพ้ืนฐานเทาท่ีจําเปน และมีการจัดการในรูปของธุรกิจชุมชนโฮมสเตย ท่ีอยูในขั้นของการเริ่มตนดําเนินการเพ่ือใหทุกคนในชุมชนมีสวนรวมตามศักยภาพทุกระดับ

แผนการพัฒนาการทองเท่ียเชิงนิเวศของตําบลเหลาโพนคอ

เนนในดานการควบคุมและการสงเสริมการทองเท่ียวเชิงนิเวศ เปนโครงการท่ีควรดําเนินงานในระยะ 5 ปเปนสวนใหญ ประกอบดวยแผนการพัฒนาดานการบริหารจัดการ แผนการพัฒนาแหลงทองเท่ียว/กิจกรรมทองเท่ียวและโครงสรางพ้ืนฐาน แผนพัฒนาดานการบริการทางการทองเท่ียวและแผนการพัฒนาดานการตลาด สวนใหญเปนชุดโครงการท่ีตองประสานความรวมกันในหลายหนวยงานและองคกรท่ีเกี่ยวของ นอกจากนี้องคการบริหารสวนตําบลเหลาโพนคอชวยประชาสัมพันธแหลงทองเท่ียวผานทางอินเตอรเน็ตเพ่ือใหแหลงทองเท่ียวเปนท่ีรูจักกันอยางแพรหลาย ปญหาความรูความเขาใจดานการจัดการการทองเที่ยวเชิงนิเวศ

จากการสัมภาษณ สอบถามของผูศึกษากับผูนําชุมชน ตัวแทนชุมชน กลุมบานพักโฮมสเตยและ

ประชาชนในชุมชนรวมกันเกี่ยวกับความรูในการบริหารจัดการการทองเท่ียวนั้น ชุมชนยังไมมีรูปแบบในกิจกรรมการทองเท่ียว เนื่องจากไดรับการอบรมจากองคการบริหารสวนตําบลเหลาโพนคอ 1 ครั้ง ในการจัดตั้งกลุมโฮมสเตย ชุมชนตองการพัฒนาศักยภาพในดานนี้ใหมากขึ้น ดังนั้นควรมีการจัดอบรมในเรื่องมัคคุเทศนใหกับชุมชนและพาผูนําชุมชน ตัวแทนชุมชน กลุมบานพักโฮมสเตยไปศึกษาดูงานดานการบริหารจัดการการทองเท่ียวและการพัฒนาปรับปรุงแหลงทองเท่ียวของชุมชนท่ีประสบผลสาเร็จในการบริหารจัดการการทองเท่ียวแลว เพ่ือนําความรูท่ีไดรับและประโยชนท่ีจะนํามาใชในการพัฒนาการจัดการ

Page 62: ecotourism management

ดานการทองเท่ียวในชุมชนของตนเอง นอกจากนี้ชุมชนควรมีการแบงบทบาทหนาท่ีของคนในชุมชน ไมวาจะเปนผูนําชุมชน ตัวแทนชุมชน กลุมบานพักโฮมสเตยและประชาชนในชุมชนใหชัดเจน รวมกันวางแผนรูปแบบกิจกรรมการทองเท่ียวใหชัดเจนมากขึ้น

6.อภิปรายผลการศึกษา

จากการศึกษาวิจัยเรื่องศักยภาพในการจัดการการทองเท่ียวเชิงนิเวศ กรณีศึกษา ชุมชนหวยยาง ตําบลเหลาโพนคอ อําเภอโคกศรีสุพรรณ จังหวัดสกลนคร ผลการศึกษาพบวา ศักยภาพดานแหลงทองเท่ียวเชิงนิเวศ พบวา ชุมชนหวยยางแหลงทองเท่ียวของชุมชนหวยยางมีศักยภาพอยูในระดับสูง เพราะมีสภาพพ้ืนท่ีเปนแหลงทรัพยากรธรรมชาติท่ีอุดมสมบูรณ มีวิถีชีวิตชุมชน ประเพณี วัฒนธรรม มีแหลงประวัติศาสตร เขาถึงสะดวกรวดเร็ว มีสถานท่ีสําคัญ ซ่ึงสอดคลองกับแนวคิดการทองเท่ียวเชิงนิเวศ (Ecotourism) เสร ีเวชบุษกร (2538) ใหคําจํากัดความการทองเท่ียวเชิงนิเวศวา เปนการเดินทางทองเท่ียวอยางมีความรับผิดชอบในแหลงธรรมชาติท่ีมีเอกลักษณเฉพาะถ่ิน และแหลงวัฒนธรรมท่ีเกี่ยวเนื่องกับระบบนิเวศส่ิงแวดลอมและการทองเท่ียว โดยมีกระบวนการเรียนรูรวมกันของผูเกี่ยวของ ภายใตการจัดการอยางมีสวนรวมของทองถ่ินเพ่ือมุงใหเกดิจิตสํานึกตอการรักษาระบบนิเวศอยางยั่งยืน การทองเท่ียวเชิงนิเวศ มีองคประกอบสําคัญท่ีควรพิจารณา คือ การสรางจิตใตสํานึกเกี่ยวกับการอนุรักษธรรมชาติและส่ิงแวดลอม ความพึงพอใจของนักทองเท่ียว และการมีสวนรวมของชุมชนทองถ่ิน รวมถึงการกระจายรายได ผลการศึกษาพบวา ศักยภาพชุมชนในการสงเสริมการทองเท่ียวเชิงนิเวศ ในเรื่องของการจัดการการทองเท่ียว ชุมชนหวยยางยังไมมีระบบการบริหารจัดการท่ีเปนแนวทางชัดเจน ไมมีรูปแบบกิจกรรมการทองเท่ียว บุคลากรในชุมชนหวยยางมีความพยายามท่ีจะคนควาหาความรูเกี่ยวกับการบริหารจัดการการทองเท่ียวดวยตนเอง แตคนในชุมชนมีความรูความเขาใจเกี่ยวกับการทองเท่ียวอยูบาง สวนเอกสารความรูเกี่ยวกับแหลงทองเท่ียวองคการบริหารสวนตําบลเหลาโพนคอไดจัดทําไวแลว ซ่ึงสอดคลองกับแนวคิดการบริหาร แนวคิดหลักในการจัดการทรัพยากรการทองเท่ียว บริเวณแหลงทองเท่ียวไวเปน 2 ประเภท (วรรณา วงษวานิช. 2539 : 76-77) คือ

1.การใหบริการและใหความสะดวก ตลอดจนใหความรูแกนักทองเท่ียว

2.การรักษาไวซ่ึงทรัพยากรธรรมชาติและส่ิงแวดลอมใหคงอยูตลอดไป

ดังนั้นการศึกษาครั้งนี้จึงช้ีใหเห็นถึงการมีสวนรวมของชุมชนหวยยางในการจัดการการทองเท่ียวเชิงนิเวศและยังเปนการสรางจิตสํานึกทางส่ิงแวดลอมใหกับคนในชุมชนและนักทองเท่ียวดวย

นอกจากนี้การศึกษาศักยภาพในการจัดการการทองเท่ียวเชิงนิเวศ กรณีศึกษา ชุมชนหวยยาง ตําบลเหลาโพนคอ อําเภอโคกศรีสุพรรณ จังหวัดสกลนคร ผูศึกษาใชกรอบแนวคิดปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงในการอธิบาย เนื่องจากในอดีตชุมชนหวยยางเคยเปนหมูบานขอทาน จนเปนขาวหนา 1 ของ

Page 63: ecotourism management

หนังสือพิมพเดลินิวส กระท่ังขาวทราบถึงพระบาทสมเด็จพระเจาอยูหัวฯ พระองคทรงมอบหมายงานใหกรมชลประทานดําเนินการสรางอางเก็บน้ําหวยโท – หวยยาง ในป 2528 แลวเสร็จในป 2530 โดยพระองคเสด็จมาเปดอางเก็บน้ําหวยโท – หวยยางดวยพระองคเองในป 2532 ตั้งแตบัดนั้นเปนตนชุมชนหวยยางเปล่ียนจากหมูบานขอทานมาเปนหมูบานเศรษฐกิจพอเพียง ชุมชนหวยยางไดนอมนําปรัญชาเศรษฐกจิพอเพียงมาใชในการดําเนินชีวิตภายใตกรอบ 3 หวง 2 เง่ือนไข ตามหลักปรัญชาเศรษฐกิจพอเพียง

7.ขอเสนอแนะ

ขอเสนอแนะดานงานวิจัย

1. ควรมีการศึกษาผลกระทบท่ีจะเกิดขึ้นหลังการสงเสริมการทองเท่ียวท่ีจะเกิดขึ้นในชุมชนหวยยาง

ตําบลเหลาโพนคอ อําเภอโคกศรีสุพรรณ จังหวัดสกลนคร

2. ควรมีการศึกษาการพัฒนารูปแบบการทองเท่ียวอยางมีสวนรวมของประชาชนในชุมชนหวยยาง ขอเสนอแนะดานการพัฒนาชุมชน

1. หนวยงานท่ีเกี่ยวของควรสนับสนุน สงเสริมและใหความรูแกชุมชนเพ่ิมมากขึ้นในการพัฒนารูปแบบการทองเท่ียว

2. ภายในชุมชนควรปรับปรุงภูมิทัศน เพ่ือเปนแรงดึงดูดใหนักทองเท่ียวเขามาเท่ียว

3. ภายในชุมชนนาจะมีผลิตภัณฑของชุมชนและมีตลาดเพ่ือรองรับการทองเท่ียว

Page 64: ecotourism management

บรรณานุกรม

บรรณานุกรม

กรวรรณ สังขกร. แนวคิดเศรษฐกิจพอเพียงกับการทองเท่ียวชุมชน. สถาบันวิจัยสังคม : มหาวิทยาลัยเชียงใหม, 2552.

Page 65: ecotourism management

ทัศนีย บัวระภา. การพัฒนาตลาดการทองเท่ียวเชิงนิเวศและวัฒนธรรมแบบยั่งยืนของกลุมจังหวัดรอยแกน สาร. สถาบันวิจัยศิลปะและวัฒนธรรมอีสาน : มหาวิทยาลัยมหาสารคาม, 2549. ธัญญลักษณ มีหมู. ศักยภาพและแนวทางการจัดการการทองเท่ียวเชิงนิเวศวัฒนธรรม ในเขตตําบล ทาหินงาม อําเภอเมือง จังหวัดชัยภูมิ. วิทยานิพนธ ปริญญาศิลปศาสตรมหาบัณฑิต. มหาสารคาม : มหาวิทยาลัยมหาสารคาม, 2552. บังอร ทาประเสริฐ. ตลาดน้ําวัดลําพญา : การจัดการเพ่ือพัฒนาการทองเท่ียวทางวัฒนธรรมโดยการมีสวน รวมของชุมชน. วิทยานิพนธ ปริญญาศิลปศาสตรมหาบัณฑิต. มหาสารคาม : มหาวิทยาลัยมหาสารคาม, 2552. พจนา สวนศร.ี คูมือการจัดการทองเท่ียวโดยชุมชน. กรุงเทพ : โครงการทองเท่ียวเพ่ือชีวิตและ ธรรมชาต,ิ 2547. ยศ สันตสมบัติและคณะ. การทองเท่ียวเชิงนิเวศ : ความหลากหลายทางวัฒนธรรมและการจัดการ ทรัพยากร. โครงการพัฒนาองคความรูและศึกษานโยบายการจัดการทรัพยากรชีวภาพในประเทศ ไทย(โครงการ BRT), 2544. สิรินทิพย พันธมัฆวาฬ. การพัฒนาและการจัดการการทองเท่ียวเชิงนิเวศวัฒนธรรม จังหวัดมหาสารคาม. มหาสารคาม : มหาวิทยาลัยมหาสารคาม, 2552. เสรี พงศพิศ. เศรษฐกิจพอเพียง การพัฒนายั่งยืน. กรุงเทพฯ : พลังปญญา, 2549. https://sites.google.com/site/laophonkhortv/natural

รายนามผูใหสัมภาษณ

1.นายวิกรานต โตะชาลี เปนผูใหสัมภาษณ ท่ีบานเลขท่ี 13 บานหวยยางหมูท่ี 9 ตําบลเหลาโพนคอ อําเภอโคกศรีสุพรรณ จังหวัดสกลนคร มิถุนายน 2554

Page 66: ecotourism management

2. นางกวาย ยางธิสาร เปนผูใหสัมภาษณ ท่ีบานเลขท่ี 115 บานหวยยางหมูท่ี 9 ตําบลเหลาโพนคอ อําเภอโคกศรีสุพรรณ จังหวัดสกลนคร มิถุนายน 2554

3. นายสาคร ยางธิสาร เปนผูใหสัมภาษณ ท่ีบานเลขท่ี 146 บานหวยยางหมูท่ี 6 ตําบลเหลาโพนคอ อําเภอโคกศรีสุพรรณ จังหวัดสกลนคร มิถุนายน 2554

4. นายทวีศักดิ์ ยางธิสาร เปนผูใหสัมภาษณ ท่ีบานเลขท่ี 124 บานหวยยางหมูท่ี 6 ตําบลเหลาโพนคอ อําเภอโคกศรีสุพรรณ จังหวัดสกลนคร มิถุนายน 2554

5. นางสายมะณี ยางธิสาร เปนผูใหสัมภาษณ ท่ีบานเลขท่ี 175 บานหวยยางหมูท่ี 9 ตําบลเหลาโพนคอ อําเภอโคกศรีสุพรรณ จังหวัดสกลนคร มิถุนายน 2554

6. นางวงคจันทร ยางธิสาร เปนผูใหสัมภาษณ ท่ีบานเลขท่ี 245 บานหวยยางหมูท่ี 9 ตําบลเหลาโพนคอ อําเภอโคกศรีสุพรรณ จังหวัดสกลนคร มิถุนายน 2554

7. นายไพบูลย ยางธิสาร เปนผูใหสัมภาษณ ท่ีบานเลขท่ี 235 บานหวยยางหมูท่ี 9 ตําบลเหลาโพนคอ อําเภอโคกศรีสุพรรณ จังหวัดสกลนคร มิถุนายน 2554

8. นางบัวลอย โตะชาลี เปนผูใหสัมภาษณ ท่ีบานเลขท่ี 184 บานหวยยางหมูท่ี 9 ตําบลเหลาโพนคอ อําเภอโคกศรีสุพรรณ จังหวัดสกลนคร มิถุนายน 2554

9. นายมานะชัย ยางธิสาร เปนผูใหสัมภาษณ ท่ีบานเลขท่ี 182 บานหวยยางหมูท่ี 9 ตําบลเหลาโพนคอ อําเภอโคกศรีสุพรรณ จังหวัดสกลนคร มิถุนายน 2554

10. นางรักคํา โตะชาลี เปนผูใหสัมภาษณ ท่ีบานเลขท่ี 203 บานหวยยางหมูท่ี 9 ตําบลเหลาโพนคอ อําเภอโคกศรีสุพรรณ จังหวัดสกลนคร กรกฎาคม 2554 11. นางลําใย ยางธิสาร เปนผูใหสัมภาษณ ท่ีบานเลขท่ี 114 บานหวยยางหมูท่ี 9 ตําบลเหลาโพนคอ อําเภอโคกศรีสุพรรณ จังหวัดสกลนคร กรกฎาคม 2554

12. นางสมบูรณ ยางธิสาร เปนผูใหสัมภาษณ ท่ีบานเลขท่ี 176 บานหวยยางหมูท่ี 9 ตําบลเหลาโพนคอ อําเภอโคกศรีสุพรรณ จังหวัดสกลนคร กรกฎาคม 2554

13. นายจบ ยางธิสาร เปนผูใหสัมภาษณ ท่ีบานเลขท่ี 5 บานหวยยางหมูท่ี 9 ตําบลเหลาโพนคอ อําเภอโคกศรีสุพรรณ จังหวัดสกลนคร กรกฎาคม 2554

14. นางญาณี ยางธิสาร เปนผูใหสัมภาษณ ท่ีบานเลขท่ี 1 บานหวยยางหมูท่ี 6 ตําบลเหลาโพนคอ อําเภอโคกศรีสุพรรณ จังหวัดสกลนคร กรกฎาคม 2554

15. นายปรีดา โตะชาลี เปนผูใหสัมภาษณ ท่ีบานเลขท่ี 13 บานหวยยางหมูท่ี 9 ตําบลเหลาโพนคอ อําเภอโคกศรีสุพรรณ จังหวัดสกลนคร กรกฎาคม 2554

16. นางอรัญญา ยางธิสาร เปนผูใหสัมภาษณ ท่ีบานเลขท่ี 42 บานหวยยางหมูท่ี 9 ตําบลเหลาโพนคอ อําเภอโคกศรีสุพรรณ จังหวัดสกลนคร กรกฎาคม 2554

17. นายวิวร โตะชาลี เปนผูใหสัมภาษณ ท่ีบานเลขท่ี 185 บานหวยยางหมูท่ี 9 ตําบลเหลาโพนคอ อําเภอโคกศรีสุพรรณ จังหวัดสกลนคร กรกฎาคม 2554

Page 67: ecotourism management

18. นายวิตตะ ยางธิสาร เปนผูใหสัมภาษณ ท่ีบานเลขท่ี 22 บานหวยยางหมูท่ี 9 ตําบลเหลาโพนคอ อําเภอโคกศรีสุพรรณ จังหวัดสกลนคร สิงหาคม 2554

19. นางรุงตะวัน ยางธิสาร เปนผูใหสัมภาษณ ท่ีบานเลขท่ี 113 บานหวยยางหมูท่ี 9 ตําบลเหลาโพนคอ อําเภอโคกศรีสุพรรณ จังหวัดสกลนคร สิงหาคม 2554

20. นางทองคํา โตะชาลี เปนผูใหสัมภาษณ ท่ีบานเลขท่ี 245 บานหวยยางหมูท่ี 9 ตําบลเหลาโพนคอ อําเภอโคกศรีสุพรรณ จังหวัดสกลนคร สิงหาคม 2554 21. นายเมคินธ ยางธิสาร เปนผูใหสัมภาษณ ท่ีบานเลขท่ี 133 บานหวยยางหมูท่ี 6 ตําบลเหลาโพนคอ อําเภอโคกศรีสุพรรณ จังหวัดสกลนคร สิงหาคม 2554

22. นางรุงฤดี นิลช้ัน เปนผูใหสัมภาษณ ท่ีบานเลขท่ี 180 บานหวยยางหมูท่ี 6 ตําบลเหลาโพนคอ อําเภอโคกศรีสุพรรณ จังหวัดสกลนคร สิงหาคม 2554

23. นายเกียรติศักดิ์ ขันทีทาว นักวิชาการเกษตร องคการบริหารสวนตําบลเหลาโพนคอ เปนผูใหสัมภาษณ ท่ีองคการบริหารสวนตําบลเหลาโพนคอ กรกฎาคม – สิงหาคม 2554

24. นายรัตนะ คําโสมศรี หัวหนาสํานักปลัด องคการบริหารสวนตําบลเหลาโพนคอ เปนผูใหสัมภาษณ ท่ีองคการบริหารสวนตําบลเหลาโพนคอ กรกฎาคม – สิงหาคม 2554

25. นายอนุชา ไฝทาคํา นักพัฒนาชุมชน องคการบริหารสวนตําบลเหลาโพนคอ เปนผูใหสัมภาษณ ท่ีองคการบริหารสวนตําบลเหลาโพนคอ กรกฎาคม – สิงหาคม 2554

26. นางสาวดารุณี พลราชม นักวิชาการศึกษา องคการบริหารสวนตําบลเหลาโพนคอ เปนผูใหสัมภาษณ ท่ีองคการบริหารสวนตําบลเหลาโพนคอ กรกฎาคม – สิงหาคม 2554

Page 68: ecotourism management

ภาคผนวก

Page 69: ecotourism management

ภาคผนวก ก

แบบสัมภาษณ

แบบสัมภาษณ ใชสัมภาษณกลุมผูรูหรือผูใหขอมูลหลักและผูใหขอมูลท่ัวไป

Page 70: ecotourism management

เร่ือง : การสงเสริมชุมชนในการบริหารจัดการการทองเท่ียวเชิงนิเวศ กรณีศึกษา แหลงทองเท่ียวหวยโท-หวยยาง เขตอุทยานแหงชาติภูผายล ชุมชนหวยยาง ตําบลเหลาโพนคอ อําเภอโคกศรีสุพรรณ จังหวัดสกลนคร

ขอมูลเกี่ยวกับผูใหสัมภาษณ ช่ือ-สกุล................................................................................... อาย.ุ................. ป ท่ีอยูปจจุบัน................................................................................................................................................. การศึกษา..................................................... อาชีพ.................................................................................... 1.ขอมูลดานการทองเที่ยว

ประวัติความเปนมาและจุดเดนของแหลงทองเท่ียว.......................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................... วัฒนธรรมของชุมชน ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………

Page 71: ecotourism management

………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………. ความรูความเขาใจเกี่ยวกับการจัดการการทองเท่ียวเชิงนิเวศและวัฒนธรรมชุมชน บุคลากร………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………

คมนาคม………………………………………………………………………………………………………..........................................................................................................................................................................บริการ………………………………………………………………………………………………………............................................................................................................................................................................. ความพรอมในการเขามามีสวนรวมในการจัดการการทองเท่ียว ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………. หนวยงานภาครัฐในทองถ่ิน ( องคการบริหารสวนตําบล,กลุมชาวบาน) เขามามีสวนรวมในการบริหารจัดการหรือไม ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………ขอเสนอแนะในการจัดการการทองเท่ียวเชิงนิเวศ ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………..

Page 72: ecotourism management

ภาคผนวก ข

แผนผังหมูบาน

N

หนอง ฉาง

ศาลา

261

8

18

169

1

615

147

ศูนยเด็กเล็ก

116 231

โซนที่

Page 73: ecotourism management

แผนท่ีสังเขปบานหวยยาง หมูท่ี 6 ตําบลเหลาโพนคอ

53

Page 74: ecotourism management
Page 75: ecotourism management

ภาคผนวก ค

ปฏิทินวัฒนธรรม \ ปฏิทินวัฒนธรรม

Page 76: ecotourism management

เดือนอาย

เดือนยี ่

เดือนสาม

เดือนส่ี

เดือนหา

เดือนหก เดือนเจ็ด

เดือนแปด

เดือนสิบ

เดือนสิบเอ็ด

เดือนสิบสอง

บุญปใหม

ประทายขาวเปลือก (บุญกองขาว)

เล้ียงเจาปูตา

สรงพระภ ู

บุญบ้ังไฟ

บุญบ้ังไฟ

หมอเหยา

บุญมหาชาต ิ

เขาพรรษา

บุญขาวประดับดิน

บุญขาวสาก

บุญกฐิน

บุญกฐิน

ปฏิทินประเพณี วัฒนธรรม

เดือนเกา

Page 77: ecotourism management

ภาคผนวก ง

เสนทางการทองเท่ียว

Page 78: ecotourism management
Page 79: ecotourism management
Page 80: ecotourism management

ภาคผนวก จ

รูปกิจกรรม

Page 81: ecotourism management

เสนทางการทองเท่ียว

บานพักโฮมสเตย

Page 82: ecotourism management

การคมนาคมในหมูบาน

สัมภาษณกลุมเปาหมาย

Page 83: ecotourism management

วิถีชุมชน

ทําบุญตักบาตร

สรงน้ําพระภูบนพระธาตุดอยอางกุง

Page 84: ecotourism management

กิจกรรมท่ีเขารวมกับองคกรพัฒนา

พิธีเปดการอบรมเพาะพันธุกลาไมและลงนามขอตกลง (MOU) โครงการปลูกไมดอกเพ่ือปรับปรุงภูมิทัศนโคงปงงู ระหวางบริษัทอภิชญาฟลอรา จํากัด กับกลุมเพาะพันธุกลาไมบานหวยยาง

กิจกรรมยุวเกษตรกรดีเดน กิจกรรมท่ีปรึกษายุวเกษตรกรดีเดน กิจกรรมสมาชิกยุวเกษตรกรดีเดน

Page 85: ecotourism management

โครงการ ศอช.จังหวัดสกลนครสูเสนทางการเมืองใสสะอาด

กิจกรรมบูรณาการแผนระดับตําบล

Page 86: ecotourism management

กิจกรรมประเมินโครงการเศรษฐกิจพอเพียง

รวมปลอยปลากับอบต.เหลาโพนคอเนื่องในวันแม

Page 87: ecotourism management

ภาคผนวก ฉ แผนพับแนะนําแหลงทองเท่ียว

Page 88: ecotourism management
Page 89: ecotourism management

ประวัติยอของผูศึกษา

Page 90: ecotourism management

ประวัติยอของผูศึกษา

ช่ือ นางสาวสุนารี หม่ืนหาวงศ วันเกิด 19 กรกฎาคม 2532

ท่ีอยูปจจุบัน 153 หมูท่ี 5 บานจอกอ ตําบลน้ําคํา อําเภอสุวรรณภูมิ จังหวัดรอยเอ็ด 45130

ประวัติการศึกษา

2547 มัธยมศึกษาตอนตน โรงเรียนสุวรรณภูมิพิทยไพศาล

2550 มัธยมศึกษาตอนปลาย โรงเรียนสุวรรณภูมิพิทยไพศาล 2554 ปริญญาตรี มหาวิทยาลัยมหาสารคาม