28

Handbook sat

Embed Size (px)

Citation preview

Page 1: Handbook sat
Page 2: Handbook sat

สารบัญ1 ลักษณะของแบบทดสอบความถนัดทางการเรียน 1

1.ลักษณะทั่วไป………………………………….…12.องคประกอบในแบบทดสอบ………………….…1 1)ความสามารถทางภาษา (Verbal Ability)……1 2)ความสามารถทางการคิดคํ านวณ (Numerical Ability)…………………………..2 3)ความสามารถเชิงวิเคราะห (Analytical Ability)……………………….…..33.การพัฒนาแบบทดสอบความถนัดทางการเรียน…44.ผลการสอบแบบทดสอบความถนัดทางการเรียน..4

2 คํ าอธิบายวิธีทํ าขอสอบ 5ตอนที่ 1 ความสามารถทางภาษา

(Verbal Ability)……………………….5ตอนที่ 2 ความสามารถทางการคิดคํ านวณ

(Numerical Ability) ………………….7ตอนที่ 3 ความสามารถเชิงวิเคราะห

(Analytical Ability) .………………….9การลงรหัสประจํ าตัวผูสอบ 11

3 คํ าอธิบายวิธีทํ าขอสอบ 121)ความสามารถทางภาษา (Verbal ability)………122)ความสามารถทางการคิดคํ านวณ (Numerical Ability) ………………………….…173)ความสามารถเชิงวิเคราะห (Analytical Ability) .…………………………….214)เฉลยขอสอบความถนัดทางการเรียน……………25

โปรดทราบขอสอบความถนัดทางการเรียนในฐานขอมูล

คลังขอสอบที่สํ านักทดสอบทางการศึกษาจัดสรางขึ้นเปนความลับของทางราชการไมสามารถนํ าไปเปดเผยหรือเผยแพรได ตัวอยางขอสอบที่นํ าเสนอในเอกสารนี้ไมใช ขอสอบท่ีอยูในคลังขอสอบของสํ านักทดสอบทางการศึกษา เปนเพียงแต ตัวอยางที่เปนรูปธรรมสํ าหรับใชประกอบ การอธิบายใหทราบถึงลักษณะโดยทั่ว ๆ ไปของแบบทดสอบมาตรฐานประเภทความถนัดทางการเรียนเทานั้น

Page 3: Handbook sat

1 ลกัษณะของแบบทดสอบความถนัดทางการเรียน

1. ลักษณะทั่วไป

แบบทดสอบความถนัดทางการเรียน (Scholastic Aptitude Tests หรือ SAT) เปนเครื่องมือวัดความสามารถที่ไดรับ การพัฒนาแลว (Developed Ability) ของผูเรียน ความสามารถดังกลาวนี้ อาจอยูในรูปของกรอบความคิดหรือกรอบการวิเคราะหที่ผูเรียนไดสรางสมมา หรืออาจอยูในรูปความสามารถที่ผูเรียน จะประกอบกรอบความคิดหรือกรอบการวิเคราะหขึ้นมาใหมอยางฉับพลันทันที เพื่อใชแกปญหาเฉพาะหนา ความสามารถรูปแบบแรกแสดงถึงเชาวนปญญาที่ตกผลึก (Crystalized Intelligence) สวนรูปแบบหลังแสดงถึงเชาวนปญญาที่เล่ือนไหล (Fluid Intelligence) ความสามารถทั้งสองประการที่รวมกันเปน ความถนัดทางการเรียนนี้ เปนผลสะสมระยะยาวของประสบการณการเรียนรูที่ผูเรียนไดรับทั้งในและนอกหองเรียน ผลการสอบวัดความถนัดทางการเรียน นอกจากจะบงชี้ถึงปริมาณและคุณภาพของความสามารถที่ผูเรียนไดพัฒนาแลว ยังสะทอนใหเห็นถึงโอกาสและความพยายามของผูเรียนในการพัฒนาความสามารถดังกลาวดวย

ตารางที่ 1 คุณลักษณะทางจิตวิทยาและตัวบงชี้ทางการศึกษา ของความถนัดทางการเรียนคุณลักษณะทางจิตวิทยา ตัวบงช้ีทางการศึกษา

1. เชาวนปญญาที่ตกผลึก(CrystallizedIntelligence)2. เชาวนปญญาที่เล่ือนไหล(Fluid Intelligence)

1. ความสามารถทางภาษา(Verbal Ability)2. ความสามารถทางการคิดคํ านวณ (Numerical Ability)3. ความสามารถเชิงวิเคราะห(Analytical Ability)

แบบทดสอบความถนัดทางการเรียนวัดความสามารถของผูเรียนใน 3 ดาน คือ 1. ความสามารถทางภาษา (Verbal Ability)

2. ความสามารถทางการคิดคํ านวณ (Numerical Ability)

3. ความสามารถเชิงวิเคราะห (Analytical Ability)

ในการแกปญหาหรือทํ าขอสอบ (Items) ที่ใชวัดความสามารถ แตละดานดังกลาวนี้ ผูเรียนจะใชประโยชนเชาวนปญญาที่ตกผลึกและเชาวนปญญาที่เล่ือนไหลในสัดสวนที่แตกตางกัน การทํ า ขอสอบที่วัดความสามารถทางภาษา ผูเรียนจะตองอาศัยความรูความเขาใจเกี่ยวกับความหมายของศัพทและสํ านวนภาษาคอนขางมาก ผูเรียนจะตองมีโครงสรางความรูทางภาษาอยางดี ทั้งในเชิงปริมาณและในเชิงการจัดองคประกอบในหนวยความจํ าถาวร (Long - Term Memory) จึงจะนํ าออกมาใชประกอบกับความสามารถดานอื่น ๆ ในการแกปญหาหรือทํ าขอสอบไดอยางเปนผลสํ าเร็จ ขอสอบที่วัดความสามารถทางภาษาจึงเนนเชาวนปญญาที่ตกผลึกมากกวาขอสอบที่วัด ความสามารถอีก 2 ดานที่เหลือ

ขอสอบที่วัดความสามารถทางการคิดคํ านวณ ตองอาศัยความรูความเขาใจในวิชาคณิตศาสตรระดับเบื้องตน เนื้อหาสาระที่ใชเปนส่ิงเราหรือปญหาในขอสอบมีขอบเขตไมเกินความรูในวิชาคณิตศาสตรที่เปนบังคับแกนในระดับมัธยมตน การแกปญหาโจทยอยางเปนผลสํ าเร็จตองอาศัยความสามารถในการประกอบกรอบความคิดอยางฉับพลันมากกวาการเรียกใชขอมูลความรูจากหนวยความจํ าถาวร

ขอสอบที่วัดความสามารถเชิงวิเคราะห เนนหนักดานการใชเชาวนปญญาที่เล่ือนไหล ปญหาที่ใชเปนขอสอบในดานนี้จะไมอิงความรูความเขาใจในวิชาที่ผูเรียนไดรับจากการเรียนการสอนในหองเรียน โจทยสวนใหญจะเปนสถานการณใหม ๆ ที่สมมติขึ้น หรือเปนแผนภูมิ ตาราง หรือ สัญลักษณ ที่มีความหมายแตกตางจากที่ผูเรียนเคยพบเห็นในชีวิตประจํ าวัน

2. องคประกอบของแบบทดสอบ

1) ความสามารถทางภาษา (Verbal Ability) ขอสอบดานนี้วดัความรู ความเขาใจ และเหตผุลเชงิภาษาของผูเรยีน โดยครอบคลุมพื้ นฐานความรู ความเข า ใจทางภาษาความสามารถใน การวิเคราะห เปรียบเทียบ และประเมินความสัมพันธรูปแบบตาง ๆ ระหวางศัพท สํ านวน ขอมูล และแนวความคิดที่ส่ือในรูปขอความหรือบทความ เหตุผลเชิงภาษา (Verbal Reasoning)และการอานอยาง มีวิจารณญาณ (Critical Reading) ลักษณะของโจทยหรือคํ าถามมี 3 แบบ คือ

Page 4: Handbook sat

2ก. การเติมขอความใหไดใจความสมบูรณ (Sentence

Completion) เปนการวัดความรูความเขาใจความหมายของศัพทและสํ านวนภาษา และการใชศัพทและสํ านวนภาษาเหลานั้นในประโยค หรือขอความที่กํ าหนดใหอยางไดใจความสมบูรณและสมเหตุสมผล ข. อุปมาอุปไมยทางภาษา (Word Analogy) เปนการวัดความรู ความเขาใจความหมายของศัพทและสํ านวนภาษา ความสามารถ ในการวิเคราะหความสัมพันธระหวางคูคํ าหรือสํ านวนที่กํ าหนดให และความสามารถในการเปรียบเทียบและประเมินความสัมพันธระหวาง คูคํ าหรือสํ านวนตาง ๆ ค. การอานอยางมีวิจารณญาณ (Critical Reading)เปนการวัดความสามารถในการวิเคราะหและประเมินขอความหรือบทความที่กํ าหนดให ในองคประกอบตาง ๆ ดังตอไปนี้ (1) การจับใจความหลักและเจตนารมณสํ าคัญ (2) ความเขาใจขอมูลและขอเท็จจริงที่ระบุอยางชัดเจน (3) ความเขาใจแนวความคิดที่พาดพิง แตไมไดระบุ อยางชัดเจน (4) การประยุกตใชแนวความคิดในบทความกับสถาน การณอื่น ๆ (5) วิเคราะหตรรกะ เหตุผล และเทคนิควิธีการนํ า เสนอที่ผูแตงใช

(6) วิเคราะหจุดยืน เจตคติ และอารมณความรูสึกของ ผูเขียน จากลักษณะภาษาที่ใช

ขอความหรือบทความที่กํ าหนดใหอาน จะมีเนื้อหาสาระ ที่ไมเนนหนักเทคนิควิธีเฉพาะสาขา (Non-technical Readings) แตจะมีขอบขายที่กวางขวาง ซึ่งครอบคลุมตั้งแตเรื่องราวที่ เกี่ยวกับชีวิตประจํ าวัน ไปจนถึงบทความที่เกี่ยวของกับสาขาวิชาตาง ๆ อันไดแก วิทยาศาสตรกายภาพ – ชีวภาพ สังคมศาสตร มนุษยศาสตร และศิลปศาสตร แบบทดสอบแตละฉบับจะมี บทความจํ านวนหลายบทความและมีการกระจายใหครอบคลุมเนื้อหาสาระประเภทตาง ๆ ดังกลาวอยางทั่วถึงและสมดุล

ขอความหรือบทความที่กํ าหนดใหจะมีความยาวแตกตางกนั ขอความหรือบทความสั้น ๆ จะใชเพื่อวัดความสามารถดาน

การอานอยางมีวิจารณญาณเปนหลัก แตละขอความจะตามดวย

คํ าถามเดียวสวนบทความขนาดยาวจะมีหลายคํ าถาม และ ครอบคลุมความสามารถหลาย ๆ ดาน

2) ความสามารถทางการคิดคํ านวณ (Numerical Ability) ขอสอบดานนี้วัดความเขาใจในความคิดรวบยอด และหลักการทางคณิตศาสตรระดับเบื้องตน ทักษะการคํ านวณระดับพื้นฐาน ความสามารถดานเหตุผลเชิงปริมาณ (Quantitative Reasoning) การวิเคราะห เปรียบเทียบ และประเมินขอมูล เชิงปริมาณในรูปแบบตาง ๆ เชน ตาราง แผนภูมิ และประโยคสัญลักษณทางคณิตศาสตรและความสามารถในการแกปญหาในรูปของจํ านวนหรือปริมาณ การวัดความสามารถทางการ คิดคํ านวณจะกระทํ าใน 3 องคประกอบยอยคือ

ก. ความสามารถพื้นฐานทางคณิตศาสตร(Basic Mathematical Ability) ขอสอบที่วัดความสามารถพื้นฐานทางคณิตศาสตรจะครอบคลุมทักษะการใช Operations พื้นฐานเชน การบวก ลบ คูณ หาร การถอดราก และการยกกํ าลัง และความสามารถ ในการตีความและแกปญหาโจทย ที่ตองอาศัยพื้นฐานความเข าใจในความคิดรวบยอดและหลักการ ในคณติศาสตรระดบัเบือ้งตน เชน เศษสวน ทศนยิม รอยละ ก ําไร/ขาดทนุ ระยะทาง พื้นที่ ปริมาตร เวลา สมการ เรขาคณิตเบื้องตนพีชคณิตเชิงเสนขั้นพื้นฐาน (Basic Linear Algebra) และ กราฟเปนตน

ข. ความสามารถดานการเปรียบเทียบเชิงปริมาณ(Quantitative Comparison) ขอสอบดานนี้วัดความสามารถของผูเรียนในการคํ านวณหาเหตุผล และเปรียบเทียบขนาดของปริมาณ 2 ปริมาณอยางรวดเร็ว และแม นยํ า วาปริมาณใดมีขนาดใหญกวา เล็กกวา เทากัน หรือ เปรียบเทียบกันไมไดเพราะขอมูลที่กํ าหนดใหไมเพียงพอ การคํ านวณและหาเหตุผลจะตองอาศัยความรู ความเขาใจเบื้องตนในวิชาพีชคณิต เลขคณิต (Arithmetic) และเรขาคณิต

ค . ความสามา รถ ในการตี ค วามข อ มูล ( D a t a Interpretation) ขอสอบดานนี้ วัดความสามารถของผูเรียนในการอาน และวิเคราะหขอมูลเชิงปริมาณ ที่เสนอในรูปแบบตาง ๆ เชน ตาราง แผนภูมิ กราฟ สมการ หรือประโยคสัญลักษณทางคณิตศาสตร การสังเคราะหขอมูล และการเลือกใชขอมูลที่ เหมาะสมเพื่อตอบปญหา

Page 5: Handbook sat

3 ง. การประเมินความเพียงพอของขอมูล (Evaluation of Data Sufficiency) เพื่อวัดความสามารถในการวิเคราะห และ ตีความปญหาทางคณิตศาสตร การพิจารณาและจํ าแนกความเหมาะสมของขอมูลในการแสวงหาคํ าตอบ และการประเมิน ความเพียงพอของขอมูลสํ าหรับการแกปญหา

ตารางที่ 2 องคประกอบของแบบทดสอบความถนัด ทางการเรียน

องคประกอบใหญ องคประกอบยอยก. ความสามารถทางภาษา

ข. ความสามารถทางการ คิดคํ านวณ

ค. ความสามารถ เชิงวิเคราะห

(1) การเติมความใหสมบูรณ(2) อุปมาอุปไมยทางภาษา(3) การอานอยางมีวิจารณญาณ(1) ความสามารถพื้นฐาน ทางคณิตศาสตร(2) การเปรียบเทียบเชิงปริมาณ(3) การตีความขอมูล(4) การประเมินความเพียงพอ ของขอมูล(1) การวิเคราะหเชิงภาษา(2) การวิเคราะหแผนภูมิเชิง ตรรกะ(3) การวิเคราะหเชิงภาพและ สัญลักษณ (ก) อุปมาอุปไมยดวยภาพ (ข) การจัดประเภทภาพ (ค) อนุกรมภาพ (ง) อนุกรมภาพ 2 มิติ

3) ความสามารถเชิงวิเคราะห ขอสอบดานนี้วัดความสามารถของผูเรียนในดานตาง ๆ ตอไปนี้ คือ

(1) การสังเกตเห็นและการวิเคราะหความสัมพันธระหวางขอมูลสนเทศตาง ๆ เชน ระหวางหลักฐานและขอ สมมติฐาน ระหวางสาเหตุและผลสรุป และระหวางขอเท็จจริงกับคํ าอธิบาย เปนตน

(2) การพิจารณาและประเมินความสอดคลองระหวางขอความที่มีความสัมพันธเกี่ยวของกัน (3) การสรุปความจากขอมูลหรือสาระที่ซับซอน

(4) การใชวิธีหรือขั้นตอนในการขจัดประเด็นหรือทางเลือกที่ผิด เพื่อนํ าไปสูการสรุปผลอยางถูกตอง (5) การสรุปและสรางหลักเกณฑจากความสัมพันธที่วิเคราะหไดจากขอมูลที่เปนนามธรรม สัญลักษณ หรือแผนภาพตาง ๆ (6) การวิเคราะหความสัมพันธระหวางกลุมหรือการจัดประเภททีมี่ความเหลือ่มล้ํ าใน ลักษณะตางๆ หรอืทีเ่ปนอสิระไมคาบเกีย่วกนั

ขอสอบที่วัดความสามารถเชิงวิเคราะห แบงตามลักษณะได4 แบบใหญ ๆ คือ

ก . การใชเหตุผลเชิงตรรกะและเชิงวิเคราะหทางภาษาปญหาที่ใชเปนขอสอบจะประกอบดวยคํ าบรรยายสถานการณ หรอื กลุมขอความทีใ่หขอมูลเกีย่วกบัสถานการณผูเขาสอบ จะตองศึกษาสถานการณและขอมูลที่กํ าหนดให และใชความสามารถดานตาง ๆ ดังกลาวขางตนเพื่อตอบคํ าถามที่ตามมา

ข. การวิเคราะหแผนภูมิเชิงตรรกะ (Logical Diagram)โจทยจะกํ าหนดภาพวงกลมใหหมายถึงกลุมหรือการจัดประเภทของสิ่งของ ปรากฏการณ หรือคุณลักษณะตาง ๆ และใหการตัดกันหรือซอนกันของวงกลมแสดงถึงความสัมพันธระหวางกลุมหรือการจัดประเภท ปญหาที่กํ าหนดใหจะประกอบดวยวงกลมตั้งแต 3 วงขึ้นไป ซึ่งจะซอนทับกันในลักษณะตาง ๆ ผูสอบจะตองวิเคราะหความสัมพันธจากภาพที่กํ าหนดให และใชความสัมพันธที่วิเคราะหไดในการตอบคํ าถามแตละขอ

ค. การวิเคราะหเชิงภาพหรือสัญลักษณ (Non-verbal Analysis) เปนการวิเคราะหความสัมพันธระหวางภาพหรือสัญลักษณตาง ๆ ซึ่งแบงออกเปน 4 แบบ คือ

(1) อุปมาอุปไมยดวยรูปภาพ (Picture Analogy) มีลักษณะคลายกับอุปมาอุปไมยทางภาษา (Word Analogy) เพียงแตใชรูปภาพหรือสัญลักษณแทนคํ าหรือสํ านวนภาษา ดังนั้นการทํ าขอสอบประเภทนี้ ผูเขาสอบไมตองใชขอมูลความรูดานภาษาในหนวยความจํ าถาวร แตตองใชความสามารถที่เปน เชาวนปญญาที่เล่ือนไหล (Fluid Intelligence) ในการตีความ แตละภาพวิเคราะหความสัมพันธระหวางภาพที่กํ าหนดใหและใชความสัมพันธที่วิเคราะหไดกับภาพอื่น ๆ

(2) อนุกรมภาพ (Figural Series) ขอสอบแตละขอจะกํ าหนดอนุกรมภาพให 1 ชุด ซึ่งมี 3 ภาพ ระหวาง 3 ภาพนี้จะ

Page 6: Handbook sat

4มีการเปลี่ยนแปลงลักษณะตอเนื่อง จากภาพหนึ่งไปอีก ภาพหนึ่ง ผูเขาสอบตองวิเคราะหความตอเนื่องของอนุกรมภาพเพื่อหากฎเกณฑของความเปลี่ยนแปลง แลวใชกฎเกณฑนั้นไปพยากรณความเปลี่ยนแปลงของอนุกรมภาพชุดอื่น (3) การจัดประเภทภาพ (Figural Classification) ขอสอบประเภทนี้จะวัดความสามารถของผูเรียนในการวิเคราะหองคประกอบของภาพที่กํ าหนดให เพื่อใชเปนขอมูลในการสงัเคราะหกฎเกณฑที่ใชในการจัดหมวดหมู และใชกฎเกณฑนั้น ในการพิจารณาจัดภาพใหมใหเขากลุมอยางถูกตอง (4) อนุกรมภาพแบบ 2 มิติ (Figural Matrices) การท ําขอสอบประเภทนี ้ ตองใชความสามารถหลายอยางรวมกัน คอืความสามารถในการวเิคราะหเชงิอปุมาอปุไมย ความสามารถในการวิเคราะหกฎเกณฑการเปลี่ยนแปลงในอนุกรม และความสามารถในการสังเคราะหกฎเกณฑที่ใชในการจัดกลุ มจาก ตัวอยาง โดยทั่วไปแลว โจทยจะกํ าหนดภาพให 3 แถว แถวละ 3 ภาพ เรียงเปนจัตุรัสการเปลี่ยนแปลงจากภาพหนึ่งไปสูอีก ภาพหนึ่งมีทั้งในแนวนอน (จากซายไปขวา) และในแนวตั้ง (จากบนลงลาง) โดยไมจํ าเปนตองใชกฎเกณฑเดียวกันผูเขาสอบจะตองวิเคราะห สังเคราะห และพยากรณ ลักษณะของภาพที่เปล่ียนแปลงไปอยางสอดคลองกับกฎเกณฑ ทั้ง 2 มิติ3. กระบวนการพัฒนาแบบทดสอบความถนัดทางการเรียน

สํ านักทดสอบทางการศึกษา รวมมือกับผูเชี่ยวชาญ ดานการวัดและประเมินผลจากหนวยงานและสถาบัน ทางการศึกษาทั้งภายในและภายนอกกระทรวงศึกษาธิการ ดํ าเนินการสรางแบบทดสอบความถนัดทางการเรียน ภายใต การกํ ากับดูแลของคณะกรรมการอํ านวยการจัดสรางและพัฒนาแบบวดัมาตรฐาน ระดบัมัธยมศกึษาตอนปลาย ทีก่ระทรวงศกึษาธิการไดแตงตั้ง ขั้นตอนการสรางแบบทดสอบนี้เปนไปตามกระบวนการพัฒนาแบบทดสอบมาตรฐาน อันไดแก การกํ าหนดวัตถุประสงคของแบบทดสอบ การออกแบบโครงสรางและกํ าหนดนิยามขององคประกอบสมรรถภาพในแบบทดสอบ การกํ าหนดกรอบและแนวทางการสรางขอสอบรายขอ การสรางและตรวจสอบทบทวนพรอมทั้งแกไขปรับปรุงขอสอบ การทดลองใช ขอสอบและการ

วิเคราะหคุณภาพขอสอบ และการจัดฉบับสํ าหรับใชใน สถานการณจริง

จากการศึกษาคุณภาพของแบบทดสอบความถนัดทางการเรียนในป 2539 - 2540 พบวาแบบทดสอบนี้มีความนาเชื่อถือ (Reliability) อยูในเกณฑดี กลาวคือ คาดัชนีความนาเชื่อถือ แบบ IRT ของทั้งฉบับ เทากับ 0.93 และเมื่อแยกวิเคราะหทีละองคประกอบ พบวาคาดัชนีความนาเชื่อถือของความสามารถ ทางภาษา ความสามารถทางการคิดคํ านวณ และความสามารถเชิงวิเคราะหเทากับ 0.80, 0.90 และ 0.89 ตามลํ าดับ นอกจากนี้ยังพบวาแบบทดสอบนี้มีความเที่ยงตรง (Validity) อยูในระดับที่นาพอใจ กลาวคือมีคาสัมประสิทธิ์สหสัมพันธพหุคูณ (Multiple R) กับผลการเรียนเฉลี่ย (GPA) เทากับ 0.58 และมี คาสัมประสิทธิ์สหสัมพันธพหุคูณกับผลการสอบแบบทดสอบมาตรฐานวิชา คณิตศาสตร เคมี ชีววิทยา ฟสิกส ภาษาไทย ภาษาอังกฤษ และสังคมศึกษา เทากับ 0.764. ผลการสอบแบบทดสอบความถนัดทางการเรียน

คะแนนผลการสอบแบบทดสอบความถนัดทางการเรียนในแตละองคประกอบจะอยู ในรูปของคะแนนมาตรฐานแบบ Scale Score ซึ่งจะมีคาอยูระหวาง 150 ถึง 850 คาเฉลี่ย (Mean)จะกํ าหนดใหเทากับ 500 และคาความเบี่ยงเบนมาตรฐาน (SD)เทากับ 100 การคํ านวณผลการสอบเปนคะแนนมาตรฐานแบบนี้จะชวยใหสามารถนํ าผลการสอบไปเปรียบเทียบขามปได สํ าหรับผลการสอบที่เปนคะแนนดิบ คะแนนเต็มของแบบทดสอบทั้งฉบับจะเทากับ 100 คะแนน โดยแยกเปน ความสามารถทางภาษา 35 คะแนน ความสามารถทางการคิดคํ านวณ 35 คะแนน และความสามารถเชิงวิเคราะห 30 คะแนน

Page 7: Handbook sat

2 คํ าอธิบายวิธีทํ าขอสอบ

ตอนที่ 1 ความสามารถทางภาษา

แบบทดสอบฉบับนี้เปนเอกสาร “ลับ–เฉพาะ” ของทางราชการสงวนลิขสิทธิ์ตามกฎหมาย หามคัดลอกหรือนํ าไปเปดเผย

ตอนที่ 1คํ าอธิบายวิธีทํ าขอสอบความสามารถทางภาษาไทย

1. แบบทดสอบตอนที่ 1 นี้ วัดความสามารถทางภาษา แบงเปน 3 ตอนยอย มีคํ าถามทั้งหมด 35 ขอ ใหเวลาทํ า 50 นาที ควรทํ าใหครบทุกขอ2. คํ าถามในแบบทดสอบฉบับนี้เปนแบบเลือกตอบคํ าถาม แตละขอใหเลือกคํ าตอบที่ถูกตองที่สุด ดีที่สุดหรือ เหมาะสมที่สุด เพียงคํ าตอบเดียวจากตัวเลือก 1, 2, 3, 4 หรือ 5 ที่ใหไว เมื่อเลือกคํ าตอบใด ใหใชดินสอ 2 B ระบายใน ชองคํ าตอบในกระดาษคํ าตอบ ดังตัวอยางการตอบตัวเลือก

4 ดังนี้

ถาระบายคํ าตอบไปแลว แตตองการจะเปลี่ยนคํ าตอบ

ใหม ตองลบคํ าตอบเดิมใหสะอาดเสียกอนแลวจึงคอยระบาย คํ าตอบใหม3. จงระบายคํ าตอบใหตรงกับขอคํ าถามเสมอ4. ถาพบขอใดยาก จงเวนขามไปทํ าขออื่น ๆ ตอไปกอน เมื่อมีเวลาเหลือจึงคอยยอนกลับมาทํ าใหม เพราะอาจมี ของายอยูตอนหลัง ๆ ก็ได5. การเดาไมชวยใหไดคะแนนดีขึ้นเลย ควรคิดใหรอบคอบกอน ที่จะตอบจึงจะดี6. หามขีดเขียนหรือทํ าเครื่องหมายใด ๆ ในแบบทดสอบนี้7. คํ าถามของแบบทดสอบนี้ แบงเปน 3 ตอน คือ

ตอนที ่1. อปุมาอปุไมยทางภาษา มีค ําถาม 10 ขอ คอื ขอ (1)–(10)

คํ าถามแตละขอจะมีคํ า 2 คํ า ทางซายมือใหนักเรียนดูกอน เปนตัวอยาง คํ าทั้งสองนี้จะมีความเกี่ยวของสัมพันธกันโดยทางใดทางหนึ่งเสมอ

จากนั้นใหนักเรียนหาคํ าอีก 1 คู จากตัวเลือก 1, 2, 3, 4หรือ 5 ที่มีความสัมพันธเชนเดียวกันกับคูแรก

การวิเคราะหความสัมพันธระหวางคํ า กลุมคํ า หรือสํ านวนที่กํ าหนดใหในโจทย ใหพิจารณาวาลักษณะความสัมพันธนั้นอยูในรูปแบบใด เชน ความสัมพันธเชิงหนาที่ ความเหมือนหรือ ความคลายคลึง ความขัดแยงหรือตรงกันขาม ความสัมพันธ ระหวางสวนยอยและสวนใหญ ความสัมพันธแบบลํ าดับตอเนื่องหรือพัฒนาการ ความสัมพันธเชิงเหตุและผล ในลักษณะใดลักษณะหนึ่ง ดังตัวอยาง ขอ (0) ดังนี้( 0 ) แพทย : โรงพยาบาล ? : ? 1. อุบาสก : วัด 2. คนไข : คลินิก 3. ผูตองหา : หองขัง 4. นักทัศนาจร : โรงแรม 5. ครู : โรงเรียน

ขอนี้ตองตอบตัวเลือก 5 เพราะคํ าคูแรกที่กํ าหนด มีความสัมพันธกันเชิงหนาที่ ดังนั้น ตัวเลือกที่มีความสัมพันธกันเหมือนกับคํ าคูแรกในลักษณะความสัมพันธเชิงหนาที่ จะเปนตัวเลือกอื่นไมได

ตอนที ่2. เตมิความใหสมบูรณ มีค ําถาม 5 ขอ คอื ขอ (11) – (15)

ขอคํ าถามแตละขอจะมีโจทยเปนขอความหรือประโยคใหโดยเวนที่วางบางสวนไว 1 หรือ 2 ตํ าแหนง ตัวเลือกเปนคํ าหรือวลีที่ตองนํ ามาเติมในที่วาง เพื่อใหขอความหรือประโยคนั้นมีความสมบูรณถูกตองทั้งความหมาย และการใชภาษา

ประโยคหรือขอความที่กํ าหนดมาให จะเกี่ยวของกับชีวิตประจํ าวันดานการเมือง สังคม เศรษฐกิจ ส่ิงแวดลอม ศิลปวัฒนธรรม วิทยาศาสตร และเทคโนโลยี แมไมมีความรูเรื่องดงักลาวกส็ามารถหาความสมัพนัธระหวางโจทยที่เวนไวกับคํ าหรือ ขอความทีน่ ํามาเตมิใหสมบรูณได ดงัตวัอยาง ขอ ( 0 ) และ( 00 ) ดงันี้

Page 8: Handbook sat

6( 0 ) สํ านักขาวรอยเตอรเปดเผยผลสํ ารวจสถาบันลงทุน และ บริษัทหลักทรัพยวายังใหความสนใจลงทุนในตลาดหุน เอเชียแต_______ที่จะลงทุนในตลาดประเทศสหรัฐอเมริกา และทวีปยุโรป เพราะอยูตัวแลว ทั้งยังมีแนวโนมจะลดลง อีกดวย

1. เลือก2. ม่ันใจ3. ลังเล4. ตัดสินใจ5. เปล่ียนใจ

คํ าตอบที่ถูกตองคือตัวเลือก 3 เพราะไมม่ันใจภาวการณของตลาดหุนในสหรัฐอเมริกา และทวีปยุโรปถาใชตัวเลือกอื่นจะทํ าใหความหมายของประโยคไมถูกตอง

( 00 ) การใหหาวิธีการที่ถูกตอง ไมใชการ_______ โครงการ เพราะไมเห็นดวยกับการแกปญหารถติด เราตองรีบลงมือ ทํ าอะไรที่เปนการแกปญหาอยางจริงจัง เนื่องจากระบบ ขนสงมวลชน เปนวิธีการที่_________ที่สุด

1. ยกเลิก …………….. ดี2. ทักทวง ……………. ชี้ชัด3. คัดงาง …………….. เขาทา4. ขัดขวาง …………… ถูกตอง5. ทัดทาน …………… เหมาะสม

คํ าตอบที่ถูกตองคือตัวเลือก 5 เนื่องจากเปนการเสนอแนะ และอธิบายเหตุผล

ตอนที่ 3. การอานอยางมีวิจารณญาณ มีคํ าถาม 20 ขอ คือขอ (16) – (35)

คํ าถามในตอนนี้จะมีขอความใหอานกอน แลวจะถามใจความสํ าคัญหรือความหมายของขอความนั้น ใหนักเรียนพยายามจับความหมาย และแปลเลศนัยใจความของขอความใหดีแลวตอบ โดยยึดเนื้อหาในขอความเปนหลัก ดังตัวอยางขอ ( 0 )

( 0 ) ขอใดแสดงจุดประสงคของผูเขียนไดถูกตองชัดเจนที่สุด1. ใหกํ าลังใจผูที่ประสบอุทกภัย2. เตือนใหระวังอุทกภัยในหนาฝน3. ยั่วยุใหผูประสบภัยเกิดกํ าลังใจไมทอแท4. ปลุกใจใหเขมแข็งในการตอสูภัยธรรมชาติ5. ปลอบขวัญผูประสบชะตากรรมจากภัยธรรมชาติ

ขอนี้ตองตอบตัวเลือก 3 เนื่องจากผูเขียนเปรียบเทียบใหเห็นวาประเทศอื่นประสบภัยที่รายแรงกวาเรา ดังนั้น เราจึง ไมควรทอแท ตัวเลือก 3 จึงเปนคํ าตอบที่ถูก

8. กอนลงมือทํ า ขอใหคอยฟงคํ าส่ังของกรรมการ

อุทกภัยจากฝนตกนํ้ าทวม ที่เกิดขึ้นในบานเมืองอื่นนั้นเปนอันตรายรายแรงมากกวาที่เกิดขึ้นในประเทศไทยหลายเทานัก แตเขายังทนสูกับอุปสรรคอยางแกรงกลา

Page 9: Handbook sat

7ตอนที่ 2 คํ าอธิบายวิธีทํ าขอสอบความสามารถทาง การคิดคํ านวณ

แบบทดสอบฉบับนี้เปนเอกสาร “ลับ–เฉพาะ” ของทางราชการสงวนลิขสิทธิ์ตามกฎหมาย หามคัดลอกหรือนํ าไปเปดเผย

ตอนที่ 2คํ าอธิบายวิธีทํ าขอสอบความสามารถทางการคิดคํ านวณ

1. แบบทดสอบตอนที่ 2 นี้ วัดความสามารถทางการคิด คํ านวณ แบงเปน 4 ตอน มีคํ าถามทั้งหมด 35 ขอ ใหเวลาทํ า 50 นาที ควรทํ าใหครบทุกขอ2. คํ าถามในแบบทดสอบฉบับนี้เปนแบบชนิดเลือกตอบทั้งส้ิน คือคํ าถามแตละขอใหเลือกคํ าตอบที่ถูกตองที่สุดดีที่สุด หรือเหมาะสมที่สุด เพียงคํ าตอบเดียวจากตัวเลือก 1, 2, 3, 4 หรือ 5 ที่ใหไว เมื่อเลือกคํ าตอบใด ใหใชดินสอ 2 B ระบายใน ชองคํ าตอบในกระดาษคํ าตอบ ถาตองการเปลี่ยนคํ าตอบใหม ใหลบคํ าตอบเดิมใหสะอาดเสียกอน แลวจึง ระบายคํ าตอบใหม3. จงระบายคํ าตอบใหตรงกับขอคํ าถามเสมอ4. คํ าถามของแบบสอบนี้ แบงเปน 4 ตอน คือ

ตอนที่ 1. การแกปญหาทางคณิตศาสตร มีขอสอบ 10 ขอคือ (36) – (45)

เปนขอสอบวัดความสามารถในการแกปญหาโจทยที่ตองอาศัยพื้นฐานความเขาใจในความคิดรวบยอด และหลักการของคณิตศาสตรระดับเบื้องตน ดังตัวอยางขอ (0)

( 0 ) กํ าหนด ABC เปนรูปสามเหลี่ยมหนาจั่วที่มี AB = AC, X มีคาเทากับกี่องศา

1. 35 2. 503. 55 4. 605. 70

วิธีการคิดหาคํ าตอบ โดยการใชสมบัติของรูปสามเหลี่ยมหนาจั่ว และผลบวกของมุมภายในรูปสามเหลี่ยมรวมกันเทากับ180 องศา ดังนั้น X จึงมีคาเทากับ 70 องศา ซึ่งตรงกับตัวเลือก 5

1. การเปรียบเทียบเชิงปริมาณ มีขอสอบ 10 ขอคือ(46) – (55)

เปนแบบเปรียบเทียบเชิงปริมาณ คํ าถามแตละขอจะมีปริมาณที่กํ าหนดให 2 ปริมาณ ปริมาณแรกจะอยูในสดมภ Aและปริมาณหลังอยูในสดมภ B ทั้งนี้บางขออาจกํ าหนดขอมูลเพิม่เตมิใหไวในกรอบสีเ่หลีย่มระหวางสดมภทัง้สอง จงเปรยีบเทยีบ2 ปริมาณนี้ และตอบตามตัวเลือกดังนี้เลือกตอบขอ 1 ถาปริมาณในสดมภ A มากกวา ปริมาณ ในสดมภ Bเลือกตอบขอ 2 ถาปริมาณในสดมภ A นอยกวา ปริมาณ ในสดมภ Bเลือกตอบขอ 3 ถาปริมาณในสดมภทั้งสองเทากันเลือกตอบขอ 4 ถาขอมูลที่กํ าหนดใหไมเพียงพอที่จะสรุปได

ดังตัวอยางในขอ ( 0) และ ( 00 )สดมภ A สดมภ B

( 0 ) 2 + 5 (2)(5)

(00)

2a 3b

จากขอ ( 0 ) จะเห็นวาปริมาณในสดมภ A มีคานอยกวาปริมาณ ในสดมภ B ดังนั้นคํ าตอบถูกคือ 2

จากขอ (00) จะเห็นวาปริมาณในสดมภ A และในสดมภ B มีคา เทากัน ดังนั้นคํ าตอบถูกคือ 3

6a =

4b

Page 10: Handbook sat

8ตอนที่ 3. การตีความขอมูล มีขอสอบ 5 ขอ คือขอ (56) – (60)

เปนแบบตีความขอมูล ขอสอบตอนนี้ จะกํ าหนดขอมูลเชิงปริมาณที่นํ าเสนอในรูปแบบตาง ๆ ใหนักเรียนพิจารณาแลวตอบคํ าถาม โดยยึดขอมูลที่กํ าหนดใหเปนหลัก เลือกไดอยางไรใหไปเลือกตอบในกระดาษคํ าตอบ

ตอนที่ 4. การประเมินความเพียงพอของขอมูล มีขอสอบ 9 ขอ คือ ขอ (61) – (70)

เป นแบบประเมินความเพียงพอของข อมูลในข อสอบ แตละขอประกอบดวย คํ าถาม 1 คํ าถาม และขอมูลที่กํ าหนดให2 รายการ โดยมีอักษร (ก) และ (ข) กํ ากับ นักเรียนจะตองพิจารณาขอมูลแตละรายการวาเพียงพอสํ าหรับการตอบคํ าถามที่กํ าหนดใหหรือไม การเลือกตอบใหทํ าตามเงื่อนไขตอไปนี้เลือกตอบขอ 1 ถาขอมูลรายการ (ก) เปนขอมลูเดยีวทีเ่พยีงพอ ในการตอบคํ าถามเลือกตอบขอ 2 ถาขอมูลรายการ (ข) เปนขอมลูเดยีวทีเ่พยีงพอ ในการตอบคํ าถามเลือกตอบขอ 3 ถาตองการใชขอมูลทั้งสองรายการรวมกัน จึงเพียงพอในการตอบคํ าถามเลือกตอบขอ 4 ถาขอมูลรายการ (ก) หรือ (ข) เพียงขอใด ขอหนึ่งก็เพียงพอในการตอบคํ าถามเลือกตอบขอ 5 ถาใชขอมูลทั้งสองรายการรวมกันแลว ยังไม เพียงพอในการตอบคํ าถาม

ดังตัวอยางขอ ( 0 )

( 0 )

คํ าถาม จากรูป ABCD เปนรูปส่ีเหลี่ยมขนมเปยกปูน มีดานยาว ดานละ 10 เซนติเมตร จงหาพื้นที่ของรูปสามเหลี่ยม ABE

ขอมูล (ก) AC = 16 ซ.ม.(ข) BD = 12 ซ.ม.

คํ าอธิบาย นักเรียนจะเห็นวาถาใชขอมูลรายการ (ก) เพียง ขอเดียวก็สามารถตอบคํ าถามได และถาขอมูล รายการ (ข) เพียงขอเดียวก็สามารถตอบคํ าถามไดเชนกัน ดังนั้น ใชขอมูลรายการ (ก) หรือ (ข) เพียง ขอใดขอหนึ่งก็เพียงพอในการตอบคํ าถาม เพราะฉะนั้น จึงเลือกตอบขอ 4

ขอเสนอแนะ สํ าหรับวิธีการตอบคํ าถามชนิดนี้นักเรียน ไมจํ าเปน ตองคํ านวณหาคํ าตอบ

(00) กอนลงมือทํ า ขอใหคอยฟงคํ าส่ังของกรรมการ

Page 11: Handbook sat

9ตอนที่ 3 คํ าอธิบายวิธีทํ าขอสอบความสามารถเชิง วิเคราะห

แบบทดสอบฉบับนี้เปนเอกสาร “ลับ–เฉพาะ” ของทางราชการสงวนลิขสิทธิ์ตามกฎหมาย หามคัดลอกหรือนํ าไปเปดเผย

ตอนที่ 3คํ าอธิบายวิธีทํ าขอสอบความสามารถเชิงวิเคราะห

1. แบบทดสอบตอนที่ 3 นี้ วัดความสามารถเชิงวิเคราะห แบงเปน 3 ตอนยอย มีคํ าถามทั้งหมด 30 ขอ ใหเวลาทํ า 50 นาที ควรทํ าใหครบทุกขอ2. คํ าถามในแบบทดสอบนี้เปนแบบเลือกตอบทั้งส้ิน คือ คํ าถาม แตละขอใหเลือกค ําตอบทีถู่กตองทีสุ่ด ดทีีสุ่ดหรอืเหมาะสม ทีสุ่ด เพยีงค ําตอบเดยีวจาก ตวัเลอืก 1, 2, 3, 4 หรอื 5 ทีใ่หไว เมื่อเลือกไดคํ าตอบใด ใหใชดินสอ 2B ระบายคํ าตอบใน กระดาษคํ าตอบ ถาตองการเปลี่ยนคํ าตอบใหม ตองลบคํ าตอบ เดิมใหสะอาดเสียกอน แลวจึงระบายคํ าตอบใหม3. จงระบายคํ าตอบใหตรงกับขอคํ าถามเสมอ4. คํ าถามของแบบสอบนี้ แบงเปน 3 ตอน คือ

ตอนที่ 1 การวิเคราะหเชิงภาษา มีขอสอบ 10ขอคือ(71) – (80)ใหนักเรียนอานขอความจากสถานการณที่กํ าหนดให แลวหาคํ าตอบที่ถูกตองจากตัวเลือกที่กํ าหนดใหเพียงตัวเลือกเดียวดังตัวอยางขอ (0)

สถานการณ

ตุกตา A B C D และ E วางเรียงกัน โดยที่

A วางอยูหลังสุด D อยูติดกับ B โดยอยูหนา B C อยูติดกับ B โดยอยูหนา E

( 0 ) ตุกตาตัวใดบางวางอยูหลังตุกตา B

1. E และ D2. D และ A3. D และ C4. C E และ A5. D C และ E

เฉลย จากสถานการณที่กํ าหนดให สามารถเรียงลํ าดับตุกตาได ดังนี้ D B C E A และตุกตาที่อยูหลัง B มี C E A ดังนั้น ตัวเลือกที่ถูกตองคือตัวเลือก (4)

ตอนที่ 2 การวิเคราะหแผนภูมิเชิงตรรกะ มีขอสอบ 10 ขอคือขอ (81) – (90) ใหหาความสัมพันธระหวางวงกลมกับส่ิงที่กํ าหนดให ดังนี้

แทน ทั้งหมดของสิ่งหนึ่งเปนประเภทหนึ่งในอีกส่ิงหนึ่ง

แทน ทั้งสองสิ่งมีบางสวนเปนประเภทเดียวกัน และ มีบางสวนเปนคนละประเภทกัน

แทน ทั้งสองสิ่งเปนคนละประเภทกัน

ตัวอยาง

( 0 ) สัตว วัว พืช อาจเขียนแทน โดย

เพราะวัวเปนสัตวประเภทหนึ่ง แตพืชเปนอีกประเภทหนึ่ง ซึ่งไมใชทั้งวัวหรือสัตว

(00) วัว สัตว พืช ส่ิงมีชีวิต อาจเขียนแทน โดย

เพราะวัวเปนสัตวประเภทหนึ่ง พืชเปนอีกประเภทหนึ่ง แตทั้งวัว สัตว และพืช ตางก็เปนส่ิงมีชีวิต

Page 12: Handbook sat

10ตอนที่ 3 มีขอสอบ 10 ขอ คือขอ 91 - 100 เปนแบบอนุกรมภาพ 2 มิติ การหาคํ าตอบใหนักเรียนพิจารณาหาความสัมพันธของภาพทั้งในแนวตั้ง และแนวนอน เมื่อพบความสัมพันธแลวจึงเลือกภาพคํ าตอบที่เหมาะสมจากตัวเลือก 1,2,3,4 หรือ 5ดังตัวอยางขอ (0)

นักเรียนจะเห็นวา คํ าตอบที่ถูกตองคือภาพ 3 โดยพิจารณาหาความสัมพันธไดทั้ง 2 ทิศทาง คือ ทิศทางตามแนวตั้ง และทิศทางตามแนวนอน ความสัมพันธของภาพที่ปรากฏในตัวอยางคือเมื่อนํ าสองภาพแรกมารวมกัน จะไดผลลัพธเปนภาพที่ 3

5. ถาใครสงสัยและตองการถาม ใหยกมือขึ้น6. กอนลงมือทํ า ขอใหฟงคํ าส่ังของกรรมการ

Page 13: Handbook sat

115. การลงรหัสประจํ าตัวผูสอบ

ในการตอบคํ าถามขอสอบแตละขอ ผูเขาสอบจะบันทึก คํ าตอบโดยการระบายดวยดินสอดํ า ระดับความเขมตั้งแต 2Bหรือมากกว าลงในชองในกระดาษคํ าตอบที่ สํ านักทดสอบ ท า ง ก า ร ศึ ก ษ าจัดให การลงรหัสประจํ าตัวของผู สอบ เปนขอมูลสํ าคัญอยางยิ่ง สามารถสืบคนและยอนกลับมาดูได ผูสอบจะตองกรอกรายละเอยีดตาง ๆ ในกระดาษค ําตอบดานหนาให ครบและถูกต อง โดยระบายรหัสลงในช องวงกลม ใหตรงกับเลขรหัส ตามคอลัมนที่กํ าหนดไวทั้ง 36 ชองดังนี้

- รหัสโรงเรียน มีจํ านวนตัวเลข 8 หลัก ใหบันทึกและระบายลงใน คอลัมนที่ 1 - 8

- ช้ัน มีจํ านวนตัวเลข 2 หลัก ใหบันทึกและระบาย ลงใน คอลัมนที่ 9 - 10

- หองสอบ มีจํ านวนตัวเลข 2 หลัก ใหบันทึกและระบายลงใน คอลัมนที่ 11 -12

- เลขที่ มีจํ านวนตัวเลข 2 หลัก ใหบันทึกและระบาย ลงใน คอลัมนที่ 13 – 14

- รหัสประจํ าตัวนักเรียน มีจํ านวนตัวเลข 13 หลัก ใหบันทึกและระบายลงใน คอลัมนที่ 15 - 27* (หมายเหตุ รหัสโรงเรียนใหใชรหัสของกระทรวง ศึ กษ าธิการที่กํ าหนดให ส วนรหัสประจํ าตัวนักเรียน ตองตรงกับฐานขอมูล GPA และ PR ของโรงเรียน

- เลขประจํ าตัวประชาชน มีจํ านวนตัวเลข 13 หลัก ตามทีป่รากฏอยู ในบตัรประชาชนและทะเบยีนบานของนกัเรยีนเอง ใหบันทึกและระบายลงใน คอลัมนที่ 28 - 40

- เพศ บันทึกและระบายเพศของผูเขาสอบลงในคอลัมน ที่ 41 โดย 1 คือ ชาย 2 คือ หญิง

- แผนการเรียน บันทึกและระบายแผนการเรียนของ ผูเขาสอบลงในคอลัมนที่ 42 โดย

1 คือ แผนการเรียน คณิตศาสตร - วิทยาศาสตร2 คือ แผนการเรียน คณิตศาสตร - ภาษา3 คือ แผนการเรียน ภาษาตางประเทศ4 คือ แผนการเรียน อื่น ๆ

- แผนที่ ใหระบายตามที่กํ าหนดไวดานขวามือสวนบนของกระดาษคํ าตอบดังแสดงในตัวอยาง ดังนี้

ตัวอยาง การกรอกรายละเอียดและระบายรหัสของระดับช้ัน ม.6นางสาววิไล หมั่นเรียน โรงเรียนวัดราชาธิวาส เขตดุสิต จังหวัดกรุงเทพมหานคร สอบวิชาวัดความถนัดทางการเรียน

ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 6/1 เลขที่ 37 รหัสโรงเรียน 10105554 รหัสนักเรียน 0010020132546 เลขประจํ าตัวประชาชน 2100901584321เพศ หญิง แผนการเรียน คณิตศาสตร – ภาษา แผนที่ 1

Page 14: Handbook sat

12

3 ตัวอยางขอสอบความถนัดทางการเรียน

1. ความสามารถทางภาษา (Verbal Ability) 1.1 การเติมความใหสมบูรณ (Sentence Completion)

คํ าส่ัง สํ าหรับปญหาแตละขอตอไปนี้ จงเลือกคํ าหรือกลุมคํ า ที่จะทํ าใหขอความที่กํ าหนดใหมีใจความสมบูรณถูกตอง ที่สุด

001 _______ ทางวิทยาการที่เปนอยูทุกวันนี้คงจะเกิดขึ้นไมได ถาหากปราศจาก _____ ระหวางศาสตรสาขาตาง ๆ

ก. ความคิดเห็น ... ความโนมเอียง ข. ความกาวหนา ... ความรวมมือ ค. อิทธิพล ... ความขัดแยง ง. ความลมเหลว ... การแขงขัน จ. ความชอบธรรม ... ความสมดุล

002 เอดส คือกลุมอาการที่เกิดจาก ระบบภูมิคุมกัน หรือ ____ ตอตานเชื้อโรคของรางกายถูกทํ าลาย ทํ าใหความสามารถ ของรางกาย ในการปองกันการติดเชื้อชนิดตาง ๆ ___ หรือ ลดนอยลง ก. เงื่อนไข ... สึกหรอ ข. ปจจัย ... บั่นทอน ค. กลไก ... บกพรอง ง. ยุทธการ ... เพิ่มมากขึ้น จ. กระบวนการ ... สาบสูญ

003 การที่กลุมประเทศโอเปค ____ ปริมาณนํ้ ามันที่ผลิตในแตละ วัน ทํ าใหเกิดภาวะขาดแคลนเชื้อเพลิงขึ้นในหลายภูมิภาค ในโลก จนรัฐบาลบางประเทศตองดํ าเนินมาตรการ ____ นํ้ ามัน โดยใหหนวยงานของรัฐเขาควบคุมธุรกิจการคานํ้ ามัน ทั่วประเทศ ก. เปล่ียนแปลง ... หมุนเวียน ข. รักษาระดับ ... ลดคุณภาพ ค. เปดเผย ... ประหยัด ง. จํ ากัด ... ปนสวน จ. ปกปด ... ลดราคา

004 แมวารัฐบาลหลายประเทศไดพยายามปรับปรุง ____ สตรีให ดีขึ้นมาระดับหนึ่งก็ตาม แตปญหาดาน ____ ทางโอกาส ความกาวหนาในอาชีพการงานของสตรียังมีอยูในทุกสังคม ก. คุณภาพ ... ความแปรปรวน ข. สถานภาพ ... ความไมเสมอภาค ค. เสรีภาพ ... ความเสียสละ ง. เสถียรภาพ ... ความลงตัว จ. เอกลักษณ ... ความคลองตัว

005 ในรางพระราชบัญญัติลิขสิทธิ์ฉบับใหม ไดมี การ ____ ส่ิงบันทึกเสียงออกจากโสตทัศนวัสดุอยางชัดเจน และมิได มีขอความใดในรางพระราชบัญญัติที่ยินยอมใหผูประกอบ การสถานเริงรมยใชส่ิงบันทึกเสียงโดยมิตองขออนุญาต จากเจาของ ____ กอน ก. ตัดทอน ... อุปกรณ ข. ไถถอน ... สถานที่ ค. จํ าแนก ... กรรมสิทธิ์ ง. เคลื่อนยาย ... ผลประโยชน จ. คัดเลือก ... ทรัพยสิน

006 ภาคใตมีลักษณะทางภูมิศาสตรประการหนึ่งที่ ____ ภาคอื่น คือเปนภาคเปด ขนาบดวยทะเลทั้งสองดาน ทํ าใหติดตอ สัมพันธกับโลกภายนอกได อยาง ____ มาตลอด ประวัติศาสตร ก. แตกตางไปจาก ... ตอเนื่อง ข. เสียเปรียบ ... จํ ากัด ค. คลายคลึง ... สม่ํ าเสมอ ง. เอาเปรียบ ... กวางขวาง จ. มีผลกระทบตอ ... เสรี

Page 15: Handbook sat

13

1.2 อุปมาอุปไมยทางภาษา (Word Analogy)

คํ าส่ัง ในแตละปญหาตอไปนี้ โจทยจะกํ าหนดคํ าให 1 คู จงวิเคราะหความสัมพันธระหวางคูคํ าที่กํ าหนดให และ เลือกคูคํ าจากขอเลือกที่ทานเห็นวามีความสัมพันธเหมือน หรือใกลเคียงกับคูคํ าหรือกลุมคํ าที่กํ าหนดให มากที่สุด

001 อากาศ : เครื่องบิน ก. แผนดิน : ไสเดือน ข. อุกาบาต : อวกาศ ค. ปากนํ้ า : สันดอน ง. มหาสมุทร : เรือดํ านํ้ า จ. เพดาน : จิ้งจก002 เครงเครียด : สันทนาการ ก. เศราโศก : นํ้ าตา ข. หิว : งานเลี้ยง ค. ออนเพลีย : การพักผอน ง. เกียจคราน : ความยากจน จ. เปยกชื้น : ฤดูฝน

003 ปาฐกถา : อารัมภบท ก. รัฐมนตรี : นักการเมือง ข. บัณฑิต : เส้ือครุย ค. ปุจฉา : วิสัชนา ง. ตํ ารา : คํ านํ า จ. ปญญา : ปริศนา

004 ไพลิน : รัตนชาติ ก. จีวร : รัตนตรัย ข. อบเชย : เครื่องเทศ ค. ผลึกแกว : โปรงแสง ง. มรดก : พินัยกรรม จ. สินสอด : สมรส

1.3 การอานอยางมีวิจารณญาณ (Critical Reading)

1.3.1 ตัวอยางขอสอบแบบบทความขนาดสั้น

คํ าส่ัง จงอานขอความตอไปนี้ แลวตอบคํ าถามตาง ๆ ที่ตามมา โดยเลือกคํ าตอบที่ทานเห็นวาที่ถูกตองที่สุดจากขอเลือก ที่กํ าหนดให

001 คํ าถามเกี่ยวกับตรรกะและการใหเหตุผล

ในการศึกษาถึงผลกระทบทั่วไปของความผันผวนของราคานํ้ ามัน นักวิเคราะหหลายคนยืนยันวา การเพิ่มขึ้นของราคานํ้ ามันมีผลกระทบในทางลบตอการขยายตัวทางเศรษฐกิจและเพิ่มการขาดดุลการคาของประเทศอุตสาหกรรมมากกวาประเทศโลกที่สาม ซึ่งมีอัตราเฉลี่ยการใชพลังงานตอคนตํ่ ากวาประเทศอุตสาหกรรม

ขอความใดตอไปนี้ ซึ่งถาหากเปนความจริง จะทํ าใหคํ ายืนยันของนักวิเคราะหมีนํ้ าหนักนอยลง

ก. การขึ้นลงอยางรวดเร็วของราคานํ้ ามันทํ าใหนักลงทุนไมกลาลงทุนในธุรกิจแสวงหาแหลงนํ้ ามันใหม ๆ เพราะการพยากรณผลกํ าไรจากการลงทุนกระทํ าไดยาก

ข. ปริมาณการขาดดุลการคาสะสมของประเทศดอยพัฒนามีอัตราสูงกวาประเทศอุตสาหกรรมที่ตองอาศัยนํ้ ามันนํ าเขาจากภายนอก

ค. ประเทศผูผลิตนํ้ ามันมีรายไดเขาประเทศลดนอยลง ทํ าใหกํ าลังซื้อสินคาจากประเทศอุตสาหกรรมและประเทศดอยพัฒนาลดลงดวย

ง. ประเทศโลกที่สามใชนํ้ ามันเพื่อจุดประสงคที่จํ าเปนจริง ๆเทานั้น ดังนั้นจึงไมสามารถลดปริมาณการใชนํ้ ามันลงจากที่เปนอยูได แมวาราคานํ้ ามันในตลาดโลกจะเพิ่มสูงขึ้นก็ตาม

จ. เมื่อราคานํ้ ามันตกตํ่ าลง บริษัทที่มีรายไดจากการผลิตนํ้ ามันดิบมากกวาจากการกลั่นและจํ าหนายนํ้ ามัน จะมีภาษีที่ตองชํ าระลดลงดวย

002 คํ าถามเกี่ยวกับการนํ าแนวความคิดหรือขอสรุปในบท ความไปประยุกตใชในสถานการณอื่น ๆ

ในป 1930 จํ านวนผูอยูอาศัยตอ 1 ครัวเรือนโดยเฉลี่ยมีคาเทากับ 4.1 อัตราการอยูอาศัยตอครัวเรือนลดเหลือ 3.5 ในป1950 และ 3.1 ในป 1970 และทุกวันนี้มีรายงานวาจํ านวนผูอยูอาศัยในแตละครัวเรือนเหลือเพียง 2.8 คนเทานั้น ดูเหมือนวาแนวโนมของขนาดของครัวเรือนจะเล็กลงเรื่อย ๆ

ขอความตอไปนี้ ซึ่งถาหากเปนความจริง จะชวยอธิบายสาเหตุของแนวโนมดังกลาว ยกเวนขอใด ก. อัตราการหยารางไดเพิ่มสูงขึ้นเรื่อย ๆ ข. อัตราการเกิดไดลดนอยลงตามลํ าดับ ค. การสงคนแกเฒาไปอยูสถานสงเคราะหคนชราไดรับการยอมรับจากสังคมมากขึ้น ง. ผลประโยชนจากการลดหยอนภาษีสํ าหรับครอบครัวใหญลดนอยลง จ. จํ านวนผูใชบริการสถานเลี้ยงดูเด็กเล็กระหวางเวลาทํ างานไดเพิ่มมากขึ้น

Page 16: Handbook sat

14003 คํ าถามเกี่ยวกับสาระหรือแนวความคิดที่เปนนัยพาดพิง ของบทความ

ในวงการธุรกิจ วิชาการ หรืออาชีพชั้นสูงอื่น ๆ ความเชี่ยว-ชาญเฉพาะทางเปนเกียรติและศักดิ์ศรีที่ไดรับความสํ าคัญมาก แตอยางไรก็ตาม นักเศรษฐศาสตรที่ดีจะตองมีความรูดานการปกครอง สังคมวิทยา และจิตวิทยา นักเศรษฐศาสตรที่มีผลงานทางวิชาการที่มีลักษณะจํ ากัดในวงแคบ ยากที่จะเปนที่ยอมรับนับถือทั้งในและนอกวงการ

ขอใดตอไปนี้แสดงถึงความเชื่อพื้นฐานของผูเขียนขอความขางตนนี้

ก. วงการอาชีพชั้นสูงทุกวันนี้ใหความสํ าคัญตอความเชี่ยวชาญเฉพาะสาขามากเกินไป

ข. นักศึกษาที่เลือกเรียนสาขาวิชา เศรษฐศาสตร โดยทั่วไปแลวจะมีพื้นฐานความรูในศาสตรสาขาอื่น ๆ ดวย

ค. นักเศรษฐศาสตรที่ดีจะตองใหความสํ าคัญอันดับแรกตอเกียรติและศักดิ์ศรีที่ไดมาจากความสํ าเร็จในวิชาชีพ

ง. ผูที่จะประกอบอาชีพดานการปกครอง สังคมวิทยา และจิตวิทยา ควรมีพื้นฐานความรูที่ดีทางเศรษฐศาสตรดวย

จ. พัฒนาการในสาขาวิชาชีพชั้นสูงอื่น ๆ มีอิทธิพลสํ าคัญตอปญหาหรือปรากฏการณที่นักเศรษฐศาสตรศึกษา

004 คํ าถามเกี่ยวกับสาระหรือแนวความคิดที่เปนนัยพาดพิง ของบทความ

การเพิ่มขึ้นหรือลดลงของผลผลิต ซึ่งวัดจากปริมาณของสินคาและการบริการที่ผลิตไดตอ 1 ชั่วโมงของการวาจาง จะมีการเปรียบเทียบระหวางปตอป ในป 1982 ผลผลิตของแรงงานในภาคเอกชนที่ไมรวมการเกษตร มีปริมาณสูงกวาปที่ผานมารอยละ 5ในขณะที่ผลผลิตในภาคเอกชนในภาพรวมของป 1982 ไดเพิ่มขึ้นรอยละ 4.8 จากป 1981 ซึ่งเทากับ 2 เทาของการเพิ่มขึ้นจากปกอนหนานั้น

ถาขอความขางตนนี้เปนขอมูลที่ถูกตอง ขอใดตอไปนี้เปนจริงก. คนงานในภาคเกษตรเอกชนที่เปล่ียนอาชีพไปทํ างาน

อยางอื่น ในป 1981 มีจํ านวนนอยกวาในป 1982ข. อัตราคาจางตอช่ัวโมงของแรงงานในภาคเอกชนที่ไมรวม

เกษตรกรรมในป 1982 สูงกวาป 1981ค. ผลผลิตภาคเกษตรเอกชนในป 1982 เพิ่มขึ้น จากป 1981

ไมถึงรอยละ 4.8

ง. การเพิ่มของผลกํ าไรจากผลผลิตในธุรกิจเอกชนนอกภาคเกษตร มีคานอยกวาการเพิ่มผลกํ าไรที่ไดจากภาคเกษตร ในป1982

จ. ในธุรกิจเอกชนในป 1982 การเพิ่มผลผลิตในภาคเกษตรมีปริมาณสูงกวาการเพิ่มของนอกภาคเกษตร

1.3.2 ตัวอยางขอสอบแบบบทความยาวขนาดกลาง

คํ าส่ัง จงอานบทความตอไปนี้ แลวตอบคํ าถามตาง ๆ ที่ตามมา โดยเลือกคํ าตอบ ที่ทานเห็นวาที่ถูกตองที่สุดจากขอเลือก ที่กํ าหนดให

เนื่องจากผูเชี่ยวชาญทางการแพทยของสหรัฐมีความเห็นวาวัคซีนปองกันโรคโปลิโอของเซบิน ซึ่งใชเชื้อไวรัสที่ยังมีชีวิต มีประสิทธิภาพสูงกวาวัคซีนของซอลค ซึ่งใชเชื้อไวรัสที่ตายแลว จึงมีการนํ าวัคซีนของเซบิน มาใชแทนที่วัคซีนของซอลคตั้งแต ป 1962 เปนตนมา วัคซีนของเซบิน ซึ่งใชรับประทานแทนการ ฉีดเขาใตผิวหนัง ประสบผลสํ าเร็จสูงมากในการขจัดโรคโปลิโอให สูญไปจากโลก แตขณะเดียวกันก็ไดมีการพบวา ในบางโอกาส ซึ่งพบเห็นไดยากมาก วัคซีนชนิดนี้สามารถทํ าใหเกิดเปนโรคโปลิโอได ในสหรัฐอเมริการะหวางป 1969 ถึง 1976 ไดมีผูปวยดวยโรคโปลิโอ จํ านวนทั้งส้ิน 44 ราย และทุกรายเปนผูไดรับวัคซีนของเซบินหรือผูไดรับเชื้อติดตอจากผูปวยที่ไดรับวัคซีนของเซบินปรากฏการณเชนนี้สามารถเกิดขึ้นไดเพียงหนึ่งในสามลานเทานั้น แตวัคซีนของซอลคซึ่งใชเชื้อไวรัสที่ตายแลว ไมเคยกอใหเกิดโรคหรือการระบาดของโรคในลักษณะนี้เลย ดังนั้น ซอลคจึงไดพยายามที่จะใหมีการทบทวนมติของป 1962 และยืนยันวาวัคซีนของตนมีประสิทธิภาพเทาเทียมกับของเซบินสํ าหรับการสรางภูมิคุมกันในภาวะปกติ ซอลคยังไดอางถึงประเทศฟนแลนดซึ่งไดใชวัคซีนของเขาเพียงชนิดเดียว และไมเคยมีรายงานการเกิดโรคโปลิโอเลยตั้งแตป 1964 แตอยางไรก็ตาม ฟนแลนดเปนเพียงประเทศเล็ก ๆ ที่ความหลายหลากทางประชากรมีไมสูงนัก นอกจากนี้ ฟนแลนดยังเปนประเทศที่มีระบบการบริการทางสาธารณสุขดานการสรางภูมิคุมกันโรคใหประชาชนที่มีประสิทธิภาพสูง สหรัฐอเมริกาเปนประเทศที่ใหญมาก มีประชาชนหลายเชื้อชาติและเผาพันธุ และ มีอัตราการยายถิ่นสูง ดังนั้นผูเชี่ยวชาญหลายคนจึงมีความลังเล ที่จะใหหวนกลับไปใชวัคซีนของซอลค

Page 17: Handbook sat

15001 คํ าถามเกี่ยวกับขอเท็จจริงหรือสาระขอมูลที่กลาวถึง อยางชัดเจนในบทความ

จากขอเท็จจริงที่นํ าเสนอในบทความขางตนนี้ ขอใดตอไปนี้กลาวถึงวัคซีนของเซบินไดอยางถูกตองที่สุด

ก. วัคซีนของเซบินมีประสิทธิภาพสูงมากในการขจัดเชื้อไวรัสที่กอใหเกิดโรคโปลิโอ ในสหรัฐอเมริกา จนกระทั่งไมมีการระบาดของโรคนี้อีกเลยนอกจากรายที่เกิดจากวัคซีนนี้เทานั้น

ข. วัคซีนของเซบินจะไมเปนสาเหตุใหเกิดโรคโปลิโอ ถาหากใชอยางระมัดระวัง

ค. ผูเชี่ยวชาญทางการแพทยของสหรัฐอเมริกาในป 1962เห็นวาการใชวัคซีนของเซบิน เพื่อขจัดโรคโปลิโอใหหมดไปจากประเทศเปนการเสี่ยงอันตรายที่คุมคา

ง. วัคซีนที่ใชเชื้อไวรัสที่ยังมีชีวิตกอใหเกิดโรคโปลิโอนอยกวาวัคซีนที่ใชเชื้อไวรัสที่ตายแลว

จ. ประเทศฟนแลนดไดรายงานวาการใชวัคซีนของซอลคในการขจัดโรคโปลิโอไดผลดีกวา การใชวัคซีนของเซบิน

002 คํ าถามเกี่ยวกับใจความหลัก (Main Idea) หรือ จุดประสงคสํ าคัญ (Primary Purpose) ของบทความ จุดประสงคหลักของบทความขางตนคืออะไร ก. นํ าเสนอ 2 วิธีปองกันโรคโปลิโอที่เกื้อหนุนซึ่งกันและกัน ข. รายงานขอดีขอเสียของทั้ง 2 วิธีการปองกันโรคโปลิโอ ค. สรางความประนีประนอมระหวางวิธีเกาและใหม ง. ชี้ประเด็นปญหาที่เกิดขึ้นกับวัคซีนของเซบิน จ. ชี้ใหเห็นวาวิธีปองกันโรคโปลิโอทั้งสองวิธีดีไมเทากัน

003 คํ าถามเกี่ยวกับสาระหรือแนวความคิดที่เปนนัยพาดพิง ของบทความ จากบทความขางตนนี้ เหตุผลตอไปนี้ขอใดบาง สามารถใชเพี่อสนับสนุนคํ าเรียกรองของซอลคที่ใหมีการทบทวนมติการใชวัคซีนของป 1960

ขอ 1. ประสิทธิภาพของวัคซีนของซอลคไดรับการยืนยันจากการใชในประเทศฟนแลนด

ขอ 2. วัคซีนของซอลคสามารถกอใหเกิดโรคโปลิโอในผูที่รับวัคซีนได

ขอ 3. ระบบการใหบริการดานการสรางภูมิคุมกันโรคแกประชาชนในประเทศฟนแลนด สามารถนํ ามาไปใชในสหรัฐอเมริกาไดอยางมีประสิทธิภาพ

ก. ขอ 1. เทานั้น ข. ขอ 2. เทานั้นค. ขอ 1. และ ขอ 2. เทานั้น ง. ขอ 1. และ ขอ 3. เทานั้นจ. ขอ 1. ขอ 2. และ ขอ 3.

004 คํ าถามเกี่ยวกับการนํ าแนวความคิดหรือขอสรุปใน บทความไปประยุกตใชในสถานการณอื่น ๆ

ผูเขียนบทความขางตนนี้ ไดใหขอมูลที่จะตอบคํ าถามตอไปนี้ไดทุกขอ โดยยกเวนขอใด ก. วัคซีน 2 ชนิดที่กลาวถึงนี้ ชนิดใดไดรับเลือกใหใชจากวงการแพทยของสหรัฐอเมริกากอน ข. วัคซีนชนิดใดใน 2 ชนิดนี้ เปนที่ยอมรับวาไมมีสวนกอใหเกิดโรคโปลิโอ ค. อะไรคือสาเหตุการเกิดโรคโปลิโอในประเทศอเมริกาในตนทศวรรษ 1970 ง. อะไรคือความแตกตางระหวางฟนแลนดและสหรัฐอเมริกา ที่มีอิทธิพลตอการเลือกใชวัคซีน จ. ปจจุบันนี้ สหรัฐอเมริกาควรตัดสินใจเลือกใชวัคซีนที่ใชเชื้อไวรัสที่ยังมีชีวิต หรือวัคซีนที่ใชเชื้อไวรัสที่ตายแลว

005 คํ าถามเกี่ยวกับตรรกะและการใหเหตุผล

ขอความใดตอไปนี้ ซึ่งถาหากเปนจริง จะเปนขอคัดคานที่มีนํ้ าหนักมากที่สุด เพื่อระงับ การใชวัคซีนของเซบิน

ก. ระบบการใหบริการดานการสรางภูมิคุมกันโรคของฟนแลนด ชวยประชากรรอยละ 90 ไดรับวัคซีนของซอลค แตประชากรในสหรัฐ ไดรับวัคซีนปองกันโรคโปลิโอเพียงรอยละ 70

ข. วัคซีนของเซบิน ซึ่งเปนที่ยอมรับวาใชปองกันโรคโปลิโอไดผลดีกวาวัคซีนของซอลค แตวัคซีนของเซบินใชเชื้อไวรัสที่ยังมีชีวิต และใชรับประทานแทนการฉีด

ค. ประชาชนไมควรจะมีสิทธิในการเลือกใชวัคซีนที่ปลอดภัยถาหากวาวัคซีนดังกลาวนั้นไมมีประสิทธิภาพสูงสุด

ง. ไมมีผูใดมีสิทธิบังคับใหประชาชนเสี่ยงตอการติดโรครายไมวาอัตราการเสี่ยงนั้นจะมีความนาจะเปนนอยเพียงใดก็ตาม

จ. ประชาชนชาวฟนแลนดสวนใหญมีเชื้อชาติ และระบบวัฒนธรรมเดียวกัน ตางจากสหรัฐซึ่งมีประชากรหลายเผาพันธุและหลายวัฒนธรรม

Page 18: Handbook sat

161.3.4 ตัวอยางขอสอบแบบบทความขนาดยาว

คํ าส่ัง จงอานบทความตอไปนี้ แลวตอบคํ าถามตาง ๆ ที่ตามมา โดยเลือกคํ าตอบที่ทาน เห็นวาที่ถูกตองที่สุดจากขอเลือก ที่กํ าหนดให

แกงการูเปนสัตวโลกที่นาพิศวงเพราะมันมีลักษณะหลายอยางแตกตางจากสัตวที่เล้ียงลูกดวยนํ้ านมอื่น ๆ แกงการูเล้ียงลูกในกระเปาหนาทองและเคลื่อนไหวไปมาดวยการกระโดด คํ าอธิบายเกี่ยวกับลักษณะที่แปลกของแกงการูก็มีเพียงวามันเปนสัตวตระกูลมารซูเปยลซึ่งเปนสัตวประเภทเลี้ยงลูกดวยนํ้ านมที่มีวิวัฒนาการไมสูงนัก คํ าอธิบายนี้ไมใชคํ าตอบที่ถูกตอง แตมันก็สะทอนใหเห็นถึงความเขาใจทั่วไปของมนุษยที่อาศัยในซีกโลกเหนือเกี่ยวกับสัตวอีกชนิดหนึ่ง คือ โอพอสซัมในรัฐเวอรจิเนียซึ่งเปนสัตวตระกูลมารซูเปยลเพียงชนิดเดียวของทวีปอเมริกา-เหนือ คนทั่วไปมักกลาววาโอพอสซัมเปนสัตวเล้ียงลูกดวยนํ้ านมชนิดเกาแกดึกดํ าบรรพ และแทบจะไมมีความเปลี่ยนแปลงใด ๆเลยมาตั้งแตยุคไดโนเสาร คํ ากลาวเชนนี้พอจะมีมูลความจริงอยูบาง หลักฐานทางฟอสซิลของสัตวประเภทมารซูเปยล ที่มีชีวิตอยูรวมสมัยกับไดโนเสาร ในปลายยุคเมโซโซอิค หรือเมื่อประมาณ100 ลานปที่แลว ไดถูกจัดอยูในประเภทเดียวกันกับโอพอสซัมถึงแมวาโอพอสซัมอาจเรียกไดวาเปนฟอสซิลที่ยังมีชีวิต แตคํ าเปรียบเปรยนี้ไมอาจใชกับแกงการู เพราะมันมีพัฒนาการพิเศษเฉพาะดานเพื่อปรับตัวใหเข ากับการเปลี่ยนแปลงของภาวะ แวดลอม สัตวในสายแมคโครพอดิดี มีวิวัฒนาการจากสัตวตัวเล็ก ๆ ที่อาศัยในปาและแทะเล็มยอดออนของพืชเปนอาหารมาเปนสัตวที่ทองเที่ยวหากินในทุงโลง วิวัฒนาการของแกงการูอาจมีสาเหตุมาจากการแผ ขยายตัวของทุ งหญาในทวีป ออสเตรเลียในยุคไมโอซีน หรือระหวาง 10 - 15 ลานปที่แลว

มีหลักฐานหลายอยางสอแสดงวาสัตวที่เล้ียงลูกดวยนํ้ านม ทุกชนิด มีการสืบทอดสายพันธุมาจากสัตวเล้ือยคลานที่มีลักษณะคลายสัตว เ ล้ียงลูกด วยนํ้ านมซึ่งมีชีวิตอยู ในปลายของยุค ไทรแอสซิค หรือเมื่อกวา 200 ลานปที่แลว หลังจากนั้นไมนาน คือประมาณ 180 ลานปที่แลว สัตวเล้ือยคลานดังกลาวนี้ ไดมีวิวัฒนาการแบงแยกออกเปน 2 กลุม กลุมแรกคือโปรโตทีเรียนซึ่งประกอบดวย สัตวเล้ียงลูกดวยนํ้ านมที่ออกลูกเปนไข เชนตุนปากเปด กลุมที่สองคือทีเรียน ซึ่งประกอบดวยมารซูเปยล และสัตวเล้ียงลูกดวยนํ้ านมประเภทพลาเซ็นทัล ขอมูลจากหลายแหลง

สอแสดงวา มารซูเปยลมีถิ่นกํ าเนิดในทวีปอเมริกาเหนือ และเปนสัตวเล้ียงลูกดวยนํ้ านมประเภทหลักของทวีปนี้มาตลอดปลายยุคเมโซโซอิค หรือจนกระทั่งเมื่อ 70 ลานปที่แลว

สัตวเล้ียงลูกดวยนํ้ านมประเภทพลาเซ็นทัล มีถิ่นกํ าเนิดในทวีปเอเชีย และมีการยายถิ่นฐานถึงทวีปอเมริกาเหนือในปหลัง ๆของปลายยุคเมโซโซอิค ซึ่งในตอนนั้นทั้งสองทวีปนี้ยังมีแผนดินที่เชื่อมตอกัน การรุกรานและการแยงชิงอาหารของสัตวประเภทพลาเซ็นทัลอาจเปนสาเหตุหนึ่งที่ทํ าใหมารซูเปยลสวนใหญสูญพันธุไปจากทวีปอเมริกาเหนือ แตอาจมีสาเหตุอื่น ๆ ประกอบดวยเพราะในระยะนี้เอง ไดโนเสารตาง ๆ ก็ไดพากันสูญพันธุไปจนหมดสิ้น

การศึกษายอนรอยวิวัฒนาการของสัตวเล้ียงลูกดวยนํ้ านมประเภทมารซูเปยลตัวเล็ก ๆ ที่กินแมลงเปนอาหารใน ปลายยุคเมโซโซอิค จากทวีปอเมริกาเหนือไปสูทุงหญาในทวีปออสเตรเลียไดรับประโยชนจากหลักฐานที่ใชสนับสนุนทฤษฎีเกี่ยวกับการเคลื่อนตัวของทวีป สัตวเหลานี้นาจะอพยพผานอเมริกากลาง ลงสูทวีปอเมริกาใตและเขาสูทวีปออสเตรเลีย ซึ่งในขณะนั้นทั้งสองทวีปนี้สามารถติดตอกันโดยมีทวีปแอนตารคติกาเปนสวนเชื่อม ไมวามารซูเปยลในทวีปออสเตรเลียในยุคแรกเริ่มจะเปนอยางไร ก็ตาม แตเมื่อเริ่มยุคไมโอซีน หรือเมื่อ 25 ลานปที่แลว กระบวนการวิวัฒนาการของมารซูเปยล ไดกอใหเกิดสายพันธุใหม ๆ และหนึ่งในบรรดานี้คือแมคโครพอดิดี ซึ่งเปนตระกูลของแกงการู

001 คํ าถามเกี่ยวกับใจความหลัก (Main Idea) หรือ จุดประสงคสํ าคัญ (Primary Purpose) ของบทความ จุดเนนสํ าคัญของบทความขางตนคืออะไร ก. ปรากฏการณสํ าคัญของยุคตาง ๆ ทางธรณีวิทยา ข. หลักฐานสํ าคัญที่แสดงวามารซูเปยลและไดโนเสาร เปนสัตวรวมสมัย ค. ประวัติวิวัฒนาการของแกงการู ง. ลักษณะของแกงการูที่แตกตางจากสัตวเล้ียงลูกดวยนํ้ านม อื่น ๆ จ. ความสํ าคัญของฟอสซิลสัตวตอการศึกษาวิจัยทาง ธรณีวิทยา

Page 19: Handbook sat

17002 คํ าถามเกี่ยวกับขอเท็จจริงหรือสาระขอมูลที่กลาวถึง อยางชัดเจนในบทความ ตามบทความขางตน เหตุการณใดตอไปนี้เกิดขึ้น เปนอันดับแรก ก. มารซูเปยลที่อยูในตระกูลเดียวกับโอพอสซัมมีชีวิต อยูรวมสมัยกับไดโนเสาร ข. สัตวเล้ือยคลานมีวิวัฒนาการขึ้นเปนสัตวเล้ียงลูกดวย นํ้ านม 2 กลุม ค. แมคโครพอดิดีเปล่ียนเปนสัตวที่หากินในทุงหญา ง. มารซูเปยลเปนสัตวเล้ียงลูกดวยนํ้ านมประเภทหลัก ของทวีปอเมริกาเหนือ จ. การแยกตัวออกจากกันของทวีปอเมริกาใต แอนตารคติกา และออสเตรเลีย003 คํ าถามเกี่ยวกับสาระหรือแนวความคิดที่เปนนัย พาดพิงของบทความ จากขอมูลที่นํ าเสนอในบทความ แกงการูควรจัดเปนสัตว ประเภทใด ก. มารซูเปยลที่กินแมลงเปนอาหาร ข. สัตวเล้ียงลูกดวยนํ้ านมที่ออกลูกเปนไข ค. โปรโตทีเรียนที่ออกลูกเปนไข ง. มารซูเปยลกลุมโปรโตทีเรียน จ. มารซูเปยลกลุมทีเรียน

004 คํ าถามเกี่ยวกับสาระหรือแนวความคิดที่เปนนัย พาดพิงของบทความ ขอความเกี่ยวกับสัตวเล้ือยคลานที่มีลักษณะคลายสัตว เล้ียงลูกดวยนํ้ านม ขอใดตอไปนี้เปนการสรุปที่สมเหตุ สมผลที่สุด ก. มันเปนสัตวประเภทสํ าคัญที่สุดในยุคไทรแอสซิค ข. มันเปนตนตระกูลของสัตวทุกชนิดในปจจุบัน ค. มันมีลักษณะคลายกับโปรโตทีเรียนมากกวาทีเรียน ง. มันเคยอาศัยอยูในเพียงบางพื้นที่ของทวีปอเมริกาเหนือ จ. มันกินอาหารประเภทเดียวกันกับโอพอสซัม

005 คํ าถามเกี่ยวกับตรรกะ การใหเหตุผล และเทคนิควิธี การนํ าเสนอ ที่ผูแตงบทความใชเพ่ือใหบรรลุ เปาหมายของตน ในการนํ าเสนอบทความขางตนนี้ ผูแตงไดกระทํ าส่ิงตาง ๆ ตอไปนี้ โดยยกเวน ขอใด ก. กลาวถึงแหลงอางอิงอยางชัดเจน ข. ใหหลักฐานลบลางความเชื่อที่ผิด ค. ใหคํ าจํ ากัดความแกศัพททางวิชาการ ง. ใหขอสันนิษฐานเกี่ยวกับสาเหตุของปรากฏการณตาง ๆ จ. เชื่อมโยงเหตุการณในยุคตาง ๆ เขาดวยกัน

2. ความสามารถทางการคิดคํ านวณ (Numerical Ability)

1.1 ความสามารถพื้นฐานทางคณิตศาสตร (Basic Mathematical Ability)

คํ าส่ัง สํ าหรับปญหาแตละขอตอไปนี้ จงเลือกคํ าตอบที่ถูกตองที่สุดจากขอเลือกที่กํ าหนดให

001 28487955936 = ?

ก. 390701 ข. 390702 ค. 390703 ง. 309704 จ. 390705

002 ถา 41

31

211

12x

9x

6x

3x −+−=−+−

แลว x จะมีคาเทาไร

ก. 3 ข. 1 ค. 31 ง.

31

− จ. -3

003 ลูกบาศก X มีปริมาตร 8 ลูกบาศกเมตร จะมีพื้นที่ผิวดานนอกกี่ตารางเมตร

ก. 8 ข. 16 ค. 24 ง. 48 จ. 64

Page 20: Handbook sat

18004 สมการในขอใดแสดงความสัมพันธระหวาง S กับ T ตามขอมูลในตารางตอไปนี้

S 1 2 3 4 5 6T 2 5 8 11 14 17

ก. T = 2S ข. T = S2 + 1 ค. T = S2 - 1 ง. T = 3S - 1 จ. T = 2S + 5

005 นักเรียนจํ านวนหนึ่งรวมลงทุนคนละเทา ๆ กัน เพื่อจะซื้อ ลูกบอลราคา 360 บาท ไวเลนดวยกัน แตกอนที่จะซื้อ มีเพื่อนมาขอรวมลงทุนเพิ่มอีก 2 คน ทํ าใหแตละคนออกเงิน นอยกวาเดิม 48 บาท จงหาวาแตละคนจะออกเงินคนละ เทาไรในการซื้อลูกบอลครั้งนี้

ก. 60 บาท ข. 72 บาท ค. 84 บาท ง. 90 บาท จ. 108 บาท

006 421

301

201

121

61

21 +++++ = ?

ก. 4229 ข.

5647

ค. 3017 ง.

97

จ. 76

007 ถา x + x1 =

750 แลว จงหาคา x

ก. 5, -7 ข. 11, -5 ค.

71 ,7 ง.

51 , 5

จ. 3, -1

008 ถาเพิ่มความยาวของดานของสี่เหลี่ยมจัตุรัสรูปหนึ่งขึ้น รอยละ 50 พื้นที่ของสี่เหลี่ยมจัตุรัสจะเพิ่มขึ้นรอยละเทาไร ก. 25 ข. 50 ค. 100 ง. 125 จ. 200

คํ าส่ัง สํ าหรับขอ 009 - 010

ชุดตัวเลขที่กํ าหนดใหในปญหาแตละขอตอไปนี้ จะประกอบดวยตัวเลข 6 จํ านวน โดยจะเวนตัวเลขในอันดับที่สามไวจงพิจารณาขอเลือกที่กํ าหนดใหวาขอใดจะเติมแทนที่ ชองวางไดอยางเหมาะสมที่สุด

009 1, 3, _____, 13, 21, 31

ก. 5 ข. 6 ค. 7 ง. 8 จ. 9

010 2, 4, _____, 14, 22, 32

ก. 6 ข. 7 ค. 8 ง. 9 จ. 10

2.2 การเปรียบเทียบเชิงปริมาณ (Quantitative Comparison)

คํ าส่ัง ในปญหาแตละขอตอไปนี้ จะมีปริมาณที่กํ าหนดให 2 จํ านวน ปริมาณแรกจะอยูใน คอลัมม A และ อีกปริมาณอยูใน คอลัมม B จงเปรียบเทียบ 2 ปริมาณนี้ และตอบโดยเลือกดังนี้เลือก ก. ถาปริมาณใน คอลัมม A มีขนาดใหญกวาเลือก ข. ถาปริมาณใน คอลัมม B มีขนาดใหญกวาเลือก ค. ถาปริมาณทั้งสองมีขนาดเทากันเลือก ง. ถาขอมูลที่กํ าหนดใหไมเพียงพอที่จะเปรียบเทียบ

คอลัมม A คอลัมม B

001 29% ของ 37 37% ของ 29

002 เลขประจํ าหลักสิบใน 82 เลขประจํ าหลักรอยใน 699

Page 21: Handbook sat

19 คอลัมม A คอลัมม B

ราคาคาตั๋วโดยสารเรือขามฟากตอเที่ยว ผูใหญคนละ 2.00 บาท เด็กคนละ 0.50 บาท ในวันหนึ่งเก็บคาโดยสาร 820 บาท และขายตั๋วไป 500 ใบ

จํ านวนตั๋วเด็กที่ขายไป จํ านวนตั๋วผูใหญที่ขายไป ในวันนั้น ในวันนั้น

004 0.918970.899× 98

005 4b

6a=

2a 3b

006 0.784 (0.784)2

2.3 การตีความขอมูล (Data Interpretation)

คํ าส่ัง จงศึกษาตารางตอไปนี้และตอบคํ าถามที่ตามมา โดยการเลือกคํ าตอบที่ถูกตองที่สุด จากขอเลือกที่กํ าหนดให

รายไดจากการสงออกนํ้ ามันของกลุมประเทศโอเปค(พันลานเหรียญสหรัฐ)

1973 1974 1975ซาอุดิอาราเบียอิหรานอิรัคเวเนซูเอลาคูเวตสหรัฐอาหรับเอมิเรตสไนจีเรียลิเบียอินโดนีเซียแอลจีเรีย

5.24.11.53.32.00.92.02.30.91.3

27.518.66.0

10.38.34.18.16.83.94.1

26.819.28.38.27.86.46.45.84.33.4

รวม 23.5 97.7 96.6

001 ประเทศใดบางที่มีมูลคาการสงออกนํ้ ามันในป 1974 เพิ่มขึ้น จากป 1973 นอยกวา 300 % ก. เวเนซูเอลา คูเวต แอลจีเรีย และ ลิเบีย ข. แอลจีเรีย ลิ เบีย อินโดนีเซีย และ คูเวต ค. สหรัฐอาหรับเอมิเรตส อินโดนีเซีย และ แอลจีเรีย ง. แอลจีเรีย เวเนซูเอลา และลิเบีย จ. ลิเบีย คูเวต และ อินโดนีเซีย

002 ในป 1975 ประเทศใดบางมีมูลคาการสงออกนํ้ ามันรวมกัน แลว มีคามากกวาครึ่งหนึ่งของมูลคาการสงออกนํ้ ามันของ ประเทศกลุมโอเปคทั้งหมด ก. ซาอุดิอาราเบีย อิรัค และเวเนซูเอลา ข. อิหราน อิรัค และเวเนซูเอลา ค. อิหราน อิรัค และซาอุดิอาราเบีย ง. คูเวต สหรัฐอาหรับเอมิเรตส๎ ไนจี เรีย และลิเบีย จ. แอลจีเรีย ลิ เบีย คูเวต และอิรัค

003 ขอสรุปขอใดตอไปนี้สอดคลองกับขอมูลในตารางที่สุดก. ทุกประเทศในกลุมโอเปคมีรายไดเพิ่มจากการสงออก

นํ้ ามันในป 1974 แตประเทศสวนใหญมีรายไดจากการ สงออกนํ้ ามันลดลงในป 1975 ข. อัตราการเพิ่มของรายไดจากการสงออกนํ้ ามันของ ประเทศกลุมโอเปคบางประเทศในป 1975 สูงกวาที่ เพิ่มขึ้นในป 1974

ค. รายไดจากการสงออกนํ้ ามันของประเทศกลุมโอเปค ในป 1974 มีมูลคามากวารายไดในป 1973 และป 1975 รวมกัน ง. ประเทศสวนใหญในกลุมโอเปคมีรายไดจากการสงออก นํ้ ามันเพิ่มขึ้น อยางตอเนื่องทุกป จ. ประเทศในกลุมโอเปคมีรายไดจากการสงออกนํ้ ามัน โดยเฉลี่ยในรอบ 3 ป ไมแตกตางกันมากนัก

003

Page 22: Handbook sat

202.4 การประเมินความเพียงพอของขอมูล (Evaluation of Data Sufficiency)

คํ าส่ัง ปญหาแตละขอตอไปนี้จะประกอบดวยคํ าถาม 1 คํ าถาม และขอมูลที่กํ าหนดให 2 รายการโดยมีหมายเลข (1) และ (2) กํ ากับ จงพิจารณาขอมูลแตละรายการวาเพียงพอ ตอการตอบคํ าถามที่กํ าหนดใหหรือไม การเลือกตอบใหทํ า ตามเงื่อนไขตอไปนี้เลือกขอ ก. ถาขอมูลรายการที่ (1) เพียงขอเดียวเทานั้น เพียงพอตอการตอบคํ าถามเลือกขอ ข. ถาขอมูลรายการที่ (2) เพียงขอเดียวเทานั้น เพียงพอตอการตอบคํ าถามเลือกขอ ค. ถาตองใชขอมูลทั้งสองรายการรวมกัน จึงเพียงพอ ตอการตอบคํ าถาม เลือกขอ ง. ถาขอมูลรายการที่ (1) หรือ (2) เพียงอันใดอันหนึ่ง ก็เพียงพอตอการตอบคํ าถามเลือกขอ จ. ถาขอมูลทั้งสองรายการรวมกันแลว ยังไมเพียงพอ ตอการตอบคํ าถาม

001 คํ าถาม : คาของ x เทากับเทาไร ขอมูล : (1) y - x = 7 (2) 3x + y = 39002 คํ าถาม : ถา a, b, และ c เปนจํ านวนเต็ม ทั้งสามจะเปน จํ านวนที่เรียงติดตอกันหรือไม ขอมูล : (1) a + b + c = 15 (2) a(b + c) = ab + ac

003 คํ าถาม : ลวดเสนหนึ่งยาว 22 เมตร ตัดเปน 3 ทอน ทอนที่ยาวที่สุดจะมีความยาวเทาไร ขอมูล : (1) ทอนที่ยาวที่สุดยาวกวาทอนที่เหลือทอนละ 1 เมตร (2) มีทอนหนึ่งยาว 7 เมตร

004 คํ าถาม : ตํ าบลนางามมีประชากร 200 ครอบครัว มีกี่ครอบครัวที่มีลูกสาว 2 คนพอดี ขอมูล : (1) 150 ครอบครัวมีลูกสาวอยางนอยครอบครัว ละ 1 คน (2) 50 ครอบครัวมีลูกสาวตั้งแต 3 คนขึ้นไป

005 คํ าถาม : คาของ x มากกวา 0 หรือไม ขอมูล : (1) x4 - 16 = 0 (2) x3 - 8 =0

006 คํ าถาม : สมศรีทํ างานใหกับบริษัทเอกชนแหงหนึ่งเปนเวลา 6 ปติดตอกัน สมศรีไดรับเงินเดือนเพิ่มขึ้น 200 บาทตอเดือนทุก ๆ ส้ินป สมศรีไดเงินเดือน ปแรกเดือนละเทาไร ขอมูล : (1) เงินเดือนในปสุดทายของสมศรีมากเปน 1.2 เทาของเงินเดือนปแรก (2) ในปที่ 4 สมศรีไดเงินเดือนเดือนละ 5600 บาท

007 คํ าถาม : รอยละ 50 ของประชากรเมืองนิวพอรต มีผมสีทอง และนัยนตาสีฟา ประชากรเมืองนี้รอยละเทาไร มีนัยนตาสีฟาแตไมมีผมสีทอง ขอมูล : (1) รอยละ 70 ของประชากรเมืองนี้มีผมสีทอง (2) รอยละ 60 ของประชากรเมืองนี้มีนัยนตาสีฟา

008 คํ าถาม : วิทยุเครื่องหนึ่ง ติดราคาขายในเดือนแรก 3000 บาท ในเดือนตอมาราคาลดลง m เปอรเซ็นต และในเดือนที่ 3 ราคาวิทยุลดลงมา อีก n เปอรเซ็นต นายประสิทธิ์ มีเงิน 2600 บาท ในเดือนที่ 3 นายประสิทธิ์มีเงินพอที่จะซื้อวิทยุ เครื่องนี้หรือไม ขอมูล : (1) n = 10 (2) m = 15009 คํ าถาม : ถาเปดทอระบายนํ้ า A และ B พรอม ๆ กัน นํ้ าจะไหลออกจากสระหมดภายใน 1 ชั่วโมง ถาเปดทอระบายนํ้ า A เพียงทอเดียว จะใชเวลา เทาไร นํ้ าจึงไหลออกหมดสระ ขอมูล : (1) A ระบายนํ้ าไดเร็วเปน 2 เทาของ B (2) ถาเปด B เพียงทอเดียว นํ้ าไหลออกหมดสระ ใน 3 ชั่วโมง

Page 23: Handbook sat

213 ความสามารถเชิงวิเคราะห (Analytical Ability)

3.1 การวิเคราะหเชิงภาษา (Verbal Analysis)

คํ าส่ัง จงอานขอความหรือคํ าบรรยายสถานการณตอไปนี้ และ ตอบคํ าถามที่ตามมา โดยเลือกคํ าตอบที่ทานเห็นวาถูกตอง ที่สุดจากขอเลือกที่กํ าหนดให

สถานการณที่ 1

จากการศึกษาวิจัยในเร็ว ๆ นี้ ไดมีการพบวาอาชญากรรมที่รุนแรงมักจะเกิดขึ้นในหนารอนมากกวาในหนาหนาว ดังนั้น ถาเราสามารถควบคุมอุณหภูมิของอากาศโดยทั่วไปได ปญหาอาชญากรรมที่รุนแรงก็จะลดจํ านวนลง

001 ขอใดบางตอไปนี้เปนความเชื่อพื้นฐานของผูกลาวขอความ ขางตนนี้ ขอ 1. ความสัมพันธระหวางสภาพอากาศและอัตราการเกิด อาชญากรรมเปนเพียงเรื่องบังเอิญเทานั้น ขอ 2. สภาพอากาศและอัตราการเกิดอาชญากรรมมีความ สัมพันธเชิงเหตุและผลตอกัน ขอ 3. ความสัมพันธระหวางสภาพอากาศและอัตราการเกิด อาชญากรรมเปนส่ิงที่สามารถควบคุมได ก. ขอ 1. เทานั้น ข. ขอ 1. และ ขอ 2. เทานั้น ค. ขอ 2. เทานั้น ง. ขอ 2 และ ขอ 3. เทานั้น จ. ทั้ง ขอ 1. ขอ 2. และ ขอ 3.002 ขอใดตอไปนี้ ซึ่งหากเปนความจริง จะทํ าใหขออาง ในสถานการณขางตนนี้มีนํ้ าหนักมากขึ้น

ก. อัตราการเกิดอาชญากรรมในประเทศแถบเสนศูนยสูตร สูงกวาประเทศแถบอบอุนอยางเดนชัด ข. จากการทดลองในหองปฏิบัติการ พบวาการเพิ่มอุณหภูมิ ใหสูงขึ้น ระดับความกาวราวของตัวอยางที่ทดลอง จะสูงขึ้นตามดวย ค. ประเทศในเขตรอนสวนใหญเปนประเทศยากจน และ ความขาดแคลนมักจะเปนที่มาของปญหาโจรผูราย ชุกชุม

ง. ดวยความกาวหนาทางดานวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี การควบคุมสภาพอากาศทั่วไปเปนส่ิงที่สามารถทํ าได ในอนาคตอันใกล จ. การที่บรรยากาศชั้นโอโซนถูกทํ าลายลง ทํ าใหอุณหภูมิ ของโลกสูงขึ้นและฝนฟาไมตกตามฤดูกาล

สถานการณที่ 2

นักการทูต 5 คน คือ P, Q, R, S, และ T เขารวมประชุมที่องคการระหวางประเทศแหงหนึ่งจัดขึ้น ขอมูลทางดานภาษาของนักการทูตทั้ง 5 คน มีดังตอไปนี้ P สามารถใชภาษาอังกฤษ และ ภาษาเยอรมัน Q สามารถใช 3 ภาษา คือ ฝร่ังเศส อิตาลี และสเปน R สามารถใชภาษาเยอรมันเพียงภาษาเดียว S สามารถใช 3 ภาษา คือ อังกฤษ อิตาลี และ สเปน T สามารถใชภาษาฝรั่งเศส และ ภาษาเยอรมัน

003 นักการทูตตอไปนี้สามารถพูดคุยกันไดโดยไมตองผานลาม ยกเวน คูใด ก. P กับ R ข. P กับ T ค. Q กับ S ง. Q กับ R จ. R กับ T

004 ในระหวางนักการทูตทั้ง 5 คนนี้ ภาษาใดใชส่ือสารกันได มากที่สุด ก. อังกฤษ ข. ฝร่ังเศส ค. เยอรมัน ง. อิตาลี จ. สเปน

005 ถา S กับ T ตองเจรจากัน นักการทูตคนใดบางสามารถ ทํ าหนาที่เปนลามได ขอ 1. P ขอ 2. Q ขอ 3. R ก. ขอ 1. เทานั้น ข. ขอ 2. เทานั้น ค. ขอ 3. เทานั้น ง. ขอ 1. และ ขอ 2. เทานั้น จ. ทั้ง ขอ 1. ขอ 2. และ ขอ 3.

Page 24: Handbook sat

22สถานการณที่ 3

มีสามีภรรยา 4 คู ฝายสามีไดแก P, Q, R, และ S สวนฝายภรรยา ไดแก T, U, V, และ W แตยังไมทราบวาใครเปนคูสมรสของใคร ขอมูลเทาที่ทราบมีดังตอไปนี้ ภรรยาของ R อายุมากกวา U ภรรยาของ S อายุมากกวา W W เปนพี่นองทองเดียวกับ P T เปนภรรยาที่มีอายุนอยที่สุด R เปนเพื่อนเจาบาวในพิธีแตงงานของ W

006 ถา Q และภรรยา มีบุตรชายดวยกัน ชื่อ Y ขอใดตอไปนี้ ถูกตองที่สุด ก. T เปนปาหรือนาของ Y ข. V เปนปาหรือนาของ Y ค. Y เปนหลานของ P ง. U เปนมารดาของ Y จ. ไมมีขอใดถูก

007 ขอใดตอไปนี้ถูกตองตามขอมูลที่กํ าหนดใหในขางตน ก. ภรรยาของ R อายุนอยกวา V ข. ภรรยาของ R อายุนอยกวา W ค. ภรรยาของ P อายุนอยกวา U ง. ภรรยาของ S อายุมากกวา V จ. ภรรยาของ Q อายุมากกวา U

008 ถาสามีแตละคนอายุมากกวาภรรยาของตนเอง 2 ป ขอใด ตอไปนี้ขัดแยงกับขอมูลที่กํ าหนดใหขางตน ก. R อายุมากกวา U ข. T อายุนอยที่สุดใน 8 คนนี้ ค. P อายุนอยกวา S ง. Q อายุนอยกวา P จ. V อายุนอยกวา R

009 ถาฝายภรรยาอายุเรียงจากนอยไปหามาก คือ 28, 30, 32 และ 34 ป สวนฝายอายุฝายสามี คือ P : 27 ป, Q : 29 ป, R : 31 ป และ S : 33 ป ขอใดตอไปนี้ไมเปนจริง ก. T อายุมากกวาสามีตนเอง ข. V อายุมากกวาสามีตนเอง ค. U อายุนอยกวาสามีของ V ง. W อายุนอยกวาสามีของ U จ. T อายุนอยกวาสามีของ W

3.2 การวิเคราะหแผนภูมิเชิงตรรกะ (Logical Diagram)

คํ าส่ัง สํ าหรับปญหาแตละขอตอไปนี้ จงเลือกภาพ ก. ข. ค. ง. หรือ จ. ที่แสดงความสัมพันธระหวางคํ า หรือกลุม คํ าที่กํ าหนดใหไดดีที่สุด

ก. ข.

ค. ง.

จ.

001 (เครื่องเขียน) (พัดลม) (ปากกา)002 (ผลไม) (ทุเรียน) (ลํ าไย)003 (นักเรียนชาย) (นักกีฬาของโรงเรียน) (นักเรียนชั้น ม.ตน)004 (เครื่องนุมหม) (สินคานํ าเขา) (ปจจัย 4)005 (เยาวชน) (วัยรุน) (ทารก)006 (อาชญากร) (โจรปลนธนาคาร) (โจรถนัดซาย)007 (นักบวช) (คนถือศีล) (คนที่มีศาสนา)

Page 25: Handbook sat

233.3 การวิเคราะหเชิงภาพและสัญลักษณ

(Non-Verbal Analysis)

3.3.1 อุปมาอุปไมยดวยภาพ (Figural Analogy)

คํ าส่ัง ปญหาแตละขอตอไปนี้ โจทยจะกํ าหนดภาพให 3 ภาพ จงพิจารณาหาความสัมพันธระหวาง 2 ภาพแรก และ เลือกภาพจากขอเลือกที่กํ าหนดใหเพียงภาพเดียว ที่ทานเห็นวามีความสัมพันธกับภาพที่ 3 เหมือนความ สัมพันธกับภาพที่ 3 เหมือนความสัมพันธในคูแรก มากที่สุด

001

ก. ข. ค. ง.

002

ก. ข. ค. ง.

3.3.2 อนุกรมภาพ (Figural Series)

คํ าส่ัง ในปญหาแตละขอตอไปนี้ จงศึกษาอนุกรมที่กํ าหนด ใหแลวเลือกภาพจากขอเลือกที่กํ าหนดใหเพียงภาพ เดียว ซึ่งมีความตอเนื่องกับภาพที่กํ าหนดใหเหมือน ในอนุกรม

003

ก. ข. ค. ง.

004

ก. ข. ค. ง.

Page 26: Handbook sat

243.3.3 การจัดประเภทภาพ (Figural Classification)

คํ าส่ัง ในปญหาแตละขอตอไปนี้ จะมีภาพที่กํ าหนดให 1 ภาพ ตามดวยกลุมภาพ 4 กลุม คือ ก. ข. ค. และ ง. แตละกลุมจะประกอบดวย 2 ภาพ จงวิเคราะห หากฎเกณฑที่ใชในการจัดกลุม แลวตัดสินวาภาพ ที่กํ าหนดใหในโจทยควรจะจัดเขากลุมใดไดอยาง เหมาะสมที่สุด

005

ก. ข.

ค. ง.

006

ก. ข.

ค. ง.

3.3.4 อนุกรมภาพ 2 มิติ (Figural Matrices)

คํ าส่ัง ในปญหาตอไปนี้ โจทยจะกํ าหนดภาพให 3 แถว แถวละ 3 ภาพ โดยเวนภาพสุดทายในแนวลางไว จงศึกษาภาพเหลานี้ แลวเลือกภาพจากขอที่กํ าหนดให ซึ่งทานคิดวาสามารถเติมลงในชองที่เวนวางไวได อยางเหมาะสมที่สุด

007

ก. ข. ค. ง.

008

ก. ข. ค. ง.

Page 27: Handbook sat

254. เฉลยขอสอบความถนัดทางการเรียน1. ความสามารถทางภาษา

1.1 การเติมความใหสมบูรณ001 ข 002 ค 003 ง004 ข 005 ค 006 ก

1.2 อุปมาอุปไมยทางภาษา001 ง 002 ค 003 ง004 ข

1.3 การอานอยางมีวิจารณญาณ1.3.1 บทความขนาดสั้น

001 ง 002 จ 003 จ004 ค

1.3.2 บทความขนาดกลาง001 ก 002 จ 003 ก004 จ 005 ง

1.3.3 บทความขนาดยาว001 ค 002 ข 003 จ004 ง 005 ก

2. ความสามารถทางการคิดคํ านวณ2.1 ความสามารถพื้นฐานทางคณิตศาสตร

001 ง 002 ก 003 ค004 ง 005 ข 006 จ007 ค 008 ง 009 ค010 ค

2.2 การเปรียบเทียบเชิงปริมาณ001 ค 002 ก 003 ข004 ข 005 ค 006 ก

2.3 การตีความขอมูล001 ง 002 ค 003 ก

2.4 การประเมินความเพียงพอของขอมูล001 ค 002 จ 003 ก004 ค 005 ข 006 ง007 ข 008 ข 009 ง

3. ความสามารถเชิงวิเคราะห3.1 การวิเคราะหเชิงภาษา

001 ค 002 ข 003 ง004 ค 005 ง 006 ค007 ค 008 ง 009 ค

3.2 การวิเคราะหแผนภูมิเชิงตรรกะ001 ง 002 ข 003 จ004 ค 005 ง 006 ก007 ก

3.3 การวิเคราะหเชิงภาพและสัญลักษณ001 ง 002 ข 003 ก004 ข 005 ง 006 ก007 ค 008 ค

Page 28: Handbook sat