8
“การสอนและอบรมให้เด็กมีจิตส�านึกในการ อนุรักษ์พืชพรรณนั้น ควรใช้วิธีการปลูกฝังให้เด็กเห็น ความงดงาม ความน่าสนใจ และเกิดปีติท่จะท�าการ ศึกษาและอนุรักษ์พืชพรรณต่อไป การใช้วิธีสอนการ อบรมที่ให้เกิดความรู้สึกกลัวว่า ...หากไม่อนุรักษ์แล้ว จะเกิดผลเสียเกิดอันตรายแก่ตนเอง จะท�าให้เด็กเกิด ความเครียด ซึ่งจะเป็นผลเสียแก่ประเทศในระยะยาว” ๑๒ โครงการอันเนื่องมาจากพระราชด�าริ สู่การพัฒนาอย่างยั่งยืน 94

NO · 2016-08-08 · “การสอน ... กรอบการเรียนรู้ทรัพยากรกิจกรรมปกปักพันธุกรรมพืช

  • Upload
    others

  • View
    3

  • Download
    0

Embed Size (px)

Citation preview

Page 1: NO · 2016-08-08 · “การสอน ... กรอบการเรียนรู้ทรัพยากรกิจกรรมปกปักพันธุกรรมพืช

“การสอนและอบรมให้เด็กมีจิตส�านึกในการ

อนุรักษ์พืชพรรณนั้น ควรใช้วิธีการปลูกฝังให้เด็กเห็น

ความงดงาม ความน่าสนใจ และเกิดปีติที่จะท�าการ

ศึกษาและอนุรักษ์พืชพรรณต่อไป การใช้วิธีสอนการ

อบรมที่ให้เกิดความรู้สึกกลัวว่า ...หากไม่อนุรักษ์แล้ว

จะเกิดผลเสียเกิดอันตรายแก่ตนเอง จะท�าให้เด็กเกิด

ความเครียดซึ่งจะเป็นผลเสียแก่ประเทศในระยะยาว”

๑๒โครงการอันเนื่องมาจากพระราชด�าริสู่การพัฒนาอย่างยั่งยืน

94

Page 2: NO · 2016-08-08 · “การสอน ... กรอบการเรียนรู้ทรัพยากรกิจกรรมปกปักพันธุกรรมพืช

ควำมเป็นมำ จากสายพระเนตรอันยาวไกลของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว ครั้งเมื่อปี พ.ศ. ๒๕๐๓

เมื่อเสด็จผ่านอ�าเภอท่ายาง จังหวัดเพชรบุรี สองข้างทางมีต้นยางขนาดใหญ่ขึ้นอยู ่มาก จึงมี

พระราชด�าริที่จะสงวนบริเวณป่าต้นยางนี้ไว้เป็นสวนสาธารณะด้วยพระราชทรัพย์ส่วนพระองค์

แต่ไม่สามารถจัดถวายตามพระราชประสงค์ เพราะมีราษฎรเข้ามาท�าไร่ ท�าสวนในบริเวณนั้นมาก

จะต้องจ่ายเงินทดแทนในการจัดหาที่ใหม่ในอัตราที่ไม่สามารถจัดได้ จึงทรงทดลองปลูกต้นยางเอง

ในแปลงทดลองป่าสาธติใกล้พระต�าหนักเรอืนต้นสวนจติรลดาเมื่อวันที่๒๘กรกฎาคมพ.ศ.๒๕๐๔

จ�านวน ๑,๒๕๐ ต้น โดยทรงมีพระราชประสงค์ว่า ถึงแม้ต้นยางที่ท่ายางสูญสิ้น แต่พันธุกรรม

ของยางนาเหล่านั้นยังอนุรักษ์ไว้ได้ที่สวนจิตรลดา ต่อมาทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้น�าพรรณไม้

จากภาคต่าง ๆ ทั่วประเทศมาปลูกในบริเวณที่ประทับสวนจิตรลดา เพื่อให้เป็นที่ศึกษาพรรณไม้

ของนสิตินักศกึษาแทนที่จะต้องเดนิทางไปทั่วประเทศ

สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี ได้ทรงสืบทอดพระปณิธานต่อ

โดยพระราชทานโครงการส่วนพระองค์ฯสวนจติรลดาโดยฝ่ายวชิาการเป็นผู้ด�าเนนิการ“โครงการ

อนุรักษ์พันธุกรรมพชือันเนื่องมาจากพระราชด�าร ิสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมาร ี

(อพ.สธ.)” ในปี พ.ศ. ๒๕๓๕ และจัดตั้งธนาคารพืชพันธุ์ขึ้นในปี พ.ศ. ๒๕๓๖ -๒๕๔๙ซึ่งได้รับ

ทนุสนับสนุนจากส�านกังานคณะกรรมการพเิศษเพือ่ประสานงานโครงการอันเนือ่งมาจากพระราชด�าริ

(ส�านักงาน กปร.) และเป็นหน่วยงานขึ้นตรงกับเลขาธิการพระราชวัง ตั้งแต่ปี พ.ศ. ๒๕๓๙ต่อมา

ส�านักพระราชวังได้จัดสรรงบประมาณและให้ด�าเนินการแยกจากโครงการส่วนพระองค์ฯ สวนจิตรลดา

ตัง้แต่ปีพ.ศ.๒๕๕๐ด�าเนนิงานภายใต้๓กรอบการด�าเนนิงาน๘กจิกรรมดังนี้

โครงกำรอนุรักษ์พันธุกรรมพืช อันเนื่องมำจำกพระรำชด�ำริ สมเด็จพระเทพรัตนรำชสุดำฯ

สยำมบรมรำชกุมำรี (อพ.สธ.)

๑๑

๑๒โครงการอันเนื่องมาจากพระราชด�าริ

สู่การพัฒนาอย่างยั่งยืน95

Page 3: NO · 2016-08-08 · “การสอน ... กรอบการเรียนรู้ทรัพยากรกิจกรรมปกปักพันธุกรรมพืช

กรอบการเรียนรู้ทรัพยากร ประกอบด้วย กิจกรรมปกปักพันธุกรรมพืช กิจกรรมส�ารวจ

เก็บรวบรวมพันธุกรรมพชืและกจิกรรมปลูกรักษาพันธุกรรมพชื

กรอบการใช้ประโยชน์ ประกอบด้วยกจิกรรมอนรุกัษ์และใช้ประโยชน์พนัธกุรรมพชืกจิกรรม

ศูนย์ข้อมูลพันธุกรรมพชืและกจิกรรมวางแผนพัฒนาพันธุกรรมพชื

กรอบการสร้างจติส�านกึ ประกอบด้วยกจิกรรมสร้างจติส�านกึในการอนุรักษ์พันธุกรรมพชื

และกจิกรรมพเิศษสนับสนุนการอนุรักษ์พันธุกรรมพชื

การด�าเนินงานในลักษณะเช่นนี้ สามารถท�าให้คนไทยได้ทราบถึงคุณประโยชน์ของพืชพรรณ

หลากหลายชนิด บางชนิดเป็นที่รู ้จักแพร่หลาย มีการน�ามาใช้ประโยชน์แต่ขาดการดูแลรักษา

จนปริมาณลดลง และเกือบสูญพันธุ ์จากถิ่นก�าเนิดพืชบางชนิดมีมาช้านานแต่มิได้ล ่วงรู ้ถึง

คุณประโยชน์จนอาจถูกละเลยหรอืถูกท�าลายไปอย่างน่าเสยีดาย

แนวพระรำชด�ำริ สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี ทรงมีพระราชด�าริเกี่ยวกับการอนุรักษ์

พันธุกรรมพชืว่า

“การสอนและอบรมให้เด็กมีจิตส�านึกในการอนุรักษ์พืชพรรณน้ัน ควรใช้วิธีการปลูกฝัง ให้เด็กเห็นความงดงาม ความน่าสนใจ และเกิดปีติท่ีจะท�าการศึกษาและอนุรักษ์พืชพรรณต่อไปการใช้วิธีสอนการอบรมที่ให้เกิดความรู้สึกกลัวว่า...หากไม่อนุรักษ์แล้วจะเกิดผลเสียเกิดอันตรายแก่ตนเองจะท�าให้เด็กเกิดความเครียดซึ่งจะเป็นผลเสียแก่ประเทศในระยะยาว”

แนวทำงกำรด�ำเนินงำนและบทบำทของ ส.ป.ก. ส�านักงานการปฏิรูปที่ดินเพื่อเกษตรกรรม (ส.ป.ก.) ได้ขอพระราชทานพระราชานุญาต

เข้าร่วมสนองพระราชด�าริ ในปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๕๕ เป็นต้นมา ภายใต้กรอบแผนแม่บท

ระยะ ๕ ปีที่ ๕ (ตุลาคม พ.ศ. ๒๕๕๔ - กันยายน พ.ศ. ๒๕๕๙) โดยใช้ชื่อว่า “โครงการ

อนุรักษ์พันธุกรรมพืชอันเนื่องมาจากพระราชด�าริ สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราช

กุมาร ีส�านักงานการปฏริูปที่ดนิเพื่อเกษตรกรรม (อพ.สธ.-ส.ป.ก.)” ได้ด�าเนนิการยกระดับกจิกรรม

ยุวเกษตรกรในเขตปฏิรูปที่ดินที่ ส.ป.ก. ด�าเนินการอยู ่ น�ามาปรับกิจกรรมให้สอดคล้องกับ

แผนแม่บทโดยยดึถอืแนวทางการท�างานแบบบูรณาการร่วมกับทุกภาคส่วน เช่นสถาบันการศกึษา

มหาวิทยาลัยในท้องถิ่น โรงเรียนในเขตปฏิรูปที่ดิน องค์การบริหารส่วนท้องถิ่นต่าง ๆ ชุมชนที่ม ี

ปราชญ์ชาวบ้าน รวมทั้งเกษตรกรที่เป็นผู้ปกครองนักเรียน เน้นให้ทุกภาคส่วนเห็นความส�าคัญ

ของทรัพยากรที่เป็นปัจจัยในการด�ารงชีพ และการพัฒนาคุณภาพชีวิตตามแนวพระราชด�าร ิ

เศรษฐกิจพอเพียง เหมาะสมกับสภาพนิเวศของแต่ละท้องถิ่น ประกอบกับ ส.ป.ก. มีหน้าที ่

รับผิดชอบเกี่ยวกับการอนุรักษ์และฟื ้นฟูสภาพแวดล้อมในเขตปฏิรูปที่ดิน โดยการสนับสนุน

๑๒โครงการอันเนื่องมาจากพระราชด�าริสู่การพัฒนาอย่างยั่งยืน

96

Page 4: NO · 2016-08-08 · “การสอน ... กรอบการเรียนรู้ทรัพยากรกิจกรรมปกปักพันธุกรรมพืช

การพัฒนาและขยายผลองค์ความรู้ในการจัดการทรัพยากรธรรมชาติ เช่นการปลูกป่า การสร้าง

สวนป่า และการปลูกไม้เศรษฐกิจในรูปแบบอื่น ๆ สร้างกระบวนการเรียนรู้ ส�ารวจ และจัดท�า

ฐานข้อมูลเกี่ยวกับการอนุรักษ์และความหลากหลายทางชีวภาพ รวมถึงสนับสนุนให้เกิดการ

ด�าเนินงานด้านการอนุรักษ์และฟื้นฟูสภาพแวดล้อมอย่างเป็นธรรม บริหารจัดการทรัพยากร

ธรรมชาติอย่างมีประสิทธิภาพและเกิดประโยชน์สูงสุด สนับสนุนการรวมกลุ่มและสร้างเครือข่าย

เพื่อร่วมอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาตแิละฟื้นฟูสภาพแวดล้อมในเขตปฏริูปที่ดนิและพื้นที่ข้างเคยีง

ปี พ.ศ. ๒๕๕๖ ส.ป.ก. ด�าเนินกิจกรรมโครงการ อพ.สธ.-ส.ป.ก. จ�านวน๘๘ โรงเรียน

โดยด�าเนินงานในกิจกรรมสร้างจิตส�านึกในการอนุรักษ์พันธุกรรมพืชและกิจกรรมปกปัก

พันธุกรรมพชื

ปี พ.ศ. ๒๕๕๗และ๒๕๕๘ส.ป.ก. ได้จัดท�าแผนงานโครงการอพ.สธ.-ส.ป.ก. ในพื้นที่

๗๑ จังหวัด รวม ๒๐๐ โรงเรียน โดยสนับสนุนการด�าเนินงาน๔ กิจกรรม คือ กิจกรรมปกปัก

พันธุกรรมพืช กิจกรรมอนุรักษ์และใช้ประโยชน์พันธุกรรมพืช กิจกรรมสร้างจิตส�านึกในการอนุรักษ์

พันธุกรรมพชืและกจิกรรมพเิศษสนับสนุนการอนุรักษ์พันธุกรรมพชื

ยุวเกษตรกรศกึษาพันธุ์พชืต่าง ๆ บรเิวณโรงเรยีน

๑๒โครงการอันเนื่องมาจากพระราชด�าริ

สู่การพัฒนาอย่างยั่งยืน97

Page 5: NO · 2016-08-08 · “การสอน ... กรอบการเรียนรู้ทรัพยากรกิจกรรมปกปักพันธุกรรมพืช

ควำมส�ำเร็จของโครงกำร กรอบการเรียนรู ้ทรัพยากร กิจกรรมปกปักพันธุกรรมพืช มีพื้นที่ปกปักพันธุกรรมพืช

๕แปลงเนื้อที่๓๘๔ไร่๒งาน๙๓ตารางวารายละเอยีดปรากฏตามตารางต่อไปนี้

ตำรำงแสดงพื้นที่ปกปักพันธุกรรมพืชโครงกำรอนุรักษ์พันธุกรรมพืช อันเนื่องมำจำกพระรำชด�ำริฯ

จังหวัด ประเภทพื้นที่เนื้อที่ (ไร่)

ที่ตั้ง โรงเรียนที่เข้ำร่วมโครงกำร

เชยีงใหม่ ป่าชุมชน ๓๖๒ ต�าบลกื้ดช้าง

อ�าเภอแม่แตง

โรงเรยีนบ้านแม่ตะมาน

โรงเรยีนบ้านเมอืงกื้ด

โรงเรยีนตชด.ไลออนส์

มหาจักร๙

น่าน ป่าชุมชน ๕ ต�าบลดู่พงษ์

อ�าเภอสันตสิุข

โรงเรยีนดู่พงษ์

แพร่ ป่าชุมชน ๕ ต�าบลบ่อเหล็กลอง

อ�าเภอลอง

โรงเรยีนบ้านแม่รัง

นครสวรรค์ ป่าชุมชน ๓ ต�าบลแม่เปิน

อ�าเภอแม่เปิน

โรงเรยีนอนุบาลแม่เปิน

โรงเรยีนบ้านคลองสมบูรณ์

นครราชสมีา ป่าในโรงเรยีน ๑๐ ต�าบลวังหมี

อ�าเภอวังน�า้เขยีว

โรงเรยีนวังหมวีทิยาคม

ยุวเกษตรกรร่วมกจิกรรมปกปักพันธุกรรมพชื

๑๒โครงการอันเนื่องมาจากพระราชด�าริสู่การพัฒนาอย่างยั่งยืน

98

Page 6: NO · 2016-08-08 · “การสอน ... กรอบการเรียนรู้ทรัพยากรกิจกรรมปกปักพันธุกรรมพืช

กรอบการใช้ประโยชน์ กิจกรรมอนุรักษ์และใช้ประโยชน์พันธุกรรมพืช ด�าเนินการในจังหวัด

เชยีงใหม่เนื้อที่ประมาณ๓๖๒ไร่ในท้องที่ต�าบลกื้ดช้างอ�าเภอแม่แตงจังหวัดเชยีงใหม่มโีรงเรยีน

เข้าร่วมโครงการจ�านวน๓ โรงเรียน ได้แก่ โรงเรียนบ้านแม่ตะมาน โรงเรียนบ้านเมืองกื้ด และ

โรงเรยีนตชด.ไลออนส์มหาจักร๙

กรอบการสร้างจิตส�านึก กิจกรรมสร้างจิตส�านึกในการอนุรักษ์พันธุกรรมพืช และกิจกรรม

พิเศษสนับสนุนการอนุรักษ์พันธุกรรมพืช เป็นกิจกรรมที่ ส.ป.ก. ร่วมมือกับสถาบันการศึกษา

ในการแลกเปลี่ยนพัฒนาเครือข่ายเกษตรกร ปราชญ์ชาวบ้านภูมิปัญญาท้องถิ่น รวมทั้งองค์การ

บริหารส่วนต�าบลและโรงพยาบาลที่มีส่วนเชื่อมโยงให้มีการจัดการทรัพยากรอย่างสอดคล้องกับ

ภูมินิเวศของท้องถิ่น และมีการสรุปบทเรียนและแนวทางการด�าเนินงานที่เกี่ยวข้องและสนับสนุน

กิจกรรมต่าง ๆ ของ อพ.สธ. โดยอยู่ในกรอบของแผนแม่บท อพ.สธ. น�ามาสู่การบูรณาการ

แผนปฏบิัตกิารสนองพระราชด�ารใิห้เป็นไปตามวัตถุประสงค์และเป้าหมาย

ปราชญ์ชาวบ้านให้ความรู้เรื่องระบบนเิวศ

ยุวเกษตรกรร่วมกจิกรรมอนุรักษ์และใช้ประโยชน์พันธุกรรมพชื

ยุวเกษตรกรร่วมสรุปผลการฝึกอบรม

๑๒โครงการอันเนื่องมาจากพระราชด�าริ

สู่การพัฒนาอย่างยั่งยืน99

Page 7: NO · 2016-08-08 · “การสอน ... กรอบการเรียนรู้ทรัพยากรกิจกรรมปกปักพันธุกรรมพืช

ตัวอย่ำงควำมส�ำเร็จของโครงกำร ส� านักงานการปฏิรูปที่ ดิน

จังหวัดบึงกาฬ (ส.ป.ก.บึงกาฬ) ได้

จัดท�าโครงการอนุรักษ์พันธุกรรมพืช

อันเนื่องมาจากพระราชด�าริฯ โดยยึด

แนวทางการด�าเนนิงานแบบมส่ีวนร่วม

ระหว่างปราชญ์เกษตรเศรษฐกิจพอเพียง

ศูนย์เรียนรู ้เศรษฐกิจพอเพียงชุมชน

ผู้รู้ในชุมชน วิสาหกิจชุมชน โรงเรียน

ในเขตปฏิรูปที่ดิน ครู และนักเรียนใน

โรงเรียนเขตปฏิรูปที่ดินจังหวัดบึงกาฬ

จ�านวน ๕ โรงเรียน ๆ ละ ๕๐ ราย

รวม๒๕๐รายได้แก่โรงเรยีนสังวาลวทิย์

โรง เรียน ตชด.บ ้ านหนองตะไก ้

โรงเรียน ตชด.บ้านห้วยดอกไม้ โรงเรียนต�ารวจตระเวนชายแดนบ้านนาแวง และโรงเรียนบ้านน�าค�าแคน

โดยก�าหนดกิจกรรมตามองค์ความรู้และศักยภาพในท้องถิ่นนั้น ทั้งนี้ เพื่อให้ครู นักเรียน และ

ผู้เข้าร่วมโครงการได้มีส่วนร่วมในการอนุรักษ์รักษาพันธุกรรมพืชและทรัพยากรท้องถิ่นที่ยั่งยืน

อกีทัง้เข้าใจและเห็นความส�าคัญของพันธุกรรมพชืในท้องถิ่นของตนเอง

ส.ป.ก.บึงกาฬ ได้จัดกิจกรรมฝึกอบรมให้ความรู้แก่ครูและนักเรียน ในเรื่องความเป็นมา

ของโครงการอนุรักษ์พันธุกรรมพืชอันเนื่องมาจากพระราชด�าริ สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ

สยามบรมราชกุมารี ความรู ้เกี่ยวกับสมุนไพรพื้นบ้าน การดูแลสุขภาพด้วยสมุนไพรพื้นบ้าน

การปลูกและการดูแลรักษาสมุนไพรพื้นบ้านตลอดจนการแปรรูปสมุนไพรจากนายสทิธพิลค�าปาทู

ผูม้คีวามรูด้้านสมนุไพรเป็นผลให้ครแูละนกัเรยีน

ตระหนักถึงความส�าคัญของการอนุรักษ์และ

การใช้ประโยชน์จากพันธุ ์พืชและทรัพยากร

พื้นบ้าน ทั้งนี้ สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ

สยามบรมราชกุมารี ทรงติดตามการด�าเนินงาน

โครงการ อพ.สธ. จังหวัดบึงกาฬ เมื่อวันที่ ๖

มิถุนายน พ.ศ. ๒๕๕๗ ในการนี้ ส.ป.ก.บึงกาฬ

ได้เฝ้ารับเสด็จฯ และทูลถวายรายงานการท�า

ลูกประคบสมุนไพรซึ่งเกิดจากการศึกษาพันธุ ์

พืชในท้องถิ่น และการน�าภูมิปัญญามาใช้ให้เกิด

ประโยชน์

ยุวเกษตรกรเข้ารับการฝึกอบรมเกี่ยวกับความเป็นมา ของโครงการและการด�าเนนิงาน

ยุวเกษตรกรเรยีนรู้วธิกีารแปรรูปสมุนไพร

๑๒โครงการอันเนื่องมาจากพระราชด�าริสู่การพัฒนาอย่างยั่งยืน

100

Page 8: NO · 2016-08-08 · “การสอน ... กรอบการเรียนรู้ทรัพยากรกิจกรรมปกปักพันธุกรรมพืช

แนวทำงกำรขับเคลื่อนโครงกำรต่อไป ส.ป.ก. ได้ก�าหนดแนวทางการขับเคลื่อนโครงการ อพ.สธ.-ส.ป.ก. ในปีพ.ศ. ๒๕๕๙

ภายใต้กรอบแผนแม่บทระยะ ๕ ปีที่ ๕ (พ.ศ. ๒๕๕๔ - ๒๕๕๙) ใน ๔ กิจกรรม จ�านวน

๒๐๐โรงเรยีนได้แก่

๑) กจิกรรมปกปักพันธุกรรมพชื

๒) กจิกรรมอนุรักษ์และใช้ประโยชน์พันธุกรรมพชื

๓) กจิกรรมสร้างจติส�านกึในการอนุรักษ์พันธุกรรมพชื

๔) กจิกรรมพเิศษสนับสนุนการอนุรักษ์พันธุกรรมพชื

โดยบูรณาการความร่วมมือจาก องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ผู้น�าชุมชน ปราชญ์ชาวบ้าน

สถาบันการศึกษา และภาคีเครือข่ายอื่น ๆ ที่เกี่ยวข้อง เป็นกลไกในการขับเคลื่อนงาน ด�าเนินการ

สร้างจิตส�านึกในการอนุรักษ์พันธุกรรมพืชและทรัพยากรต่าง ๆ เช่น การจัดท�าสวนพฤกษศาสตร์

ในโรงเรยีนการจัดท�าแปลงเรยีนรู้พัฒนาโรงเรยีนต้นแบบการศกึษาดูงานโรงเรยีนต้นแบบอพ.สธ.

และร่วมจัดงานประชุมวิชาการและนิทรรศการโครงการอนุรักษ์พันธุกรรมพืชอันเนื่องมาจาก

พระราชด�าริ สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี (อพ.สธ.-ส.ป.ก.) ครั้งที่ ๘

ประจ�าปี พ.ศ. ๒๕๕๘ “ทรัพยากรไทย : หวนดูทรัพย์สิ่งสินตน” รวมทั้งสนับสนุนงานต่าง ๆ

ของอพ.สธ.

ทั้งนี้ ในป ี พ.ศ. ๒๕๕๙ ส.ป.ก. ได ้สนองงานเพิ่มเติมในโครงการเพิ่มศักยภาพ

ระบบงานเกษตรภายใต้แผนพัฒนาเด็กและเยาวชนในถิ่นทุรกันดาร ตามพระราชด�าริสมเด็จ-

พระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี จ�านวน ๔๐ โรงเรียน โดยการสนับสนุนส่งเสริม

ให้นักเรยีนปลูกผักปลอดภัยด้วยระบบโรงเรอืนกางมุ้ง

ส�าหรับแผนการด�าเนินงานต่อจากปี พ.ศ. ๒๕๕๙ นั้น จะด�าเนินการขับเคลื่อนโครงการ

อพ.สธ.-ส.ป.ก. ให้สอดคล้องกับกรอบแผนแม่บทในระยะต่อไป ซึ่งขณะนี้คณะกรรมการโครงการ

อนุรักษ์พันธุกรรมพืช อันเนื่องมาจากพระราชด�าริ สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี

อยู่ระหว่างด�าเนนิการร่างแผนแม่บทในระยะต่อไป

v

๑๒โครงการอันเนื่องมาจากพระราชด�าริ

สู่การพัฒนาอย่างยั่งยืน101