14
อาเซียนในมุมมองเชิงเปรียบเทียบกับสหภาพยุโรป คมสัน นวคุณสุชาติ 504 12055 24 ต้องหทัย ลิขิตวีระวงศ์ 504 12141 24 ปรีดิÍสุดา ปุโรทกานนท์ 504 12215 24 ในการศึกษาอาเซียนในเชิงเปรียบเทียบกับองค์การระหว่างประเทศระดับภูมิภาค (regional organization) อืÉน มักจะมีการศึกษาเปรียบเทียบกับสหภาพยุโรปซึÉงถือเป็นต้นแบบของการบูรณาการประเทศ ในภูมิภาคเดียวกันให้มีศักยภาพในนโยบายด้านต่างๆ ซึÉงเป็นการเพิÉมอํานาจต่อรองให้กับประเทศสมาชิก โดยเฉพาะประเทศขนาดเล็ก การทีÉริเริÉมก่อตัÊงอาเซียนก็เนืÉองมาจากแนวคิดภูมิภาคนิยมทีÉเกิดขึÊนในยุ โรป ตะวันตกซึÉงเริÉมแพร่หลายในทศวรรษ 1960 เพืÉอผลประโยชน์ทางเศรษฐกิจและความมัÉนคงร่วมกันในยุค สงครามเย็นทีÉประเทศในค่ายเสรีประชาธิปไตยหวาดระแวงภัยคุกคามจากประเทศคอมมิวนิสต์ ข้อเขียนฉบับนี Ê มุ่งเปรียบเทียบปัจจัยทีÉมีผลกระบวนการบูรณาการขององค์การระดับภูมิภาคนัÊน ไม่อาจหลีกเลีÉยงการกล่าวถึง การขยายสมาชิกภาพขององค์การ กลไกด้านสถาบันขององค์การ และปัจจัยทางวัฒนธรรมและการสร้างอัต ลักษณ์ เนืÉองจากปัจจัยทัÊงสามประการนี Êมีความสําคัญต่อความสําเร็จ ในการบรรลุพันธกิจขององค์การ ในทศวรรษ 1990 บริบททางการเมืองระหว่างประเทศเปลีÉยนแปลงไปหลังการล่มสลายของสหภาพโซเวียต ซึÉงเป็นผู้นําของค่ายคอมมิวนิสต์ แนวโน้มการเปลีÉยนแปลงทางการเมืองและเศรษฐกิจของประเทศคอมมิวนิสต์ หันมารับแนวคิดระบบเศรษฐกิจแบบตลาดหรือเสรีนิยม และระบอบการเมืองแบบประชาธิปไตย นีÉคือจุด เปลีÉยนทีÉสําคัญขององค์การระดับภูมิภาคทัÊงสหภาพยุโรปและอาเซียนในการปรับตัวให้เข้ากับบริบทของระบบ ระหว่างประเทศ โดยเฉพาะการรับสมาชิกจากประเทศอดีตคอมมิวนิสต์ นอกจากนีÊ ในแง่ของสถาบันทีÉเป็น กลไกขององค์การ อาเซียนและสหภาพยุโรปมีความแตกต่างกันโดยสิÊนเชิงในด้านนีÊ ความแตกต่างนีÊส่งผล อย่างยิÉงต่อความเข้มแข็งในการดําเนินนโยบายภายในอาเซียนและบทบาทของอาเซียนในเวทีระหว่างประเทศ ปัจจัยทีÉสําคัญอีกประการหนึÉงทีÉมีความสําคัญต่อการบูรณาการขององค์การ คือ ปัจจัยทางวัฒนธรรมและอัต ลักษณ์ร่วมของประเทศสมาชิก ซึÉงจะเห็นได้ว่า ความแตกต่างทางวัฒนธรรมและอัตลักษณ์ร่วมนัÊนเป็นปัจจัยทีÉ ส่งเสริมและอุปสรรคต่อองค์การในด้านต่างๆ

SEAFGNPOLI_ASEAN vs

  • Upload
    zee-zar

  • View
    157

  • Download
    3

Embed Size (px)

Citation preview

Page 1: SEAFGNPOLI_ASEAN vs

อาเซียนในมุมมองเชิงเปรียบเทียบกับสหภาพยุโรป

คมสัน นวคุณสุชาติ 504 12055 24

ต้องหทัย ลิขิตวีระวงศ์ 504 12141 24

ปรีดิ สุดา ปุโรทกานนท์ 504 12215 24

ในการศึกษาอาเซียนในเชิงเปรียบเทียบกับองค์การระหว่างประเทศระดับภูมิภาค (regional

organization) อืน มักจะมกีารศึกษาเปรียบเทียบกับสหภาพยุโรปซึงถือเป็นต้นแบบของการบูรณาการประเทศ

ในภูมิภาคเดียวกันให้มีศักยภาพในนโยบายด้านต่างๆ ซึงเป็นการเพิมอํานาจต่อรองให้กับประเทศสมาชิก

โดยเฉพาะประเทศขนาดเล็ก การทีริเริมก่อตั งอาเซียนก็เนืองมาจากแนวคิดภูมิภาคนิยมทีเกิดขึ นในยุโรป

ตะวันตกซึงเริมแพร่หลายในทศวรรษ 1960 เพือผลประโยชน์ทางเศรษฐกิจและความมันคงร่วมกันในยุค

สงครามเย็นทีประเทศในค่ายเสรีประชาธิปไตยหวาดระแวงภัยคุกคามจากประเทศคอมมิวนิสต ์ข้อเขียนฉบับนี

มุ่งเปรียบเทียบปัจจัยทีมีผลกระบวนการบูรณาการขององค์การระดับภูมิภาคนนั ไม่อาจหลีกเลียงการกล่าวถึง

การขยายสมาชิกภาพขององค์การ กลไกด้านสถาบันขององค์การ และปัจจัยทางวัฒนธรรมและการสร้างอัต

ลักษณ์ เนืองจากปัจจัยทั งสามประการนี มีความสําคัญต่อความสําเร็จในการบรรลุพันธกิจขององค์การ

ในทศวรรษ 1990 บริบททางการเมืองระหว่างประเทศเปลียนแปลงไปหลังการล่มสลายของสหภาพโซเวียต

ซึงเป็นผู ้นําของค่ายคอมมิวนิสต์ แนวโน้มการเปลียนแปลงทางการเมืองและเศรษฐกิจของประเทศคอมมิวนิสต์

หันมารับแนวคิดระบบเศรษฐกิจแบบตลาดหรือเสรีนิยม และระบอบการเมืองแบบประชาธิปไตย นีคือจุด

เปลียนทีสําคัญขององค์การระดับภูมิภาคทงัสหภาพยุโรปและอาเซียนในการปรับตัวให้เข้ากับบริบทของระบบ

ระหว่างประเทศ โดยเฉพาะการรับสมาชิกจากประเทศอดีตคอมมิวนิสต์ นอกจากนี ในแง่ของสถาบันทีเป็น

กลไกขององค์การ อาเซียนและสหภาพยุโรปมีความแตกต่างกันโดยสิ นเชิงในด้านนี ความแตกต่างนี ส่งผล

อย่างยิงต่อความเข้มแข็งในการดําเนินนโยบายภายในอาเซียนและบทบาทของอาเซียนในเวทีระหว่างประเทศ

ปัจจัยทีสําคัญอีกประการหนึงทีมีความสําคัญต่อการบูรณาการขององค์การ คือ ปัจจัยทางวัฒนธรรมและอัต

ลักษณ์ร่วมของประเทศสมาชิก ซึงจะเห็นได้ว่า ความแตกต่างทางวัฒนธรรมและอัตลักษณ์ร่วมนั นเป็นปัจจัยที

ส่งเสริมและอุปสรรคต่อองค์การในด้านต่างๆ

Page 2: SEAFGNPOLI_ASEAN vs

การขยายสมาชิกภาพขององค์การ (Enlargement)

เมือแรกก่อตั งในปี ค.ศ. 1967 สมาคมอาเซียนมีสมาชิกก่อตั งจํานวน 5 ประเทศ ได้แก่ ไทย ฟิลิปปินส์

อินโดนีเซีย มาเลเซีย และสิงคโปร์ ต่อมาบรูไนได้เข้าเป็นสมาชิกในปี ค.ศ. 1984 กําเนิดของอาเซียนนั นเกิดขึ น

ภายใต้แรงผลักดันจากสหรัฐอเมริกาส่วนหนึง1 และอีกส่วนหนึงเป็นความพยายามบูรณาการความร่วมมือ

ระหว่างประเทศสมาชิกมาอยู่ทีองค์การระหว่างประเทศในระดับภูมิภาค2 ด้วยเหตุผลด้านความมันคงและ

เศรษฐกิจ กล่าวคือ เพือต้องการสกัดกั นการขยายตัวของลัทธิคอมมิวนิสต์ตามทฤษฎีโดมิโน และการรวมตัวกัน

ทางเศรษฐกิจจะช่วยเพิมอํานาจต่อรองทั งในทางการเมืองและเศรษฐกิจในเวทีโลก3 ในเวลาต่อมาเมือ

สภาพแวดล้อมทางการเมืองระหว่างประเทศในภูมิภาคเปลียนไปหลังสงครามเย็นสิ นสุดลง จึงมีความพยายาม

ดึงประเทศทีตั งอยู่ในภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้อีก 4 ประเทศให้เข้ามาเป็นสมาชิกอาเซียน โดยมิได้มี

เกณฑ์การรับสมาชิก (membership criteria) ทีกําหนดคุณสมบัติของประเทศทีสมัครเข้าเป็นสมาชิก เพือให้

เกิดการปรับตัวในด้านเศรษฐกิจ การเมือง และเตรียมพร้อมทางด้านสังคมก่อนการเข้ามาเป็นส่วนหนึงของ

องค์กร ดังเช่นทีใช้ในสหภาพยุโรป หากแต่มีเพียงข้อกําหนดว่าประเทศสมาชิกอาเซียนจะต้องทีตั งในภูมิภาค

เอเชียตะวันออกเฉียงใต้และยอมรับหลักการของอาเซียน4

ในปัจจุบันคงปฏิเสธไม่ได้ว่า การบูรณาการของภูมิภาคต่างๆ ล้วนมีเหตุผลทางด้านเศรษฐกิจเป็นหลัก

เมือเปรียบเทียบกฎเกณฑ์การรับสมาชิกของทั งสององค์การระหว่างประเทศในระดับภูมิภาค จะเห็นได้ว่า

1 กุลลดา เกษบุญชู มี ด เสนอว่า สหรัฐฯไม่ต้องการให้คนทัวไปรับรู้ ว่า องค์การความร่วมมือทีเกิดขึ นมาจากการริเริมของตน จึงกําหนดให้ถนัด

มารับบทบาทนี ร่วมกับผู ้ นําคนอืนในภูมิภาคเพือจัดตั งองค์การอาเซียน (ASEAN) ขึ น เพือให้ดูเสมือนว่าเป็นความคิดริเริมของผู ้ นําในภูมิภาค

เอเชียตะวันออกเฉียงใต้ และอาเซียนในฐานะองค์กรความร่วมมือทางเศรษบกิจจะทําหน้าทีเป็นกลไกตอบสนองกลุม่ทุนจากสหรัฐอเมริกาและ

ญีปุ ่ น อ้างใน กุลลดา เกษบุญชู มี ด, การเมืองไทยในยุคสฤษด-ิถนอม ภายใต้โครงสร้างอํานาจโลก (เอกสารยังไม่ตีพิมพ์), 148-152. 2 ก่อนการก่อตั งอาเซียน ในภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้มีความพยายามของประเทศต่างๆ ในการบูรณาการภูมิภาคเข้าด้วยกัน เช่น

เวียดนามพยายามผนวกลาวกับกัมพูชาเข้าเป็น “สหพันธรัฐอินโดจีน” ฟิลิปปินส์ริเริมความคิด “กลุ่มประเทศมาฟิลินโด” (MAPHILINDO)

นอกจากนี ยังมีองค์การระหว่างประเทศในยุคก่อนกําเนิดอาเซียน ได้แก่ องค์การสนธิสัญญาป้องกันเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ (SEATO หรือ

สปอ.) ซึงเป็นความร่วมมือกับประเทศนอกภูมิภาคในด้านความมันคง และสมาคมอาสา (ASA) อ้างใน พิษณุ สุวรรณะชฏ, สามทศวรรษ

อาเซียน (กรุงเทพฯ: สํานักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัยและมูลนิธิโครงการตําราสังคมศาสตร์และมนุษยศาสตร์, 2540), 31-40. 3 วินิตา ศุกรเสพย์, อาเซียนในความสัมพันธ์ระหว่างประเทศ ชุดที 1 เล่มที 1 (กรุงเทพฯ: สถาบันศึกษาความมันคงและนานาชาติ

จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2527), 167-169., ทีระลึกครบรอบ 20 ปี การจัดตั งสมาคมประชาชาติแห่งเอเซียตะวันออกเฉียงใต้ 8

สิงหาคม 2530 (กรุงเทพฯ: กรมอาเซียน กระทรวงการต่างประเทศ, 2530), 14-20 4 คําประกาศประการทีสีของปฏิญญาสมาคมประชาชาติแห่งเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ (ปฏิญญากรุงเทพฯ) 8 สิงหาคม 2510 ระบุไว้ว่า “สมาคม

จะเปิดให้รัฐทั งมวลในภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ซึงยอมรับจุดหมาย หลักการและความมุ่งประสงค์ [ของอาเซียน] เข้าร่วมด้วย” อ้างใน

ปราณี ทิพยรัตน์ (บก.), อาเซียนในสหัสวรรษใหม่ (กรุงเทพฯ: สถาบันศึกษาความมันคงและนานาชาติ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2527), 269.

Page 3: SEAFGNPOLI_ASEAN vs

สหภาพยุโรปมีกฎเกณฑ์มากมายทีจะคัดกรองประเทศทีจะกลายมาเป็นสมาชิกขององค์การ โดยไม่รีบเร่ง

แม้ว่าการรับสมาชิกเพิมจะเป็นความต้องการจากสมาชิกเดิมก็ตาม5 เพือให้แน่ใจได้ว่า ประเทศสมาชิกจะเข้า

มาเป็นส่วนหนึงของสหภาพยุโรปอย่างเป็นเนื อเดียวกันโดยไม่มีความเหลือมลํ าทางเศรษฐกิจและสังคมทีมาก

เกินไปซึงอาจส่งผลให้เกิดการละเมิดข้อตกลงและสนธิสัญญาต่างๆ ทีได้ให้สัตยาบันไว้กับสหภาพยุโรป

เพือป้องกันปัญหาดังกล่าว สหภาพยุโรปได้กําหนดกฎเกณฑ์ทีประเทศสมาชิกใหม่จะต้องสามารถยอมรับและ

นําไปปฏิบัติได้ตามมาตรฐานและบรรทัดฐานของสหภาพยุโรป และทีสําคัญ ประเทศทีสมัครเข้าเป็นสมาชิก

ของสหภาพยุโรปจะต้องผ่านเกณฑ์การรับสมาชิกทั งหมด6 โดยเริมจากการกําหนดกรอบแนวทางของสหภาพ

ยุโรปในการเจรจาเข้าร่วมเป็นสมาชิก (accession negotiation) โดยทีกรอบนี จะเป็นตัวบ่งชี การปรับตัวและ

การปฏิรูปทีประเทศทีสมัครสมาชิกต้องปฏิบัติตาม และจะต้องยอมรับกฎเกณฑ์ (acquis) ทั งหลายของ

สหภาพยุโรปโดยไม่สามารถต่อรองได้ และกฎเกณฑ์ต่างๆ นี มีรายละเอียดมากถึง 35 หมวด7 อย่างไรก็ตาม

สหภาพยุโรปมิได้เรียกร้องด้วยข้อกําหนดต่างๆ มากมายเพียงอย่างเดียว ในทางกลับกัน ประเทศทีสมัคร

สมาชิกจะต้องเสนอแผนการปรับตัวของประเทศ (action plan) ให้เข้ากับเกณฑ์ทีกําหนดไว้ และยังสามารถ

ขอรับความช่วยเหลือทั งทางด้านการเงินและด้านเทคนิค8 เพือการพัฒนาประเทศให้เข้าเกณฑ์ทีจะสามารถเป็น

สมาชิกสหภาพยุโรปเป็นไปอย่างรวดเร็วมากขึ นกว่าการทีจะพึงพาศักยภาพภายในประเทศเพียงอย่างเดียว ใน

กรณีของประเทศทียังไม่มีความพร้อม ดังเช่นการสมัครเข้าเป็นสมาชิกสหภาพยุโรปของประเทศในยุโรป

ตอนกลางและยุโรปตะวันออก ในทศวรรษ 1990 หลังการล่มสลายของสหภาพโซเวียต แม้ว่าประเทศเหล่านี จะ

5 วิมลวรรณ ภัทโรดม, สหภาพยุโรป (กรุงเทพฯ: ศูนย์ยุโรปศึกษา จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย), 38-49. 6 “The process of Enlargement,” European Commission: Enlargement available from http://ec.europa.eu/enlargement/the-

policy/process-of-enlargement/index_en.htm accessed 6 March 2010 7 ได้แก่ การเคลือนย้ายของสินค้าโดยเสรี เสรีภาพในการเคลือนย้ายของแรงงาน สิทธิในการริเริมและเสรีภาพในกิจการบริการต่างๆ การ

เคลือนย้ายของทุนโดยเสรี การจัดซื อจัดจ้างของภาครัฐ กฎหมายธุรกิจ กฎหมายทรัพย์สินทางปัญญา นโยบายเกียวกับการแข่งขันใน

ตลาด บริการทางการเงิน สังคมข้อมูลข่าวสารและสือ การเกษตรกรรม นโยบายเกียวกับความปลอดภัยของอาหารรวมทั งสุขอนามัยของ

พืชและสัตว์ การประมง การคมนาคมขนส่ง พลังงาน การเก็บภาษี นโยบายด้านเศรษฐกิจและการเงิน สถิติ นโยบายทางสังคมและการ

จ้างงาน นโยบายด้านวิสาหกิจและอุตสาหกรรม เครือข่ายทัวยุโรป นโยบายเกียวกับภูมิภาคยุโรปและการประสานกับโครงสร้างต่างๆ

ระบบศาสยุติธรรมและสิทธิขั นพื นฐาน ความเป็นธรรม-เสรีภาพ-ความมันคง วิทยาศาสตร์และงานวิจัย การศึกษาและวัฒนธรรม

สิงแวดล้อม การคุ ้มครองผู ้บริโภคและสุขภาพ สหภาพศุลกากร ความสัมพันธ์กับภายนอก นโยบายด้านการต่างประเทศ-ความมันคง-

การป้องกันประเทศ การปริวรรตเงินตรา บทบัญญัติทางด้านการเงินและงบประมาณ สถาบันต่างๆ และประเด็นอืนๆ อ้างใน “The

mandate and the framework,” European Commission: Enlargement available from http://ec.europa.eu/enlargement/the-

policy/process-of-enlargement/mandate-and-framework_en.htm accessed 6 March 2010 8 “How does it work?,” European Commission: Enlargement available from http://ec.europa.eu/enlargement/how-does-it-

work/index_en.htm accessed 6 March 2010

Page 4: SEAFGNPOLI_ASEAN vs

มีอุตสาหกรรมทีก้าวหน้าพอสมควร แต่ก็มีการเลือนเวลาการรับประเทศเหล่านี เข้าเป็นสมาชิกเนืองจาก

ประเทศสมาชิกเดิมเห็นว่าความกลมกลืนกับประเทศอืนตามทีสหภาพยุโรปต้องการยังไม่มากพอ9

ส่วนในกรณีของอาเซียนนั น ดังทีได้กล่าวไปแล้วว่า กฎเกณฑ์การรับสมาชิกใหม่ของอาเซียนกําหนด

คุณสมบัติไว้เพียงแค่การเป็นประเทศทีตั งอยู่ในภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ซึงยอมรับหลักการของอาเซียน

ซึงเป็นหลักการกว้างๆ ดังนั น การขยายจํานวนสมาชิกของอาเซียนในช่วงครึงหลังของทศวรรษ 199010 จึงไม่

ค่อยมีข้อจํากัดมากนัก เพียงแค่อาศัยความยินยอมจากประเทศสมาชิกเดิมทั ง 6 ประเทศเท่านั น การรับสมาชิก

ใหม่ทั ง 4 ประเทศซึงได้แก่ เวียดนาม ลาว พม่า และกัมพูชา จึงเป็นไปได้อย่างง่ายกว่าการรับสมาชิกของ

สหภาพยุโรปอย่างมาก เนืองจากประเทศสมาชิกเดิม 6 ประเทศเห็นข้อดีของการรับประเทศในภูมิภาคอีก 4

ประเทศเข้าเป็นสมาชิกอาเซียนเพือให้เป็นแหล่งทรัพยากรทียังไม่ถูกใช้ไปมากนักในระหว่างช่วงสงครามเย็น

สําหรับการผลิตสินค้าอุตสาหกรรมและเกษตรกรรมควบคู่ไปกับการขยายตลาด ยิงไปกว่านั น การขยายตัวของ

ฐานการผลิตและตลาดทีใหญ่ขึ นยังช่วยเพิมอํานาจต่อรองในเวทีระหว่างประเทศอีกด้วย โดยเฉพาะในประเด็น

ด้านเศรษฐกิจ ทว่า ทั งสีประเทศนี ยังคงต้องมีการพัฒนาเศรษฐกิจอีกมากจึงจะทัดเทียมกับระดับการพัฒนา

ทางเศรษฐกิจของประเทศสมาชิกเดิม ทําให้ทั งสีประเทศต้องพึงพาความช่วยเหลือจากประเทศต่างๆ ทั งในและ

นอกอาเซียนรวมถึงองค์กรโลกบาลด้วย สําหรับประเทศทีสมัครตั งความหวังไว้กับการเข้าร่วมเป็นสมาชิก

อาเซียนว่าจะช่วยยกระดับทางเศรษฐกิจให้แก่ประเทศนั น ซึงหมายรวมถึงการสร้างความเชือมันต่อนักลงทุนใน

ประเทศนั นๆ และอาเซียนยังเป็นประตูเศรษฐกิจทีจะเปิดออกไปสู่เศรษฐกิจระดับโลก11 จะเห็นได้ว่า ทางฝ่าย

สมาชิกเดิมก็ต้องการให้สีประเทศนี เข้าเป็นสมาชิกสอดรับกับความต้องการของทางสีประเทศทีต้องการได้รับ

ผลประโยชน์จากการเป็นสมาชิก แต่ปัญหาอยู่ตรงทีความเหลือมลํ าซึงทั งสมาชิกเก่าและสมาชิกใหม่เห็นว่า

สามารถปรับตัวได้หลังจากการเข้าเป็นสมาชิกแล้ว

นอกจากการพิจารณากฎเกณฑ์และนโยบายทางด้านเศรษฐกิจและสังคมของประเทศทีสมัครสมาชิกแล้ว

สหภาพยุโรปยังให้ความสําคัญกับระบอบการเมืองของประเทศทีสมัครสมาชิกอีกด้วย ตามทีระบุไว้ในแผนการ

9 Rolf J. Langhammer, European Union Enlargement: Lessons for ASEAN in eds. Carolyn L. Gates and Mya Than, ASEAN

Enlargement: Impacts and Implications (Singapore: Institute of Southeast Asian Studies, 2001), pp. 102-125, 10 เวียดนาม ในเข้าร่วมเป็นสมาชิกประเทศทีเจ็ด ในวันที 28 กรกฎาคม พ.ศ. 2538 ลาวและพม่า ได้เข้าร่วมเป็นสมาชิกประเทศทีแปด

และเก้าตามลําดับ ในวันที 23 กรกฎาคม พ.ศ. 2540 ส่วนกัมพูชามีความประสงค์ทีจะเข้าร่วมเป็นสมาชิก แต่ถูกเลือนเวลาออกไป

เนืองจากปัญหาความขัดแย้งทางการเมืองภายในประเทศ จนกระทังในวันที 30 เมษายน พ.ศ. 2542 กัมพูชาได้เข้าร่วมเป็นสมาชิก

ประเทศทีสิบ ภายหลังจากรัฐบาลของประเทศมีความมันคง 11 สุริชัย หวันแก้ว และ อุกฤษฎ์ ปัทมานนท์ (บก.), อาเซียน: สิงท้าทายใหม่และการปรับตัว (กรุงเทพฯ: สถาบันเอเชียศึกษา

จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2548), 236-241.

Page 5: SEAFGNPOLI_ASEAN vs

ฟูเชต์ เมือ ค.ศ.1961-1962 ว่า การเข้าเป็นสมาชิกของสหภาพยุโรปนั น ประเทศสมาชิกจะต้องมีทั งสิทธิและ

หน้าทีทางด้านการเมืองควบคู่กันไปอย่างหลีกเลียงไม่ได้ และการบูรณาการทางเศรษฐกิจของประเทศสมาชิก

จะต้องดําเนินการเพือบรรลุจุดหมายปลายทางด้านการเมือง การทีประเทศทีสมัครเข้าเป็นภาคีสมาชิกของ

สหภาพยุโรปไม่ได้ปกครองด้วยระบอบประชาธิปไตยหรือเปลียนแปลงการปกครองมาใช้ระบอบประชาธิปไตย

ได้ไม่นานจะทําให้ประเทศสมาชิกเดิมรั งรอทีจะรับประเทศนั นเข้าเป็นสมาชิก ดังเช่นกรณีของกรีซ12 และ

ประเทศในยุโรปตอนกลางและยุโรปตะวันตกซึงเคยเป็นประเทศคอมมิวนิสต์มาก่อนดังทีได้กล่าวไปแล้ว

อีกนัยหนึง การทีสหภาพยุโรปต้องการให้ประเทศสมาชิกทั งหมดยึดมันในระบอบประชาธิปไตยนั น เนืองจาก

ผู ้นําในระบอบเผด็จการเป็นสัญลักษณ์ของความไม่แน่นอนและไม่มีเครืองประกันใดทีจะรับรองว่าประเทศทีมี

ผู ้ นําเผด็จการนั นจะไม่ละเมิดข้อตกลง สนธิสัญญา และกฎหมายระหว่างประเทศ ซึงจะก่อให้เกิดความ

เสียหายกับสหภาพยุโรปโดยรวม

ขณะทีปัญหาของอาเซียน คือ ระบอบการเมืองของประเทศทีเข้าเป็นสมาชิกใหม่ยังไม่เป็นระบอบ

ประชาธิปไตย กล่าวคือ เวียดนามและลาวเป็นประเทศคอมมิวนิสต์ทีสามารถปรับตัวทางเศรษฐกิจเข้ากับ

ระบบทุนนิยมซึงคล้ายคลึงกับจีน กัมพูชากลายเป็นประเทศประชาธิปไตย แต่ทว่าทั งสามประเทศนียังมี

ลักษณะการปกครองแบบเผด็จการ ส่วนพม่านั นยังคงเป็นประเทศเผด็จการทหารเต็มรูปแบบ ระบอบการเมือง

ทีไม่เป็นประชาธิปไตยของทั งสีประเทศนี กลายเป็นปัญหาเมือมีข้อตกลงต่างๆ โดยเฉพาะในประเด็นทีเกียวข้อง

กับคุณค่าด้านประชาธิปไตย เช่น การกอ่ตั งกลไกของอาเซียนด้านสิทธิมนุษยชน ประเทศเหล่านี ก็พยายามทํา

ให้กลไกนี ไม่มีประสิทธิภาพทีจะมาบังคับใช้เหนือรัฐต่างๆ เนืองจากเป็นการขัดแย้งกับอํานาจของรัฐบาลทีมัก

ปราบปรามศัตรูทางการเมือง อย่างเช่นรัฐบาลทหารพม่า ในกรณีนี ประเทศสมาชิกอาเซียนต้องประนีประนอม

กนัด้วยการสร้างกรอบกว้างๆ เกียวกับสิทธิมนุษยชน13

ก่อนทีจะรับประเทศทั งสีเข้าเป็นสมาชิกใหม่ สมาชิกอาเซียนทั งหกประเทศต่างกังวลว่า จะเกิดการ

แยกตัวของประเทศสมาชิกของอาเซียนเป็น 2 กลุ่ม (two-tier group or dual-track system) เนืองจากความ

12 กรีซมีสถานภาพเป็นสมาชิกสมทบของประชาคมยุโรป (ชือของสหภาพยุโรปในขณะนั น) ตั งแต่ ค.ศ. 1962 และยืมความจํานงเป็น

สมาชิกสามัญ ในปี 1975 แต่เนืองด้วยในปี 1973 กรีซเปลียนแปลงการปกครองจากระบอบราชาธิปไตยเป็นระบอบเผด็จการ แม้ว่า

ขณะทีสมัครเป็นสมาชิกสามัญ กรีซจะปกครองด้วยรัฐบาลพลเรือนทีมาจากการเลือกตั งแล้วก็ตาม แต่ประชาคมยุโรปก็พิจารณาการรับ

กรีซเข้าเป็นสมาชิกอย่างรอบคอบ กระทังปี 1979 จึงจะรับกรีซเข้าเป็นสมาชิก อ้างใน อรณี นวลสุวรรณ์, พัฒนาการของประชาคม

ยุโรปตั งแต่ ค.ศ. 1980 สู ่สหภาพยุโรป (กรุงเทพฯ: สํานักพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2543), 214-215. 13 เอกชัย ปินแก้ว, ความร่วมมือด้านสิทธิมนุษยชนในอาเซียน เข้าถึงได้จาก http://www.oknation.net/blog/print.php?id=184002

วันทีค้นข้อมูล 10 มีนาคม 2553.

Page 6: SEAFGNPOLI_ASEAN vs

แตกต่างทางด้านเศรษฐกิจและระบอบการเมืองระหว่างสมาชิกใหม่และสมาชิกเก่า14 ประเด็นเรืองเศรษฐกิจ

นับว่ามีความสําคัญยิง การแก้ปัญหาของประเทศสมาชิกเดิมซึงมีการพัฒนาทางเศรษฐกิจมากกว่าประเทศที

กําลังจะสมัครเป็นสมาชิก คือ การเข้าไปช่วยเหลือให้สมาชิกใหม่สามารถเร่งปรับเปลียนโครงสร้างทาง

เศรษฐกิจและเป็นไปตามระบบตลาดให้เร็วทีสุด สําหรับทางด้านการเมืองนั น แม้ว่าสมาชิกอาเซียนจะ

สนับสนุนระบอบประชาธิปไตย แต่เนืองจากหลักการไม่แทรกแซงกิจการภายในซึงกันและกันซึงบัญญัติไว้ใน

สนธิสัญญามิตรภาพและความร่วมมือในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ตั งแต่ ค.ศ. 197115 ทําให้อาเซียนได้แต่

ประกาศว่าสนับสนุนให้ประเทศทียังไม่เป็นประชาธิปไตยหันมาใช้ระบอบประชาธิปไตยในการปกครองเท่านั น

มิได้มีบทบาทในการบังคับให้เกิดขึ นจริง หากเราพิจารณาเปรียบเทียบการขยายจํานวนสมาชิกของอาเซียนกับ

สหภาพยุโรปนั นจะเห็นข้อแตกต่างทีชัดเจนทีสุด คือ กฎเกณฑ์การรับสมาชิกใหม่ซึงสหภาพยุโรปมีความ

เข้มงวดมากในเรืองนี ส่วนอาเซียนนั นพิจารณาจากความเหมาะสมโดยไม่มีหลักเกณฑ์มากกว่าทีจะพิจารณา

ปัจจัยแวดล้อมทั งในขณะนั นและอนาคตเมือประเทศทีสมัครเข้าองค์การเป็นสมาชิกแล้ว และสิงทีสําคัญทีสุด

คือ อาเซียนไม่มีความรั งรอทีจะพิจารณาประเทศทีสมัครสมาชิกอย่างรอบด้านแล้ว เพียงแค่พิจารณา

ผลประโยชน์ทีเห็นได้ในมุมมองแคบเพียงแค่ด้านเศรษฐกิจ ซึงสะท้อนให้เห็นว่าการเมืองในอาเซียนเป็นเพียง

เรืองของชนชั นนําของประเทศสมาชิกทีไม่ได้สนใจผลกระทบทีจะตามมาต่อประชาชนทั งในประเทศสมาชิกเดิม

และประเทศสมาชิกใหม ่

กลไกด้านสถาบัน

ในการศึกษาเปรียบเทียบอาเซียนกับสหภาพยุโรป ส่วนสําคัญทีควรพิจารณาถึงอีกส่วนหนึงคือ

การศึกษาเปรียบเทียบในเชิงสถาบันระหว่างการรวมกลุ่มในภูมิภาคทั งสอง ทั งในด้านของความคล้ายคลึงกัน

ซึงส่วนหนึงเกิดจากการออกแบบสถาบนัของอาเซียนทีพยายามเดินตามตัวแบบของสหภาพยุโรป และในด้าน

ของความแตกต่างอันเนืองมาจากปัจจัยทางด้านประวัติศาสตร์ สังคม วัฒนธรรม เศรษฐกิจและการเมือง ซึง

ส่งผลให้สถาบันของอาเซียนและสหภาพยุโรปเป็นดังเช่นในปัจจุบัน และความคาดหวังสําหรับการ

เปลียนแปลงในเชิงโครงสร้างต่อไปในอนาคต

14Carolyn L. Gates and Mya Than, ASEAN Enlargement: An Introductory Overview in eds. Carolyn L. Gates and Mya Than,

ASEAN Enlargement: Impacts and Implications (Singapore: Institute of Southeast Asian Studies, 2001), pp. 1-4, Montree

Wiwasukh, ASEAN and Regionalism: 1991-2005, วารสารวิชาการราชภัฎตะวันตก, ปีที 3 ฉบับที 1, 5-18. 15 วินิตา ศุกรเสพย์, อาเซียนในความสัมพันธ์ระหว่างประเทศ ชุดที 1 เล่มที 1 (กรุงเทพฯ: สถาบนัศึกษาความมันคงและนานาชาติ

จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2527), 182-183

Page 7: SEAFGNPOLI_ASEAN vs

สําหรับสหภาพยุโรป ตั งแต่จุดเริมต้นในฐานะประชาคมด้านเศรษฐกิจของยุโรปในสมัยทศวรรษ 1950

จนถึงการขยายตัวทั งด้านจํานวนประเทศสมาชิกและขอบเขตการทํางานทีครอบคลุมทั งด้านเศรษฐกิจ

การเมือง ความสัมพันธ์ระหว่างประเทศ ความมันคง ตลอดจนการศาลและงานด้านยตุิธรรม การรวมตัวกันของ

กลุ่มประเทศในทวีปยุโรปนี เกิดขึ นได้โดยอาศัยการจัดตั งสถาบันเป็นเครืองมือสําคัญทีช่วยในการบูรณาการ

ของสหภาพยุโรป แตกต่างอยา่งสังเกตได้กับอาเซียนทีเริมแรกของการก่อร่างสร้างตัวในช่วงทศวรรษ 1960 ใน

รูปของแถลงการณ์ทีเรียกว่า “ปฏิญญากรุงเทพ” (Bangkok Declaration) ซึงมิได้มีผลบังคับใช้ผูกพันเหมือน

บรรดาสนธิสัญญาของสหภาพยุโรป หรืออีกนัยหนึง การบูรณาการของอาเซียนนั นเป็นการรวมตัวกันอย่าง

หลวมๆ อาเซียนต้องรอจนถึงทศวรรษ 2000 ทีความต้องการในการมีหลักยึดทีมันคงขึ นของชาติสมาชิกแสดง

ออกมาในรูปของกฎบัตรอาเซียน (ASEAN Charter) ทีจะส่งผลให้อาเซียนมีสถานภาพทางกฎหมายระหว่าง

ประเทศ และระบุถึงเป้าหมายการรวมตัวเป็นประชาคมอาเซียนใน 3 ด้านทีถูกกําหนดให้เป็น 3 เสาหลักของ

อาเซียนในปัจจุบันอันได้แก่ (1) การเมือง-ความมันคง (2) เศรษฐกิจ และ (3) สังคม-วัฒนธรรม16

สามเสาหลักของอาเซียนเมือเทียบกับสามเสาหลักของสหภาพยุโรปทีประกอบด้วย (1) ประชาคมยุโรป

(European Communities) ทีครอบคลุมด้านเศรษฐกิจ การสาธารณสุข สังคมวัฒนธรรม และการผ่านแดน

(2) นโยบายร่วมด้านการต่างประเทศและความมันคง (Common Foreign and Security Policy – CFSP) และ

(3) ความร่วมมือด้านตํารวจและกระบวนการยุติธรรมในคดีอาชญากรรม (Police and Judicial Cooperation

in Criminal Matters – PJCC)17 จะสังเกตได้ว่า มีความแตกต่างกันในประเด็นใหญ่ คือ ประชาคมอาเซียนไม่มี

นโยบายต่างประเทศร่วมกันและความร่วมมือด้านตํารวจและศาลเกียวกับอาชญากรรม อันเนืองมาจากสาเหตุ

หลักสองประการ ได้แก่ ประการแรก อาเซียนไม่มข้ีอกฎหมายทีบังคับมีผลผูกพันต่อกฎหมายภายในประเทศ

สมาชิกทีจะต้องอนุวัตรตาม อันเป็นผลต่อเนืองมาจากเหตุผลประการทีสอง ประเทศสมาชิกของสหภาพยุโรป

ยินยอมให้สถาบันของสหภาพยุโรปบางสถาบันมอํีานาจในระดับเหนือรัฐชาติได้

อํานาจในระดับเหนือรัฐชาติ (Supranational authority) เป็นเงือนไขสําคัญทีทําให้การบูรณาการ

สหภาพยุโรปเกิดขึ นในลักษณะทีแตกต่างจากการรวมกลุ่มระดับภูมิภาคขององค์การอืน เนืองจากการมีสถาบันที

สามารถมีอํานาจเหนือรัฐบาลของประเทศสมาชิกซึงสามารถตัดสินใจและดําเนินการในนามของและเพือ

ผลประโยชน์แห่งสหภาพยุโรปโดยรวม ทําให้สหภาพยุโรปก้าวนําหน้าไปยังระดับขั นการบูรณาการทีองค์การอืนยัง

มิอาจไปถึง สถาบันทีมีการใช้อํานาจลักษณะนี ได้แก่ (1) คณะกรรมาธิการยุโรป (European Commission) ซึง

16 Towards realizing an ASEAN community: brief report on the ASEAN Community, (Singapore: Institute of Southeast

Asian Studies, 2004), p.5 17 Mario Telo, European Union and New regionalism (Aldershot : Ashgate, 2001), p.116

Page 8: SEAFGNPOLI_ASEAN vs

เป็นฝ่ายบริหารและดูแลสนธิสัญญาต่าง ๆ(2) สภายุโรป (European Parliament) ซึงถือเป็นฝ่ายนิติบัญญัติ

และดูแลงบประมาณร่วมกันคณะมนตรีแห่งสหภาพยุโรป (Council of the European Union) และ (3) ศาลยุติธรรม

ยุโรป (European Court of Justice) มีอํานาจตีความกฎหมายและสนธิสัญญาของสหภาพยุโรป18

การทีสถาบันเหล่านี สามารถใช้อํานาจเหนือรัฐได้ ก่อนอืนรัฐสมาชิกต้องให้ความยินยอมผ่านการให้สัตยาบัน

สนธิสัญญาทีว่าด้วยข้อตกลงนี นอกจากนั นการคัดเลือกผู ้มีอํานาจตัดสินใจในแต่ละสถาบันใช้วิธีเลือกตั งทัวไป

เพือให้มันใจว่าพวกเขาจะตัดสินใจเพือผลประโยชน์แห่งสหภาพยุโรปไม่ใช่ของประเทศทีเขาถือสัญชาติอยู ่

ประเด็นเหล่านีของสหภาพยุโรปเป็นสิงทีแตกต่างจากอาเซียนอย่างมาก เนืองด้วยอาเซียนนั นมีลักษณะการใช้

อํานาจในระดับระหว่างประเทศ (intergovernmentalism) เท่านั น นันหมายความว่า รัฐบาลของชาติสมาชิก

คือ ผู ้มีอํานาจในการตัดสินใจหลัก ยิงไปกว่านั น อาเซียนยังใช้หลักฉันทามติในการตัดสินใจในหลายประเด็น

ทําให้การบรรลุถึงเป้าหมายของนโยบายเป็นแบบค่อยเป็นค่อยไป รวมทั งแนวทางการไม่แทรกแซงกิจการ

ภายในของอาเซียน แต่ละรัฐบาลตัดสินใจบนฐานของผลประโยชน์แหง่ชาติ ด้วยโครงสร้างด้านสถาบันทําให้

อํานาจการตัดสินใจไม่ได้เข้าถึงภาคประชาชนแต่กระจุกตัวอยู่ในกลุ่มผู ้นําประเทศ นอกจากนี ในด้านการศาล

อาเซียนก็ยังไมม่ีศาลระหว่างประเทศสําหรับตีความกฎหมาย

ด้านสถาบันทางเศรษฐกิจแม้ว่าดูจะเป็นประเด็นทีมีความคล้ายคลึงมากทีสุดระหว่างอาเซียนกับ

สหภาพยุโรป และอาเซียนเองเพิงประสบความสําเร็จในการลดภาษีสินค้าระหว่างกันได้ในทีสุดแม้ว่าจะยังไม่

ครบทุกรายการและทุกประเทศก็ตาม แต่สําหรับในเวทีการเจรจาการค้าระหว่างประเทศก็ยังคงเป็นเรืองยากที

จะมีการต่อรองทางเศรษฐกิจในฐานะอาเซียนเพือผลประโยชน์ส่วนรวมของภูมิภาค แม้ว่าอาจจะยังมีผู ้แทน

จากแต่ละประเทศเข้าร่วมด้วย ดังทีสหภาพยุโรปสามารถทําได้ในองค์การการค้าโลก คือ การรวมตัวเรียกร้อง

ผลประโยชน์ในนามสหภาพยุโรปพร้อมกับผู ้ แทนของแต่ละประเทศทีเข้าร่วมการเจรจาในประเด็นอืน

นอกเหนือจากทีตกลงกันโดยรวม19 อาเซียนกลับมีผลประโยชน์ทางเศรษฐกิจทีซับซ้อนเนืองด้วยประเทศ

สมาชิกมีความสัมพันธ์กับองค์การระหว่างประเทศหรือประเทศนอกอาเซียนทั งในระดับทวิภาคีและพหุภาคี

เช่น ไทยอาจเจรจาเปิดเขตการค้าเสรีกับจีน แยกออกจากการทีอาเซียนเจรจาในเรืองเดียวกัน หรือการที

ประเทศหนึงเป็นสมาชิกขององค์การระหว่างประเทศทางเศรษฐกิจหลายองค์การ ซึงอาจเรียกว่าพันธมิตรทาง

การค้า ทําให้ไม่สามารถแยกผลประโยชน์สําหรับแต่ละการรวมกลุ่มออกจากกันได้โดยง่าย20 ต่างจากสหภาพ

18 วิมลวรรณ ภัทโรดม, สหภาพยุโรป (กรุงเทพฯ: ศูนย์ยุโรปศึกษา จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย), 101-163. 19 Ibid p.124 20 Towards realizing an ASEAN community: brief report on the ASEAN Community, (Singapore: Institute of Southeast

Asian Studies, 2004), p.5-7

Page 9: SEAFGNPOLI_ASEAN vs

ยุโรปทีประเทศสมาชิกยึดโยงอยู่กับผลประโยชน์ของประชาคมยุโรปและการมีนโยบายเศรษฐกิจร่วมกัน รวมทั ง

สกุลเงินเดียวกันอีกด้วย การมีนโยบายการเงินร่วมกันสําหรับอาเซียนเป็นไปได้ยากกว่าการเปิดเขตการค้าเสรีที

กําลังดําเนินการอยู่ในปัจจุบัน มีข้อเสนอสําหรับการอธิบายรูปแบบความร่วมมือทางเศรษฐกิจของภูมิภาค

เอเชียตะวันออกเฉียงใต้ทีมีลักษณะเป็นสถาบันน้อยกว่าในยุโรปเกียวข้องกับเครือข่ายทางเศรษฐกิจซึงอาจเป็น

ของรัฐบาลหรือเอกชนก็ได้ทีขึ นอยู่กับกลุ่มชาติพันธุ ์หรือวัฒนธรรมในแต่ละพื นที เครือข่ายทางเศรษฐกิจเหล่านี

คือพลังทีผลักดันการค้าและการลงทุนอยู่เบื องหลังการขาดหายไปของสถาบันทางเศรษฐกิจทีเป็นรูปธรรม21

พื นฐานทางวัฒนธรรมและอัตลักษณ์ของแต่ละประเทศอาจเป็นอีกคําตอบหนึงสําหรับหลายคําถาม

เช่นเดียวกันกับคําถามเกียวสถาบันของอาเซียนทีว่า เหตุใดการก่อตั งสถาบันในการรวมกลุ่มของภูมิภาคนี จึง

น้อยกว่าของสหภาพยุโรป คําตอบก็ในแนวนี ก็คือเพราะว่ามีความแตกต่างทางวัฒนธรรมมากเกินไปจึงรวมกัน

ได้ยาก อย่างไรก็ตามยังมีด้านอืนทีควรพิจารณาเช่น โครงสร้างทางการเมืองของแต่ละประเทศอาจส่งผลให้เกิด

การจัดตั งสถาบันได้ยาก เพราะโครงสร้างทางการเมืองของแต่ละประเทศมีความแตกต่างกันในการบังคับใช้

กฎหมายทีเอื อต่อการจัดตั งสถาบันในระดับทีต่างกัน เช่น ประเทศทีมีการพัฒนาด้านกฎหมายเป็นสากล

มากกว่าจะมีความพร้อมทีจะบูรณาการด้วยข้อกฎหมายทีผูกมัดในระดับทีมากกว่าซึงจะเอื อต่อการจัดตั ง

สถาบันของอาเซียนในทีสุด หรืออาจจะเป็นทีความแตกต่างด้านระบอบการปกครองดังทีตะวันตกมักใช้วาท

กรรมประชาธิปไตยเป็นคําตอบ ซึงอาจไม่เป็นจริงเสมอไป เมือในปัจจุบันประเทศทีไม่เป็นประชาธิปไตยเช่น

เวียดนามก็พร้อมทีจะก้าวขึ นเป็นประเทศผู ้นําในอาเซียนในการต่อรองเพือผลประโยชน์ทางเศรษฐกิจทีมากขึ น

หรืออันทีจริงแล้วทุกอย่างก็ขึ นอยู่กับระบบเศรษฐกิจ ในเมือเราคงไม่อาจปฏิเสธระบบทุนนิยมโลกทีดูจะเป็น

คําตอบสําหรับอีกหลายคําถาม รวมทั งการเปรียบเทียบเชิงสถาบันระหว่างอาเซียนกับสหภาพยุโรปด้วย ว่าเมือ

ประเทศในอาเซียนกลายเป็นพื นทีซึงทุนนิยมโลกเข้าถึงแล้ว สิงนี จะเป็นตัวผลักดันให้เกิดการสร้างสถาบันที

เข้มแข็งขึ นโดยเริมจากด้านเศรษฐกิจแล้วก็จะขยายไปยงัด้านอืนๆในทีสุด

ปัจจัยทางวัฒนธรรมและการสร้างอัตลักษณ์

การดําเนินการตามเป้าหมายในการขับเคลือนการรวมตัวเป็นประชาคมอาเซียนภายในปี 2015 ตามที

ประเทศสมาชิกตกลงกันไว้ตามกฎบัตรอาเซียน (ASEAN Charter) รวมทั งการทีจะบรรลุวิสัยทัศน์อาเซียน

(ASEAN Vision 2020) และความต้องการทีจะให้อาเซียนเป็น “caring community” ได้นั น จะต้องอาศัย

ความรู ้สึก และตระหนักสํานึกในการเป็นประชาชนแห่งอาเซียนร่วมกันเป็นพื นฐานสําคัญในกระบวนการบูรณาการ

21Dajin Peng, An East Asian Model of Regional Economic Cooperation (Oslo: Centre for European and Asian Studies,

Norwegian School of Management,1997)

Page 10: SEAFGNPOLI_ASEAN vs

จากเอกสารพิมพ์เขียวประชาคมสังคมและวัฒนธรรมอาเซียนนั น จะเห็นแนวคิดเรือง “การสร้างอัตลกัษณ์

อาเซียน” (Building ASEAN Identity) ซึงมีนัยยะสําคัญ คือ อัตลักษณ์อาเซียนเป็นพื นฐานของผลประโยชน์

ของภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ โดยจะสะท้อนการรวมเอกลักษณ์ ประเพณี ความเชือ และวัฒนธรรมที

แตกต่าง และความปรารถนาทีจะเป็นประชาคมอาเซียน อาเซียนจะส่งเสริมการตระหนักรับรู ้ เกียวกับอาเซียน

ซึงเน้นค่านิยมทีเหมือนกันในการรวมตัวกันเป็นหนึงเดียวจากความแตกต่างกัน

ในด้านปัจจัยทางวัฒนธรรม ขณะทีสหภาพยุโรปถูกตั งขึ นบนสมมติฐานทีว่าประเทศสมาชิกทั งหลาย

นั นมีลักษณะทางวัฒนธรรมร่วมกัน องค์กรอาเซียนกลับมพืี นฐานทางวัฒนธรรมทีอ่อนแอกว่า ในกรณีของ

ยุโรปนั น แม้ว่ายุโรปจะกอปรด้วยปัจจัยทางวัฒนธรรมทีมีความหลากหลาย หากแต่ในความหลากหลายนั นก็

ยังมีความเป็นอันหนึงอันเดียวกันทีเอื อให้ยุโรปสามารถรวมเป็นอันหนึงอันเดียวกัน และมีเอกภาพดังคําขวัญ

ของสหภาพยุโรปทีกล่าวว่า “United in Diversity” หรือ เอกภาพในความหลากหลาย ความคิดทีว่าประเทศ

ยุโรปเป็นส่วนหนึงของอารยธรรมร่วมกันนั นได้ส่งเสริมการพัฒนาของกระบวนการบูรณาการตั งแต่แรกเริมเป็น

ต้นมากระทังถึงการก่อตั งเป็นสหภาพยุโรป ปัจจัยทางวัฒนธรรมทีส่งผลต่อการรวมยุโรป ได้แก่ ปัจจัยด้าน

ภาษา ซึงมีอิทธิพลทางวัฒนธรรมและการเมืองด้วย ปัจจัยด้านศาสนาซึงมีศาสนาคริสต์เป็นตัวเชือม แนวคิด

ประชาธิปไตย ปัจเจกชนนิยม สิทธิมนุษยชน รวมถึงศิลปะ สถาปัตยกรรม และวรรณกรรมยุโรป เป็นต้น22

ในทางตรงกันข้าม แนวคิดของการเป็นเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ในฐานะหน่วยทางภูมิศาสตร์และ

วัฒนธรรมนั น ไม่ได้มีนัยยะสําคัญมากนักในการบ่งบอกถึงอัตลักษณ์ของผู ้คนในภูมิภาค ในแง่ภูมิศาสตร์จะ

เห็นว่า แม้กระทังผู ้ ก่อตั งอาเซียนเองยังมีทั งประเทศในภาคพื นทวีปและในภาคพื นสมุทรเสียด้วยซํ า

นอกจากนั น เมือมองกลับไปในประวัติศาสตร์ ก็จะเห็นว่าในภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้นั น ไม่มีอาณาจักร

ใดทีมีอิทธิพลขึ นมาปกครอง หรือรวมทั งภูมิภาคให้อยู่ภายใต้การปกครองของอาณาจักรเดียว และสร้าง

ความรู ้สึกเป็นพวกเดียวกันดังเช่นในยุโรปได้ รวมถึงปัจจัยทางด้านภาษาซึงประชาชนในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้

มภีาษาหลากหลายมาก และส่วนใหญ่เป็นภาษาคนละตระกูลกัน ทว่า คําขวัญของอาเซียนทีว่า “One Vision,

One Identity, One Community” หรือ “อัตลักษณ์เดียว ประชาคมเดียว วิสัยทัศน์เดียว” นั น จากจุดนี จะเห็น

ได้ว่า หากมีการตั งคําถามว่า อะไรคืออัตลักษณ์ทีแท้จริงของอาเซียน การทีจะหาคําตอบก็จะยากมากทีเดียว

เพราะสมาชิกอาเซียนแต่ละประเทศมีความหลากหลาย ทั งระบอบการปกครองทีแตกต่าง และความเชือทาง

ศาสนา วัฒนธรรม เพราะฉะนั นการรวมเป็นอัตลักษณ์เดียวคงไม่ง่ายนัก ดังตัวอย่างกรณีของประเทศไทยใน

เรืองสามจังหวัดชายแดนภาคใต้ จะเห็นได้ว่าปัจจยัทางด้านความเชือทางศาสนานั นก็มีความแตกต่างกันมาก

22 บรรพต กําเนิดศิริ, ปัจจัยทางวัฒนธรรมและการบูรณาการยุโรป. ใน บูรณาการสหภาพยุโรป (กรุงเทพฯ: ศูนย์ยุโรปศึกษา

จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย)

Page 11: SEAFGNPOLI_ASEAN vs

ซึงไม่สามารถมองข้ามได้เลย ดังนั นในความเป็นหนึงเดียวกันของอาเซียนตามทีคาดหวังกันนั น อาเซียนต้อง

ส่งเสริมอัตลักษณ์ร่วมของอาเซียน และความรู ้ สึกถึงความเป็นพวกเดียวกันในหมูพ่ลเมืองของทุกประเทศ

สมาชิกอาเซียนเป็นสําคัญ เพือทีจะก้าวไปสู่ความสําเร็จในแนวทาง จุดมุ่งหมาย และคุณค่าร่วมกันในมิติต่างๆ

ในการบูรณาการเป็นประชาคมอาเซียนได้ เช่น ในการบรรลุการเป็นประชาคมเศรษฐกิจอาเซียนนั นจะประสบ

ความสําเร็จไม่ได้หากแต่ละประเทศสมาชิกยังมีมุมมองต่อกันว่าเป็นประเทศคู่แข่งทางการค้า หาใช่ประเทศคู่ค้า

ทีต้องแสวงหาประโยชน์ร่วมกันอย่างทีควรจะเป็นไม ่

ในประเด็นเรืองภาษา จะเห็นว่าในกรณีของสหภาพยุโรป เกือบทุกภาษาทีชาวยุโรปใช้ในการ

ติดต่อสือสารกันอยู่ในปัจจุบันนี จัดอยู่ในตระกูลภาษาอินโด-ยูโรเปียน23 อีกทั งยังมีความพยายามร่วมมือกัน

ส่งเสริมให้ยุโรปเป็นทวีปทีมีความหลากหลายทางด้านภาษา และส่งเสริมให้มีการเล่าเรียนภาษาต่างประเทศ

ให้แพร่หลายมากขึ น เช่นในมติของประชาคมยุโรปปี 1969 ทีมีเนื อหาสําคัญเกียวกับการขจัดอุปสรรคด้าน

ภาษา และการสร้างความผูกพันระหว่างประเทศในด้านต่างๆผ่านการเรียนรู ้ ภาษายุโรปสมัยใหม่ของกันและ

กัน และภายหลังการขยายสมาชิกภาพของสหภาพยุโรปครั งล่าสุด ซึงทําให้มีสมาชิกถึง 27 ประเทศนั น

สหภาพยุโรปก็ได้ประกาศให้มีภาษาราชการของสหภาพถึง 23 ภาษา เพือทีทุกภาษาของรัฐสมาชิกจะได้รับ

การปฏิบัติอย่างเสมอภาคกันด้วย

ส่วนในกรณีของอาเซียน ดังทีได้กล่าวไปแล้วว่า อาเซียนมีความหลากหลายทางด้านภาษามาก และ

มาจากหลายตระกูลภาษาด้วย ส่งผลต่อนโยบายทางด้านภาษาของอาเซียนด้วย นันคือในกฎบัตรอาเซียนได้

กําหนดไว้ให้ภาษาอังกฤษเป็นภาษาทีใช้ทํางานกันในอาเซียน แต่ยังไม่มีการใช้ภาษากลางของอาเซียนเอง

และการทีถ้าจะใช้ภาษาใดภาษาหนึงของอาเซียนเป็นภาษาราชการ ก็จะมีประชาชนของบางประเทศต้อง

เรียนรู ้ ใหม่หมด ดังนั น อาเซียนจึงได้มีการสนับสนุนการเรียนรู ้ ภาษาอังกฤษของประชาชน24 มากกว่าทีจะมี

มาตรการส่งเสริมให้แต่ละประเทศเรียนรู ้ ภาษาของกันและกันอันจะนํามาซึงพื นฐานความเข้าใจต่อกนั และ

ความรู ้สึกผูกพันกันมากขึ นดังเช่นในสหภาพยุโรป

การสร้างบริบทในภูมิภาคให้เกิดความรู ้ สึกเป็นอันหนึงอันเดียวกันนั นเป็นเรืองสําคัญ ในกรณีของ

สหภาพยุโรป มีการให้สถานะพลเมืองของสหภาพ25 ซึงนับว่าเป็นปัจจัยสําคัญทีเดียวทีเอื อต่อการกําหนดความ

เป็นประชาคมของสหภาพยุโรป เช่นเดียวกับทีขอบเขตดินแดนเป็นตัวกําหนดขอบเขตทางภูมิศาสตร์ของรัฐหนึง ๆ 23 อ้างแล้ว. 24 Morakot Jewachinda Meyer, Culture and Integration: The EU and ASEAN in Comparative Perspective (Bangkok:

Institute of European Studies, 2008). pp. 16. 25 Apirat Petchsiri et al, Comparative Regional Integration: ASEAN and the EU, Volume 2 (2002), pp. 266.

Page 12: SEAFGNPOLI_ASEAN vs

ตั งแต่ระยะแรกของการบูรณาการยุโรปด้วยหลักการของสหภาพยุโรปนั น สภายุโรปก็ได้แสดงบทบาทสําคัญใน

การให้การสนับสนุน ปกป้อง และพัฒนาแนวคิดทีเกียวข้องกับการเป็นพลเมืองยุโรปมาโดยตลอด การเป็น

พลเมืองของสหภาพยุโรปเป็นการยืนยันสิทธิการเคลือนย้ายโดยเสรีในดินแดนของประเทศสมาชิก สิทธิในการ

ยืนคําร้องต่อรัฐสภายุโรป และต่อผู ้ตรวจสอบการทํางานของสหภาพยุโรป นอกจากนั น ยังมีการให้สิทธิในการ

ได้รับความช่วยเหลือเมืออยู่นอกสหภาพยุโรปจากการบริการทางการทูตและกงสุลของประเทศต่างๆ ใน

สหภาพยุโรปอีกด้วย เป็นต้น

ส่วนอาเซียนยังไม่สามารถมีการบูรณาการไปจนถึงจุดนั นได้ เนืองด้วยอาเซียนเป็นเพียงกรอบความ

ร่วมมือหลวมๆ ระหว่างประเทศสมาชิก และองค์กรไม่ได้มีอํานาจเหนือรัฐชาติ (supranational) อย่างสหภาพยุโรป

ทีจะสามารถให้สถานะทางกฎหมายในลักษณะเหนือรัฐ ดังเช่น การให้สถานะความเป็นพลเมืองแก่ประชาชน

ของหน่วยทางการเมืองซึงเป็นองค์การระหว่างประเทศได้ รวมทั งข้อจํากัดทางด้านองค์กร และสถาบันอืนๆอีก

มาก เช่น การทีอาเซียนไม่มีอํานาจศาลหรือสถาบันตุลาการขององค์กรเอง อย่างไรก็ตาม ในอาเซียนเองก็ได้มี

การกล่าวถึง ASEAN Single Visa กัน26 ซึงเป็นความพยายามทีจะให้เกิดความสะดวกในการเดินทางภายใน

กลุ่มประเทศอาเซียน ดังเช่น Schengen Visa ของยุโรป แต่ถึงกระนั น จุดประสงค์ของ ASEAN Single Visa

ก็มิได้มุ่งให้การเดินทางไปมาระหว่างประเทศอาเซียนของประชาชนในอาเซียนง่ายขึ น หากแต่เป็นการมุ่ง

อํานวยความสะดวกให้นักท่องเทียวนอกภูมิภาคทีเดินทางเข้ามาในภูมิภาคเท่านั น นอกจากนี แนวคิดนี ก็ยัง

ไม่ได้รับการยอมรับจากอีกหลายประเทศสมาชิกด้วย

อัตลักษณ์ของยุโรปนั นมีพื นฐานบนความเฉพาะของวัฒนธรรมยุโรป ตามทีระบุไว้ในปฏิญญาว่าด้วย

อัตลักษณ์ของยุโรป (Declaration of European identity) นั น หมายถึง ทั งมิติภายนอกทีมุ่งเพือแสดงออกซึง

สิทธิเสียงของชาวยุโรปในเวทีความสัมพันธ์ระหว่างประเทศ และมิติภายในในฐานะอารยธรรมร่วมกันของยุโรป27

มิติหลังนี นํามาสูป่ระเด็นถกเถียง เนืองด้วยเกรงว่าอัตลักษณ์ของแต่ละประเทศจะถูกแทนทีด้วยอัตลักษณ์ที

สหประชาชาติสร้างขึ น ถึงแม้คณะกรรมาธิการสหภาพยุโรปจะได้อธิบายอัตลักษณ์ของยุโรปใหม่ โดยทีระบุถึง

ความสําคัญของอัตลักษณ์ของแต่ละชาติมากขึ นก็ตาม

ส่วนในกรณีของอาเซียนนั น เนืองด้วยเหตุผลในทางโครงสร้างขององคก์รทีเป็นเพียงความร่วมมือกัน

ในระดับระหว่างประเทศเท่านั น อัตลักษณ์ของอาเซียนจึงเป็นเพียงตัวแทนอัตลักษณ์ของบรรทัดฐานความ

26 ประภัสสร์ เทพชาตรี, ประชาคมสังคมและวัฒนธรรมอาเซียน ( กรุงเทพ: โครงการอาเซียนศึกษา มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์, 2552) 27 Morakot Jewachinda Meyer, Culture and Integration: The EU and ASEAN in Comparative Perspective (Bangkok:

Institute of European Studies, 2008). pp. 27.

Page 13: SEAFGNPOLI_ASEAN vs

ร่วมมือระหว่างรัฐสมาชิกเท่านั น กล่าวคือ กระทังปัจจุบันนี อัตลักษณ์ของอาเซียนเป็นอัตลักษณ์ทีมีมิติ

ภายนอกเท่านั นซึงไม่ได้เป็นประเด็นออ่นไหวซึงไปกระทบกับอัตลักษณ์ของชาติสมาชิกใดโดยเฉพาะ อันได้แก่

วิถีทางแบบอาเซียน (ASEAN way) และคุณค่าแบบเอเชีย (Asian values)28 นันเอง

ในเรืองเอกลักษณ์ของแต่ละประเทศในอาเซียน จะเห็นได้ว่ายังมีอคติอยู่ระหว่างกันของประชาชนใน

อาเซียนค่อนข้างมาก ไม่ให้ความเคารพซึงเอกลักษณ์ของกันและกัน ทําให้เกิดเรืองของความไม่เสมอภาคกัน

และไม่สามารถจะก้าวพ้นจากความเป็นประชาชนของแต่ละประเทศไปเป็นประชาชนของอาเซียน ได้ รวมทั ง

ความรู ้สึกชาตินิยมของแต่ละประเทศสมาชิก และข้อพิพาทระหว่างประเทศสมาชิกกันเองในขณะนี อีกด้วย ที

จะทําให้การเกิดความรู ้สึกว่าเป็น ASEAN people นั นเป็นเรืองยากในหมู่ประชาชนของชาติสมาชิกอาเซียน

ส่วนในกรณีของสหภาพยุโรปนั น ด้วยความทีว่าประเทศยุโรปมีรากฐานทางวัฒนธรรมร่วมกัน บวกกับ

ความพยายามของผู ้นําทางด้านนโยบายของสหภาพยุโรปในการสร้างอัตลักษณ์ของยุโรปนั น แสดงออกมาให้

เห็นในลักษณะของมุมมองของประชาชนของประเทศหนึงๆในยุโรปทีมีต่อชาวต่างชาติ นันคือ ส่วนมากจะมอง

ว่าชาวต่างชาติทีแท้จริงสําหรับพวกเขาเป็นพวกชาวตุรกี อาหรับ หรือ เอเชีย ซึงแยกออกไปจากกลุ่ม

ชาวต่างชาติทีเป็นชาวยุโรปด้วยกันเอง นอกจากนั นแล้ว ชาวยุโรปยังมีความรู ้ สึกไม่ชอบชาวต่างชาติทีไม่ใช่

ยุโรปมากกว่าชาติในยุโรปด้วยกันเองอีกด้วย29 ในแง่หนึงก็กล่าวได้ว่า การสร้างอัตลักษณ์ของยุโรปนั น ทําให้

เกิดช่องว่างระหว่างความเป็น “เรา” ของชาวยุโรปและ ความเป็น “เขา” ของคนนอกยุโรปมากขึ น แต่เมือมอง

ปัจจัยภายในสหภาพยุโรปเพียงประการเดียวแล้ว ก็จะเห็นได้ว่าชาวยุโรปมีความรู ้สึกเป็นพวกเดียวกันมากกว่า

ชาวเอเชียตะวันออกเฉียงใต้อยู่มากทีเดียว

การสร้างสัญลักษณ์ เช่น คําขวัญ ธง ดวงตรา วัน และเพลงอาเซียน รวมถึงการตั งบรรทัดฐาน ค่านิยม

ร่วมกัน เช่น ASEAN ways และ Asian values นับเป็นความพยายามของอาเซียนในการส่งเสริมการตระหนัก

รับรู ้ เกียวกับอาเซียนแก่ประชาชน ท่ามกลางบริบทของความแตกต่างของแต่ละประเทศสมาชิกอาเซียนเอง

และอาเซียนยังคงต้องอาศัยนโยบายต่างๆในการพยายามสร้างความรู ้ สึกร่วมกันของประชาชนอาเซียน

28 คุณค่าแบบเอเชีย หรือ Asian Values คือ แนวคิดทีได้รับความสนใจและถกเถียงอย่างเข้มข้นในช่วงยุค 90s ซึงเป็นส่วนหนึงของความ

พยายามทีจะสร้างอัตลักษณ์ของเอเชียให้เข้มแข็ง ในฐานะปฏิกิริยาตอบสนองต่อวัฒนธรรม อุดมการณ์ และแรงกดดันจากโลกตะวันตก.

อ้างใน Behnisch, Alexej. "What was the Asian Values Debate? And who won it?" Paper presented at the annual meeting of

the International Studies Association, Hilton Hawaiian Village, Honolulu, Hawaii, Mar 05, 2005. Available from

http://www.allacademic.com/meta/p69729_index.html. accessed 7 March 2010. 29 Dirk Jacobs and Robert Maier, European Identity: Construct, fact and fiction. Available from

http://users.belgacom.net/jacobs/europa.pdf, accessed 5 March 2010.

Page 14: SEAFGNPOLI_ASEAN vs

ประนีประนอมความแตกต่างต่อไป เพือเป็นพืนฐานสําคัญแก่กระบวนการการบูรณาการอาเซียนให้มี

ประสิทธิภาพ ประสิทธิผล และให้ความสําคัญกับประชาชนตามแนวคิด people centered ของอาเซียนอย่าง

จริงจังด้วยนันเอง

บทสรุป

สหภาพยุโรป หรือ European Union นั น นับว่าเป็นองค์กรความร่วมมือในระดับภูมิภาคทีประสบ

ความสําเร็จในการบูรณาการอย่างสูง จนกระทังกลายเป็นตัวแบบให้แก่การร่วมมือในลักษณะเดียวกันใน

ภูมิภาคอืนๆ ในภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ นอกเหนือจากการเป็นคู่ค้าทีสําคัญแล้ว สมาคมประชาชาติ

แห่งเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ หรือ ASEAN เองก็ให้ความสนใจเป็นอย่างมากในสหภาพยุโรปในฐานะตัวแบบ

การบูรณาการ ถึงแม้ว่าปัจจัยและลักษณะทีแตกต่างกันหลายประการระหว่างอาเซียนกับสหภาพยุโรปทีได้

นําเสนอไปข้างต้นนั น อาจจะทําให้ดูเหมือนว่าทั งสององค์กรไม่สามารถเป็นกรณีเปรียบเทียบทีสอดคล้องกันได้

สักเท่าไรนัก อย่างไรก็ตามการศึกษา ค้นคว้า รวมถึงการศึกษาในเชิงเปรียบเทียบระหว่างอาเซียน และสหภาพ

ยุโรป อย่างลึกซึ งเพือทําความเข้าใจทั งในจุดร่วม จุดต่าง และข้อจํากัดทีเป็นอุปสรรคต่อการบูรณาการ ก็ยังคง

มีความสําคัญอย่างมากทีควรจะมีการดําเนินต่อไปควบคู่กับนโยบาย หรือกระบวนการอืนๆ ในความพยายาม

ในการบูรณาการอาเซียนทีมันคง อย่างน้อยก็เป็นการศึกษาในฐานะบทเรียนจากสหภาพยุโรปสําหรับ

ความสําเร็จและความล้มเหลวในกระบวนการต่างๆ ซึงอาเซียนสามารถนํามาเป็นตัวอย่างก่อนทีจะกําหนด

นโยบายหรือแนวทางปฏิบัติใดๆ สําหรับสมาชิก

คมสัน นวคุณสุชาติ 504 12055 24

ต้องหทัย ลิขิตวีระวงศ์ 504 12141 24

ปรีดิ สุดา ปุโรทกานนท์ 504 12215 24

วิชา นโยบายต่างประเทศของกลุ่มประเทศในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้

ภาคการศึกษาปลาย ปีการศึกษา 2552

12 มีนาคม 2553