Download pdf - 101 introduction to movie

Transcript
Page 1: 101  introduction to movie

หนวยท่ี ๑ ความรูเบ้ืองตนเก่ียวกับภาพยนตร

วิชาภาพยนตรและวีดิทัศนเบื้องตน

หนวยท่ี ๑ ความรูเบ้ืองตนเกี่ยวกับภาพยนตร

๑. ความหมายของภาพยนตรและหลักการเกิดภาพเคลื่อนไหว

๒. ประวัติและวิวัฒนาการของภาพยนตร

๓. ประเภทของภาพยนตร

๔. บทบาท และอิทธิพลของภาพยนตรตอการสื่อสาร

๑. ความหมายของภาพยนตรและหลักการเกิดภาพเคล่ือนไหว

๑.๑ ความหมายของภาพยนตร

คําวา “ภาพยนตร” มีชื ่อเรียกในภาษาอังกฤษอยูหลายคํา เชน Motion Picture ,

Cinema , Film และ Movie เปนตน

ภาพยนตรเปนกระบวนการบันทึกภาพดวยฟลม (Film) แลวนําออกฉายถายทอดเรือ่งราว

ตาง ๆ ในลักษณะภาพเคลื่อนไหว (Motion Pictures) ซึง่ภาพทีป่รากฏบนฟลมภาพยนตรเปนเพียง

ภาพนิ่งจํานวนมากที่มีอิริยาบถหรือการเคลื่อนไหวเปลี่ยนแปลงไปทีละนอยเรียงตอเนื่องกันตาม

เรื่องราวที่ถายทําและตัดตอมา เนื้อหาของภาพยนตรอาจเปนเรื่องราวหรือเหตุการณทีเ่กิดขึน้จริง

หรือเปนการแสดงใหเหมือนจริง หรือเปนการแสดงและสรางภาพจากจินตนาการณของผูสราง เพือ่ให

ผูชมเกิดอารมณรวมไปกับภาพยนตรในขณะท่ีรับชม

๑.๒ หลักการเกิดภาพเคล่ือนไหว

การที่เราเห็นภาพนิ่งหลาย ๆ ภาพที่ฉายตอเนื่องกัน ดูเปนลักษณะภาพเคลื่อนไหวไดนั้น

สามารถอธิบายไดดวยหลักการเห็นภาพติดตา (Persistence of Vision) อันเปนหัวใจของหลักการ

สรางภาพยนตรเพราะภาพยนตรก็คือภาพนิ่งแตละภาพท่ีตอเนื่องกันอยางมีระบบนั่นเอง

๑.๒.๑ ภาพหมุน ( Thaumatrope ) Thaumatrope (อานวา ธัมมาโทรป) เปนของเลนที่ประดิษฐขึน้ เมื่อป พ.ศ.

2368 (ค.ศ. 1825) โดย ดร.วิเลีย่ม เฮนรี ่ฟตตอน (Dr. William Henry Fitton) ซึ่งไดแนวคิดมาจากเซอรจอหน เฮอรเซล ผูท่ีสังเกตวาสายตามนุษยสามารถมองเห็นภาพท้ังสองดานของเหรียญท่ีหมุนอยูไดพรอมกัน

Page 2: 101  introduction to movie

ค ว า ม รู เ บื ้อ ง ต น เ กี ่ย ว กั บ ภ า พ ย น ต ร ห น า | ๒

ภาพยนตรและวีดิทัศนเบ้ืองตน | พิพิษณ สิทธิศักดิ ์| วิทยาลยัเพาะชาง | Last update : 24 ส.ค. 2554

ดร.วิเลี่ยม เฮนรี่ ฟตตอน (Dr. William Henry Fitton) (http://www.ireference.ca/search/William%20Henry%20Fitton/)

ภาพหมุน ( Thaumatrope ) (http://littleworm55.blogspot.com/)

Thaumatrope ทําจากกระดาษแข็งตัดเปนวงกลม โดยมีรูปภาพหรือภาพวาดทั้ง

สองดาน เชน ถาวาดภาพดานหนึ่งเปนกรงนก สวนอีกดานหนึ่งวาดเปนรูปนก เจาะรูดานซายและขวาของวงกลมแลวผูกเชือก เมื่อดึงเชือกใหภาพพลิกไปมาเร็ว ๆ จะเห็นภาพทัง้สองดานของกระดาษรวมเปนภาพเดียวกัน นัน่คือจะเห็นภาพนกอยูในกรงได ซึ่งคําวา Thaumatrope มาจากภาษากรีก หมายถึง Wonder Turning หรือ มหัศจรรยแหงการหมุน จึงเปนหนึ่งในตนแบบของภาพยนตร สามารถดูวิดีโอคลิปแสดงภาพหมุน Thaumatrope ไดจากเว็บไซต Youtube

ตามลิงคนี้ http://www.youtube.com/watch?v=B8uE67JQcvU&feature=related แบงปน http://youtu.be/B8uE67JQcvU

Page 3: 101  introduction to movie

ค ว า ม รู เ บื ้อ ง ต น เ กี ่ย ว กั บ ภ า พ ย น ต ร ห น า | ๓

ภาพยนตรและวีดิทัศนเบ้ืองตน | พิพิษณ สิทธิศักดิ ์| วิทยาลยัเพาะชาง | Last update : 24 ส.ค. 2554

และท่ีเว็บไซต AssassinDrake

ตามลิงคนี้ http://assassindrake.com/tt.php ๑.๒.๒ ทฤษฎีวาดวยการเห็นภาพติดตา (Persistence of Vision)

Dr. John Ayrton Paris (http://www.sciencephoto.com/images/download_lo_res.html?id=670064408)

หลักการที่อธิบายถึงการมองภาพตอเนื่องของสายตามนุษย หรือทฤษฎีการเห็น

ภาพติดตา คิดคนข้ึนในป พ.ศ. 2367 (ค.ศ. 1824) โดยนักทฤษฎีและแพทยชาวอังกฤษ ชื่อ Dr. John Ayrton Paris ทฤษฎีดังกลาวอธิบายถึงการมองเห็นภาพตอเนื่องของสายตามนุษยไววา ธรรมชาติของสายตามนุษย เม่ือมองเห็นภาพใดภาพหนึ่ง หลังจากภาพนั้นหายไป สายตามนุษยจะยังคางภาพนั้นไวท่ีเรตินาในชั่วขณะหนึ่ง ประมาณ 1/15 วินาที และหากในระยะเวลาดังกลาวมีภาพใหมปรากฏขึ้นมาแทนทีส่มองของมนุษยจะเชือ่มโยงสองภาพเขาดวยกัน และหากมีภาพตอไปปรากฏขึ้นในเวลาไลเลี่ยกัน ก็จะเชือ่มโยงภาพไปเรื่อย ๆ โดยเฉพาะอยางยิง่ ถาชุดภาพนิ่งทีแ่ตละภาพนั้นมีความแตกตางกันเพียงเล็กนอยหรือเปนภาพที่มีลักษณะขยับเคลื่อนไหวตอเนือ่งกันอยูแลว เมือ่นํามาเคลื่อนที่ผานตาเราอยางตอเนื่องในระยะเวลากระชั้นชิด เราจะสามารถเห็นภาพนั้นเคลื่อนไหวได

อยางไรก็ตาม มีเคล็ดลับประการหนึ่ง ก็คือ กอนที่จะเปลี่ยนภาพใหมจะตองมีอะไรมาบังตาเราแวบหนึ่ง แลวคอยเปดใหเห็นภาพใหมมาแทนทีต่ําแหนงเดิม โดยอุปกรณที่บังตาคือซัตเตอร (Shutter) และระยะเวลาที่ซัตเตอรบังตาจะตองนอยกวาเวลาทีฉ่ายภาพคางไวใหดู มิฉะนั้นจะมองเห็นภาพกระพริบไป ดังนัน้ เมื่อเอาภาพนิง่ทีถ่ายมาอยางตอเนือ่งหลาย ๆ ภาพมาเรียงตอกัน แลวฉายภาพนัน้ในเวลาสัน้ ๆ ภาพนิ่งเหลานัน้จะดูเหมือนวาเคลือ่นไหว หลักการนีจ้ึงถูกนํามาใชในการสรางภาพเคลื่อนไหว (Animation) และภาพยนตรในระยะเวลาตอมา

(http://www.thaishortfilm.com/board/viewtopic.php?t=599 , ๑.๓ ภาพเคล่ือนไหว กอนกําเนิดภาพยนตร

)

Page 4: 101  introduction to movie

ค ว า ม รู เ บื ้อ ง ต น เ กี ่ย ว กั บ ภ า พ ย น ต ร ห น า | ๔

ภาพยนตรและวีดิทัศนเบ้ืองตน | พิพิษณ สิทธิศักดิ ์| วิทยาลยัเพาะชาง | Last update : 24 ส.ค. 2554

“ภาพยนตร คือภาพนิ่งแตละภาพท่ีตอเนื่องกันอยางมีระบบ”

ประวัติศาสตรของกลองถายภาพยนตร อาจศึกษายอนหลังลงไปถึงงานของ Leonardo da Vinci ชิ้นที่เปนไดอะแกรมของ Camera Obscura อันเปนกลองเล็กๆ ที่จับภาพกลับหัวไดทีด่านตรงขามเลนส ซึง่แรกทีเดียวก็ไมมีเลนสดวยซ้าํไป เปนแตรูเล็กๆเทานัน้ ในตอนตนศตวรรษที ่19 นักวิทยาศาสตร หลายคนก็พยายามคิดคนหาแผนวัสดุทีจ่ะมารับภาพไดอยางชัดเจนและคงทนถาวร การทดลองท่ีประสบผล สําเร็จเกิดข้ึนในฝรั่งเศส ในป พ.ศ. 2382 (ค.ศ.1839) ดวยความพยายามของ Louise-Jacques-Mande Dagyerre และ Joseph-Nicephore Niepce แตภาพแรกๆ ของดาแกรนั้นใชเวลารับแสงนานถึง 15 นาที ในขณะท่ีการถาย และฉายภาพยนตรใหดูภาพเคลื่อนไหวไดเหมือนจริงนั้น จะตองใชเวลาอยางนอยก็ 16 ภาพตอวินาที ดังนั้น ในระยะนี้ภาพยนตรจึงยังไมอาจเกิดข้ึนได

ในป พ.ศ. 2413 (ค.ศ.1870) กลองถายภาพนิง่จึงไดมีชัตเตอร (shutter) และเริม่มีการใชความเร็วชัตเตอรถึง 1/1000 วินาที

Eadweard Muybridge (1830-1904) Amasa Leland Stanford

(http://calitreview.com/8802) http://en.wikipedia.org/wiki/Leland_Stanford

บุคคลแรกที่ไดประยุกตการถายภาพนิง่ใหเปนภาพยนตร ก็คือ Eadweard Muybridge นักแสวงโชค ชาวอังกฤษที่อพยพเขามาตัง้รกรากในรัฐแคลิฟอรเนีย เมื่อป พ.ศ. 2392 (ค.ศ.1849) โดยมีอาชีพเปนชางถายรูปอยูที่ซานฟรานซิสโก และในป ค.ศ.1872 ผูวาการรัฐแคลิฟอรเนีย คือ Leland Stanford ซึง่เปนเจาของคอกมา และนักแขงมาไดทาพนันกับคูแขงของเขาเปนเงิน 25,000 ดอลลารวา ในการควบวิ่งของมานั้น จะมีเวลาหนึ่งทีข่าทั้งสีข่องมาจะลอยขึน้เหนือพื้น โดยเขาไดวาจางใหไมบริดจหาทางพิสูจนขอเท็จจริงดังกลาว

Page 5: 101  introduction to movie

ค ว า ม รู เ บื ้อ ง ต น เ กี ่ย ว กั บ ภ า พ ย น ต ร ห น า | ๕

ภาพยนตรและวีดิทัศนเบ้ืองตน | พิพิษณ สิทธิศักดิ ์| วิทยาลยัเพาะชาง | Last update : 24 ส.ค. 2554

หลังจากไดรับการวาจาง ไมบริดจก็หาทางอยูนาน จนกระทั่งป ค.ศ.1877 (บางตําราวา 1878) จึง สามารถพิสูจนได โดยความชวยเหลือของเพื่อนทีเ่ปนวิศวกรชือ่ John D. Isaacs โดยเขาตั้งกลอง ถายภาพนิ่ง 12 ตัว เรียงรายไวขางทางวิ่ง แลวขึงเชือกเสนเล็กๆ ขวางทางวิง่ไว โดยทีป่ลายดานหนึ่งจะผูกติดกับไกชัตเตอร ของกลองโดยมีแบตเตอรี่ไฟฟาเปนตัวควบคุม เมื่อมาวิง่สะดุดเชือกเสนหนึ่ง ไกชัตเตอรของกลองแรกก็จะทํางาน และเรียงลําดับไปจนครบ 12 ตัว

วิธีการถายภาพมาวิ่งของ Eadweard Muybridge

(http://impresssnow.com/349/349_lecture04.html)

Page 6: 101  introduction to movie

ค ว า ม รู เ บื ้อ ง ต น เ กี ่ย ว กั บ ภ า พ ย น ต ร ห น า | ๖

ภาพยนตรและวีดิทัศนเบ้ืองตน | พิพิษณ สิทธิศักดิ ์| วิทยาลยัเพาะชาง | Last update : 24 ส.ค. 2554

Galloping Horse; Eadweard Muybridge, 1878

(http://andrewcatsaras.blogspot.com/p/iconic-photographs.html) หลังจากถายภาพไดแลว ไมบริดจ (Muybridge) ก็นําภาพที่ไดมาติดบนวงลอหมุน แลว

ฉายดวยแมจิก แลนเทิรน (magic lantern) ทําใหเห็นภาพการเคลือ่นไหวของมาตอเนือ่งเหมือนของจริง และหลังจากไดทดสอบซ้าํอีกโดยใชกลอง 24 ตัว ไมบริดจ (Muybridge) ก็สามารถพิสูจนไดวา ในเวลาที่มาควบไปเร็วๆ นั้น ขาทั้งสี่ของมันจะลอยขึ้นเหนือพื้นดินในเวลาหนึ่งจริงๆ แตประดิษฐกรรม ของไมบริดจก็ยังไมถือวาเปนภาพยนตร เนือ่งจากวามันถายทําดวยกลองถายภาพนิง่ และตองใชกลอง เปนจํานวนมากตั้งแต 12 หรอื 20 หรือบางทีถึง 40 ตัวทีเดียว

Page 7: 101  introduction to movie

ค ว า ม รู เ บื ้อ ง ต น เ กี ่ย ว กั บ ภ า พ ย น ต ร ห น า | ๗

ภาพยนตรและวีดิทัศนเบ้ืองตน | พิพิษณ สิทธิศักดิ ์| วิทยาลยัเพาะชาง | Last update : 24 ส.ค. 2554

ศึกษาเพ่ิมเติม

The Life and Work of Eadweard Muybridge

Californaia Literary Review, Alix McKenna (May 7th, 2010). The Life and Work of Eadweard Muybridge [ออนไลน]. เขาถึงไดจาก : http://calitreview.com/8802 (วันท่ีคนขอมูล : 8 พฤษภาคม 2554).

ประวัติภาพเคลื่อนไหว กอนกําเนิดภาพยนตร

[ART 349] COMPUTER ART (ม.ป.ป.). A History of Motion – Pre-cinema [ออนไลน]. เขาถึง

ไดจาก : http://impresssnow.com/349/349_lecture04.html (วันท่ีคนขอมูล : 21

พฤษภาคม 2554).

Page 8: 101  introduction to movie

ค ว า ม รู เ บื ้อ ง ต น เ กี ่ย ว กั บ ภ า พ ย น ต ร ห น า | ๘

ภาพยนตรและวีดิทัศนเบ้ืองตน | พิพิษณ สิทธิศักดิ ์| วิทยาลยัเพาะชาง | Last update : 24 ส.ค. 2554

เอกสารอางอิง

เอกสารอางอิง ๑.๑ ความหมายของภาพยนตร

วิกีพีเดีย สารานุกรมเสรี (5 พฤษภาคม 2554). เทคโนโลยีภาพยนตร [ออนไลน]. เขาถึงไดจาก : http://th.wikipedia.org/wiki/%E0%B8%A0%E0%B8%B2%E0%B8%9E%E0%B8%A2%E0%B8%99%E0%B8%95%E0%B8%A3%E0%B9%8C (วันท่ีคนขอมูล : 21 พฤษภาคม 2554).

BlogGang.com : human99 (27 ธันวาคม 2550). ความหมายของภาพยนตร [ออนไลน]. เขาถึงได

จาก : http://www.bloggang.com/viewdiary.php?id=human99&month=12-

2007&date=27&group=1&gblog=1 (วันท่ีคนขอมูล : 21 พฤษภาคม 2554).

Video man studio (7 พฤศจิกายน 2553). คุณคาของภาพยนตร [ออนไลน]. เขาถึงไดจาก : http://www.videomanstudio.com/webboard-%E0%B8%84%E0%B8%B8%E0%B8%93%E0%B8%84%E0%B9%88%E0%B8%B2%E0%B8%82%E0%B8%AD%E0%B8%87%E0%B8%A0%E0%B8%B2%E0%B8%9E%E0%B8%A2%E0%B8%99%E0%B8%95%E0%B8%A3%E0%B9%8C-1-294224-1.html (วันท่ีคนขอมูล : 21 พฤษภาคม 2554).

Page 9: 101  introduction to movie

ค ว า ม รู เ บื ้อ ง ต น เ กี ่ย ว กั บ ภ า พ ย น ต ร ห น า | ๙

ภาพยนตรและวีดิทัศนเบ้ืองตน | พิพิษณ สิทธิศักดิ ์| วิทยาลยัเพาะชาง | Last update : 24 ส.ค. 2554

เอกสารอางอิงง ๑.๒ หลักการเกิดภาพเคล่ือนไหว

หอภาพยนตร (องคการมหาชน) (ม.ป.พ.). มหัศจรรยแหงการหมุน [ออนไลน]. เขาถึงไดจาก : http://www.fapot.org/index.php/monthlyexhibition/86-wonderturning (วันท่ีคนขอมูล : 9 เมษายน 2554).

นวกานต ราชานาค (17 เมษายน 2553). Thaumatrope คืออะไร [ออนไลน]. เขาถึงไดจาก : http://www.bloggang.com/viewdiary.php?id=navagan&month=10-2008&date=03&group=5&gblog=4 (วันท่ีคนขอมูล : 8 เมษายน 2554).

นิติวัฒน เจตนา (28 มกราคม พ.ศ. 2552). ประวัติภาพยนตรโลก [ออนไลน]. เขาถึงไดจาก : http://kiramura.blogspot.com/2009/01/blog-post_28.html (วันทีค่นขอมูล : 20 เมษายน 2554).

เอกสารอางอิง ๑.๒.๒ ทฤษฎีวาดวยการเห็นภาพติดตา (Persistence of Vision)

หอภาพยนตร (องคการมหาชน) (ม.ป.พ.). มหัศจรรยแหงการหมุน [ออนไลน]. เขาถึงไดจาก : http://www.fapot.org/index.php/monthlyexhibition/86-wonderturning (วันท่ีคนขอมูล : 9 เมษายน 2554).

Page 10: 101  introduction to movie

ค ว า ม รู เ บื ้อ ง ต น เ กี ่ย ว กั บ ภ า พ ย น ต ร ห น า | ๑๐

ภาพยนตรและวีดิทัศนเบ้ืองตน | พิพิษณ สิทธิศักดิ ์| วิทยาลยัเพาะชาง | Last update : 24 ส.ค. 2554

bloggang, นวกานต ราชานาค (กันยายน 2549). Concept และ หลักการ ของงาน (หนัง)ทดลองเรื่อง Thaumatrope [ออนไลน]. เขาถึงไดจาก : http://www.bloggang.com/viewdiary.php?id=navagan&month=10-2008&date=03&group=5&gblog=4 (วันท่ีคนขอมูล : 25 มีนาคม 2554).

นิติวัฒน เจตนา (28 มกราคม พ.ศ. 2552). ประวัติภาพยนตรโลก [ออนไลน]. เขาถึงไดจาก : http://kiramura.blogspot.com/2009/01/blog-post_28.html (วันทีค่นขอมูล : 20 เมษายน 2554).

guru.google.co.th (2 ก.พ. 2553). ในการสรางภาพยนตรใหเกิดภาพเคลื่อนไหวได เราใชหลักการอะไร? [ออนไลน]. เขาถึงไดจาก : http://guru.google.co.th/guru/thread?tid=1f1767f41d5df7a6 (วันท่ีคนขอมูล : 9 เมษายน 2554).

เอกสารอางอิง ๑.๓ ภาพเคล่ือนไหว กอนกําเนิดภาพยนตร

ประวัติศาสตรภาพยนตรโลก ตอนท่ี ๑

postproduction52 (22 กุมภาพันธ 2553). ประวัติศาสตรภาพยนตรโลก ตอนท่ี ๑ [ออนไลน].

เขาถึงไดจาก : http://postproduction52.wordpress.com/2010/02/22 (วันท่ีคน

ขอมูล : 8 พฤษภาคม 2554).