Transcript
Page 1: Basic Photography แนะนำการใช้กล้อง DSLR สำหรับมือใหม่

BasicPhotographyá¹Ð¹Ó¡ÒÃ㪌¡ÅŒÍ§ DSLR ÊÓËÃѺÁ×ÍãËÁ‹

เทคนคิการใชซอฟทแวรปรับแตงภาพใหสวย

7 การถายภาพ

Page 2: Basic Photography แนะนำการใช้กล้อง DSLR สำหรับมือใหม่

ÃÕ¹ÌÙà·¤¹Ô¤¡Òö‹ÒÂÀÒ¾¢Í§Á×ÍÍÒªÕ¾áÅÐÊÌҧÊÃä ÀÒ¾ÊǧÒÁ Œ́Ç¡ÒûÃѺ¤Çº¤ØÁä Œ́Í‹ҧÍÔÊÃÐ

¨Ò¡¡ÅŒÍ§ ¢Í§¤Ø³ . . .

Page 3: Basic Photography แนะนำการใช้กล้อง DSLR สำหรับมือใหม่

สารบญัการถายภาพบุคคล ................................. 4

การถายภาพทิวทัศน ................................. 7

การถายภาพมาโคร ................................. 10

การถายภาพน้ำตก .................................. 14

การถายภาพกีฬา ................................ 16

การถายภาพสถาปตยกรรม ....................... 18

การถายภาพกลางคืน ................................ 20

ปรบัแตงภาพใหสวยดวยซอฟทแวร ............. 22

Page 4: Basic Photography แนะนำการใช้กล้อง DSLR สำหรับมือใหม่

4

ก า ร ถ า ย ภ า พ บุ ค ค ลPortrait P h o t o g r a p h y

การถายภาพบคุคลเปนงานทีน่กัถายภาพมกัจะตองถายภาพอยเูสมอๆในขณะทีไ่ปทองเทีย่ว หรอืในงานกจิกรรมของครอบครวัและกลมุเพือ่นเพื่อเปนที่ระลึก นักถายภาพสวนใหญมักจะถายภาพบุคคลดวยแสงธรรมชาติ ในสถานที่ตางๆ ซึ่งมีองคประกอบที่สวยงาม

ภาพบุคคลถายดวยเลนส เทเลซูมไวแสง EF70-200mmF/2.8LUSM ใชระบบบันทึกภาพ Avเปดชองรับแสง F/4 เพื่อใหฉากหลังเบลอ ภาพนี้วัดแสงดวยระบบเฉพาะจุด ( Spot) ที่ใบหนาของตัวแบบ และใชPicture Style แบบ Portrait เพื่อให โทนของสีผิ วแลดู เนียนขึ้น ภาพนี้ตองการสื่อความนารักสดใสของตัวแบบ จึงจัดองคประกอบภาพใหเต็มเฟรมเปนภาพแนวตั้ ง เพื่อใหตัวแบบมีขนาดใหญชัดเจน เลือกฉากหลังใหมีสีสวยงาม การจัดแสงของภาพนี้ ตัวแบบยืนอยู ในรมแล วใชแผนสะทอนแสงช วยสรางประกายตา และทำใหสีผิวสดใสขึ้ นด ว ย

Page 5: Basic Photography แนะนำการใช้กล้อง DSLR สำหรับมือใหม่

5

อุ ป ก ร ณ ถ า ย ภ า พองคประกอบภาพของภาพบุคคลที่นิยมหรือชื่ นชอบมากที่ สุ ดก็คื อภาพคนที่เดนอยูในสภาพแวดลอมหรือบรรยากาศเนนความคมชัดของตัวแบบกับฉากหลังที่มีสีสันและนุมหรือเบลอ ซึ่งการเลือกใชเลนส เทเล หรือเลนสซูมที่มีชวงเทเลตั้งแต 135mm ไปจนถึง 200mm จะใหความนุมนวลและความเบลอของฉากหลังไดมากที่สุด ซึ่งนักถายภาพมืออาชีพมักจะเลือกใชเลนสเทเลซูม 70-200mmmm ที่มีชองรับแสงกวาง เชน เลนสEF70-200mmF/2.8L IS USM เพื่อใหจัดองคประกอบภาพไดอยางสะดวก มีชองรับแสงกวาง ซึ่งสามารถปรับใหฉากหลังนุมนวลไดงาย และมีระบบ IS เพื่อชวยปองกันภาพสั่นจากความสั่นของกลองดวย และในกรณีที่ตองการถายภาพบุคคลรวมกับสถานที่ที่มีความสวยงามจะใช เลนสซูมมุมกวางหรือ เลนสซูม

มาตรฐาน เพื่อใหมุมรับภาพครอบคลุมทั้งตัวแบบและสถานที่

ในอดีต นักถายภาพบุคคลยังนิยมใชฟลเตอรซอฟทเพื่อปรับภาพใหนุมโดยเฉพาะภาพถายผูหญิง แตในยุคดิจิตอล นักถายภาพที่ฝกปรับภาพดวยPicture Style แบบ Portrait ที่มีอยูในตัวกลองและซอฟทแวรตกแตงภาพมักจะนำภาพมาปรับใหนุมนวลไดมากกวา เพราะสามารถปรับไดอยางละเอียดมาก และไมมีผลเสียตอภาพตนฉบับ(ซึ่งถายมาอยางคมชัด)

EF-S 18-135mmF/3.5-5.6 IS และEF70-200mmF/2.8L USM เลนสซูมที่นิยมใชถายภาพบุคคล

เปรียบเทียบระหวางการปรับแตงภาพดวย PictureStyleแบบ Standard และ Portraitเมื่ อใชกับภาพถายบุคคลPictureStyle Standard :ภาพจะมีสีสด มีความคมชัดและความเปรียบตางสูงพอประมาณมีรายละเอียดสูงPictureStyle Portrait :โทนสีผิวจะเรียบเนียนกวา และอมสีชมพู เรื่ อๆ สีของเสื้ อผาจะสดใสมีความคมชัดและความเปรียบตางลดลง ชวยใหภาพดูนุมนวล

PictureStyle Standard PictureStyle Portrait

Page 6: Basic Photography แนะนำการใช้กล้อง DSLR สำหรับมือใหม่

6

à¤Åç´ÅѺ¡Òö‹ÒÂÀÒ¾

ยิ่งใชเลนสที่มีความยาวโฟกัสสูงและยิ่งเปดชองรับแสงกวาง(F2.8) ฉากหลังก็จะยิ่งเบลอเลือกฉากหลังที่มีสีสันสดสวยเปนพื้นหลังของภาพภาพบุคคลจะสวยงามดวยแสงเงา ลองถายภาพในลักษณะกึ่งยอนแสง(แสงเฉียงหลัง) และใชแฟลชในตัวกลองชวยเปดเงาที่หนาของตัวแบบถาพบวาตัวแบบดูคล้ำเกินไปสำหรับนักถายภาพที่ไมมีประสบการณในการใชกลองมากอน แนะนำใหใชโปรแกรม Portrait

ก า ร จั ด แ ส งการจัดแสงหมายถึงการเลือกทิศทางของแสงและคุณภาพของแสงที่มีความแตกตางกัน ซึ่งเปนปจจัยสำคัญตอความสวยงามและอารมณของภาพเปนอยางมาก

แสงที่ถายภาพบุคคลไดสวยและถายทอดอารมณที่อบอุนของภาพไดดีก็คือแสงในยามเชาและเย็น ซึ่งดวงอาทิตยทำมุมต่ำและเฉียง และการจัดใหตัวแบบหันหลังใหกับแหลงกำเนิดแสงจะชวยสรางประกายแสงที่ผม และไหลทำใหภาพงดงามและมีมิติ แสงในชวงนี้ยังใหความรูสึกที่อบอุนดวยเรียกวาการจัดแสงแบบแสงเฉียงหลัง

เมื่อจัดแสงแบบแสงเฉียงหลังสิ่งที่ควรระวังก็คือในหนาของแบบอาจจะไมสดใสเทาที่ควร ซึ่งแกปญหาไดโดยการชดเชยแสงใหสวางขึ้น หรือใชแผนสะทอนแสง หรือใชแฟลชชวยเปดเงา .../

เมื่อจัดแสงแบบเฉียงหลัง ควรใชระบบวัดแสงที่มีความละเอียด เชนระบบวัดแสงเฉพาะจุดหรือเฉพาะสวน วัดแสงที่หนาของตัวแบบ และอาจชดเชยแสงใหโอเวอร (+)ประมาณ 2/3-1 สตอปเพื่ อ ให ผิ วดู สว า ง ภาพตัวอยางนี้ถายดวยเลนส EF70-200mmF/2.8LUSM ดวยระบบ Av F/5.6วัดแสงเฉพาะจุดที่หนาของตัวแบบ

Page 7: Basic Photography แนะนำการใช้กล้อง DSLR สำหรับมือใหม่

ทิวทัศนบนดอยแมอูคอถายดวยเลนสมุมกวางEF24mm ใชระบบบันทืกภาพ Av เปดชองรับแสงแคบปานกลาง F/8 เพื่อผลของช วงความชัดที่ครอบคลุมไดจากฉากหนาถึงระยะอนันต และใชฟลเตอร โพราไรซตัดหมอกบนทองฟาเพื่อใหทองฟา เปนสี เขมสด ใช Picture Styleแบบ Landscape เพื่อใหภาพคมชัดสูง และไดสี สันของทองฟ าที่ อิ่ มตั ว

7

ก า ร ถ า ย ภ า พ ทิ ว ทั ศ นLandscape P h o t o g r a p h y

ภาพถายทวิทศันทีส่วยงาม มกัจะพบในแหลงทองเทีย่วตามธรรรมชาติและปาเขา นอกจากความงามของสถานที ่ชวงเวลาทีไ่ปถายภาพกเ็ปนปจจยัสำคญัในการเพิม่ความงดงามใหกบัภาพทวิทศันดวย ตามปกต ิมกัจะถายภาพกันตั้งแตเชาตรู จนถึงเวลาพลบค่ำ ซึ่งแสงสีของทองฟาที่กำลงัเปลีย่นแปลง ดวงอาทติยกลมโตทอแสงออนๆ เปนภาพประทบัใจทีอ่ยใูนความทรงจำเสมอ

อุ ป ก ร ณ ถ า ย ภ า พแมเลนสมุมกวางจะถูกใชมากกวาเลนสชวงอื่นๆ ในการเก็บภาพบรรยากาศที่สวยงาม กวางตระการตา แต เลนสชวงอื่นๆ ไมวาจะเปนเลนสชวงมาตรฐานไปจนถึงเทเล และซูเปอรเทเล ตางก็ถายทอดภาพอันสวยงามไดอยางนาประทับใจในสไตลที่แตกตางกัน

เรามักจะใชเลนสมุมกวางถายภาพทิวทัศนที่สวยงามและกวางสุดสายตาหรือถายภาพที่มีฉากหนาประกอบอยูใกลกับกลองที่ตองการเนนใหมองเห็นเดนชัด และหรี่ชองรับแสงใหแคบพอประมาณ เพื่อใหชวงความชัดครอบคลุมสิ่งตางๆ ในภาพไดทุกระยะ

Page 8: Basic Photography แนะนำการใช้กล้อง DSLR สำหรับมือใหม่

8

นอกจากเลนสมุมกว างแลวเลนสชวงอื่นๆ เชน เลนสมาตรฐาน หรือเลนสเทเลก็มักจะถูกหยิบมาใช เมื่อตองการเนนวัตถุที่อยูหางออกไปใหมีขนาดเดนชัดในเฟรม หรือตองการเนนเฉพาะพื้นที่บริเวณใดบริเวณหนึ่งใหเดนชัด เชนตองการถายภาพทิวเขาที่สลับซับซอนที่ไกลออกไป หรือถายภาพดวงอาทิตย

อุปกรณชนิดอื่ นๆ ที่ ควรจะเตรียมไวก็คือฟลเตอรโพราไรซ ใชสำหรับตัดแสงสะทอน ฟลเตอรชนิดนี้จะทำใหภาพมีสีสันสดขึ้น และทำใหภาพมีรายละเอียดมากขึ้นดวย ซึ่งเปนคุณสมบัติที่ซอฟทแวรตกแตงภาพไมสามารถปรับแตงได

ทิวทัศนริมชายทะเลถายดวยเลนส EF-S 10-22mm

F/3.5-4.5 ซึ่งเปนเลนสซูมมุมกวางพิ เศษ ที่ช วง10mm จะเห็นตนไมที่อยูใกลกับกลองซึ่ งมี ระยะห างจากกลองเพียง 50 ซม .ทำใหดู ใกลชิดมาก และ

ความใกลก็ทำใหตนไมดู เดนชัด ในขณะเดียวกับที่ ไดความกวางของบรรยากาศจากมุมรับภาพที่กว างของเลนสดวย

ใหสั ง เกตความชัดของภาพ ที่ชัดตั้ งแตตนไมและกอนหินที่ อยู ด านล างของเฟรมไปจนถึงไกลสุดที่ เมฆบนทองฟา เปนคุณสมบัติของเลนสมุมกว างที่ ใหความชัดลึกที่ สู งมากกว า เลนสชนิดอื่ นๆ

เมื่อตองการเนนรูปทรงของวัตถุที่อยู ในระยะหางออกไปใหมีขนาดชัดเจน เลนสชวงเทเล หรือเทเลซูม จะชวยใหจัดองคประกอบภาพไดแนนขึ้นตามที่ตองการ ภาพนี้ถายดวยเลนส EF-S 18-200mmF/3.5-5.6IS USM

Page 9: Basic Photography แนะนำการใช้กล้อง DSLR สำหรับมือใหม่

9

à¤Åç´ÅѺ¡Òö‹ÒÂÀÒ¾

ใชระบบแสดงเสนกริด(Grid Display)ในขณะใชระบบ Live View เพือ่ตรวจสอบความเอียงของเสนขอบฟาเลือก Picture Style เปน Landscapeเพือ่ใหทองฟามสีสีดเขมและภาพทีค่มชดักอนถายภาพ ตรวจสอบชวงความชัดดวยปมุตรวจสอบเสมอ (ดผูลไดทีช่องเลง็ภาพปกตหิรอืจอ LCD เมือ่ใช Live View)

ก า ร วั ด แ ส งสำหรับการถายภาพทิวทัศนโดยทั่วไประบบวัดแสงเฉลี่ยทั้งภาพ < > เปนระบบที่มีโอกาสเกิดความผิดพลาดต่ำกวาแบบอื่น และใชงานไดสะดวกรวดเร็วแตในบางกรณีที่มักจะถายภาพบอยๆเชน เมื่อถายภาพในชวงโพลเพล หรือตองการถายภาพวัตถุที่มีรูปทรงใหเปนเงามืด ควรจะเลือกใชระบบวัดแสงที่

ละเอียดสำหรับเจาะจงวัดแสงในพื้นที่ที่ตองการ ก็จะไดภาพเงามืดที่สวยงาม

หรื อ เมื่ อถ ายภาพทิ วทั ศน ที่มีดวงอาทิตยประกอบอยูในภาพ ก็ควรวัดแสงในพื้นที่ซึ่งมีแสงออนลง หรือวัดแสงโดยไมรวมดวงอาทิตยอยูในพื้นที่วัดแสงดวย เพราะคาแสงที่วัดไดอาจจะเกิดความผิดพลาดไดงาย .../

เมื่อถายภาพยอนแสง หรือมีดวงอาทิตยรวมอยู ในเฟรม การวัดแสงดวยระบบเฉลี่ยทั้ งภาพอาจเกิดความผิดพลาดได ควรใชระบบที่ละเอียดขึ้น เชนวัดเฉพาะสวนหรือเฉพาะจุด วัดแสงในพื้นที่ซึ่ งมีความสวางพอประมาณ(ในภาพนี้ วัดแสงเฉพาะจุดในพื้นที่เสนประ )

เมื่อวัดแสงบริเวณที่มืดภาพจะแลดูสวางเกินไป

เมื่อวัดแสงบริเวณสวางภาพจะแลดูมืดเกินไป

Page 10: Basic Photography แนะนำการใช้กล้อง DSLR สำหรับมือใหม่

10

ก า ร ถ า ย ภ า พ ม า โ ค รMacro P h o t o g r a p h y

มาโคร เปนงานถายภาพทีแ่ตกตางจากการถายภาพแบบอืน่ๆ เพราะเปนการถายภาพสิ่งเล็กๆ ที่มองเห็นไดไมชัดเจนดวยตาเปลา การถายภาพมาโครจึงเปนการเปดโลกใบเล็กๆ ที่งดงาม ที่มีสีสัน รูปทรง และความแปลกตา ภาพถายมาโครจงึเปนภาพทีน่าอศัจรรย

ผี เสื้อขนาดเล็กจิ๋ ว ประมาณ1 นิ้ว กำลังดูดกินน้ำหวานจากดอกไม กำลังขยายของเลนสมาโครชวยใหเรามองเห็นรายละเอียดบนลวดลายของปก ขนปก และรายละเอียดของเกสรดอกไม เราสามารถใชอุปกรณเสริมพิเศษหลายๆ แบบที่จะทำให เลนสถ ายภาพตัวเดิมที่มีอยูสามารถถายภาพไดใกลมากขึ้น และมีกำลั งขยายสูง เชนเดียวกับเลนสมาโครได แตหากตองการภาพที่มีคุณภาพสูง เลนสมาโครก็ยั งคงเปนทางเลือกที่ ใหคุณภาพดีที่สุด และสะดวกในการใชงานมากที่สุด ภาพนี้ถายดวยเลนสEF100mmF/2.8 Macro USMที่อัตราสวนของภาพ 1:1(เทาขนาดจริง) ใชระบบ Av ชองรับแสง F/16

Page 11: Basic Photography แนะนำการใช้กล้อง DSLR สำหรับมือใหม่

11

à¤Åç´ÅѺ¡Òö‹ÒÂÀÒ¾การถายภาพสิ่งเล็กๆ ดวยอัตราขยายสูง อาจจะเกิดภาพสั่นหรือเบลอไดงายกวาปกติ ความสั่นนั้น อาจเกิดจากวัตถุเองรวมกับความสั่นของกลอง ดังนั้นควรรอใหวัตถุอยูนิ่งที่สุดและตัง้ Custom Function [ C.Fn-8: Mirror lockup] ตัง้เปน [1:Enable] ใหกลองล็อคกระจกสะทอนภาพ ตั้งกลองบนขาตั้ง

กลอง และลั่นชัตเตอรดวยรีโมทหรือใชสายลั่นชัตเตอร หรือใชระบบหนวงเวลาถายภาพ 2 วนิาท ี< > เพือ่ใหตวักลองมคีวามสัน่เกดิขึน้นอยทีส่ดุ

ก า ร ถ า ย ภ า พ ม า โ ค รการถายภาพมาโครหมายถึงการถายภาพในอัตราสวนเทาขนาดจริง หรือ 1:1แตอนุโลมใหการถายภาพขนาดครึ่งหนึ่งของขนาดจริง (1 : 2) เปนการถายภาพมาโครดวยเชนกัน แตการถายภาพที่มีอัตราสวนต่ำกวานี้ จะเรียกวาการถายภาพโคลสอัพ เชน การถายภาพดอกไมหรือสิ่งของที่มีขนาดใหญพอควร

การถายภาพมาโครเปนที่นิยมของนักถายภาพธรรมชาติ เชน ถายภาพดอกไม เล็กๆ แมลง สวนในเชิงพาณิชยก็จะเปนเครื่องประดับ อัญมณี ที่ใชในงานโฆษณา

สำหรับการถายภาพสิ่ งที่มีขนาดใหญขึ้น เชน ดอกไมขนาดใหญอยางดอกบัว ไมจัดเปนการถายภาพมาโคร เพราะถายดวยกำลังขยายที่ต่ำ และสามารถใชเลนสอื่นๆ ถายภาพในลักษณะนี้ ได ภาพนี้ถ ายดวยเลนสEF75-300mmF/4-5.6 IS USMซูมที่ 300mm ระบบ Avชองรับแสง F/5.6 ที่ระยะหางประมาณ 2 เมตร

เลนสมาโคร เปนเลนสที่ออกแบบมาใหมีระยะโฟกัสสั้ นที่ สุ ดที่ สั้ นมากจนถายภาพสิ่ งของเล็กๆใหมีขนาดใหญเต็มเฟรมภาพได เลนสชนิดนี้ ใชถ ายภาพอื่นๆ ไดตามปกติ ไมแตกตางจากเลนสที่มีความยาวโฟกัสเทาๆ กัน(ในภาพ เลนส EF100mmF/2.8L Macro IS USM)

Page 12: Basic Photography แนะนำการใช้กล้อง DSLR สำหรับมือใหม่

ภาพตั๊กแตนตำขาวขนาดเล็กมากที่กำลั ง เกาะอยูบนดอกไมตองการความชัดที่ครอบคลุมทั้ งจุดเดนและดอกไม และตรวจสอบพบวาชองรับแสงที่ตองใชก็คือ F /16 ภาพนี้ถายที่อัตราสวนของภาพราว 1:1.5 (ประมาณ70% ของขนาดจริง) ใชเลนสEF100mmF/2.8 Macro USM

แมลงเต าทองขนาดเล็กจิ๋ วที่ เกาะอยูกับกุหลาบหิน เนนการโฟกัสที่ดวงตาและสวนหัวซึ่ ง เปนจุดสำคัญของภาพถายแมลงที่อัตราสวนของภาพ1:1(เทาขนาดจริง) ชวงความชัดจะตื้นมากๆ เมื่อถายภาพที่อัตราขยายสูงสุดตองหรี่ชองรับแสงใหแคบมากๆ ที่ระดับ F /22 เพื่อเพิ่มชวงความชัดใหมีมากขึ้นดังที่ปรากฏในภาพ

12

เ ท ค นิ ค ก า ร โ ฟ กั สเมื่อคนพบสิ่งเล็กๆ ที่ตองการถายภาพแลว ลองเคลื่อนกลองเขาใกลใหมากที่สุดและทดลองจัดภาพจนไดขนาดวัตถุตามที่ตองการ จะสังเกตวา เมื่อโฟกัสไปที่ตำแหนงใดๆ ในเฟรม จุดที่อยูหางออกไปแมแตเพียงเล็กนอยก็จะเริ่มพนไปจากความชัดอยางรวดเร็ว

สำหรับการถ ายภาพมาโครระบบออโตโฟกัสอาจจะโฟกัสผิดจากตำแหนงที่ตองการ หรือไมอาจโฟกัสใหตรงกับตำแหนงที่ตองการไดเนื่องจากจุดนั้นมีขนาดเล็กหรือมีความเปรียบตางต่ำกรณีนี้ควรจะเปลี่ยนมาใชระบบโฟกัสแบบแมนนวล (MF) เพื่อปรับภาพในตำแหนงที่ตองการดวยการหมุนปรับดวยตนเอง และหลังจากเลือกจุดที่จะโฟกัสไดแลว ปรับชองรับแสงใหแคบลงเชน F/11 หรือ F/16 หรือแคบกวานั้น แลว

ลองกดปุมตรวจสอบชวงความชัดเพื่อตรวจดูวาความชัดนั้นครอบคลุมพื้นที่และระยะที่ตองการแลวหรือไม

Page 13: Basic Photography แนะนำการใช้กล้อง DSLR สำหรับมือใหม่

มุมมองของภาพมาโครและการจัดองคประกอบภาพก็มีสวนสำคัญที่ทำใหภาพของดอกลีลาวดีที่แลดูธรรมดาๆ กลายเปนภาพที่ดูแปลกตาและสวยงาม โดยภาพนี้มองจากดานลางของดอกไมและยอนแสง ซึ่ งเนนการไลสีและรูปทรงของกลีบดอกใหดูราวกับเปนภาพวาดภาพนี้ถายที่อัตราสวนของภาพราว 1:3(ประมาณ 30% ของขนาดจริง) โดยใชเลนส EF100mm F/2.8 Macro USM

13

เ ค ล็ ด ลั บ ก า ร ถ า ย ภ า พม า โ ค รความยากของการถายภาพมาโครมักจะเกิดขึ้นจากความสั่น ทั้งที่ เกิดจากความสั่นของวัตถุเอง(ซึ่งมักจะเกิดจากแรงลม) และความสั่นของกลอง(การใชมือถือ, การเคลื่อนไหวของชิ้นสวนในตัวกลอง, การใชนิ้วกดชัตเตอรโดยตรง ฯลฯ)

เมื่อหรี่ชองรับแสงใหแคบ ความไวชัตเตอรจะลดต่ำลงมาก ผลของความสั่นตางๆ ก็จะปรากฏใหเห็นชัดขึ้นดวย

เมื่อตองการภาพที่มีคุณภาพสูงคมชัดและไมปรากฏความสั่น ควรใชขาตั้งกลองที่แข็งแรง ตั้งกลองบนพื้นที่มั่นคง ใชระบบล็อคกระจกสะทอนภาพกอนถายภาพ ลั่นชัตเตอรดวยสายลั่นหรือรีโมท หรือใชระบบหนวงเวลาถายภาพ 2วินาที เพื่อลดความสั่นจากการใชนิ้วกดชัตเตอรโดยตรงและรอจังหวะที่วัตถุอยูนิ่งสนิท ภาพก็จะคมชัดที่สุด .../

àÁ×èÍäÁ‹ÁÕ¢ÒµÑ駡Ōͧ

หากไมไดนำขาตั้งกลองติดตัวไปดวย และตองการถายภาพมาโครใหมีคุณภาพสมบูรณที่สุดเทาที่จะเปนไปได1. ปรบัความไวแสงใหสงูขึน้ เพือ่ใหความไวชัตเตอรสูงขึ้น2. ใชเลนสทีม่รีะบบ IS หรอื Hybrid IS* เพือ่ชวยลดความสั่นจากการสั่นของมือ* ระบบปองกันภาพสั่นไหวแบบไฮบริด(Hybrid IS: Hybrid Image Stabilizer) เปนระบบที่แคนนอนออกแบบเปนรายแรกของโลก ซึ่งระบบนี้จะชวยลดการสั่นไหวของกลองไดสมบรูณแบบมากยิง่ขึน้ ทัง้การสัน่ไหวของกลองแบบขึน้-ลง(Shift camera shake) และแบบมมุกมเงย(Tilt camera shake) ทำใหภาพถายคมชดัทุกองศาการเคลื่อนไหว

Page 14: Basic Photography แนะนำการใช้กล้อง DSLR สำหรับมือใหม่

14

ก า ร ถ า ย ภ า พ นํ้ า ต กWaterfall P h o t o g r a p h y

สายน้ำตก เปนความสวยงามและนาประทับใจ เมื่อถายเปนภาพของสายน้ำสีขาวที่นุมนวลและกำลังไหลผานโตรกหนิ ลดเลีย้วไปตามลำธารและแวดลอมดวยปาที่เขยีวชะอมุ

สายน้ำเปนสวนประกอบในภูมิทัศนที่สวยงามของทีลอซู ในบรรยากาศอันยิ่งใหญ มองเห็นแองน้ำในฉากหนา กับสายน้ำตกหลายๆ สายในฉากหลัง ดวยการควบคุมความชัดลึกจากเลนสมุมกว าง ในปาอันรกทึบ จะมีมุมหรือมีจุดตั้ งกลองที่เห็นภูมิทัศนกว างขวางเชนนี้ เพียงไมกี่ แห งเราอาจเลือกมุมถายภาพที่ เปนมุมกวาง หรือตัดสวนของภาพใหแนนดวยเลนส เทเล ภาพนี้ถายดวยเลนส EF 16-35mmF/2.8L IIUSM ซูมที่ชวง 24mm ระบบ Av F/16 ใชPicture Style แบบ Landscape

มุ ม ม อ ง - นํ้ า ต กสำหรับภาพน้ำตก จุดเดนมักจะเปนสายน้ำตก เสริมดวยความสวยงามอื่นๆ ที่มีอยู ในธ ร ร ม ช า ติ ม า ร ว ม เ ป น อ ง คประกอบภาพ เชน แองน้ำดอกไมปา โขดหินขนาดใหญสภาพปา ฯลฯ

มักจะนิยมถายภาพน้ำตกในมุมกว างที่ สุ ด เท าที่จะเปนไปได แตทั้งนี้ สายน้ำตกก็ไมควรจะมีขนาดเล็กจนเกินไปการเลือกเลนสที่จะนำมาใช จึงขึ้นอยูกับขนาดน้ำตก และ ระยะที่ตั้งกลอง รวมทั้งสิ่งนาสนใจอื่นๆ ที่จะนำมารวมอยูในองคประกอบภาพ

Page 15: Basic Photography แนะนำการใช้กล้อง DSLR สำหรับมือใหม่

15

à¤Åç´ÅѺ¡Òö‹ÒÂÀÒ¾

เมื่อใชระบบวัดแสงที่ละเอียด เชน เฉพาะสวนหรือเฉพาะจุด ควรวัดแสงที่บริเวณสวนสวางในภาพ และชดเชยคาการเปดรับแสงตามทีจ่ำเปน(มกัจะชดเชยใหโอเวอร +)ผูใชสามารถตรวจสอบความเขมสวางของภาพกอนถายภาพ โดยดูผลการปรับตัง้ดวยระบบ Live Viewดูภาพที่ถายแลวทันที หากไมไดผลที่พอใจใหปรับแกระดับการชดเชยแสงแลวจึงถายภาพใหม

ส า ย นํ้ า ที่ นุ ม น ว ลภาพน้ำตกที่สวยงาม มักจะเปนภาพที่แสดงความนุมนวลของสายน้ำ เลือกใชระบบบันทึกภาพที่ควบคุมความไวชัตเตอรใหต่ำได เชน ใช Av แลวปรับชองรับแสงใหแคบ(f/11 หรือ f/16) หรือใช Tv กำหนดความไวชัตเตอรใหต่ำ(1/30 วินาทีหรือต่ำกวา)

ในสภาพแสงจา นักถายภาพอาจจะตองใชฟลเตอร PL-C เพื่อลดแสงใหไดความไวชัตเตอรต่ำตามที่ตองการ .../

เมื่อคาแสงมีความแตกตางกันมากในเฟรม เชน สายน้ำสีขาวสวาง ตัดกันกับโขดหินสีดำเขม ควรใชระบบวัดแสงเฉพาะจุด < > หรือเฉพาะสวน < >วัดแสงที่สายน้ำ โดยอาจจะชดเชยใหกับความสวางประมาณ 1 stop ก็จะไดภาพที่มีสายน้ำสีขาว และโขดหินที่ เปนสี เขมสมจริง

ทั้ งสองภาพนี้ถ ายดวยความไวชัตเตอรต่ำประมาณ 2 วินาที จึงเห็นความเคลื่อนไหวของสายน้ำตกที่นุมนวล

ระบบชดเชยแสงออกแบบมาใหสามารถเพิ่มหรือลดความสวางของภาพได +/- 3 stop โดยปรับไดขั้ นละ1/3 s topชดเชยความสวางโอเวอร 1 stop(+1)

Page 16: Basic Photography แนะนำการใช้กล้อง DSLR สำหรับมือใหม่

16

ก า ร ถ า ย ภ า พ กี ฬ าSport P h o t o g r a p h y

หยดุภาพอริยิาบถทีส่นกุสนาน หรอืสรางสรรคภาพใหแสดงความเคลือ่นไหว โดยเทคนิคงายๆ ในการควบคุมความไวชัตเตอร ซึ่งเทคนิคนี้ใชไดกับการถายภาพเคลือ่นไหวแบบอืน่ๆ เชน การเลนของเดก็ๆ

สิ่ งสำคัญของภาพกีฬาก็คือจั งหวะสำคัญและความสนุกของการแขงขัน นักถายภาพจะตองจับภาพอยูตลอดเวลาเพื่ อรอคอยจั งหวะที่ กำลั งจะเกิดขึ้ นภาพถายดวยเลนส 300mmF/4L IS USMที่ F/4 1/1000 วินาที

ชัตเตอรสู งๆ ชวยหยุดหยดน้ำที่กำลั งกระเซ็นในจั งหวะที่นักกีฬาโผตั วขึ้ น กีฬาแตละชนิดมีแอ็คชั่ นที่แตกตางกัน นักถายภาพตองสัง เกตและคนหาอิริยาบถที่น าตื่นตาที่สุด ชางภาพกีฬามักจะเปดชองรับแสงใหกวางหรือรวมกับการใชความไวแสงสูง เพื่อความไวชัตเตอรที่สู ง เทาที่ จะเปนไปไดภาพนี้ใชเลนส EF300mmF/4L ISUSM ชองรับแสง F/4 1/2000 วินาที

แคนนอน มีเลนส เทเลไวแสง (เลนสสีขาว ) และเลนสเทเลซูม หลายสิบรุนซึ่ ง เปนทางเลือกของนักถายภาพกีฬา

ห ยุ ด แ อ็ ค ชั่ น ป ร ะ ทั บ ใ จเลนสที่มักจะใชถายภาพกีฬาสวนใหญจะเปนเลนสเทเล เพราะตองถายภาพจากระยะหางพอสมควร ขึ้นอยูกับชนิดกีฬาแตละชนิด

Page 17: Basic Photography แนะนำการใช้กล้อง DSLR สำหรับมือใหม่

17

à¤Åç´ÅѺ¡Òö‹ÒÂÀÒ¾

ความสวยงามของภาพกีฬานั้นขึ้นอยูกับจังหวะ นักถายภาพตองสังเกตลักษณะของกีฬาแตละชนิด เพื่อถายภาพในจังหวะที่เปนจุดเดนของกีฬาชนิดนั้นๆไมจำเปนเสมอไปที่ภาพกีฬาจะตองถายใหคมชัดดวยความไวชัตเตอรสูงๆ เทานั้นสามารถใชความไวชัตเตอรต่ำๆ เพื่อสรางความเคลื่อนไหวใหเกิดขึ้นในภาพ ก็จะไดภาพที่สวยงามจากผลของการเคลื่อนไหว

นักถายภาพกีฬามักจะใชระบบบันทึกภาพ Av และเปดชองรับแสงกวางสุด เพื่อใหไดความไวชัตเตอรที่สูงสุดเทาที่จะเปนไปได และแพนกลองติดตามการเคลื่อนที่ของการแขงขันอยูตลอดเวลา เพื่อรอจังหวะลั่นชัตเตอรในวินาทีสำคัญ โดยระบบโฟกัสที่สะดวกสบายและติดตามโฟกัสไดตลอดเวลาก็คือ AI SERVO และเมื่อใชรวมกับระบบบันทึกภาพตอเนื่อง < > ก็สามารถคัดเลือกภาพที่สวยงามที่สุดจากภาพทั้งชุดที่ถายเอาไว .../

ชุดภาพ จากระบบบันทึกภาพตอเนื่อง เพื่อคัดเลือกภาพที่สมบูรณที่สุดในภายหลัง

ไอเดียดีๆ ในการสรางสรรคภาพใหมีการเคลื่อนไหวดวยการใชความไวชัตเตอรต่ำๆ เชนในภาพนี้ ใชระบบ Tv ตั้งชัตเตอร 1/4 วินาที ถายภาพในขณะที่ รถแข งกำลั งพุ งขึ้นจากหลุมโคลน

Page 18: Basic Photography แนะนำการใช้กล้อง DSLR สำหรับมือใหม่

18

ก า ร ถ า ย ภ า พ ส ถ า ป ต ย ก ร ร มArchitect P h o t o g r a p h y

เมื่ อท อ ง เที่ ย ว ในแหล งท อ ง เที่ ย วทางวฒันธรรม ภาพทีเ่รามกัจะไดถายเกบ็ไวเปนที่ระลกึกค็อืภาพอาคาร โบราณสถาน และสิง่กอสรางในสถานทีน่ัน้ๆ มเีทคนคิงายๆ ทีไ่มยากตอการจดจำ ซึง่จะชวยใหถายภาพสถาปตยกรรมสวยๆ ไดอยางนาประทบัใจ

เ ท ค นิ ค ก า ร ถ า ย ภ า พลองใชเลนสที่มีมุมกวางที่สุดเทาที่มี และทดลองหามุมกลองที่ทำใหคุณเขาใกลสิ่งกอสรางนั้นโดยที่ยังเก็บสวนตางๆ ไดครบถวน ตั้ งแตฐานจนถึงยอด อาจจะตองเงยกลองขึ้นเล็กนอยเพื่อเก็บภาพสวนยอดที่แหลม

ลองคนหามุมกลองที่บรรจุเอาสิ่งที่นาสนใจอื่นๆ โดยเฉพาะสิ่งที่มีสีสันเขาเปนฉากหนาใกลๆ กับกลองดวยจะทำใหภาพมีมิติและมีสีสันที่นาสนใจมากขึ้น

คุณสมบัติขอหนึ่งของเลนสมุม

ภาพพระราชวังที่หลวงพระบาง ถายภาพใกลดวยเลนสมุมกวางพิเศษ EF16-35mmF/2.8L II USMที่ชวงซูม 16mm เลือกเอาธงทิวสีแดงและเสาธงเปนสวนประกอบในฉากหนา และจัดใหอาคารอยูภายในชองของเสนสามเหลี่ยม ทำใหภาพดูมีระยะตื้น -ลึก และมีสีสันมากขึ้น

สำหรับภาพนี้ปรับสีของทองฟาให เปนสีฟาเขมโดยใชฟลเตอรโพราไรซ และใช PictureStyle แบบ Landscape

กวางก็คือ มักจะสรางความบิดโคงใหวัตถุที่อยูในบริเวณขอบภาพ ดังนั้น ควรจะจัดใหตัวอาคารอยูกึ่งกลางของเฟรมโดยเฉพาะเมื่อเงยกลองขึ้น จะทำใหภาพดูไมผิดธรรมชาติมากจนเกินไป

หากจัดภาพผิดพลาด ความโคงเอียงของอาคารจะทำใหองคประกอบภาพเสียไป ภาพจะดูไมมั่นคง และทำใหรูสึกถึงความผิดปกติมากขึ้น แตก็ขึ้นอยูกับมุมมองและความตั้งใจของนักถายภาพแตละคนที่อาจตองการสรางภาพถายในมุมมองที่แปลกตา.../

Page 19: Basic Photography แนะนำการใช้กล้อง DSLR สำหรับมือใหม่

เมื่ อใช เลนสมุมกว างถ ายภาพสิ่ งที่ มีความสูง การตั้ งกลองใหตรงจะมีความสำคัญมาก เพราะหากบิดเบนไปทางซายหรือขวาเพียงเล็กนอย ความโคงงอของอาคารก็จะปรากฏขึ้นทันที ควรจะใชการแสดงเสนตาราง(Grid Display) ของระบบ Live Viewชวยในการจัดภาพ และควรใชขาตั้ งกลองจะทำใหการจัดภาพสะดวกขึ้น

ภาพถายดวยเลนส EF24-70mmF/2.8L ที่ชวง 24mm ระบบ Av F/8

19

à¤Åç´ÅѺ¡Òö‹ÒÂÀÒ¾

การนำเอาสิ่ งที่มีอยู ในบริ เวณมารวมอยูภายในองคประกอบภาพเชน การนำเอาซุมทางเดินมาอยูในภาพ ชวยทำใหเกิดมิติความลึกมากขึ้น และยังเพิ่มกรอบบังคับสายตาไปยังจุดเดน

ทั้งภายนอกและภายในอาคาร มักจะประกอบไปดวยรูปทรงเรขาคณิตที่ทำใหภาพดูสวยงามและแปลกตาเชน รูปกนหอยของอาคารสมัยเกาหรือทางเดินที่เปนเสนตรงหรือเสนโคงหรือรูปทรงเรขาคณิตของตัวอาคารเอง

อาคารสูงจะโคงเอียง หากไมวางไวที่ กึ่ งกลางของเฟรม

Page 20: Basic Photography แนะนำการใช้กล้อง DSLR สำหรับมือใหม่

ก า ร ถ า ย ภ า พ ก ล า ง คื นZoom B u r s t

ภาพถายกลางคนืนัน้มคีวามสวยงามจากแสงสขีองไฟประดบั และแสงไฟที่เกิดจากกิจกรรมในเวลากลางคืน ใชเลนสที่เก็บแสงสีไดในพื้นที่สวนใหญของเฟรม เพือ่ไมใหภาพโลงเกนิไป เทคนคิของเลนสกช็วยสรางสรรคภาพใหแปลกตา จากความไวชตัเตอรต่ำๆ

20

กิจกรรมในเวลาค่ำคืนมักปรากฏเปนภาพของแสงสีที่ สวยงามและนาประทับใจ ใหสังเกตวาภายในภาพมีสวนที่ เขมมืดอยูมาก ระบบวัดแสงแบบเฉลี่ยทั้ งภาพจะทำใหการวัดแสงผิดพลาดไดงาย ในภาพนี้ใชระบบวัดแสงเฉพาะจุด วัดตรงส วนที่ เปนสีสมซึ่ ง ไมตรงกับหลอดไฟ ใช เลนสEF24-70mmF/2.8L USM

ก า ร เ ป ด รั บ แ ส งสำหรับการเก็บภาพความงดงามของแสงสีกลางคืน ความผิดพลาดมักจะเกิดจากการวัดแสงที่ผิดพลาดมากกวาอยางอื่นสวนใหญภาพมักจะสวางกวาจริง สีสันไมเขมสดเหมือนที่ตาเห็น

หากพิจารณาองคประกอบภาพของภาพกลางคืนทุกๆ ภาพ จะพบวามีสวนประกอบของพื้นที่สีดำเขม มากบาง

นอยบาง ซึ่งพื้นที่สีเขมนี้จะทำใหการวัดแสงผิดพลาดไดงาย

หลักการวัดแสงก็คือ ควรวัดแสงในบริเวณสวนของแสงไฟหรือพื้นที่สวาง ดวยระบบวัดแสงเฉพาะจุด < >หรือเฉพาะสวน < > แลวชดเชยแสงใหอันเดอรประมาณ 1 stop เพื่อใหสีเขมขึ้น

Page 21: Basic Photography แนะนำการใช้กล้อง DSLR สำหรับมือใหม่

21

à¤Åç´ÅѺ¡Òö‹ÒÂÀÒ¾

ในกรณีของการถายภาพแสงไฟกลางคืน ชองรับแสงจะมีผลตอขนาดของเสนแสงดวย ถาเปดชองรับแสงกวางเสนแสงจะใหญ ถาเปดชองรับแสงแคบพอประมาณ เสนแสงจะเล็กและคมชัด

เ ค ล็ ด ลั บ ก า ร ถ า ย ภ า พการถายภาพกลางคืนมีขอไดเปรียบก็คือมักจะวัดแสงไดความไวชัตเตอรต่ำมากเปดโอกาสใหสามารถสรางสรรคภาพเคลื่อนไหวจากแสงสี ได ทั้ งจากการเคลื่อนไหวของแสงไฟที่เคลื่อนที่ หรือจากการเคลื่อนกลอง หรือจากการใชเทคนิคระเบิดซูม .../

ÀÒ¾ÃÐàºÔ´«ÙÁ

ความเคลื่อนไหวของแสง จากปายไฟดวยการระเบิดซูม เลนส EF28-135mmF/3.5-5.6 ISUSM ชัตเตอร 2 วินาที

ภาพระเบิดซูม เปนเทคนิคที่ เกิดจากการหมุนซูมเลนสในระหวางการเปดรับแสง การซูมเลนสจะทำใหจุดแสงเกิดการเคลื่อนที่และปรากฏเปนเสน บางครั้งเสนก็อาจมีความคดเคี้ยวตามความสั่นของมือ

ภาพเสนของแสงไฟซึ่ งเกิดจากการซูมเลนสจากปลายดานหนึ่งไปยังปลายอีกดานหนึ่ งในขณะเปดรับแสง ใชเลนส EF28-135mmF/3.5-5.6 IS USMชัตเตอร 2 วินาที

ภาพแสงสีในสวนสนุกที่มีการเคลื่อนไหว ถายดวยการเปดรับแสงนาน 4 วินาที โดยตั้งกลองไวบนขาตั้ งกลอง ปลอยใหแสงไฟลากเปนลวดลายขึ้นในภาพ ถายดวยเลนส EF70-200mmF/2.8L USM

Page 22: Basic Photography แนะนำการใช้กล้อง DSLR สำหรับมือใหม่

ป ร ับ แ ต ง ภ า พ ใ ห ส ว ย ด ว ย ซ อ ฟ ท แ ว ร

22

Digital Photo Professional (DPP) เปนซอฟทแวรที่ใชในการประมวลผลและตกแตงภาพของกลองEOS Digital ซึ่งจะมี CD-ROM ติดตั้งซอฟทแวรนี้มาพรอมกับตัวกลองในกลองบรรจุของ EOS ทุกรุนเปนซอฟทแวรที่แคนนอนแนะนำใหใชโดยเฉพาะสำหรับการตกแตงภาพและประมวลผล พรอมทั้งการแปลงไฟลที่ถายในฟอรแมท RAW ใหเปนฟอรแมทที่อานไดในคอมพิวเตอรทุกๆ ระบบ ตลอดจนซอฟทแวรชนิดอื่นๆคนหาภาพที่ถายโอนมาในคอมพิวเตอร

ไดอยางรวดเร็ว เรียกดูภาพ และใชฟงกชั่นในการปรับแตงเปลี่ยนแปลงลักษณะตางๆ ของภาพ โดยเฉพาะภาพที่ถายมาเปน RAW และแปลงเปนไฟลแบบอื่นๆ ไดอยางรวดเร็ว โดยเลือกแปลงไดทั้งแบบทีละภาพและแบบกลุม ซอฟทแวรยังสามารถจดจำและบันทึกลักษณะการปรับแตง เพื่อนำไปใชกับภาพอื่นๆ ที่ตองการปรับแตงในลักษณะที่คลายคลึงกัน เพื่อความรวดเร็วและประหยัดเวลาในการทำงาน ผูใชยังสามารถดาวนโหลดPicture Style อีกมากมายหลายแบบจากเวบไซตของแคนนอน และปรับแตงPicture Style ของตัวเองไดดวยซอฟทแวร Picture Style Editor เพื่อการปรับแตงภาพที่ทำไดยืดหยุนมากขึ้นดวยซอฟทแวรนี้นอกจากจะใชงาย เขาใจงาย ก็ยังปรับแตงภาพที่ถายดวยกลองEOS ไดอยางอิสระและมีคุณภาพสูงโดยไมลดทอนคุณภาพของภาพลง และปรับแตงไดละเอียดเทียบเทากับซอฟทแวรอื่นๆ

เมื่อดับเบิลคลิกที่ภาพซึ่งตองการปรับแตง ภาพนั้นจะถูกขยายใหมีขนาดใหญขึ้น พรอมกับแสดงหนาตางของเครื่องมือปรับแก ที่สามารถปรับแกไดมากมายหลายแบบ เชน อุณหภูมิสี Picture Styleความเปรียบตาง ความอิ่มตัว ความคมชัด โทนสีฯลฯ ตลอดไปจนถึงการเปลี่ยนแปลงรูปแบบและขนาดของไฟลในขั้นตอนสุดทาย ซึ่งจะจบลงในขั้นตอนของการบันทึก

ภาพตนฉบับที่ เปน RAW fi leเปนภาพสีปกติ

เปลี่ยน PictureStyle ใหเปนการกัดสีใหไดภาพสีหมนแบบโปสเตอรเกาๆ ดูแปลกตา

Page 23: Basic Photography แนะนำการใช้กล้อง DSLR สำหรับมือใหม่

23

นอกจากนี้ Digital Photo Professional ยังออกแบบใหมี• ระบบลด noise ซึ่งปรับตั้งไดอยางละเอียด• นำขอมูลเม็ดฝุนที่ไดรับจากตัวกลอง และลบฝุนออกจากภาพโดยอัตโนมัติ• ระบบปรับความเขมสวางอัตโนมัติ (Auto Lighting Optimizer)• ระบบลดความสลัวบริเวณขอบภาพอันเปนผลจากเลนส โดยอาศัยขอมูลของเลนสที่ใชนำมาบันทึกไว (อานรายละเอียดเพิ่มเติมไดจากคูมือการใชซอฟทแวรในแผน CD-ROM) ดัชนี ศัพทเฉพาะทาง

ชองรบัแสง - เปนตวัควบคมุปรมิาณแสงทีผ่านเลนสโดยตัวเลขบอกขนาดชองรับแสงจะบงบอกปริมาณแสงทีส่ามารถผานไปได เชน f/2.8, f/16 ฯลฯ หรอืเรยีกอกีชือ่หนึง่วา “f-number”ชองรบัแสงกวาง - ถาเปดชองรับแสงกวาง(คา f นอยเชน f/2.8, f/4) ชวงความชดัจะตืน้มาก วตัถใุนฉากหนาจะชัดและฉากหลังจะเบลอชองรับแสงแคบ - ถาปรับชองรับแสงใหแคบ (คา fมาก เชน f/16, f/22) ชวงความชัดจะลึกมาก วัตถุในฉากหนาและฉากหลังจะดูชัดมากขึ้นทั้งนี้หากเราตองการกำหนดเฉพาะคาของชองรับแสงเพยีงอยางเดยีว โดยใหกลองคำนวณการตัง้คาอืน่ๆ ใหเหมาะสม ก็สามารถเลือกใชงานในโหมดถายภาพ AV

ความไวชตัเตอร - จะเปนตวัควบคมุเวลาในการเปดรับแสงใหกระทบกับเซนเซอรรับแสง เมื่อใชรวมกันกับชองรบัแสงซึง่ควบคมุปรมิาณแสงทีผ่านเลนส กจ็ะควบคุมแสงทั้งหมดที่เซนเซอรรับแสงจะไดรับและสรางผลของภาพที่เคลื่อนไหวดวยความไวชตัเตอรสงู - เชน 1/1000 วนิาท ีมผีลใหสิง่ที่เคลือ่นไหวหยดุนิง่ความไวชตัเตอรต่ำ - เชน 1/30 วนิาท ีจะแสดงใหเหน็ถึงการเคลื่อนไหวทั้งนี้สามารถถายภาพที่หยุดการเคลื่อนที่ของวัตถุหรือภาพทีแ่สดงการเคลือ่นทีข่องวตัถดุวยโหมดถายภาพ TV

Depth of fieldชวงความชัด - ชวงที่อยูทางดานหนาจนถึงดานหลังของจุดโฟกัสซึ่งมีความชัดอยู ซึ่งชวงความชัดนี้จะลึกหรือตื้น ขึ้นอยูกับขนาดชองรับแสง ถาปรับชองรับแสงกวาง(ตวัเลขนอย) หรอืเมือ่ใชเลนสความยาวโฟกสัสูงขึ้น หรือเมื่อถายภาพวัตถุในระยะใกลมากขึ้น ชวงความชัดก็จะยิ่งตื้น

Depth of field previewการตรวจสอบชวงความชัด - คุณสมบัติที่ทำใหผูใชสามารถมองเห็นชวงความชัดที่เกิดขึ้นจริงไดจากชองเล็งภาพ เพื่อตรวจสอบสิ่งตางๆในภาพวาคมชัดหรือไม

Perspectiveทัศนมิติ - หมายถึงความแตกตางของขนาด เมื่อมองไปยงัวตัถทุีอ่ยใูกลและไกลในภาพ เมือ่ใชเลนสมมุกวางสิ่งที่อยูใกลๆ กับกลองจะดูมีขนาดใหญมาก และสิ่งที่อยูไกลจากกลองจะดูมีขนาดเล็กมาก ความรูนี้มีผลกับการเนนทัศนมิติของภาพ

Exposureการเปดรับแสง- - การที่ชัตเตอรเปดใหแสงผานไปยังเซนเซอรรับแสง เซนเซอรจะไดรับแสงนานเมื่อตั้งความไวชัตเตอรต่ำๆexposure compensationชดเชยแสง - ระบบบันทึกภาพอัตโนมัติของกลองออกแบบมาเพือ่การไดโทนสเีทากลาง แมวาพืน้ทีท่ีถ่ายภาพจะเปนสีดำหรือขาวก็ตาม เพื่อใหพื้นที่สีขาวแลดูเปนสีขาวแทนที่จะเปนสีเทา หรือพื้นที่สีดำที่เปนสีดำสมจริงจึงตองอาศัยการชดเชยแสง เพื่อชดเชยใหเหมาะกับสีและความเขมสวางของวตัถ ุเพือ่ใหไดภาพทีม่สีสีนัเทีย่งตรงมากขึ้นoverexposeเปดรบัแสงมากกวาพอด ี– สภาพทีเ่กดิขึน้เพราะเซนเซอรไดรับแสงมากเกินกวาในระดับพอเหมาะพอดีภาพถายจะดูสวางกวาที่มองเห็นโดยสายตาunderexposeเปดรับแสงนอยกวาพอดี – หมายถึงการเปดรับแสงนอยเกินไป เมื่อแสงที่ไดรับนอยเกินกวาคาที่พอเหมาะพอดี ภาพจะดูคล้ำหรืออาจะมืดกวาที่มองเห็นดวยตาของมนุษย

Page 24: Basic Photography แนะนำการใช้กล้อง DSLR สำหรับมือใหม่

Delighting You Alwaysบริษัท แคนนอน มารเก็ตติ้ง (ไทยแลนด) จำกัด179/34-45 อาคารบางกอกซิตี้ทาวเวอร ชั้น 9-10 ถนนสาทรใต แขวงทุงมหาเมฆเขตสาทร กรุงเทพฯ 10120 โทร. 0-2344-9888 (Call Center) แฟกซ 0-2344-9971

www.canon.co.th


Recommended