Transcript
Page 1: Digital Standard for Knowledge Society

มาตรฐานสื่อดิจิทัลเพื่อการบริการยุคสังคมฐานความรู

ศาสตราจารย ดร.ไพรชั ธัชยพงษเนคเทค/สวทช

27 กรกฎาคม 25523

Page 2: Digital Standard for Knowledge Society

นิยามและวิวัฒนาการของสังคมสารสนเทศ:สื่อและสื่อผสม

Page 3: Digital Standard for Knowledge Society

สังคมความรู

• สังคมความรู หมายถึง สังคมซึ่งใชความรูเปนทรัพยากรหลักในการผลิตแทนการใชทรัพยากรเงินและแรงงานอยางในอดีต

• สังคมความรู “สราง แบงปนและใชความรูเพื่อความเจริญรุงเรืองและความเปนอยูที่ดีของประชาชน”

wikipedia

Page 4: Digital Standard for Knowledge Society

สื่อดิจทิัล• สื่อ (media) หมายถึงหนวยเก็บ (storage) และชองรับสงขอมูล (transmission

channels) หรือเครื่องมือที่ใชในการเก็บและสงขอมูล• สื่อดิจิทัล หมายถึงสื่ออิเล็กทรอนิกสที่ทํางานกับขอมูลดิจิทัล

(หมายเหต:ุ คําวาสื่อคําเดียวกันนี้ บางครั้งก็ใชในความหมายของสื่อมวลชนหรือสื่อขาว)

wikipedia

สื่อผสม (multimedia)• หมายถึง สือ่และสาระที่มีหลายรูปแบบรวมกัน

• สือ่ผสมจะรวมอกัษร เสยีง ภาพนิ่ง แอนนเิมชนั วิดีโอและสาระที่สามารถปฏิสมัพันธได

Page 5: Digital Standard for Knowledge Society

• อักขระปรากฏบนแผนอิฐเปนสูตรในการหมักเบียร• หลักฐานที่แสดงวาชนชาติสุมาเรียนที่อาศัยในประเทศเมโซโปเตเมีย (ปจจุบันเปนสวนหนึ่งของอิรกั) เมื่อ 3200 ปกอนคริสตกาล เปนชนชาติแรกที่รูจักการเขยีน

Source:Who Began Writing? Many Theories, Few AnswersBy JOHN NOBLE WILFORD,The New York Times -- April 6, 1999

http://www.virtual-egypt.com

ยุคเริ่มตนของการเขียน

ชิ้นสวนกระดาษปาปรัสในคริสศตวรรษที่ 4 ซึ่งมีขอความอักขระยวิเปนบทสวดที่ 89: 4-7ในคัมภีรไบเบลิฉบับเกา

Page 6: Digital Standard for Knowledge Society

ภาพวาดฝาผนังกอนประวัติศาสตร

http://www.oddee.com/item_93915.aspx

• ถ้ํา Lascaux อยูทางตะวันตกเฉยีงใตของฝรั่งเศส• ภาพบนฝาถ้ํายุคหิน(15,000-10,000 กอนคริสตกาล) กวา 2,000 ภาพซึ่งสามารถแบงออกเปน 3กลุมไดแก - ภาพสัตว ภาพมนุษยและสัญลักษณจิตนาการ (abstract signs)

• ถ้ํา Magura อยูทางตะวันตกเฉยีงเหนือของบุลกาเรียหางจากเมืองหลวงโซเฟย 180 กม.

• ภาพวาดแสดงผูหญิงและชาย สัตว ตนไม เครื่องมือ ดวงดาวและดวงอาทิตย กอนยุคบรอนซ(3,000 ปกอนคริสตกาล)

Page 7: Digital Standard for Knowledge Society

• คัมภรีไบเบิลที่พิมพดวยเครื่องพิมพกเูต็นเบิรก ระหวางค.ศ. 1454-1455 เปนสญัลักษณที่บงถึงการเริ่มตน “ยุคแหงการพิมพหนงัสอื” (ตนฉบับยังเกบ็ไวที่Library of Congress, US)

ยุคแหงการพิมพหนังสอื

คัมภีรไบเบิลพิมพดวยเครื่องพิมพกูเต็นเบิรก แทนพิมพเปลี่ยนตัวอักษรไดของกูเต็นเบิรก

โยฮัน กูเต็นเบิร (ค.ศ.1400 -1468),ชาวเยอรมันผูประดิษฐเครื่องพิมพ

Page 8: Digital Standard for Knowledge Society

ไปรษณีย: ยุคแรกของการสื่อสาร

modern mail

นับจนปจจุบันกระดาษไดกลายมาเปน(1) สื่อในการบันทึกชวยจําของมนุษยเชนตําราเปนตน ชวยเปนแหลงเก็บ (storage)(2) สื่อกลางในการสื่อสารลักษณะของไปรษณียอีกดวย

Page 9: Digital Standard for Knowledge Society

หนังสืออิเล็กทรอนิกส (eBook): Kindle DX (6 May 2009)

Amazon today unveiled a new,larger version of its Kindle ebookreader, which is aimed atstudents – and heralded as a potential saviour by some partsof the newspaper industry.(guardian.co.uk, Wednesday 6 May 2009 )

วางขายราว• วางตลาดฤดูรอนของสหรัฐอเมริกาในราคา $489

• ใชแสดงตําราและขาวหนังสือพิมพ• จอขนาด 9.7 นิ้วใหญกวารุนเดิม (ซึ่งแสดงนวนยิาย paperback) ราว 2 เทา

• สามารถบรรจุหนงัสือ 3,500 เลม• แสดงไฟลและสารคดีที่เคยแสดงบน

PCไดดวย

• ผูซื้อสามารถเขาถึง 60% ของตําราเรียนของสํานักพิมพ Pearson, Wiley และ Cangage

• ตอนเปดตัวบริษัทอเมซอนจะลดราคาผูประสงคสมัครเปนสมาชิกระยะยาวของNew York Times, Washington Post และBoston Globe (ซึ่งกําลังมีปญหาดานธุรกิจที่ใชกระดาษ)

ปริมาณการขายAmazon e-book สูงกวาหนังสือธรรมดาเปนครั้งแรกเมื่อปลายปค.ศ.2009 (guardian.co.uk, 28 Dec 2009)

Page 10: Digital Standard for Knowledge Society

• LG Display has announced its development of a newspaper-size flexible e-paper.

• The 19-inch wide (250x400mm) flexible e-paper is almost as big as a page of A3 sized newspaper.

• The product is able to convey the feeling of reading an actual newspaper.

• 0.3 millimeters thin, the e-paper weighs just 130 grams.

• LG Display arranged TFT on metal foil rather than glass substrate,

LG Display unveils newspaper-size flexible e-paper (15 January 2010)

http://www.digitimes.com/news/a20100115PR201.html

Page 11: Digital Standard for Knowledge Society

http://www.nytimes.com/2009/10/27/business/media/27audit.html

http://barrdear.com/john/2009/10/28/the-death-throes-of-us-newspapers/

Page 12: Digital Standard for Knowledge Society

Internetclient/server

world wide web(web 1.0)

Page 13: Digital Standard for Knowledge Society

Web 2.0 เว็บ 1.0• เจาของเว็บสรางเว็บขึ้นมา• การเพิ่มสาระใหมลงไปบนเว็บไซตของตนตองกระทําโดยตนเองเพื่อเชื่อมโยงกับเว็บผูอื่น

• ผูอื่นสามารถเชื่อมโยงเขามาไดเชนกัน

เว็บ 2.0• Wikipedia ซึ่งเปนสารานุกรมออนไลนเกิดจากสมมติฐานที่ไมนาเชื่อวาการเติมสาระลงไปในสารานุกรมนั้นสามารถกระทําไดโดยผูใชเว็บคนใดก็ได

• เว็บสังคม (social web) ผูใชเติมสาระดวยผูใชเองเชน Hi5, MySpace, Facebook, Friendster, Twitter, etc.

Page 14: Digital Standard for Knowledge Society

http://www.cnn.com/

Page 15: Digital Standard for Knowledge Society

สถิติการใชอินเทอรเน็ตโลก

•ประชากรโลก:~6,700 ลานคน•ผูใชอินเทอรเน็ต:~1,700 ลานคน

(ณ กันยายน พ.ศ.2552)

http://www.internetworldstats.com/stats.htm

Page 16: Digital Standard for Knowledge Society

The Digital Economy

Page 17: Digital Standard for Knowledge Society

มารตรฐานสื่อดิจิทัล

Page 18: Digital Standard for Knowledge Society

ปญหาสื่อดิจิทัล

เสียเวลาปรับแตง

จําไมไดแลวใชขนาดอักษรเทาไร

โห!! สรางสารบัญเสียเวลาจัง

ฟอนต Error

เปดแลวฟอรแมตเสียเปดไมไดนะ

คนละ version

Page 19: Digital Standard for Knowledge Society

การจัดการสื่อดิจิทัล

• มีการถายทอดและจัดเก็บอยางเปนระบบ• การเขาถึงไดอยางทั่วถึง • มีมาตรฐานเพื่อการนํามาใชใหมไดหลายๆ ครั้ง• มีการไหลเวียนผานกระบวนที่สรางคุณคา อันจะสงผลถึงประสิทธิภาพโดยรวมที่สูงขึ้นขององคกร/หนวยงาน

• มีการใชเทคโนโลยีเปนเครื่องมือ เพื่อชวยแปลงความซ้ําซอนในการทํางานเปนความรวมมือ

ทวีศักดิ์ กออนันตกูล. วัฒนธรรมการจัดการความรู สวทช.

Page 20: Digital Standard for Knowledge Society

มาตรฐานสื่อดิจิทัล

• มาตรฐานการตั้งชื่อโฟลเดอรและแฟมเอกสาร• มาตรฐานการสรางเอกสารงานพิมพ• มาตรฐานเอกสารเว็บ• มาตรฐานการสรางสื่อนําเสนอ• มาตรฐานเสียงดิจิทัล• มาตรฐานภาพนิ่งและภาพเคลื่อนไหวดิจิทัล• มาตรฐานสื่อมัลติมีเดีย• ฯลฯ

Page 21: Digital Standard for Knowledge Society

มารตฐานและการกําหนดมาตรฐาน

• การกําหนดมาตรฐาน (standardization) คอืกระบวนการพัฒนาและตกลงมาตรฐาน

• มาตรฐานจะปรากฎเปนเอกสารที่บงรูปแบบเดียวกันของคุณสมบัติ เงื่อนไข วิธีการ กระบวนการหรือการปฏิบัติ

• มาตรฐานอาจเกิดอยางไมเปนทางการแตเกิดจากคนสวนใหญรวมกันใช (de facto) อยางกวางขวางจนเปนที่นิยม

• บางมาตรฐานเกิดอยางเปนทางการ (de jure) ตามความตองการของกฏหมาย ตัวอยางเชนมาตรฐานที่กําหนดโดย International Organization for Standardization (ISO) หรือ American National Standards Institute (ANSI) เปนตน มาตรฐานนี้จะกําหนดอยางเปนอิสระจากผูผลิตสินคา

• วัตถุประสงคของการกําหนดมาตรฐานก็เพือ่ชวยใหสินคา– อิสระจากผูผลิตรายใดรายหนึ่ง – ความเขากันได (compatibility)– ทํางานรวมกันได (interoperability) – ความปลอดภัย (safety)– ผลิตซ้ําได (repeatability)– มีคุณภาพ (quality)

wikipedia

Page 22: Digital Standard for Knowledge Society

ระบบรหัสอักษรและสัญลักษณ(character encoding system)

• หมายถึง รหัสที่ทําใหเกิดการจับคูระหวางอักษรหรือสัญญลักษณหนึ่งๆเขากับสัญญาณไฟฟาเพื่อใหเกิดการสงอักษรหรือสัญญลักษณนั้นทางโทรคมนาคมหรือเพือ่การเก็บรักษาอักษรหรือสัญญลักษณนั้นไวในคอมพิวเตอร

Samuel F. B. Morse (1791-1872)Jean-Maurice-Émile Baudot(1845 – 1903),

•American Standard Code for InformationInterchange

•1st edition 1963, 1st revision 1967,latest revision 1986

Page 23: Digital Standard for Knowledge Society

ยูนิโคด(UNICODE)

• รหัสแอสกี้มขีนาด 7 บิตจึงสามารถแทนอักษร

และสัญญลักษณไดเพียง 128 ลักษณะหรอื

แมนจะขยายขึน้ไปเปน 8 บิตเพื่อใชกับอกัษร

และสัญญลักษณภาษาอื่นก็แทนไดเพียง 256

ลักษณะเทานั้น

• จึงมีความจําเปนในการพัฒนายูนิโคดเพื่อให

คอมพิวเตอรสามารถมีรหัสครอบคลุมอักษร

และสัญญลักษณของภาษาทั่วโลกโดยครั้ง

แรก (ค.ศ.1988) เสนอใช 16 บิต (2 ไบต)

ทําใหสามารถแทนไดถึง 65,536 ลักษณะ

• ปจจุบันยูนิโคดขยายออกไปถึง 32 บิต (4

ไบต) ครอบคลุมมากกวา 107,000 อักษรและ

สัญญลักษณของภาษาทั่วโลก

wikipedia

Page 24: Digital Standard for Knowledge Society

ฟอนต(Font)(1/2)• ดั้งเดิมฟอนตจะบงถึงขนาดและรูปแบบของอักษรหรือสัญญลักษโลหะที่ใชในการเรียงพิมพเทานั้น

• ตั้งแตยคุ ค.ศ.1900 เปนตนมา ฟอนตไดกลายมาเปนดิจิตัลใชในระบบคอมพิวเตอร • ดังนั้นฟอนตในยุคนีม้ักจะหมายถึงคอมพิวเตอรฟอนตซึ่งก็คือไฟลอิเล็กทรอนกิสที่เก็บชุดของอักษรและสัญลักษณ (characters, glyphs, or symbols such as dingbats)

Metal typeset

ตัวอยางฟอนต

Page 25: Digital Standard for Knowledge Society

ตัวอยางฟอนตของไมโครซอฟท

ฟอนต(Font)(2/2)• ฟอนตจะบงประเภท (family) ลักษณะ (faces) และขนาด (point)• การแสดงฟอนตบนจอคอมพิวเตอรที่แพรหลายจะแสดงเปนลักษณะที่เรียกันวาบิตแม็ป (bitmap) หรือบางที่ก็เรียกกันวาราสเตอร (raster)

• การแสดงจะมีลักษณะเปนจุดหลายจุดภายในกรอบสี่เหลี่ยม แตละจุดแทนดวย 1 ไบต (8บิต) หรือ 3 ไบต (24บิต) เพื่อใหไดสีทั้งสามที่ละเอียด

• ความละเอียดในการแสดงจะขึ้นอยูกับจํานวนจุดตอนิ้ว (dpi: dot per inch)

การแสดงภาพแบบบิตแม็ป

Page 26: Digital Standard for Knowledge Society

ไฟลเสียง(audio file)• เสียงดิจิทัลเกิดจากการสุม (sample)อยางสม่ําเสมอของเสียงอะนาล็อก• ขอมูลที่ไดจากการสุมจะมีคาเปนดิจิทัลเก็บไวในไฟลของคอมพิวเตอร• เมื่อตองการฟงเสียงเราสามารถแปลงขอมูลที่เก็บไวกลบัไปเปนเสียงอะนาล็อกเดิมได• ขอมูลดิจิทัลที่เก็บไวอาจมลีักษณะเทาเดิม (uncompressed) หรือลดขนาด (compressed) เพื่อ

ประหยัดพื่นที่ในคอมพิงเตอรได• ดังนั้นไฟลจึงมี 3 ลักษณะ:เทาเดิม (uncompressed) ลดขนาดแบบไมสูญเสีย (lossless

compression) และลดขนาดแบบสูญเสีย (lossy compression)

ตัวอยางการแปลงจากอนาล็อกเปนดิจิทัล(แบบ PCM)

• เราจะสังเกตวาสัญญานลักษณะไซนไดรับการสุมอยางสม่ําเสมอและเปลี่ยนเปนคาดิจิทัลตรงจุดที่สุมดังนี้ 7, 9, 11, 12, 13, 14, 14, 15, 15, 15, 14, ฯลฯ

• เมื่อแปลงคานี้เปนไบนารีก็จะไดคา 0111, 1001, 1011, 1100, 1101, 1110, 1110, 1111, 1111, 1111, 1110, ฯลฯ wikipedia

Page 27: Digital Standard for Knowledge Society

http://www.fileinfo.com/filetypes/audio

ประเภทของไฟลเสียง

Page 28: Digital Standard for Knowledge Society

ตัวอยางรายละเอียดของไฟลเสียง

Page 29: Digital Standard for Knowledge Society

กลองดิจิทัลCCD: Charge Couple Device

Olympus EVOLT E-330• 7.5-megapixel NMOS solid state image sensor• 2.5-inch color LCD monitor with vertical tilt design and Live View

capability• JPEG, uncompressed TIFF, and RAW file formats • Images saved on Compact Flash cards and Micro drives, as well as xD-

Picture cards • USB cable for fast connection to a computer (USB auto-connect for

driverless connection to Windows Me, 2000, XP, and Vista, and Mac OS 8.6 or greater)

Page 30: Digital Standard for Knowledge Society

http://www.fileinfo.com/filetypes/image

ประเภทของไฟลภาพนิ่ง

Page 31: Digital Standard for Knowledge Society

• JPEG ยอมาจาก Joint Photographic Experts Group ซึ่งเปนคณะกรรมการพิจารณามาตรฐานไฟลภาพประเภทนี้

• ปจจุบันมีชื่อเปนทางการวา ITU – T JTC1/SC2/WG10.

• ไฟล JPEG รุนแรกเริ่มประกาศเมื่อ ค.ศ.1986 มีวัตถุประสงคที่จะยอบีบอัดภาพถายธรรมชาติทั้งสี(24 บิตหรือ 16.7ลานสี) หรือขาวดํา (8 บิตหรือ 256 ระดับ)

• การลดขนาด (บีบอัด) เปนลักษณะสูญเสียสารสนเทศ กลาวคือภาพที่ลดขนาดจะเลวกวาภาพเริ่มตน

• อยางไรกด็ี JPEG ไดอาศัยคุณลักษณะสายตาของมนุษยที่ทนตอการสูยเสียสารสนเทศนั้นได

ตัวอยางไฟลภาพนิ่งชนดิ JPEG

• ภาพทั้งสองนี้เปภาพเดียวกันหรือ?

• ภาพขวาเปนภาพเริ่มตนนาํออกมาจากกลองโดยตรง

• ภาพดานซายเปนภาพหลังจากใช Photoshop บีบอัดลดสารสนเทศเหลือ 60%

http://www.photoshopessentials.com/essentials/jpeg-compression/

Page 32: Digital Standard for Knowledge Society

ตัวอยางไฟลภาพนิ่งชนิด GIF• GIFยอมาจากThe Graphics Interchange Format (GIF) • มีลักษณะของบิตแม็ปเสนอโดยบริษัทCompuServe เมื่อ ค.ศ. 1987 และเปนที่นยิมใช

เนื่องจากการสนับสนุนและการปอนลงเครื่อง(portability)ที่ดี• ลักษณะ 8 บิตตอพิกเซลทําใหเรียกใชสีได 256 สีจากจํานวนสี RGB ทั้งหมด 16.7ลานสี

(24-บิต) • นอกจากนีย้ังใชในงานแอนนิเมชันโดยแตละเฟรมเลือกสีเปนอิสระจาก 256 สีเปนจากกัน • ดวยขอจํากัดจํานวนสีจึงทําให GIF เหมาะสําหรับที่งายกลาวคือภาพเสน ภาพกราฟฟก

และโลโกเปนตนแตไมเหมาะสําหรับภาพถายสีจากกลองและภาพวาดที่มีลักษณะสีที่ตอเนื่อง

• GIF ใชวิธีบีบอัดที่ปราศจากการสูญเสียสารสนเทศ

line drawing textual image photograph imagepainting

Page 33: Digital Standard for Knowledge Society

ความสิ้นเปลืองหนวยความจําของภาพนิ่ง• สมมติเรามีภาพขนาด6x4นิ้วที่150 dpi เราจะคํานวณดังนี้

(6 inches x 150 dpi) x (4 inches x 150 dpi) = 900x600 pixels = 540,000 pixels• เนื้อที่หนวยความจําสําหรับภาพสี (RGB) จึงเปน

540,000 x 3 = 1.6 ลานไบต• สําหรับ “x3” จะหมายถึง 3 ไบตของสี RGB ตอพิกเซล หรือนั่นคือระดับสีไดถึง 24 บิต

(16.7ลานสี) ตอพิกเซล• กรณี 8 บิตตอพิกเซล (ขาวดําหรือ 256 สี) หรือภาพลายเสนจะใช 1 บิตตอพิกเซล (1/8 ไบต) ก็จะสิ้นเปลืองนอยลง

Page 34: Digital Standard for Knowledge Society

ภาพเคลื่อนไหวดิจิทัล

ตัวอยางการคํานวณปริมาณขอมูลวิดโีอ• คุณสมบัติ

– แตละพิกเซลใชสีขนาด 24 บติ – ขนาดเฟรม 640x480 พิกเซล – จํานวนเฟรม 25 เฟรมตอวินาที

• ตองการทราบวาใน 1 ชัว่โมง (3600 วนิาที) ตองสงขอมูลเทาไร?– จํานวนพิกเซลตอเฟรม = 640 * 480 = 307,200 – จํานวนบิตตอเฟรม = 307,200 * 24 = 7,372,800 = 7.37 เมกะบิต– จํานวนบิตตอวินาที (BR) = 7.37 * 25 = 184.25 เมกะบิตตอวินาที – ดังนั้นจํานวนขอมูลใน1ชั่งโมง = 184 * 3600 วินาที= 662,400 เมกะบิต= 82,800 เมกะไบต= 82.8 กิกะไบต

wikipedia

Page 35: Digital Standard for Knowledge Society

ประเภทของไฟลวิดิโอ

http://www.fileinfo.com/filetypes/video

Page 36: Digital Standard for Knowledge Society

วิวัฒนาการของการบีบอัดขอมลูภาพเคลือ่นไหวดวยมาตรฐาน MPEG

(MPEG: Moving Picture Experts Group )

http://www.althos.com/tutorial/MPEG-Tutorial-moving-picture-experts-Group-Book-page-19.html

Page 37: Digital Standard for Knowledge Society

• MPEG-1 เปนมาตรฐานในการบีบอัดขอมูลวิดีโอและเสียงชนิดสูญเสียสารสนเทศ

• เริ่มใชเมื่อ ค.ศ.1993• วัตถุประสงคเพื่อบีบอัดขอมลูดิบของ VHS ดิจิทัลวิดีโอและเสียงในซีดีใหเหลือเพียง 1.5 เมกะบิตตอวินาที (ดวยอัตรา 26:1 และ 6:1 ตามลําดับ) โดยไมเสียคุณภาพจนเกินไป

• ดวยเหตุนี้บรรดาวีซีดี (VCD: Video Compact Disc) • MPEG-1 ไดกลายเปนระบบบีบอัดขอมูลที่เขากันได (compatible lossy

audio/video format) ระหวางผลิตภัณฑตางยี่หอมากที่สุดในโลก• ที่รูจักแพรหลายคงจะเปน MPEG-1 ที่ใชเปนมาตรฐานของรูปแบบเสียง

MP3

http://www.wave-report.com/tutorials/VC.htm

MPEG 1,2,4

Page 38: Digital Standard for Knowledge Society

MPEG-2• ออกแบบเพื่อใชงานระหวาง 1.5 และ 15 เมกะบิต/วินาที• เนนไปที่ดิจิทัลทีวีและดีวีดี (DVD: digital versatile disc)• วางอยูบนพื้นฐานของ MPEG-1 แตออกแบบสําหรับการบีบอัดและสงขอมูลโทรทัศนดิจิทัลบนพื้นดิน การสงผานเคเบิล การสงโทรทัศนโดยตรงทางดาวเทียม

• MPEG-2 ยังสามารถปรับอัตราบิตตอวินาทีใหขึน้ไปใชในการสงภาพละเอียดของ HDTV ไดโดยหลีกเลี่ยงการที่ตองไปใช MPEG-3

MPEG-4• มาตรฐานสําหรับการใชบนเว็บ• วางอยูบนพื้นฐานการบีบอัดแบบวัตถุ (object-based compression) • แตละวัตถุในภาพจะไดรับการติดตามจากเฟรมหนึง่ไปยังอีกเฟรมหนึ่ง• สิ่งที่ไดคือความสามารถในการปรับประสิทธิภาพการบีบอัดจากจํานวนบิตตอวินาทีที่ต่ําไปสูจํานวนบิตตอวินาทีที่สูงขึ้นได

• นอกจากนีย้ังสามารถควบคุมแตละวัตถุในภาพไดดวยทาํใหไดมาซึ่งปฏิสัมพันธ (interactivity) ระหวางวัตถุในภาพกับผูใชได

http://www.wave-report.com/tutorials/VC.htm

MPEG 1,2,4

Page 39: Digital Standard for Knowledge Society

• รวมกันทําความเขาใจและกําหนดมาตรฐานสื่อดิจิทัล

• รวมกันรณรงค สงเสริมการใชงานมาตรฐานสื่อดิจิทัล

• รวมกันพัฒนา ปรับปรงุขอกําหนด มาตรฐาน กระบวนการที่เกี่ยวของกับสื่อดิจิทัล

สรปุ

Page 40: Digital Standard for Knowledge Society

ขอบคุณ

http://nstda.or.th/pairash