Transcript
Page 1: Gimp Complete Book - คํมือ Gimp ภาษาไทย
Page 2: Gimp Complete Book - คํมือ Gimp ภาษาไทย

สารบัญ บทที่ 1 เร่ิมตนกับ Gimp 1

ความสําคัญของภาพกราฟก 1 ภาพบนคอมพิวเตอรเกิดไดอยางไร 1

คอมพิวเตอรประมวลผลภาพอยางไร 2 GIMP โปรแกรมตกแตงภาพกราฟก 3 ความสามารถโดยรวมของ GIMP 4 ความตองการระบบของ GIMP 5 การติดตั้งโปรแกรม GIMP 6 ใชงานโปรแกรม GIMP ครั้งแรก 8 รูจักกับหนาตางในการตกแตงภาพ Image Window 12

บทที่ 2 หลักการสรางงานกราฟกและการใชงานเคร่ืองมือพื้นฐาน 25 หลักการสรางงานกราฟก 25 การกําหนดมุมมองภาพ 27 การซูมยอ-ขยายภาพ 28 การเปล่ียนขนาดของภาพ 29 การปรับหมุนภาพ 32 การทํางานกับสี 32 การเลือกสี 33 การเทสีดวย Bucket Fill Tool 35 การเทสีแบบไลเฉดสีดวย Blend Tool 36 การระบายสีดวย Painting Tool 38 การวาดเสนดวย Ink Tool 40 การลบภาพที่ไมตองการ 41 การยอนกลับการทํางานทีละขั้นตอน 43 การยอนกลับการทํางานในหลายขั้นตอน 43 การตัดภาพเฉพาะสวน 44

บทที่ 3 การตัดแตงภาพเฉพาะสวน 46 เลือกพ้ืนที่ภาพรูปทรงเรขาคณิต 46 การเลือกพ้ืนที่วงรี และวงกลมดวย Ellipse Selection Tool 48 เลือกพ้ืนที่แบบอิสระ 50 เลือกพ้ืนที่ที่มีสีใกลเคียงกัน 53 การปรับโหมดการเลือกพ้ืนที่ 57 เลือกพ้ืนที่จากคําส่ัง Select 59 การเลือกพ้ืนที่อยางปราณีตดวย Quick Mask Toggle 61 การจัดการพื้นที่ที่เลือกดวย Selection Editor 62 การปรับแตงการเลือกพ้ืนที่ 62

Page 3: Gimp Complete Book - คํมือ Gimp ภาษาไทย

บทที่ 4 การจัดวาง และปรับรูปทรง 68 การแสดงจุดพิกัดบนภาพดวยกริด 72 สรางความแมนยําในการวางภาพดวย Snap 72 วัดระยะของวัตถุดวย Measure Tool 73 รูจักกับการปรับรูปทรงภาพดวยเครื่องมือ Transform Tool 75 การปรับขนาดภาพใหพอดีดวย Scale Tool 76 หมุนภาพใหไดมุมที่ลงตัวดวย Rotate Tool 78 บิดภาพใหลาดเอียงดวย Shear Tool 79 บิดภาพใหผิดสัดสวนดวย Perspective Tool 80 การพลิกกลับดานรูปดวย Flip Tool 81

บทที่ 5 การสรางขอความตกแตงภาพ 84 รูจักกับรูปแบบของตัวอักษรที่ใชในโปรแกรมกราฟก 84 การสรางตัวอักษรแบบ Outline 85 การแกไขขอความที่พิมพผิดพลาด 86 การสรางตัวอักษรแบบ Bitmap 87 แปลงตัวอักษร Outline ใหเปนแบบ Bitmap 88 สรางขอความแบบแฟนตาซีดวย Alpha to Logo 89

บทที่ 6 การทํางานกับเลเยอร 91 ความหมายของ Layer 91 การซอนภาพดวยเลเยอร 91 การสรางเลเยอร 92 การใชงานเลเยอร 93 รวมเลเยอร 102

บทที่ 7 เทคนิคการตกแตงภาพในเลเยอร 106 ปรับเลเยอรที่ซอนใหมองทะลุถึงกัน 106 เทคนิคการสราง Layer Mask 106 ทําความเขาใจกับ Layer Blending Mode 113

บทที่ 8 การวาดภาพ และระบายสี 117 วาดรูปทรงดวย Path tool 117 ฝกวาดเสนพาธ 118 การเคลื่อนยายพาธ 122 การทํางานกับเสนพาธที่วาดขึ้น 123 Workshop การวาดภาพการตูนดวยเครื่องมือ Path Tool 130

บทที่ 9 ความรูเร่ืองสี และการเลือกใชสี 135

Page 4: Gimp Complete Book - คํมือ Gimp ภาษาไทย

โมเดลการมองเห็นสีทั่วไป 135 โมเดลการมองเห็นสีในโปรแกรม GIMP 138 การเปล่ียนโหมดสีของภาพ 140 การเลือกใชสีกับงานกราฟก 143 แบบแผนในการใชสี 145

บทที่ 10 การปรับแตงภาพ 149 ปรับแตงความสมดุลของสีภาพดวย Color Balance Tool 149 ปรับความเขมและความจางของสีภาพดวย Hue/Saturation Tool 151 ปรับสีใหภาพดวย Colorize Tool 152 ปรับแตงความคมชัดและความสวางของภาพดวย Brightness/Contrast Tool 153 การปรับภาพใหเปนสีขาว และสีดําดวย Threshold Tool 154 ปรับแตงสีของภาพดวย Level Tool 155 ปรับระดับแสงเงาภาพดวย Curve Tool 157 ปรับ/ลดโทนสีในภาพดวย Posterize Tool 159

บทที่ 11 ตกแตงภาพดวยการรีทัช 160 Retouch เทคนิคการแตงภาพสําหรับ GIMP 160 ปรับความคมชดัของภาพดวย Convolve Tool 160 ปรับโทนสีของภาพโดยใช Dodge/Burn Tool 164 การทําสําเนาภาพดวย Clone Tool 166

บทที่ 12 การตกแตงภาพอยางสรางสรรคดวยฟลเตอร 173 ฟลเตอรคืออะไร 173 กฎการใชงานฟลเตอร 173 วิธีการใชงานฟลเตอร 174 ตัวอยางฟลเตอรใน GIMP 175

บทที่ 13 การนําภาพกราฟกไปใชงาน 185 เรานําภาพไปใชงานอะไรไดบาง 185 เตรียมพรอมกอนพิมพภาพ 185 เลือกกระดาษสําหรับพิมพงานกราฟกและภาพ 186 สรางงานสําหรับเว็บเพจ 189 แปลงภาพสําหรับเว็บ 191

Workshop 1 ตกแตงแกไขภาพที่มีตําหนิ 195 Workshop 2 เปลี่ยนรูปรางของเชอรี่ 203

Page 5: Gimp Complete Book - คํมือ Gimp ภาษาไทย

Page 1

บทที่ 1 เริ่มตนกับ Gimp 

ภาพกราฟก เปนสวนประกอบสําคัญที่เราตางไดพบเห็นอยูในรูปแบบของแผนโฆษณา งานพรีเซนเตชั่น กลองสินคา และเว็บไซตตางๆ ทําใหผูชมเกิดความสนใจในสิ่งที่นําเสนอ พรอมกับเขาชมและใชบริการเหลานั้น และที่ใกลตัวมากขึ้น คือ การตกแตงภาพถาย ที่เราสามารถตกแตงภาพในโอกาส และบรรยากาศตางๆ ใหออกมาอยางนาสนใจ ดังนั้นเนื้อหาในบทแรกนี้จะเริ่มตนนําเสนอใหรูจักกับภาพ กราฟก การทํางานกับกราฟกบนคอมพิวเตอร และความสามารถในการสรางงานกราฟกของโปรแกรม GIMP

ความสําคัญของภาพกราฟก  ภาพกราฟก เปนภาพที่ถูกตกแตงและสรางขึ้น เพื่อแทนความหมายที่จะสื่อไปถึง ผูชมไดรับรูในสิ่งที่เราตองการ ดังนั้นภาพกราฟกจึงไดรับความนิยมในการประกอบอยูใน สื่อตางๆ ไดแก ขอมูลขาวสาร โฆษณา กลองสินคา งานพรีเซนเตชั่น และเว็บไซตลวนแตตองใชภาพกราฟกมาเปนสวนประกอบทั้งสิ้น

ตัวอยางกราฟกปกหนังสือ

ภาพบนคอมพิวเตอรเกิดไดอยางไร ภาพโดยทั่วไป แบงไดเปน 2 ประเภท คือ Physical Image คือ ภาพที่เราเห็นอยูทั่วๆ ไป เชน ภาพถาย

สวนภาพอีกประเภทก็คือ Digital Image หรือ Computer Graphic คือ ภาพที่ใชในการประมวลและเก็บในคอมพิวเตอร

Page 6: Gimp Complete Book - คํมือ Gimp ภาษาไทย

Page 2

ภาพที่ปรากฏบนหนาจอคอมพิวเตอรที่เราเห็นอยูทั่วไปนั้น เกิดจากจุดสี่เหลี่ยมเล็กๆ ของสีที่เราเรียกวา พิกเซล

(Pixel) (พิกเซลเปนองคประกอบที่เล็กที่สุดของภาพ) มาประกอบกันเปนภาพขนาดตางๆ ดังตัวอยาง

คอมพิวเตอรประมวลผลภาพอยางไร  ภาพที่เก็บในคอมพิวเตอรนั้น มีวิธีการประมวลผลภาพ 2 แบบแตกตางกันไปตามแตละโปรแกรมดังนี้ คือ

1. การประมวลผลแบบ Vector   เปนการประมวลผลแบบอาศัยการคํานวณทางคณิตศาสตร โดยมีสีและตําแหนงของสีที่แนนอน ฉะนั้นไมวาเราจะมีการเคลื่อนยายที่หรือยอขยายขนาดของภาพ ภาพจะไมเสียรูปทรงในเชิงเรขาคณิต ตัวอยางเชน รูปการตูน โปรแกรมที่ประมวลผลภาพแบบ Vector ไดแก Illustrator, CorelDraw และ Inkscape เปนตน

2. การเก็บและแสดงผลแบบ Bitmap  เปนการประมวลผลแบบอาศัยการอานคาสีในแตละพิกเซล มีช่ือเรียกอีกอยางหน่ึงวา Raster Image จะเก็บขอมูลเปนคา 0 และ 1 แตละพิกเซลจะมีการเก็บคาสีที่เจาะจงในแตละตําแหนง ซึ่งเหมาะกับภาพที่มีลักษณะแบบภาพถาย โปรแกรมที่ประมวลผลแบบ Bitmap ไดแก Photoshop, PhotoPaint และ GIMP เปนตน

ภาพเปรียบเทียบการแสดงผลแบบ Vector และ Bitmap 

ภาพขนาด 1x1 พิกเซล

ภาพขนาด 3x3 พิกเซล

ภาพขนาด 2x2 พิกเซล

ภาพขนาด 4x4 พิกเซล

ภาพที่มีความละเอยีดต่ํา ภาพที่มีความละเอยีดสูง

การแสดงผลแบบ Vector ขยายแลวภาพไมแตก การแสดงผลแบบ Bitmap ขยายแลวภาพแตก

Page 7: Gimp Complete Book - คํมือ Gimp ภาษาไทย

Page 3

GIMP โปรแกรมตกแตงภาพกราฟก  GIMP (GNU Image Manipulation Program) เปนโปรแกรมจัดการรูปภาพที่มีความสามารถสูงและครบถวน เหมาะสําหรับการจัดการรูปถายดิจิตอล การออกแบบกราฟกสําหรับเว็บ การแปลงไฟลจากฟอรแมตหนึ่งไปอีกฟอรแมตหนึ่ง หรือการสรางรูป ความละเอียดสูงสําหรับการพิมพ

หลักการทํางานงายๆ ของ GIMP นั้นคือใหเราสามารถตกแตงภาพโดยเริ่มตนจากที่เรามีภาพตนแบบกอน

จากนั้นใชเครื่องมือใน GIMP จะมีทั้งพูกัน ดินสอ และอุปกรณการตกแตงภาพอื่นๆ ซึ่งขั้นตอนการตกแตงภาพนั้นเปนการทํางานบนเครื่องคอมพิวเตอรทั้งหมด

การทํางานที่โดดเดนอีกรูปแบบหนึ่งของ GIMP นั้นคือ การตกแตงภาพตนฉบับใหเกิดสีสัน แสงเงา รวมทั้งสรางความแปลกใหมใหกับภาพ โดยการใชเครื่องมือสําหรับการตกแตงภาพใน GIMP เปลี่ยนแปลงภาพใหเปนไปตามที่เราตองการ

GIMP ตางจาก Photoshop และโปรแกรมอื่นอยางไร  โปรแกรม Photoshop ของคาย Adobe หรือโปรแกรมเชิงพาณิชย (Commercial Program)

อื่นๆ นั้นตองเสียคาใชสิทธิ์ หรือเรียกวา License ซึ่งคาใชสิทธิ์ตอหนวยคอนขางสูง ต้ังแตหลายพันถึงหลักหมื่น แตถาหากคุณใช GIMP คุณไมตองเสียคาใชสิทธแมแตบาทเดียว นั่นหมายความวา คุณสามารถสรางงานได โดยไมผิดกฎหมายลิขสิทธิ ์

Page 8: Gimp Complete Book - คํมือ Gimp ภาษาไทย

Page 4

ความสามารถโดยรวมของ GIMP  ความสามารถหลักของ GIMP นั้น จะเนนการตกแตงภาพกราฟกแนวตางๆ ใหสวยงามและแปลกตากวาเดิม

นอกจากนั้นยังใชแกไขจุดบกพรองของภาพไดอีกดวย ทําให GIMP ถูกนําไปใชในงานตกแตงภาพในหลายๆ ดาน ดังตัวอยาง

งานตกแตงภาพถาย เปนการตกแตงรูปถายเกาๆ ใหคมชัดเหมือนใหมหรือทําการแกไขรูปถายที่มืดไป สวางไป มีเงาดํา ใหภาพมีสีสดใสสมจริง นอกจากนั้นยังสามารถสรางภาพลอเลียน เชน เอาใบหนาของคนหนึ่งไปวางบนตัวคนอีกคนหนึ่ง นําภาพบุคคลไปวางไวบนฉากหลังฉากอื่น เปนตน

งานสิ่งพิมพ ไมวาจะเปนหนังสือ นิตยสาร โฆษณา เรียกไดวาเกือบทุกงานที่ตองใชรูป สามารถใช GIMP

รังสรรคภาพใหเปนไปตามไอเดียที่เราวางแผนไวได

งานเว็บไซตบนอินเทอรเน็ต ใชสรางภาพเพื่อตกแตงเว็บไซต ไมวาจะเปนแบ็คกราวนด ปุมตอบโต แถบหัวเรื่อง ตลอดจนภาพประกอบตางๆ

งานออกแบบทางกราฟก ใช GIMP ชวยในการสรางภาพสามมิติ การออกแบบปกหนังสือและผลิตภัณฑ การออกแบบการดอวยพร เปนตน

Page 9: Gimp Complete Book - คํมือ Gimp ภาษาไทย

Page 5

ความตองการระบบของ GIMP เมื่อทราบถึงความสามารถของโปรแกรมกันแลว เรามาเตรียมเครื่องเพื่อติดตั้งโปรแกรมกัน ซึ่ง GIMP เปนโปรแกรมที่ทํางานเกี่ยวกับกราฟก ดังนั้น จึงจําเปนที่จะตองใชคอมพิวเตอรที่มีความเร็วสูง มีหนวยความจํา RAM และฮารดดิสกที่มีพ้ืนที่วางมากพอสมควร โดยความตองการระบบขั้นต่ําของ GIMP มีดังนี้

ชนิดของเครือ่ง ความตองการระบบ

PC คอมพิวเตอรที่มี CPU รุน Pentium III หรือ 4 หรือเครื่องที่เร็วกวานั้น

ระบบปฏิบัติการ 98/ME/NT4/Windows 2000/Windows XP

หนวยความจํา RAM อยางนอย 128 MB หรือมากกวานั้น

ฮารดดิสกเนื้อที่วางอยางนอย 60 MB

การดจอที่แสดงสีไดระดับ 16 บิตขึ้นไปหรือใชการดวิดีโอ

จอภาพที่แสดงผลดวยความละเอียดอยางนอย 1,024x768 พิกเซลหรือมากกวานั้น

Mac คอมพิวเตอรในรุน PowerPC รุน G4 หรือ G5

ระบบปฏิบัติการ Mac OS X

หนวยความจํา RAM อยางนอย 128 MB หรือมากกวานั้น

ฮารดดิสกเนื้อที่วางอยางนอย 60 MB

จอภาพที่แสดงผลดวยความละเอียดอยางนอย 1,024x768 พิกเซลหรือมากกวานั้น

Linux Kernel เวอรช่ัน 2.2 ขึ้นไป GTK+ เวอรช่ัน 2.4.4 ขึ้นไป

Page 10: Gimp Complete Book - คํมือ Gimp ภาษาไทย

Page 6

การติดตัง้โปรแกรม GIMP 

วิธีนี้เปนการติดตั้งอยางรวดเร็ว ยังมีการติดตั้งแบบ Customize อีกวิธีหนึ่ง (ในขั้นตอนที่ 4) ซึ่งเราสามารถปรับแตงรายละเอียดการติดตั้งได ดังตอไปนี้

1. ดับเบิ้ลคลิกเพื่อเร่ิมการติดตั้ง 2. คลิก Next ไปยังขั้นตอน

3. คลิก Next ไปยังขั้นตอน 4. คลิกเลือก Customize

5. รอขณะที่กําลังติดตั้ง 6. คลิก Finish เพื่อสิ้นสุดการติดตั้ง

Page 11: Gimp Complete Book - คํมือ Gimp ภาษาไทย

Page 7

4. คลิกเลือก Customize 5. เลือกโฟลเดอรที่ใชติดตั้ง

7. เลือกชนิดการติดตั้ง

6. คลิก Next ไปยังขั้นตอน

8. คลิก Next ไปยังขั้นตอน

หมายเหตุ : คลิกเลอืก Translations เมนูคําสั่ง Gimp จะเปนภาษาตามระบบปฏิบัติการในเครื่อง เชน Windows ภาษาไทย เมนูก็จะเปนภาษาไทย หากตองการใหเมนูเปนภาษาอังกฤษ ใหคลิกตัวเลือกนี้ออก

9. คลิกเลือกชนิดไฟลที่ใช 11. คลิก Next ไปยังขั้นตอน10. คลิก Next ไปยังขั้นตอน

12. คลิก Next ไปยงัขั้นตอน

13. คลิก Install เพื่อเร่ิมตนติดตั้งโปรแกรม

Page 12: Gimp Complete Book - คํมือ Gimp ภาษาไทย

Page 8

ใชงานโปรแ กรม GIMP ครั้งแรก 

หนาจอของโปรแกรม GIMP

15. คลิก Finish เพื่อสิ้นสุดการติดตั้ง

หนาตาง Main Toolbox หนาตาง Image Window หนาตาง Dialogs and Docking

Tool Icon

Tool Options

พื้นที่ในการตกแตงภาพ ไดอะล็อกตางๆ

14. รอขณะที่กําลังติดตั้งโปรแกรม

เมื่อเราเปดโปรแกรม GIMP ขึ้นมาครั้งแรก จะปรากฏหนาตางโหลดเพื่อเขาสูหนาตางการทํางานของโปรแกรม

Page 13: Gimp Complete Book - คํมือ Gimp ภาษาไทย

Page 9

หนาตาง Main Toolbox  เปนหนาตางที่เก็บรวบรวมเครื่องมือและคําสั่งที่ใชในการสราง การปรับแตงและการแกไขภาพ โดยจะแบงกลุมเครื่องมือและคําสั่งในการจัดการกับภาพตางๆ ไดดังตอไปนี้

Tool Icons  เปนสวนที่เก็บรวบรวมเครื่องมือที่ใชในการสราง การปรับแตงและการแกไขภาพ ซึ่งมีไอคอนใหสามารถเรียกใชงานไดงายและรวดเร็ว โดยจะแบงกลุมเครื่องมือในการจัดการกับภาพตางๆ ไดดังตอไปนี้

Tool Icons สวนเก็บรวบรวมเครื่องมือที่ใช

Foreground/Background colors สวนที่ใชกําหนดสีโฟวกราวน และ แบ็คกราวน

Tool Options กําหนดคุณสมบัติของเครื่องมือที่เรากําลังใชงานอยู

Selection Tools ใชเลือกสวนของพื้นทีใ่นการตกแตงภาพ กลุมเครื่องมืออื่นๆ ที่มีการใชงานแตกตางกัน

Transform Tools ใชสําหรับการเปลี่ยนแปลงรูปรางและขยายวัตถ ุ

Text Tool เครื่องมือสําหรับเขียนขอความ

Brush Tools เปนกลุมเครื่องมือเกี่ยวกับการ วาดภาพ ระบายสี ตกแตงภาพ

Color Tools เคร่ืองมือสําหรับปรับสีใหกับภาพ

Page 14: Gimp Complete Book - คํมือ Gimp ภาษาไทย

Page 10

Tool Options  เปนสวนที่เราสามารถกําหนดคุณสมบัติเครื่องมือตางๆ ในการใชงานได โดยมีรายละเอียดของแตละเครื่องมืออยางครบถวน ซึ่งเราสามารถจัดเก็บการตั้งคาของเครื่องมือเพื่อเก็บไวใชหลายๆ ครั้ง โดยไมตองตั้งคาใหมได และเรียกใชคาเหลานั้นไดทันที

หนาตาง GIMP  ภายในหนาตาง Docking จะเปนศูนยรวมของไดอะล็อก (Dialog) ซึ่งเปนหนาตางยอยที่รวบรวมคุณสมบัติการทํางานของเครื่องมือตางๆ ใหเราเลือกปรับแตงการใชงานไดงายๆ โดยไมตองเปดหาที่แถบคําสั่งอีกตอไป มีสวนประกอบดังนี ้

Tool Options Menu เมนูเพิ่มเติมสําหรับ Tool Options

ชื่อของเครื่องมือที่ใชงานอยู

คลิกเพื่อจัดเก็บการตั้งคา

เรียกใชคาที่เก็บไว

ลบคาที่เก็บไว

คลิกเพื่อกลับไปเปนคาเร่ิมตน

รายละเอียดของเครื่องมือ

Image Menu แสดง ชื่อไฟลที่เรากําลังใชงานอยู

Docking bars แบงกลุมระหวาง Dialog ดานบนและดานลาง เปลี่ยนแปลงขนาด

ใหกับหนาตาง Docking

แท็ปของไดอะล็อกที่เปดใชงานอยู

เมนูที่ปรากฏจากการคลิก Tab Menu

Tab Menu เมื่อคลิกจะปรากฏเมนูตางๆ ในการสั่งการทํางาน

Brush/Pattern/Gradient กําหนดลักษณะของ Brush/Pattern/Gradient ที่ตองการ

Page 15: Gimp Complete Book - คํมือ Gimp ภาษาไทย

Page 11

การเปด/ปด Dialog  เราสามารถเปด/ปดไดอะล็อกไดจากคําสั่ง Windows>Dockable Dialogs ในหนาตาง Image

Window แลวคลิกเลือกช่ือไดอะล็อกที่เราตองการแสดง และถาไมตองการแสดงไดอะล็อกใดใหคลิกเมาสที่ปุม เพื่อปดไดอะล็อก

แตละไดอะล็อกจะมีเมนูคําสั่งของตัวเองเพื่อควบคุมการทํางาน สามารถเรียกดูเมนูในแตละไดอะล็อกได โดยคลิกที ่ และคลิกเลือกคําสั่งที่ตองการ

เลือก Dialog ที่ตองการเปด/ปด

ไดอะล็อก Palettes ถูกเปดออก

คลิกเมาสลากเพื่อยอ/ขยายขนาดไดอะลอ็กไดเอง

คําสั่งเพิ่มเติมในการจัดการไดอะล็อก

คําสั่งการใชงานไดอะล็อก Brushes

Page 16: Gimp Complete Book - คํมือ Gimp ภาษาไทย

Page 12

การแยก/รวมไดอะล็อกดวย Docking drag handles  เราสามารถแยก/รวมไดอะล็อกเพ่ือเคลื่อนยายแตละไดอะล็อก โดยการคลิกเมาสคางไวที่แท็บหัวขอไดอะล็อก ให

ตัวช้ีเมาสเปลี่ยนเปนรูป แลวลากไดอะล็อกไปไวในตําแหนงที่ตองการของหนาจอโปรแกรมได ดังนี้

รูจักกับหนาตางในการตกแตงภาพ Image Window  หนาตาง Image Window เปนหนาตางที่ใชในการตกแตงภาพ ซึ่งมีสวนประกอบที่ใชในการตกแตงและคําสั่งตางๆ ดังตอไปนี้

ลากเมาสที่แท็บหัวขอ นําไปปลอยไวตําแหนงเดิม เพื่อรวมกลุมกับ ไดอะลอ็กอื่นที่ตองการ

ลากเมาสที่แท็บหัวขอ เพื่อแยกกลุมไดอะล็อกออกมา

Page 17: Gimp Complete Book - คํมือ Gimp ภาษาไทย

Page 13

Title bar จะอยูดานบนสุดของหนาตาง Image Window แสดงรายละเอียดเก่ียวกับช่ือไฟล โหมดภาพ

จํานวนเลเยอรที่แสดงในภาพ และขนาดภาพ

Image Menu จะอยูดานลางลงมาจาก Title bar จะเปนคําสั่งตางๆ ในการจัดการและตกแตงภาพ มีคําสั่งทั้งหมด 10 กลุมคําสั่ง คือ

File จะเปนคําสั่งเกี่ยวกับไฟลทั้งหมด เชนการเปดไฟล ปดไฟล จัดเก็บไฟล Edit คําสั่งในการแกไขภาพ เชน การยอนกลับการทํางาน การคัดลอกภาพ หรือตัดภาพ

Select คําสั่งเกี่ยวกับการเลือกพื้นที่ในภาพ

View คําสั่งเกี่ยวกับการกําหนดมุมมอง การซูมภาพ

Image คําสั่งเกี่ยวกับการจัดการภาพ เชน การเปลี่ยนโหมดภาพ การกําหนดขนาดภาพ

Layer เปนคําสั่งเกี่ยวกับการจัดการเลเยอร เชน การสรางเลเยอร การคัดลอกเลเยอร การลบเลเยอร

Tool เปนคําสั่งเปดหนาตางเครื่องมือ หรือเลือกเครื่องมือที่ตองการใชงาน

Dialog เปนคําสั่งเปดไดอะล็อก หรือสราง Docking ขึ้นมาใชงาน

Filter เปนคําสั่งเรียกใชงานฟลเตอร เพื่อนํามาตกแตงภาพ

Script-Fu เปนคําสั่งเกี่ยวกับการตกแตงภาพโดยใชการเขียนสคริปต

Title Bar

Image Menu

Menu Button

Ruler

Quick Mask Toggle

Status Area Zoom Button

Navigation Control

Inactive Padding Area

Image Display

Image Window Resize toggle

Unit Menu

Pointer Coordinates

Page 18: Gimp Complete Book - คํมือ Gimp ภาษาไทย

Page 14

Menu Button เปนปุมเล็กๆ อยูตรงมุมดานบนซายของภาพ เมื่อเราคลิกปุม จะปรากฏเมนูคําสั่งใหเลือกเหมือนกับ Image Menu

Ruler เปนเปนแถบไมบรรทัดทางดานซายและดานบนของภาพ ซึ่งเราสามารถ คลิกลากเสนไกดจากแถบไมบรรทัดออกมาวางในภาพ เพื่อใชงานเสนไกดได

Quick Mask Toggle เปนปุมเล็กๆ อยูตรงมุมดานดานลางซายของภาพ เพื่อเปลี่ยนโหมดภาพใหอยูในโหมดควิกมาสก สําหรับเลือกพื้นที่ในการตกแตงภาพ

Pointer Coordinates จะแสดงพิกัดของตําแหนงที่เมาสช้ีอยู

Unit Menu เปนแถบแสดงหนวยวัดที่ใชกับไมบรรทัด ซึ่งเราสามารถทําการคลิก เพื่อเปลี่ยนหนวยวัดใหกับไมบรรทัดได

Zoom Button เปนปุมสําหรับกําหนดขนาดมุมมองของภาพ เพื่อยอ/ขยาย ภาพ

Status Area โดยปกติจะแสดงเลเยอรที่ใชงานอยู และขนาดพื้นที่ใชของไฟลภาพ หากทําการเลือกฟลเตอรหรือเลือกคําสั่งแกไขภาพแถบ Status Area จะเปลี่ยนเปนแถบแสดงสถานะการทํางานของคําสั่งนั้น

Navigation Control เปนปุมลูกศรบริเวณมุมขวาดานลางของภาพ ใชในกรณีที่ภาพมีขนาดใหญเกินกวาที่จะมองเห็นภาพทั้งหมดในหนาตางภาพได เราสามารถเลื่อนมุมมองภาพไปยังบริเวณที่เราตองการ

Inactive Padding Area เปนพื้นที่วางในหนาตางภาพ แสดงเมื่อภาพมีขนาดเล็กกวาหนาตาง หรือถูกยอใหมีขนาดเล็กกวาหนาตางเราไมสามารถจัดการกับภาพในสวนนี้ได

Image Display สวนแสดงภาพที่เราทําการตกแตง แกไข

Image Window Resize toggle เปนปุมบริเวณมุมขวาดานบนของภาพ ปุมเปด หรือปด (ใช/ไมใช) ความสามารถในการยอขยายภาพอัติโนมัติตามขนาดของหนาตาง image display ถากดเลือกใชเมื่อเรายอขยายหนาตาง ภาพจะเปลี่ยนขนาดตาม แตถาไมเลือกใช (ซึ่งเปน default) ถึงจะยอขยาย Image display ภาพจะคงขนาดเดิม

การสรางไฟลใหม   เมื่อเราไดจัดเตรียมภาพที่จะนํามาใชและไดรางชิ้นงานที่จะสรางเรียบรอยแลว ในหัวขอนี้เราจะมาสรางไฟลช้ินงานใหมกัน เริ่มตนดวยการกําหนดขนาดและความละเอียดของชิ้นงานที่จะนําไปใชงาน ซึ่งเราควรกําหนดใหเหมาะกับลักษณะงาน มีขั้นตอนดังนี้

1. เลือกคําสั่ง File>New ที่หนาตาง Image Windows หรือกดแปน <Ctrl+N> ที่คียบอรดเพื่อสรางไฟลใหม

2. จะปรากฏหนาตาง Create a New Image ขึ้นมา จากนั้นคลิกที่ Advanced Options กําหนดรูปแบบของหนากระดาษดังนี้

Page 19: Gimp Complete Book - คํมือ Gimp ภาษาไทย

Page 15

o Width กําหนดความกวางของภาพ โดยชองดานหลังเปนการกําหนดหนวยวัดของความกวาง ซึ่งมีหนวยวัดหลายแบบ เชน pixel เปนหนวยวัดพื้นฐานบนคอมพิวเตอร หรือ Inches (นิ้ว) และหนวยวัดอื่นๆ

o Height กําหนดความสูงของภาพ โดยหนวยวัดจะเปนไปตามที่เรากําหนดในความกวาง o X Resolution กําหนดความละเอียดของภาพในแนวแกน x โดยงานกราฟกสําหรับเว็บควรจะ

กําหนดคาเทากับ 72 pixels/inch และงานดานสิ่งพิมพตองใช 200-300 pixels/inch

o Y Resolution กําหนดความละเอียดของภาพ ในแนวแกน y โดยงานกราฟกสําหรับเว็บควรจะกําหนดคาเทากับ 72 pixels/inch และงานดานสิ่งพิมพตองใช 200-300 pixels/inch

o Color Space กําหนดโหมดสีของภาพ เชน โหมด RGB จะใชในงานกราฟกสําหรับเว็บและภาพเคลื่อนไหว

o Fill with กําหนดพื้นหลังของภาพ โดยมีรายละเอียดดังนี้ Foreground Color ปรับใหพ้ืนหลังเปนสีโฟวกราวนดที่กําหนดไวใน Main

Toolbox Background Color ปรับใหพ้ืนหลังเปนสีแบ็คกราวนดที่กําหนดไวใน Main

Toolbox White ปรับใหพ้ืนหลังเปนสีขาว Transparent กําหนดใหเปนพื้นโปรงใส

o Comment เปนคําอธิบายเกี่ยวกับภาพ 3. คลิกปุม เพื่อตกลงการสรางไฟลใหมตามที่เรากําหนด

1. เลือกคําสั่ง File>New

2. คลิกที่ Advanced Options

3. กําหนดรูปแบบของหนากระดาษ

Page 20: Gimp Complete Book - คํมือ Gimp ภาษาไทย

Page 16

ลักษณะพื้นหลังของไฟลภาพ 

กําหนดขนาดไฟลภาพตามคามาตรฐาน  งานกราฟกที่ตองทําบอยๆ ก็จะมีคาขนาดของไฟลงานมาตรฐานที่กําหนดไวแลว เพื่อใหเราเรียกใชไดที่หัวขอ Template จะมีขนาดและรายละเอียดของช้ินงานแบบตางๆ ที่ใชงานบอยใหเราเรียกใชไดเลย โดยไมตองกําหนดคาตางๆ เอง โดยมีแบบตางๆ ดังนี้

เราจะไดไฟลภาพใหมตามที่เรากําหนด

White กําหนดพื้นหลังเปนสีขาว Foreground/Background Color คือ พื้นหลังเปนสีโฟวกราวนด หรือแบ็คกราวนดที่กําหนดไวใน Main Toolbox

Transparent คือ พื้นหลังที่โปรงใส เหมือนกับเขียนภาพบนแผนใส

Page 21: Gimp Complete Book - คํมือ Gimp ภาษาไทย

Page 17

กระดาษจดหมาย

เชน US-Letter

ขนาดหนาจอพรีเซนเตชั่น

เชน 640x480, 800x600

ขนาดกระดาษสิ่งพิมพ

เชน A4, A3, B5

ขนาดของภาพในงานวิดีโอ

เชน NTSC 720 x 486

องคประกอบท่ีมีผลกับไฟลภาพ

1. ขนาดความกวางและความยาว ถาภาพมีความกวางและความยาวมาก ขนาดของไฟลก็จะใหญมาก ดังนั้นควรจะกําหนดใหขนาดของภาพมีขนาดตามที่ตองใชงานจริง เพื่อชวยลดขนาดไฟล

2. ความละเอียด (Resolution) ถาความละเอียดของภาพมาก ขนาดไฟลภาพก็จะมาก ถึงแมคุณภาพของภาพสูงแตเครื่องคอมพิวเตอรจะทํางานชา ดังนั้นเราควรกําหนด Resolution ตามการใชงาน เชน

ภาพที่นําเสนอบนเว็บเพจและพรีเซนเตชั่น ควรใช 72 DPI (Dots per inch)

ภาพที่พิมพออกทางเครื่องพิมพเลเซอร ควรใช 200 DPI

สิ่งพิมพตางๆ ที่ตองเขาพิมพในโรงพิมพ เชน ปกนิตยสาร ควรใช 300 DPI

3. โหมดสีของภาพ จะมีผลตอขนาดของไฟล โดยสามารถเรียงลําดับโหมดสีที่ทําใหไดขนาดไฟลนอยไปมาก ไดดังนี้ Bitmap, Grayscale, RGB, CMYK, Lab color

ทดลองสรางชิ้นงานโดยนําภาพมาตกแตง  ในตัวอยางนี้จะสรางงานโฆษณาอยางงายๆ โดยนําภาพที่เราเตรียมไวมาจัดวางใหสวยงาม และจะนําเสนอเปนหลักการทํางานเบื้องตนของโปรแกรม GIMP ดังนี้

ขั้นตอนที่ 1 กําหนดขนาดของชิ้นงาน

ขั้นตอนที่ 2 เปดไฟลภาพที่ตองการนํามาตกแตง ขั้นตอนที่ 3 ตกแตงภาพโดยการจัดวาง ขั้นตอนที่ 4 บันทึกไฟลภาพ

ขั้นตอนที่ 5 ออกจากการทํางานของโปรแกรม

Page 22: Gimp Complete Book - คํมือ Gimp ภาษาไทย

Page 18

ตัวอยางชิ้นงานของแผนโปสการด

ขั้นตอนที่ 1 กําหนดขนาดของชิ้นงาน  เริ่มแรกใหเรากําหนดขนาดของแผนโฆษณาที่เปนช้ินงานของเรา ดังนี้

1. เลือกคําสั่ง File>New เพื่อเปดหนากระดาษใหม

2. จะปรากฏหนาตาง Create a New Image จากนั้นกําหนดขนาด และรายละเอียดของหนากระดาษโฆษณาของเรา ในที่นี้กําหนด

ขนาดความกวาง และความยาวเทากับ 640x480 พิกเซล (pixels)

ความละเอียด (Resolution) 300 พิกเซล/นิ้ว (pixels/inch)

โหมดสี (Color Space) เปน RGB Color

พ้ืนของภาพ (Fill with) เปนสีขาว (White)

3. คลิกเมาสปุม เพื่อสรางชิ้นงาน

1. เลือกคําสั่ง File>New

2. กําหนดขนาดใหกับงานโฆษณา 3. คลิกเมาส

Page 23: Gimp Complete Book - คํมือ Gimp ภาษาไทย

Page 19

ขั้นตอนที่ 2 เปดไฟลภาพที่ตองการนํามาตกแตง  โดยเปดไฟลภาพที่อยูในเครื่องคอมพิวเตอรของเรา ขึ้นมาตกแตงในหนากระดาษใหมที่เปดอยู จากหนาตาง Open Image ดังนี้

1. เลือกคําสั่ง File>Open เพื่อเปดหนาตางยอยแสดงภาพ

2. จะปรากฏหนาตาง Open Image

3. เลือกโฟลเดอรที่เก็บภาพ แลวดับเบิ้ลคลิกภาพที่จะนํามาตกแตงใน GIMP ซึ่งในตัวอยางนี้เราจะนําภาพเขามาตกแตงทั้งหมด 3 ภาพ คือ ภาพพื้นหลัง (bg_coffee.jpg), ภาพแกวกาแฟ (coffee00.gif) และภาพขอความ (text.tif)

4. แสดงขนาดของหนากระดาษใหมที่ถูกเปดขึ้นมา

ภาพพื้นหลัง ภาพแกวกาแฟ ภาพขอความ

1. เลือกคําสั่ง File>Browse

2. จะปรากฏหนาตาง Open Image

Page 24: Gimp Complete Book - คํมือ Gimp ภาษาไทย

Page 20

แสดงไฟลภาพทั้งหมด ที่ถูกเปดขึ้นมาใชตกแตงในโปรแกรม GIMP

ขั้นตอนที่ 3 ตกแตงภาพโดยการจัดวาง  ใหนําภาพที่เราเปดขึ้นมาทั้งหมดจากขั้นตอนที่ผานมา นํามาจัดวางในหนากระดาษเปลาๆ ที่ยังเปดไวอยูจากขั้นตอนที่ 1 แลวทําการจัดวางใหเหมาะสมสวยงาม ดังขั้นตอนตอไปนี้

1. เลือกคําสั่ง Edit>Copy หรือกดแปน <Ctrl+C> ที่คียบอรดเพื่อคัดลอกไฟลภาพพื้นหลัง 2. ในหนากระดาษที่เรากําหนดไวจากตอนที่ 1 เลือกคําสั่ง Edit>Paste หรือกดแปน <Ctrl+V> ที่คียบอรดเพื่อ

วางไฟลภาพที่คัดลอกมา 3. เลือกคําสั่ง Edit>Copy หรือกดแปน <Ctrl+C> ที่คียบอรดเพื่อคัดลอกไฟลภาพแกวกาแฟ แลวนําไปวางใน

ไฟลใหมที่สรางขึ้นตามขอ 2 เลื่อนตําแหนงภาพใหอยูทางซาย ตามตัวอยาง 4. เลือกคําสั่ง Edit>Copy หรือกดแปน <Ctrl+C> ที่คียบอรดเพื่อคัดลอกไฟลขอความ แลวนําไปวางในไฟล

ใหมที่สรางขึ้นตามขอ 2 เลื่อนตําแหนงขอความใหอยูดานบนของแกว ตามตัวอยาง 5. คลิกเมาสเลื่อนจัดวางภาพทั้ง 3 ใหเหมาะสมตามที่ตองการ ก็จะไดภาพโฆษณาของเราเอง ดังรูป

แสดงตัวอยางภาพที่เลือก 3. ดับเบิ้ลคลิกเลือกภาพที่จะนํามาตกแตงทีละภาพ

1. เลือกคําสั่ง Edit>Copy เพื่อคดัลอกไฟล

Page 25: Gimp Complete Book - คํมือ Gimp ภาษาไทย

Page 21

2. เลือกคําสั่ง Edit>Paste เพื่อวางไฟลภาพที่คัดลอกมา

ภาพพื้นหลังที่นํามาวาง

3. เลือกคําสั่ง Edit>Copy เพื่อคดัลอกภาพแกวกาแฟ

4. เลือกคําสั่ง Edit>Copy เพื่อคดัลอกขอความ

Page 26: Gimp Complete Book - คํมือ Gimp ภาษาไทย

Page 22

ขั้นตอนที่ 4 การบันทึกไฟล (Save)  หลังจากสรางชิ้นงานเสร็จแลว เราสามารถบันทึกไฟลไดหลายรูปแบบ ดังนี้

1. เลือกคําสั่ง File ที่เมนูบารและเลือกรูปแบบการบันทึกไฟลดังตอไปนี้ คือ • File>Save เปนการบันทึกงานอยูในไฟลเดิมที่เรากําลังเปดแกไขอยู • File>Save As เปนการบันทึกงานเดิมเปนช่ือใหม หรือบันทึกใหอยูในรูปของฟอรแม็ตใหม • File>Save a Copy เปนการบันทึกงานเดิมเปนช่ือใหม หรือบันทึกใหอยูในรูปของฟอรแม็ตใหม

คลายกับ Save As

• File>Save as Template เปนการบันทึกงานไวเปน Template ใหเลือกใชตอนทําการสรางไฟลใหม ในหนาตาง Create a New Image

2. ในชอง ช่ือ : พิมพช่ือไฟลที่จะบันทึกลงไป

3. ในชอง บันทึกในโฟลเดอร : ใหกําหนดตําแหนงของโฟลเดอรเพื่อใชเก็บไฟลที่จะบันทึกนี้ 4. โดยปกติไฟลงานของ Gimp จะเปนไฟลนามสกุล .xcf ซึ่งใชเฉพาะโปรแกรม Gimp เทานั้น ถาตองการ

บันทึกในรูปของฟอรแม็ตใหม ใหทําการคลิกเลือกในชอง Select File Type เลือกชนิดของไฟลที่จะนําไปใชงาน สําหรับการบันทึกช้ินงานเพื่อนําไปสงโรงพิมพจะใชฟอรแมต TIFF สวนการนําไปสรางพรีเซนเตชั่นแลวสรางเว็บไซต จะใชฟอรแมต JPEG, GIF และ PNG

5. คลิกเมาสที่ปุม เพื่อทําการบันทึกไฟล

ผลลัพธของภาพที่ได

Page 27: Gimp Complete Book - คํมือ Gimp ภาษาไทย

Page 23

ขั้นตอนที่ 5 ออกจากการทํางานของโปรแกรม 

สุดทาย เมื่อตองการออกจากหนาตางไฟลภาพและโปรแกรมการทํางานสามารถทําได โดยคลิกที่ปุม ทั้ง 2 หนาตางของโปรแกรม GIMP

1. ที่หนาตางแสดงไฟลภาพ ในหนาตาง Image Window ใหคลิกเมาสที่ปุม ไฟลจะถูกปดทันที เมื่อปดไฟลงานทั้งหมดจะเหลือหนาตาง GNU Image Manipulation Program ซึ่งเราสามารถออกจาก

โปรแกรมไดโดยคลิกที่ปุม

2. ที่หนาตาง Main Toolbox ใหคลิกเมาสที่ปุม จะเปนการออกจากโปรแกรมไดเชนกัน

NOTE : ในการบันทึกงานในโปรแกรม GIMP นี้สามารถทําการบันทึกชนิดไฟลของภาพเปน psd ซึ่งเราสามารถที่จะเปดไฟลนี้มาทําการแกไขไดอีกในโปรแกรม Photoshop

1. เลือกคําสั่ง File>Save As

2. พิมพชื่อไฟล

3. คลิกเมาสเลือกตาํแหนงที่ใชเก็บไฟล

4. เลือกฟอรแมตของไฟล

5. คลิกเมาสเพื่อทําการบันทึกไฟล

Page 28: Gimp Complete Book - คํมือ Gimp ภาษาไทย

Page 24

1. คลิก เพื่อปดหนาตางไฟลภาพ

2. คลิก เพื่อปดโปรแกรม

Page 29: Gimp Complete Book - คํมือ Gimp ภาษาไทย

Page 25

บทที่ 2  หลักการสรางงานกราฟก และการใชงานเครื่องมือพื้นฐาน 

ในบทนี้ก็จะเปนการแนะนําแนวทางในการสรางงานกราฟก ซึ่งจะเนนถึงการสรางชิ้นงานที่ไดจากการนําสวนประกอบของภาพเปนหลัก การใสสีขอความ และการจัดซอนภาพ สวนการตกแตงภาพถาย การปรับสีในภาพ และการวาดภาพจะกลาวในสวนทายของเลม เพราะเนื้อหาสวนแรกจะปูพ้ืนฐานการสรางงานกราฟกใหเขาใจกันอยางถูกตองเสียกอน รวมทั้งการใชงานเครื่องมือวาดภาพ และลงสีตางๆ ที่เปนเครื่องมือพ้ืนฐานในการตกแตงภาพ

หลักการสรางงานกราฟก กอนอื่นเราตองทําการวางแนวทางของชิ้นงานกอนวา จะนําเสนอเรื่องอะไร ใชสี ภาพและขอความอะไร เมื่อเรา

ไดวางแนวทางของชิ้นงานเรียบรอยแลว ตอไปเราก็จะมาทราบถึงแนวทางการสรางชิ้นงานกันตอ ซึ่งอาจจะไมตายตัวเสมอไปแตก็พอเปนแนวทางสรุปโดยรวมได ดังนี ้

1. การกําหนดพื้นหลังของภาพ  เปนการกําหนดภาพ หรือสีพ้ืนหลัง โดยภาพหรือสีพ้ืนหลังที่ใชนั้นควรมีโทนสีที่ใหอารมณและสื่อความหมายไดถูกตองตามจุดประสงคของชิ้นงาน (ดูรายละเอียดในหัวขอตอไป)

2. การเลือกพื้นที่ภาพที่ใชงาน  เปนการตัด หรือคัดลอกบางสวนของภาพตางๆ ที่เราจะนํามาใชในชิ้นงานของเรา (ดูรายละเอียดในบทเรื่อง ”การแตงและตัดภาพเฉพาะสวน”

Page 30: Gimp Complete Book - คํมือ Gimp ภาษาไทย

Page 26

3. การจัดวางภาพใหเหมาะสม  เมื่อเรานําภาพสวนประกอบมารวมกันในชิ้นงาน อาจมีบางภาพที่มีขนาด และมุมการจัดวางไมลงตัว เราก็สามารถขยาย หมุน และบิดภาพใหเขากัน (ดูรายละเอียดในบทเรื่อง “การจัดวาง และปรับรูปทรงภาพ”)

4. การใสขอความ  เปนการใสขอความที่เปนช่ือ เรื่อง หรือคําบรรยายตางๆ เขาไปตกแตงเพิ่มเติม (ดูรายละเอียดในบทเรื่อง “การสรางขอความตกแตงภาพ”

5. การนําภาพสวนประกอบมาจัดซอนกัน  นําภาพสวนประกอบที่เลือกไว มาทําการซอนกัน โดยบางสวนอาจจะอยูดานบน หรือดานลาง ตามจุดประสงคที่วางไว (ดูรายละเอียดในบทเรื่อง “การทํางานกับเลเยอร”)

Page 31: Gimp Complete Book - คํมือ Gimp ภาษาไทย

Page 27

6. ตกแตงทุกสวนประกอบเขากันอยางกลมกลืน  สุดทาย เราจะพิจารณาภาพรวมชิ้นงานที่ได และปรับแตงรายละเอียดของภาพประกอบแตละสวนใหดูกลมกลืนกัน เพื่อใหไดผลงานที่สวยงาม (ดูรายละเอียดในบทเรื่อง “เทคนิคการตกแตงภาพในเลเยอร”)

การกําหนดมมุมองภาพ  เปนการกําหนดมุมมองทั่วไปของหนาตางแสดงภาพผาน Image menu ซึ่งเราสามารถทําไดโดยการเลือกที่เมนูคําสั่ง View และเลือกคําสั่งที่ตองการ

P

แสดงภาพแบบเต็มหนาจอ

กําหนดหนาตางใหพอดีกับขนาด

ยอภาพ ขยายภาพ

กําหนดขนาดภาพใหสามารถ มองเห็นภาพทั้งหมดเต็มหนาตาง กําหนดขนาดความกวางหรือ

ความยาวใหเต็มพืน้ที่ของหนาตาง

กลับไปที่มุมมองเดมิ

Page 32: Gimp Complete Book - คํมือ Gimp ภาษาไทย

Page 28

การซูมยอ-ขยายภาพ  เราสามารถยอ หรือขยายมุมมองของภาพโดยใชเครื่องมือ Magnify Tool เครื่องมือนี้เปนเหมือนแวนขยาย ที่ชวยขยายภาพใหเราตกแตงไดอยางละเอียดมากขึ้น และยังสามารถยอภาพใหเล็กลงเพื่อดูภาพโดยรวมไดอีกดวย

การซูมภาพ   เราสามารถขยายภาพที่นําเขามาใหดูชัดเจนขึ้น โดยการใชงานเครื่องมือ Magnify Tool ดังนี้

ถาตองการซูมเฉพาะบางที่ ก็สามารถทําไดเหมือนกัน โดยลากเมาสครอบเฉพาะพื้นที่ที่เราตองการแบบนี้

ตัวอยางมุมมองแบบ Fit Image in Window ตัวอยางมุมมองแบบ Fill Window

1. คลิกเลือก Magnify Tool

2. คลิกบริเวณที่ตองการขยายมุมมอง 3. ภาพจะถูกซูมขยายใหใหญขึ้น

สามารถเลื่อน Scroll Bar ไดอีก

Page 33: Gimp Complete Book - คํมือ Gimp ภาษาไทย

Page 29

การยอภาพ   เมื่อเราตองการยอภาพใหเล็กลง ใหกดคีย <Ctrl> คางไว และคลิกเมาสลงบนภาพ จากนั้นภาพจะคอยๆ ถูกซูม ออกใหดูเล็กลงตามจํานวนครั้งที่เราคลิกเมาส

การเปลี่ยนขนาดของภาพ  หากตองการนําภาพไปลงเว็บ หรือทําเปนภาพติดบัตร ซึ่งจะเหมาะกับการลดขนาดภาพ เพื่อไฟลภาพจะลดลงไมตองเปลืองเนื้อที่ และโปรแกรมจะทํางานไดเร็วดวย แตจะไมเหมาะกับการขยายภาพใหใหญขึ้น เพราะภาพที่ออกมาไมคมชัดเหมือนภาพตนฉบับ

1. เลือกคําสั่ง Image>Scale Image ที่หนาตาง Image Window

2. กําหนดขนาดของภาพใหมตามตองการ ดังนี้

1. ลากเมาสคลุมพืน้ที่ที่ตองการ และ 2. จะไดภาพที่ถูกซมูเฉพาะพื้นที่ที่เลือก

1. กดปุม <Ctrl> คางไวจะมีสัญลักษณ แลวคลิกเมาส

2. ภาพเล็กลงผลจากการที่เราคลิกเมาส 3 คร้ัง

Page 34: Gimp Complete Book - คํมือ Gimp ภาษาไทย

Page 30

o Image Size กําหนดขนาดภาพใหม o Width และ Height กําหนดความกวาง และความสูงของภาพ (เราสามารถกําหนดคาทั้ง 2 ได

อยางอิสระ โดยไมคํานึงถึงสัดสวนของภาพเดิม โดยคลิก ใหเปนลักษณะแบบโซเปด ) o X resolution และ Y resolution กําหนดความละเอียดของภาพในแนวแกน X (แนวนอน)

และแกน Y (แนวตั้ง) o Quality กําหนดคุณภาพของภาพที่ปรับได 3 ระดับ

o None คือ คุณภาพระดับต่ําสุด

o Linear คือ คุณภาพระดับกลาง o Cubic คือ คุณภาพระดับดีที่สุด

3. คลิกเมาสที่ปุม เพื่อสั่งใหโปรแกรมเปลี่ยนขนาดภาพใหมตามที่เรากําหนด

1. เลือกคําสั่ง Image>Scale Image

2. กําหนดขนาดของภาพใหม

3. คลิกเมาส

ภาพตนแบบกอนการลดขนาดภาพ หลังการลดขนาดภาพ

Page 35: Gimp Complete Book - คํมือ Gimp ภาษาไทย

Page 31

การเพิ่ม/ลดพื้นที่การทํางานของภาพ  ในระหวางที่เราตกแตงภาพ อาจจะมีความตองการเพิ่มพื้นที่การทํางานใหมากขึ้นหรือ ลดพื้นที่ของภาพใหเล็กลงได ดังนี้

1. เลือกคําสั่ง Image>Canvas Size ที่หนาตาง Image Window จะปรากฏหนาตาง Canvas Size

ขึ้นมา 2. เพิ่ม/ลดพื้นที่ของภาพ และกําหนดตําแหนงของภาพภายในพื้นที่

o Canvas size กําหนดขนาดภาพใหม Width และ Height กําหนดขนาดความกวาง และความสูงของพ้ืนที่ภาพ

o Offset กําหนดตําแหนงของภาพเดิมในพื้นที่ที่กําหนดขึ้นใหม X คือ พิกัดของตําแหนงรูปในแนวนอน และ Y คือ พิกัดของตําแหนงรูปในแนวตั้ง

หากตองการใหภาพเดิมอยูตรงกลางของพื้นที่ สามารถคลิกปุม เพื่อจัดตําแหนงภาพใหอยูก่ึงกลางโดยอัตโนมัติ

3. เพิ่ม/ลดขนาดของ Layers

o None ไมตองการเพิ่ม/ลดขนาดเลเยอร o All layers เพิ่ม/ลดขนาดเลเยอรทั้งหมดดวย o Imaged-sized layers เพิ่ม/ลดขนาดเฉพาะเลเยอรของภาพที่ปรับพื้นที่อยู o All visible layers เพิ่ม/ลดขนาดเลเยอรที่มองเห็นไดทั้งหมด

o All linkd layers เพิ่ม/ลดขนาดเลเยอรที่ลิงกกับเลเยอรของภาพที่ปรับพื้นที่อยู

4. คลิกเมาสที่ปุม เพื่อสั่งใหโปรแกรมเปลี่ยนขนาดพื้นที่ภาพใหมตามที่เรากําหนด

1. เลือกคําสั่ง Image>Canvas Size...

2. กําหนดขนาด และตําแหนงของภาพในพื้นที่

แสดงตัวอยางของการเพิ่ม/ลดพื้นที ่

ตองการเพิ่ม/ลดขนาด Layers ดวยหรือไม

3. คลิกเมาส

Page 36: Gimp Complete Book - คํมือ Gimp ภาษาไทย

Page 32

NOTE : ในกรณีที่เราทําการลดพื้นที่ของภาพดวยคําสั่ง Canvas Size รูปภาพเดิมทั้งหมดจะยังคงลักษณะเดิมอยู แตจะแสดงภาพออกมาเฉพาะสวนของพื้นที่ที่เรากําหนดเทานั้น ซึ่งเราสามารถคลิกเพื่อเลื่อนตําแหนงภาพเดิม เพื่อกําหนดสวนของภาพที่จะแสดงออกมาในพื้นที่ภาพที่กําหนดได

การปรับหมนุภาพ  เปนการปรับหมุน และพลิกภาพ ในองศาตางๆ ผาน Image menu ทําได โดยการเลือกที่เมนูคําสั่ง Image>Transform และเลือกคําสั่งปรับหมุนภาพตางๆ

การทํางานกบัส ี เมื่อเรากําหนดขนาดชิ้นงาน เรียบรอยแลว กอนที่จะทําการลงสีพ้ืนหลังของชิ้นงาน เราจะมาเริ่มตนรูจักกับการเลือกใชสีกันกอน โดยใน GIMP จะมีสวนที่แสดงการใชงานของสีอยูในสวนของ Main Toolbox

คลิกเลื่อนตําแหนงของภาพดวย Move Tool ภาพที่แสดงบนพื้นที่ภาพจะเปลีย่นไป

พลิกภาพในแนวนอนจากดานซายเปนดานขวา

พลิกภาพในแนวตั้งจากดานบนเปนดานลาง

หมุนภาพตามเข็มนาฬิกาเปนมุม 90 องศา

หมุนภาพทวนเข็มนาฬิกาเปนมุม 90 องศา

หมุนภาพเปน180 องศา

สีโฟรกราวนด

สีแบคกราวนด

Switch Color

Default Color

Page 37: Gimp Complete Book - คํมือ Gimp ภาษาไทย

Page 33

สีโฟรกราวนด (Foreground) และสีแบ็คกราวนด (Background)  เปนพื้นที่แสดงสีและกําหนดการใชสี ซึ่งตองทํางานควบคูกับเครื่องมือในการระบายสีและเครื่องมืออื่นๆ ที่เกี่ยวของกับสีทั้งหมด โดยสีของโฟรกราวนดจะเปนสีที่เราเลือกใชในการลงสี สวนสีของแบ็คกราวนดจะเปนสีพ้ืนหลังของภาพ นอกจากนั้นยังใชสีของโฟรกราวนดในการเติมสีภาพและใชสีของแบ็คกราวนดแทนการลบพื้นที่ภาพไดอีกดวย

Default color   คลิกเมาสที่ เพื่อเปลี่ยนสีของโฟรกราวนดและแบ็คกราวนดกลับมาเปนสีมาตรฐาน คือ สีดําเปนสีของโฟรกราวนด และสีขาวเปนสีของแบ็คกราวนด

Switch color   คลิกเมาสที่ เพื่อสลับสีของโฟรกราวนดมาเปนสีของแบ็คกราวนดและสีของแบ็คกราวนดมาเปนสีโฟรกราวนดแทน (หรือกดคีย <X> ที่คียบอรด)

การเลือกส ี มีวิธีการเลือกสี 3 วิธี ไดแก การเลือกสีจาก Foreground/Background, การเลือกสีจากตัวอยางดวยเครื่องมือ Color Picker Tool และเลือกสีจาก Palette

เลือกสีจาก Foreground/Background  ทําไดโดยการคลิกที่โฟรกราวนด หรือแบคกราวนด จะปรากฏหนาตาง Change Color ซึ่งเปรียบไดกับจานสีขนาดใหญที่มีสีนับลานๆ สีใหเราเลือก โดยเลือกตามสเปคตรัมสีที่ปรากฏ หรือตามการกําหนดคาเปนตัวเลข ดังนี ้

เลือกสีจากเครื่องมือ Color Picker Tool  เปนการเลือกสี โดยดึงสีจากสีตนฉบับมากําหนดเปนสีของโฟรกราวน หรือแบคกราวน

1. คลิกที่โฟรกราวนด หรือแบคกราวนด

2. เลื่อนสไลดเลือกโทนสี

3. คลิกเลือกส ี

4. คลิกเมาส

สามารถคลิกเลื่อน หรือใสตัวเลขของคาตางๆ ของส ี

แสดงรหัสของสีที่ใชในภาษา HTML และ CSS

แสดงจานสีที่เรา จัดเก็บสีไวใชงาน คลิก เพื่อจัดเก็บส ี

Page 38: Gimp Complete Book - คํมือ Gimp ภาษาไทย

Page 34

กําหนดคุณสมบัติเพิ่มเติมเก่ียวกับเครื่องมือ Color Picker Tool  เราสามารถกําหนดคุณสมบัติเพิ่มเติมของเครื่องมือ Color Picker Tool ไดที่ Tool Options ดานลางของหนาตาง Main Toolbox ซึ่งมีรายละเอียดดังนี ้

เลือกสีจาก Palette  เปนการเลือกสีโฟรกราวนด และเลือกสีแบ็คกราวนด โดยการเปดไดอะล็อก Palette ขึ้นมา ซึ่งจะมีพาเล็ตสีแบบตางๆ เปนเหมือนจานสีใหเราเลือกใชสีจากจานสีนั้นได

1. คลิกเลือก Color Picker Tool

2. คลิกเลือกสีจากตนฉบับ

สีของโฟรกราวนดจะเปลี่ยนไป

TIP : เราสามารถเลือกสีเพื่อกําหนดเปนสีของแบ็คกราวนดได โดยกดคีย <Ctrl> ขณะที่คลกิเลือกสี

เปนการกําหนดคารัศมีของพื้นที่สีที่เลอืก

ทําใหเลือกสีไดจากภาพทั้งหมด หากไมไดเลือกอ็อบชั่นนีจ้ะเลือกสีเฉพาะในเลเยอรที่ใชงานอยูเทานั้น

เปนการกําหนดโหมดการเลือกสี คือ pick only เปนการเลือกและดูคาของสเีทานั้น, Set foreground color เปนการกําหนดสีโฟรกราวนด และ Set background color เปนการกําหนดสีแบ็คกราวน

เปนการกําหนดสีที่เลือกจัดเก็บไวในพาเล็ตสีดวย

Page 39: Gimp Complete Book - คํมือ Gimp ภาษาไทย

Page 35

การเทสีดวย Bucket Fill Tool  Bucket Fill Tool เปนเครื่องมือที่ชวยใหเราเติมสีภาพในบริเวณติดกันและมีคาสีใกลกันเคียงกันกับบริเวณที่เราคลิกเมาสได ทําใหเราไดสีที่มีระดับความเขมเทากันทั้งภาพ เราสามารถเติมสีดวย Bucket Fill Tool ดังนี้

1. คลิกเลือก Bucket Fill Tool

2. กําหนดคาของการเติมสีดวย Bucket Fill Tool ใน Tool Options

Opacity กําหนดคาความโปรงแสงของสีที่เทลงไป

Mode กําหนดโหมดในการผสมสีระหวางสีที่เทลงไปกับสีของภาพเดิม

o Fill Type การเลือกสีที่ใช มีใหเลือก 3 แบบ คือ

o FG color fill กําหนดใหเทสีโฟรกราวนดลงในภาพ

o BG color fill กําหนดใหเทสีแบคกราวนดลงในภาพ

o Pattern fill กําหนดใหเทสีเปนภาพลวดลายลงในภาพ ซึ่งสามารถเลือกลักษณะของภาพแพทเทิรนได

Affected Area กําหนดลักษณะการเลือกพื้นที่สําหรับเทสี มี 2 ลักษณะ คือ Fill Similar colors จะเปนการใชคาความตางสีในการเลือกพื้นที่ที่จะเทสีลงไปในภาพ และ Fill whole selection จะเปนการเทสีลงในพ้ืนที่ทั้งหมดที่เลือก โดยไมคํานึงถึงความตางสีในภาพ

1. คลิก เลือกคําสั่ง Add Tab>Palettes เพื่อเปดไดอะล็อก Palettes ขึ้นมา

2. ดับเบิ้ลคลิกเลือกพาเล็ตสีที่ตองการ

3. คลิกเลือกสีที่ตองการ

TIP : เราสามารถเลือกส ีเพื่อกําหนดเปนสีของแบ็คกราวนดได โดยกดคีย <Ctrl> ขณะที่คลิกเลือกสี

Page 40: Gimp Complete Book - คํมือ Gimp ภาษาไทย

Page 36

Finding Similar Color จะสามารถกําหนดคาไดเมื่อเลือกลักษณะการเทสีแบบ Fill Similar color

o Fill transparent areas ถาคลิกเช็คบ็อกซที่อ็อบช่ันนี้จะทําใหสามารถเทสีลงในพื้นที่ที่เปน Transparent ที่ไมมีการเติมสีไดดวย

o Sample Merge ถาคลิกเช็คบ็อกซที่อ็อบช่ันนี้ โปรแกรมจะคํานวณความตางสีของภาพในทุกเลเยอรที่มีอยู หากไมทําการเช็คบ็อกซ โปรแกรมจะทําการคํานวณความตางสีเฉพาะในลเยอรที่ใชงานอยูเทานั้น

o Threshold กําหนดความแตกตางของคาสี

Fill by เลือกองคประกอบที่ใชในการคํานวณคาการเทสี (โดยการเทสีทั่วไปใหเลือก Composite ซึ่งเปนคา Default อยูแลว การเลือกตัวเลือกอื่น อาจจําเปนตองศึกษาเรื่องคาสีเพิ่มเติม)

3. คลิกเทสีลงบนภาพ

การเทสีแบบไลเฉดสีดวย Blend Tool  การเทสีพ้ืนหลังภาพดวยโทนสีเดียว เชน สีแดง จะทําใหผลงานดูแข็งๆ เรียบๆ แตถาลองไลเฉดสีจากสีหนึ่งไปยังสีหนึ่ง เชน สีฟาไปยังสีขาว จะชวยใหภาพดูแรงยิ่งขึ้น ซึ่งสามารถกําหนดการไลเฉดสีไดตามตองการดวย Blend Tool

ดังนี้

1. คลิกเลือก Blend Tool

2. กําหนดคาของการเติมสีดวย Blend Tool ใน Tool Options

1. คลิกเลือก Bucket Fill Tool

2. กําหนดคาอ็อบชั่นของเครื่องมือ 3. คลิกเทส ี

ผลลัพธของภาพเมือ่เทส ี

Page 41: Gimp Complete Book - คํมือ Gimp ภาษาไทย

Page 37

Opacity กําหนดคาความโปรงแสงของสีที่เทลงไป

Mode กําหนดโหมดในการผสมสีระหวางสีที่เทลงไปกับสีของภาพเดิม

Gradient กําหนดสี และลักษณะการไลสี ถาคลิกเช็คบ็อกซที่ Reverse จะเปนการกลับดานการไลสี

Offset กําหนดความกวางของการไลสี ยิ่งใสคานอยยิ่งมีการไลสีที่กวางมาก ถากําหนดคามากจะมีการไลสีที่แคบลง

Shape กําหนดรูปแบบในการไลสี เชน Linear เปนการไลสีในแนวเสนตรง Radial เปนการไลสีในแนวเสนรัศมีวงกลม เปนตน

Repeat กําหนดชวงซ้ําในการไลสีมี 3 แบบ คือ

o None เปนการไลสีแบบปกติตามที่กําหนดไมมีชวงซ้ํา o Sawtooth wave เปนการไลสีไปทางเดียว o Triangular Wave จะเปนการไลสีไป และไลกลับมาเปนสีแรกอีก

Dithering กําหนดความกลมกลืนในการไลสีใหมีมากขึ้น

Adaptive supersampling กําหนดความคมชัดเพิ่มเติมใหกับการไลสี

3. คลิกลากเสนเพื่อทําการลงสี

1. คลิกเลือก Blend Tool

2. กําหนดคาอ็อบชั่นของเครื่องมือ

Page 42: Gimp Complete Book - คํมือ Gimp ภาษาไทย

Page 38

รูปแบบของการไลสี (Shape) 

การระบายสดีวย Painting Tool  Painting Tool เปนกลุมเครืองมือที่ใชสําหรับวาดเสน และระบายสีมีอยู 3 ชนิด คือ Pencil Tool ,

Paint Brush Tool และ Airbrush Tool ซึ่งจะใหลักษณะของเสนที่แตกตางกัน

3. คลิกลากเสนเพื่อไลสี ผลลัพธของภาพเมือ่เทส ี

Page 43: Gimp Complete Book - คํมือ Gimp ภาษาไทย

Page 39

การระบายสีดวยพูกัน และดินสอ  พูกัน (Paint Brush Tool) และ ดินสอ (Pencil Tool) เปนเครื่องมือระบายสี และวาดใสลวดลายตางๆ ลงในภาพ ซึ่งจะมีรูปแบบ และคุณสมบัติการใชงานใหเลือกคลายคลึงกันมาก จะแตกตางกันเฉพาะลักษณะของเสนที่ได โดยเสนที่ไดจาก การวาดดวยดินสอจะเปนเสนที่มีความแข็ง และเสนที่ไดจากการวาดดวยพูกันจะมีลักษณะที่นุมนวลกวา สามารถใชงานพูกัน หรือดินสอได ดังนี้

1. คลิกเลือก Paint Brush Tool หรือ Pencil Tool

2. กําหนดคุณสมบัติของเครื่องมือเพิ่มเติม

o Opacity กําหนดคาความโปรงแสงของสีที่ระบายลงไป o Mode กําหนดโหมดในการผสมสีระหวางสีที่ระบายลงไปกับสีของภาพเดิม

o Brush กําหนดลักษณะของหัวแปรง o Scale กําหนดขนาดของหัวแปรง o Brush Dynamics ต้ังคาเพิ่มเติม เชน แรงกด (Pressure) ความไว(Velocity) หรือต้ังแบบ

สุม (Random) เหมาะกับการใชกับเครื่อง Tablet

o Fade out กําหนดลักษณะเสนใหคอยๆ จางหายไป สามารถกําหนดระยะ Length เปนความยาวของเสนที่คอยๆ จางหายไป

o Apply Jitter กําหนดความถี่/หางของหัวแปรงเมื่อลากเสนตอเนื่อง o Incremental กําหนดลักษณะเสนโดยใชสีพ้ืนแบบสีเดียว หรือตามลักษณะหัวแปรงที่กําหนด

o Use color from gradient กําหนดสีเสนเปนแบบการไลเฉดสี (Gradient)

3. คลิกระบายสีบนภาพ

การระบายสีดวย Airbrush Tool  เปนเครื่องมือที่ใชระบายสีที่จะใหลักษณะเหมือนกับการพนสี จะมีการกระจายตัวของเม็ดสีมากกวาดินสอ และพูกัน สามารถใชงาน Airbrush Tool ได ดังนี้

1. คลิกเลือก Brush Tool หรือ Pencil Tool

2. กําหนดคุณสมบัติของเครื่องมือ

3. คลิกระบายสีบนภาพ

Page 44: Gimp Complete Book - คํมือ Gimp ภาษาไทย

Page 40

1. คลิกเลือก Airbrush Tool

2. กําหนดคุณสมบัติของเครื่องมือเพิ่มเติม

o Opacity กําหนดคาความโปรงแสงของสีที่พนลงไป o Mode กําหนดโหมดในการผสมสีระหวางสีที่พนลงไปกับสีของภาพเดิม

o Brush กําหนดลักษณะของหัวแปรง o Scale กําหนดขนาดของหัวแปรง o Brush Dynamics ต้ังคาเพิ่มเติม เชน แรงกด (Pressure) ความไว(Velocity) หรือต้ังแบบสุม

(Random) เหมาะกับการใชกับเครื่อง Tablet

o Fade out กําหนดลักษณะเสนใหคอยๆ จางหายไป สามารถกําหนดระยะ Length เปนความยาวของเสนที่คอยๆ จางหายไป

o Apply Jitter กําหนดความถี่/หางของหัวแปรงเมื่อลากเสนตอเนื่อง o Use color from gradient กําหนดสีเสนเปนแบบการไลเฉดสี (Gradient)

o Rate กําหนดความหนาแนนของสีที่พนออกมา o Pressure กําหนดความเขมของสีที่พนออกมายิ่งคานอยสีจะดูบางมาก

3. คลิกระบายสีบนภาพ

การวาดเสนดวย Ink Tool  เครื่องมือ Ink Tool เปนเครื่องมือที่ใชสําหรับวาดเสนโดยเฉพาะ ซึ่งสามารถวาดเสนไดในหลายๆ ลักษณะ เราสามารถใชงานเครื่องมือ Ink Tool ได ดังนี้

1. คลิกเลือก Airbrush Tool

2. กําหนดคุณสมบัติของเครื่องมือ

3. คลิกระบายสีบนภาพ

Page 45: Gimp Complete Book - คํมือ Gimp ภาษาไทย

Page 41

1. คลิกเลือกเครื่องมือ Ink Tool

2. กําหนดคุณสมบัติของเครื่องมือเพิ่มเติม

o Opacity กําหนดคาความโปรงแสงของสีเสน o Mode กําหนดโหมดในการผสมสีระหวางสีเสนกับสีของภาพเดิม

o Adjustment กําหนดลักษณะของหัวปากกา o Size กําหนดขนาดของหัวปากกา o Angle กําหนดมุมเอียงของปากกาโดยจะอางอิงจากแนวนอนเปนหลัก

o Sensitivity กําหนดลักษณะของเสนที่ไดตามการเขียน

o Size กําหนดขนาดของปลายปากกา o Tilt การกําหนดความเอียง การกระดกปากกา ซึ่งจะสัมพันธกับคามุม Angle

o Speed กําหนดความเร็วในการลากเสนที่คลายกับการลากเสนปากกาจริง คือถาลากชาเสนที่ไดก็จะหนา แตถาลากเร็วเสนที่ไดก็จะบาง

o Type กําหนดรูปแบบของหัวปากกา มีใหเลือก 3 แบบ คือ แบบวงกลม แบบสี่เหลี่ยม แบบสี่เหลี่ยมขนมเปยกปูน

o Shape คลิกเพื่อบิดรูปรางกําหนดลักษณะรูปแบบหัวปากกาเพิ่มเติม

3. คลิกวาดเสน

การลบภาพทีไ่มตองการ  จะใชเครื่องมือ Eraser Tool ซึ่งเปนเครื่องมือสําหรับลบสวนประกอบภายในภาพที่ไมตองการออก สามารถใชงาน Eraser Tool ไดดังนี้

1. คลิกเลือก Ink Tool

2. กําหนดคุณสมบัติของเครื่องมือ 3. คลิกวาดเสนบนภาพ

Page 46: Gimp Complete Book - คํมือ Gimp ภาษาไทย

Page 42

1. คลิกเลือก Eraser Tool

2. กําหนดคุณสมบัติของเครื่องมือเพิ่มเติม

o Opacity กําหนดคาความโปรงแสงของรอยลบ

o Brush กําหนดลักษณะของหัวแปรงรอยลบ o Scale กําหนดขนาดของหัวแปรงรอยลบ

o Brush Dynamics ต้ังคาเพิ่มเติม เชน แรงกด (Pressure) ความไว(Velocity) หรือต้ังแบบสุม (Random)

o Fade out กําหนดลักษณะเสนรอยลบใหคอยๆ จางหายไป สามารถกําหนดระยะ Length

เปนความยาวของรอยลบที่คอยๆ จางหายไป o Apply Jitter กําหนดความถี่/หางของหัวแปรงรอยลบเมื่อลากเสนตอเนื่อง o Incremental กําหนดลักษณะความเขมของการลบ ซึ่งจะเพิ่มขึ้นตามแรงกด หรือถูกลบซ้ําไป

เรื่อยๆ แตจะลบไดสูงสุดแค 100% เทานั้น o Hard Edge กําหนดใหขอบของรอยลบคมไมมีการไลสี ทําใหรอยลบดูแข็ง o Anti erase กําหนดลักษณะการลบภาพโดยไมทําลายภาพตนฉบับ จะใชงานในเลเยอรภาพ

โหมด Alpha channel

3. คลิกลบสวนที่ไมตองการบนภาพ

1. คลิกเลือก Eraser Tool

2. กําหนดคุณสมบัติของเครื่องมือ

3. คลิกลบสวนที่ไมตองการบนภาพ

Page 47: Gimp Complete Book - คํมือ Gimp ภาษาไทย

Page 43

การยอนกลบัการทํางานทลีะข้ันตอน  ทันทีที่เราทํางานผิดพลาด เราสามารถทําการยอนกลับไปยังการทํางานลาสุดกอนการผิดพลาด หรือยอนกลับการทํางานทีละขั้นตอนไปเรื่อยๆ จนกวาจะถึงขั้นตอนที่ตองการ โดยยกเลิกขั้นตอนที่เพิ่งทําผานมาดวยคําสั่ง Edit>Undo

State Change หรือกดคีย <Ctrl+Z>

การยอนกลบัการทํางานในหลายขั้นตอน  ทุกครั้งที่มีการเปลี่ยนแปลงภาพ ขั้นตอนการทํางานนั้นจะถูกบันทึกลงในไดอะล็อก Undo History โดยอัตโนมัติ เราสามารถยอนกลับการทํางานไดตามจํานวน Memory ที่มีอยูในเครื่อง โดยขั้นตอนที่ทํากอนจะถูกเรียงอยูบนและขั้นตอนลาสุดจะอยูลางสุดในรายการ ดังนั้นถาเราทํางานผิดพลาดมาหลายคําสั่ง จะทําการยอนกลับการทํางานดวย Undo History ไดรวดเร็วกวาการกดคีย <Ctrl+Z> ดูตัวอยางกันดังนี้

แสดงขั้นตอนการลบ เปนพื้นที่สีขาว ซึ่งเปนขั้นตอนลาสุด

เมื่อกดปุม <Crtl+Z> ภาพพื้นที่สขีาวที่เกิดจากการลบภาพจะหายไป

1. ใช ระบายสีลงบนภาพ ไดอะล็อก Undo History จะแสดงขั้นตอนการแตมสีที่เราตกแตงลงในภาพแลว

Page 48: Gimp Complete Book - คํมือ Gimp ภาษาไทย

Page 44

ถาเราทําการ Undo การทํางานหนึ่งขั้นตอนหรือมากกวานั้น แลวจัดการชิ้นงานนั้นดวยคําสั่งอื่นๆ โดยไมไดใช Undo หรือ Redo เราจะไมสามารถทําการ Redo คําสั่งที่เรา Undo นั้นไดอีก วิธีที่ชวยแกปญหานี้ได คือ ทําการคัดลอกชิ้นงาน แลวจัดการกับช้ินงานใหมที่คัดลอกมานี้แทน (คําสั่ง Undo/Redo จะไมถูกคัดลอกตามมากับช้ินงานใหม)

การตัดภาพเฉพาะสวน  ภาพที่เราใชงานอาจจะมาจากแหลงตางๆ ภายในภาพอาจจะมีสวนที่ไมตองการติดมาดวย ดังนั้นเราสามารถตีกรอบเลือกเฉพาะสวนที่เราตองการ สวนที่เหลือก็ตัดทิ้งไปได โดยใชเครื่องมือ Crop Tool ซึ่งจะเปนการตัดภาพใหเหลือแตสวนที่เราเลือก โดยเมื่อทําการตัดภาพแลวไมสามารถแกไขอะไรไดอีก ดังนี้

1. คลิกเลือก Crop Tool

2. คลิกลากเมาสกําหนดขอบเขตของภาพที่ตองการบนภาพเอง หรือจะกําหนดขอบเขต และรายละเอียดตางๆ ที่หนาตาง Crop ที่จะปรากฏขึ้นมาเมื่อเราคลิก ลงไปบนภาพ มีรายละเอียดดังนี้ • Current layer only ตัดเฉพาะเลเยอรที่ทํางานอยู • Allow Growing กําหนดใหสามารถตัดพื้นที่นอกขิอบเขตภาพได (Inactive Padding

Area) โดยจะไดผลลัพทเปนภาพโปรงแสงในสวนนี้ • Expand from Center กําหนดใหตแหนงแรกที่เราคลิกเปนจุดกลางการตัดภาพ สามารถ

สลับการใชงานคําสั่งนี้และการตัดแบบปกติไดโดยการกด Crtl ระหวางทําการลากพื้นที่ • Fixed กําหนดพื้นที่ในการตัดภาพแบบตายตัว

o Aspect Ratio กําหนดอัตราสวนระหวางความกวาง และความสูง o Width/Height เลือกกําหนดความกวาง หรือความสูงอยางใดอยางหนึ่งตามที่

ตองการ o Size กําหนดขนาดความกวางและความสูงแบบตายตัว

• Position กําหนดตําแหนงที่ตองการตัดภาพ

• Size กําหนดขนาดพื้นที่ที่ตองการตัด สามารถปรับแตงขนาดพื้นที่ได • Highlight กําหนดใหไฮไลทพ้ืนที่ที่เลือกตัด

2. คลิกเมาสที่ขั้นตอนแรกเพื่อยกเลิกการแตมสีทั้งหมดที่เราทําไวกอนหนานี้บนภาพ

หรือคลิกยอนไปเฉพาะขั้นตอนที่ตองการ

Page 49: Gimp Complete Book - คํมือ Gimp ภาษาไทย

Page 45

• Guides แสดงเสนไกดในพื้นที่ที่เลือก

• Auto Shrink Selection จะเปนเปนอ็อบช่ันสําหรับการยอขนาดการเลือกพื้นที่อัตโนมัติ โดยจะตัดพื้นที่วางที่ไมจําเปนทิ้ง

3. คลิกภาพสวนที่เลือกตัดอีกครั้งเพื่อยืนยันการตัดภาพ หรือคลิกนอกบริเวณที่เลือกเพื่อยกเลิก

.

1. คลิกเลือก Crop Tool

กําหนดคุณสมบัติตางๆ

2. กําหนดขอบเขตในการตัดภาพ แลวคลิกพื้นที่ที่เลือกอีกครั้ง ผลลัพธที่ได

Page 50: Gimp Complete Book - คํมือ Gimp ภาษาไทย

Page 46

บทที่ 3 การตัดแตงภาพเฉพาะสวน 

ถาเราจะตกแตงภาพหรือตัดภาพบางสวนไปใชงาน โดยไมไดมีการตีกรอบกั้นบริเวณไวอาจทําใหการทํางานผิดพลาดสงผลใหภาพออกมาไมสวยก็เปนได และในบทนี้จะทําใหเราสามารถเลือกตกแตงบางสวนของภาพที่ตองการ หรือจะตัดบางสวนของภาพออกไปปะซอนอยูบนอีกภาพหน่ึงโดยไมมีผลกระทบตอสวนอื่นๆ

เลือกพื้นที่ภาพรูปทรงเรขาคณิต เปนการเลือกพื้นที่ภาพในลักษณะที่ตองการขอบเขตตายตัว ซึ่งจะอยูในรูปทรงเรขาคณิต ไดแก สี่เหลี่ยม วงรี และ

วงกลม เปนตน เครื่องมือกลุมนี้จะมี 2 รูปแบบดวยกัน ดังนี้

การเลือกพื้นที่ส่ีเหล่ียมดวย Rectangle Selection Tool   ใชสําหรับเลือกพื้นที่สี่เหลี่ยม สามารถทําได ดังนี้

1. คลิกเลือก Rectangle Selection Tool

2. กําหนดลักษณะการเลือกพื้นที่ใน Tool Options ดังนี้

Mode เลือกลักษณะการเลือกพื้นที่

แบบปกติ คือ จะทําการเลือกพื้นที่ใหมทุกครั้งเมื่อคลิกเลือกภาพ

การเลือกพื้นที่เพิ่ม เราสามารถเลือกพื้นที่เพิ่มเติมจากพื้นที่เดิมที่เลือกไวแลว

การลบพื้นที่ เราสามารถลบพื้นที่ที่เราเลือกออกจากพื้นที่ที่เลือกไวเดิม

การเลือกพื้นที่รวมกัน คือ เมื่อเราคลิกเลือกพื้นที่ครั้งตอไป จะเปนการเลือกพื้นที่ในสวนของพื้นที่เดิมที่ซอนทับกับสวนที่เราเลือกใหม

Antialiasing จะเปนการกําหนดเกี่ยวกับการกําหนดความกลมกลืนขอบภาพใหมีมากขึ้น

Feather edges กําหนดความฟุงเบลอของขอบการเลือกพื้นที่

Round corners กําหนดใหพ้ืนที่ที่เลือกมีมุมมน

Expand from center กําหนดใหจุดแรกที่คลิกเปนศูนยกลางพื้นที่ที่เลือก

Fixed กําหนดพื้นที่ในการตัดภาพแบบตายตัว

o Aspect Ratio กําหนดอัตราสวนระหวางความกวาง และความสูง

Page 51: Gimp Complete Book - คํมือ Gimp ภาษาไทย

Page 47

o Width/Height เลือกกําหนดความกวาง หรือความสูงอยางใดอยางหนึ่งตามที่ตองการ

o Size กําหนดขนาดความกวางและความสูงแบบตายตัว

Position กําหนดตําแหนงที่ตองการเลือก

Size กําหนดขนาดพื้นที่ที่ตองการเลือก สามารถปรับแตงขนาดพื้นที่ได

Highlight กําหนดใหไฮไลทพ้ืนที่ที่เลือก

Guides แสดงเสนไกดในพื้นที่ที่เลือก

Auto Shrink กําหนดลักษณะสําหรับการยอขนาดการเลือกพื้นที่ใหอัตโนมัติ โดยจะตัดพื้นที่วางที่ไมจําเปนทิ้ง เหมาะกับการเลือกภาพที่เปนขอความ (text) หรือภาพที่มีพ้ืนหลังใส เมื่อเราคลิกลากเมาสเลือกพื้นที่เกิน ก็จะยอขนาดการเลือกพื้นที่ใหพอดีภาพให

Shrink merged หากคําสั่ง Sample Merged ถูกเปดใชงานอยูดวยพรอมกับเลือกตัวเลือกนี้ คําสั่ง Auto Shrink จะสามารถใชขอมูลจากภาพที่เห็นทั้งหมด แมจะอยูคนละเลเยอรเพื่อประมวลคําสั่ง แทนที่จะเลือกจากเลเยอรที่ทํางานอยูเทานั้น

3. คลิกเมาสเลือกพื้นที่

1. คลิกเลือก Rectangle Selection Tool

2. กําหนดลักษณะการเลือกพื้นที่ใน Tool Options

Page 52: Gimp Complete Book - คํมือ Gimp ภาษาไทย

Page 48

การเลือกพื้นที่วงรี และวงกลมดวย Ellipse Selection Tool    ใชสําหรับเลือกพื้นที่วงรี และวงกลม สามารถทําได ดังนี้

1. คลิกเลือก Ellipse Selection Tool

2. กําหนดลักษณะการเลือกพื้นที่ใน Tool Options ดังนี้

Mode เลือกลักษณะการเลือกพื้นที่

แบบปกติ คือ จะทําการเลือกพื้นที่ใหมทุกครั้งเมื่อคลิกเลือกภาพ

การเลือกพื้นที่เพิ่ม เราสามารถเลือกพื้นที่เพิ่มเติมจากพื้นที่เดิมที่เลือกไวแลว

การลบพื้นที่ เราสามารถลบพื้นที่ที่เราเลือกออกจากพื้นที่ที่เลือกไวเดิม

การเลือกพื้นที่รวมกัน คือ เมื่อเราคลิกเลือกพื้นที่ครั้งตอไป จะเปนการเลือกพื้นที่ในสวนของพื้นที่เดิมที่ซอนทับกับสวนที่เราเลือกใหม

Antialiasing จะเปนการกําหนดเกี่ยวกับการกําหนดความกลมกลืนขอบภาพใหมีมากขึ้น

3. คลิกเมาสเลือกพืน้ที่ ผลลัพธการเลือกพื้นที่

การเลือกพื้นที่สี่เหลี่ยมมุมฉาก การเลือกพื้นที่สี่เหลี่ยมมุมมน

Page 53: Gimp Complete Book - คํมือ Gimp ภาษาไทย

Page 49

Feather edges กําหนดความฟุงเบลอของขอบการเลือกพื้นที่

Round corners กําหนดใหพ้ืนที่ที่เลือกมีมุมมน

Expand from center กําหนดใหจุดแรกที่คลิกเปนศูนยกลางพื้นที่ที่เลือก

Fixed กําหนดพื้นที่ในการตัดภาพแบบตายตัว

o Aspect Ratio กําหนดอัตราสวนระหวางความกวาง และความสูง o Width/Height เลือกกําหนดความกวาง หรือความสูงอยางใดอยางหนึ่งตามที่

ตองการ o Size กําหนดขนาดความกวางและความสูงแบบตายตัว

Position กําหนดตําแหนงที่ตองการเลือก

Size กําหนดขนาดพื้นที่ที่ตองการเลือก สามารถปรับแตงขนาดพื้นที่ได

Highlight กําหนดใหไฮไลทพ้ืนที่ที่เลือก

Guides แสดงเสนไกดในพื้นที่ที่เลือก

Auto Shrink กําหนดลักษณะสําหรับการยอขนาดการเลือกพื้นที่ใหอัตโนมัติ โดยจะตัดพื้นที่วางที่ไมจําเปนทิ้ง เหมาะกับการเลือกภาพที่เปนขอความ (text) หรือภาพที่มีพ้ืนหลังใส เมื่อเราคลิกลากเมาสเลือกพื้นที่เกิน ก็จะยอขนาดการเลือกพื้นที่ใหพอดีภาพให

Shrink merged คําสั่ง Auto Shrink จะใชขอมูลจากภาพที่เห็นทั้งหมดเพื่อประมวลคําสั่ง แทนที่จะเลือกจากเลเยอรที่ทํางานอยูเทานั้น

3. คลิกเมาสเลือกพื้นที่

1. คลิกเลือก Ellipse Selection Tool

2. กําหนดลักษณะการเลือกพื้นที่ใน Tool Options

Page 54: Gimp Complete Book - คํมือ Gimp ภาษาไทย

Page 50

NOTE  การกําหนดคา Radius จะสงผลตอความฟุงเบลอของขอบภาพ

เมื่อเราเลือกพื้นที่และใช Move Tool คลิกเลื่อนพื้นที่ที่เลือก จะเห็นวาบริเวณของขอบภาพจะดูฟุงเบลอ

TIP  นอกจากนี้เรายังสามารถใชการกดคียรวมกับการคลิกเลือกได โดยไมจําเปนที่จะตองคลิกเลือกโหมด โดย

กดคีย <Shift> ไวขณะเลือกพื้นที ่จะเปนการเลือกพื้นที่เพิ่ม

กดคีย <Ctrl> ไวขณะคลิกเลือกพื้นที่ จะเปนการลบพื้นที่ที่เลือกออกจากพื้นที่เดิม

กดคีย <Ctrl> และ <Shift> พรอมกับการเลือกพื้นที่จะเปนการเลือกพื้นที่ที่มีความกวางและความ

ยาวเทากัน ถาใช จะไดรูปสี่เหลี่ยมจัตุรัส และถาใช จะไดรูปวงกลม

กดคีย <Alt> จะทําใหสามารถคลิกเลื่อนตําแหนงของการเลือกพื้นที่ได

เลือกพื้นที่แบบอิสระ  การเลือกพื้นที่ในลักษณะนี้เหมาะกับภาพที่ไมเปนรูปทรงที่แนนอนเหมือนรูปเรขาคณิต ดังนั้นการเลือกพื้นที่จะสามารถลากไปตามขอบภาพไดอยางอิสระ สามารถเลือกได 2 รูปแบบ คือ

3. คลิกเมาสเลือกพื้นที่

ผลลัพธการเลือกพื้นที่

Page 55: Gimp Complete Book - คํมือ Gimp ภาษาไทย

Page 51

เลือกพื้นที่แบบอิสระดวย Free Selection Tool  1. คลิกเลือก Free Selection Tool

2. กําหนดลักษณะการเลือกพื้นที่ใน Tool Options ดังนี้

Mode เลือกลักษณะการเลือกพื้นที่

แบบปกติ คือ จะทําการเลือกพื้นที่ใหมทุกครั้งเมื่อคลิกเลือกภาพ

การเลือกพื้นที่เพิ่ม เราสามารถเลือกพื้นที่เพิ่มเติมจากพื้นที่เดิมที่เลือกไวแลว

การลบพื้นที่ เราสามารถลบพื้นที่ที่เราเลือกออกจากพื้นที่ที่เลือกไวเดิม

การเลือกพื้นที่รวมกัน คือ เมื่อเราคลิกเลือกพื้นที่ครั้งตอไป จะเปนการเลือกพื้นที่ในสวนของพื้นที่เดิมที่ซอนทับกับสวนที่เราเลือกใหม

Antialiasing จะเปนการกําหนดเกี่ยวกับการกําหนดความกลมกลืนขอบภาพใหมีมากขึ้น

Feather edges กําหนดความฟุงเบลอของขอบการเลือกพื้นที่

3. คลิกเมาสเลือกพื้นที่

1. คลิกเลือก Free Selection Tool

2. กําหนดลักษณะการเลือกพื้นที่ใน Tool Options

3. คลิกเมาสเลือกพืน้ที่ ผลลัพธการเลือกพื้นที่

Page 56: Gimp Complete Book - คํมือ Gimp ภาษาไทย

Page 52

เลือกพื้นที่แบบชิดขอบดวย Scissor Tool   สําหรับภาพที่มีขอบคมชัด และสีของเสนขอบตางกับพื้นหลังของภาพอยางชัดเจน เราสามารถใช Scissor Tool

เลือกพื้นที่ โดยจะติดหนึบเขากับแนวขอบภาพไดอยางงายดาย ดังนี ้

1. คลิกเลือก Scissor Tool

2. กําหนดลักษณะการเลือกพื้นที่ใน Tool Options ดังนี้

Mode เลือกลักษณะการเลือกพื้นที่

แบบปกติ คือ จะทําการเลือกพื้นที่ใหมทุกครั้งเมื่อคลิกเลือกภาพ

การเลือกพื้นที่เพิ่ม เราสามารถเลือกพื้นที่เพิ่มเติมจากพื้นที่เดิมที่เลือกไวแลว

การลบพื้นที่ เราสามารถลบพื้นที่ที่เราเลือกออกจากพื้นที่ที่เลือกไวเดิม

การเลือกพื้นที่รวมกัน คือ เมื่อเราคลิกเลือกพื้นที่ครั้งตอไป จะเปนการเลือกพื้นที่ในสวนของพื้นที่เดิมที่ซอนทับกับสวนที่เราเลือกใหม

Antialiasing จะเปนการกําหนดเกี่ยวกับการกําหนดความกลมกลืนขอบภาพใหมีมากขึ้น

Feather edges กําหนดความฟุงเบลอของขอบการเลือกพื้นที่

Show interactive boundary ขณะเลือกพื้นที่ (กอนทําการคลิกเพื่อตกลงใชการเลือกพื้นที่) จะแสดงขอบเขตการเลือกจริงที่คํานวณแลว เพราะปกติถาไมเลือกอ็อบช่ันนี้ การคลิกเลือกเสนขอบจะเปนเสนตรงกอน เมื่อปลอยเมาสจึงเห็่นผลลัพธเสนขอบการเลือก

3. คลิกเลือกพื้นที่จนครบ และคลิกที่จุดเริ่มตนอีกครั้งเพื่อสิ้นสุดการเลือกพื้นที่

4. คลิกภายในพื้นที่ที่เลือก เพื่อตกลงเลือกพื้นที่ที่เลือก

1. คลิกเลือก Scissor Tool

2. กําหนดลักษณะการเลือกพื้นที่ใน Tool Options

Page 57: Gimp Complete Book - คํมือ Gimp ภาษาไทย

Page 53

TIP   ขณะที่เราคลิกเลือกขอบภาพ กอนที่จะคลิกเพื่อตกลงเลือกพื้นที่เปนเสนประ หากเราเลือกตําแหนงของภาพผิดพลาด เราสามารถคลิกที่ รอยตอของเสนขอบ เพื่อแกไขการเลือกพื้นที่ได

เลือกพื้นที่ทีมี่สีใกลเคียงกนั  เปนการเลือกพื้นที่ภาพที่มีสีใกลเคียงกับคาสี ณ จุดพิกเซลที่เราคลิกเมาสเลือก สามารถเลือกได 2 ลักษณะ ดังนี้

เลือกพื้นที่ที่มีสีใกลเคียงกันดวย Fuzzy Select Tool 1. คลิกเลือก Fuzzy Select Tool

2. กําหนดลักษณะการเลือกพื้นที่ใน Tool Options ดังนี้

Mode เลือกลักษณะการเลือกพื้นที่

แบบปกติ คือ จะทําการเลือกพื้นที่ใหมทุกครั้งเมื่อคลิกเลือกภาพ

การเลือกพื้นที่เพิ่ม เราสามารถเลือกพื้นที่เพิ่มเติมจากพื้นที่เดิมที่เลือกไวแลว

3. คลิกเมาสเลือกพืน้ที่

4. คลิกภายในพื้นทีท่ี่เลือก เพื่อตกลงเลือกพื้นที่

ผลลัพธการเลือกพื้นที่

คลิกเลื่อนจุดรอยตอของเสนขอบ ผลลัพธที่ได

Page 58: Gimp Complete Book - คํมือ Gimp ภาษาไทย

Page 54

การลบพื้นที่ เราสามารถลบพื้นที่ที่เราเลือกออกจากพื้นที่ที่เลือกไวเดิม

การเลือกพื้นที่รวมกัน คือ เมื่อเราคลิกเลือกพื้นที่ครั้งตอไป จะเปนการเลือกพื้นที่ในสวนของพื้นที่เดิมที่ซอนทับกับสวนที่เราเลือกใหม

Antialiasing จะเปนการกําหนดเกี่ยวกับการกําหนดความกลมกลืนขอบภาพใหมีมากขึ้น

Feather edges กําหนดความฟุงเบลอของขอบการเลือกพื้นที่

Select transparent areas จะทําใหสามารถเลือกพื้นที่ที่เปนTransparent ที่ไมมีการเติมสีไดดวย

Sample merged จะทําใหเราเลือกสีของภาพไดในทุกเลเยอรที่มีอยู หากไมทําการเช็คบ็อกซที่ออบช่ันนี้ โปรแกรมจะทําการเลือกพื้นที่ใน active layer หรือเลเยอรที่ใชงานอยูเทานั้น

Threshold กําหนดความแตกตางของคาสี ซึ่งเปรียบเทียบจากพิกเซลบริเวณที่เราคลิกเมาส (หากกําหนดคานอยจะทําใหจํานวนสีที่ถูกเลือกมีจํานวนนอย และหากกําหนดคามากจะทําใหจํานวนสีที่ถูกเลือกมีจํานวนมากขึ้น ทําใหคาสีที่ใกลเคียงหรืออยูในโทนเดียวกันถูกเลือกไปดวย)

Selection by เปนการกําหนดองคประกอบในภาพที่ใชคํานวณคาความเหมือน มีใหเลือกคือ Red, Green, Blue, Hue, Saturation และ Value

3. คลิกเมาสเลือกพื้นที่

1. คลิกเลือก Fuzzy Select Tool

2. กําหนดลักษณะการเลือกพื้นที่ใน Tool Options

3. คลิกเมาสเลือกพืน้ที่ ผลลัพธการเลือกพื้นที่

Page 59: Gimp Complete Book - คํมือ Gimp ภาษาไทย

Page 55

ตัวอยางการกําหนดคา Threshold ท่ีตางกัน 

 กําหนดคา Threshold เทากับ 20 กําหนดคา Threshold เทากับ 150

เลือกพื้นที่ที่มีสีเหมือนกันดวย Select By Color Tool   เปนเครื่องมือที่ใชเลือกพื้นที่ภาพที่มีสีใกลเคียงกับคาสี ณ จุดพิกเซลที่เราคลิกเมาสเลือก คลายกับเครื่องมือ Fuzzy Select Tool แตจะเลือกพื้นที่ในจุดอื่นๆ ที่มีสีใกลเคียงกันดวย

1. คลิกเลือก Select By Color Tool

2. กําหนดลักษณะการเลือกพื้นที่ใน Tool Options เชนเดียวกับเครื่องมือ Fuzzy selection Tool

3. คลิกเลือกพื้นที่

เลือกพื้นที่โฟรกราวนดดวย Foreground Select Tool   เปนเครื่องมือที่ใชเลือกพื้นที่สวนหนาที่เราตองการ โดยเครื่องมือนี้จะทําการตัดขอบพื้นที่ที่เราตองการออกจากพ้ืนหลังอยางอัตโนมัติ มีวิธีการดังตอไปนี้

1. คลิกเลือก Foreground Select Tool เมาสจะเปลี่ยนเปนรูป

1. คลิกเลือก Select by Color Tool

2. กําหนดลักษณะการเลือกพื้นที่ใน Tool Options

3. คลิกเมาสเลือกพืน้ที ่ ผลลัพธการเลือกพื้นที่

Page 60: Gimp Complete Book - คํมือ Gimp ภาษาไทย

Page 56

2. กําหนดลักษณะการเลือกพื้นที่ใน Tool Options ดังนี้

Mode เลือกลักษณะการเลือกพื้นที่

แบบปกติ คือ จะทําการเลือกพื้นที่ใหมทุกครั้งเมื่อคลิกเลือกภาพ

การเลือกพื้นที่เพิ่ม เราสามารถเลือกพื้นที่เพิ่มเติมจากพื้นที่เดิมที่เลือกไวแลว

การลบพื้นที่ เราสามารถลบพื้นที่ที่เราเลือกออกจากพื้นที่ที่เลือกไวเดิม

การเลือกพื้นที่รวมกัน คือ เมื่อเราคลิกเลือกพื้นที่ครั้งตอไป จะเปนการเลือกพื้นที่ในสวนของพื้นที่เดิมที่ซอนทับกับสวนที่เราเลือกใหม

Feather edges กําหนดความฟุงเบลอของขอบการเลือกพื้นที่

Contiguous กําหนดใหเลือกเฉพาะพื้นที่ที่อยูบริเวณเดียวกับที่ลากเสนกําหนดพื้นสีที่ตองการเทานั้น หากไมเลือกตัวเลือกนี้ โปรแกรมจะทําการเลือกบริเวณสีใกลเคียงกับที่ลากเสนผานทั้งหมด แมพ้ืนที่ไมอยูติดกันก็ตาม

Mark Foreground กําหนดใหสีโฟรกราวนดเปนสีของเสน สีถูกเสนลากทับจะเปนตัวกําหนดพ้ืนที่โฟรกราวนด

Mark Background เลือกตัวเลือกนี้ สีของเสนจะเปลี่ยนเปนสีของแบคกราวนด เมาสเปนรูปไอคอนยางลบเล็กๆ สีที่ถูกเสนคาดทับจะเปนสีที่เราไมเลือกมาคํานวณเปนพื้นที่โฟรกราวนด

Small brush / Large brush กําหนดขนาดเสน ยิ่งเล็กยิ่งทําใหการคํานวณพื้นที่ละเอียดมากขึ้น

Smoothing ยิ่งคามาก ยิ่งทําใหพ้ืนที่เล็กๆ จุดๆ ที่เปน Non-Selection แตอยูบริเวณพื้นที่ที่เราจะกําหนดเปนโฟรกราวนดหมดไป

Preview color กําหนดสีที่ใชแสดงพื้นที่แบคกราวนด มีสีแดง เขียว น้ําเงิน

Color Sensitivity กําหนดใหสามารถเลือกสีไดละเอียดยิ่งขึ้น

3. คลิกเลือกแบงพื้นที่โฟรกราวนดและแบคกราวนดออกจากกันอยางคราวๆ เมื่อเสร็จแลวจะเห็นการการแบงพื้นที่ออกจากกัน โดยพ้ืนที่แบคกราวนดถูกไฮลไลทไว

4. เมาสจะเปลี่ยนเปนรูป ใหลากเสนคาดทับบริเวณพื้นที่โฟรกราวนด โปรแกรมจะนําคาสีบริเวณที่ถูกทับไปคํานวณหาพื้นที่โฟรกราวนดที่แนนอน เมื่อปลอยเมาส พ้ืนที่โฟรกราวนดและแบคกราวนดจะถูกแบงอยางแมนยํามากขึ้น

5. กด Enter ไดพ้ืนที่ Selection ตรง โฟรกราวนด

. คลิกเลือก Foreground Select Tool

Page 61: Gimp Complete Book - คํมือ Gimp ภาษาไทย

Page 57

 

การปรับโหมดการเลอืกพืน้ที ่ การเลือกพื้นที่ดวยเครื่องมือแตละชนิดจะเหมาะกับลักษณะของภาพที่แตกตางกัน แตก็มีภาพบางลักษณะที่เราจะตองใชเครื่องมือหลายตัวทํางานรวมกัน เพื่อใหการเลือกพื้นที่ครอบคลุมภาพในสวนที่เรา ตองการมากที่สุด ที่ Tool

Options ของเครื่องมือการเลือกพื้นที่ทุกตัวจะมีตัวเลือกในการปรับรูปแบบการเลือกพื้นที่ที่เรามาใชได ดังนี้

การเลือกพื้นที่ใหม  ในกรณีที่เลือกพื้นที่ภาพเรียบรอยแลว ใหกด ที่ Tool Options ใหเราลากเมาสไปบริเวณพื้นที่ๆ ตองการเพื่อเลือกพื้นที่ใหม (อาจเปลี่ยนไปใชเครื่องมือเลือกพื้นที่อื่นได)

2. กําหนดลักษณะการเลือกพื้นที่ใน Tool Options

ภาพตนฉบับ 3. เลือกพื้นที่ที่จะใชเปนโฟรกราวนดอยางคราวๆ

4. ลากเสนทับบริเวณสีที่ตองการใชคํานวณเปนโฟรกราวนด

พื้นที่ที่ได 5. กด Enter

Page 62: Gimp Complete Book - คํมือ Gimp ภาษาไทย

Page 58

เลือกขอบเขตภาพเพิ่มข้ึนจากเดิม  ในกรณีที่ตองการเลือกขอบเขตภาพเพิ่มขึ้น ใหเลือก หรือกดคีย <Shift> คางไว ตัวช้ีเมาสจะเปลี่ยนเปนรูป

(หากเราใชเครื่องมืออื่นในการเพิ่มพื้นที่ เราจะเห็นเครื่องหมายบวกติดอยูดวยเสมอ เชน ) หลังจากนั้นใหเราคลิกเมาสคางไว แลวจึงลากเมาสไปบริเวณพื้นที่ๆ ตองการเพิ่ม

การลดขอบเขตภาพที่เลือกไวจากเดิม  ในกรณีการลดขอบเขตที่เลือกไวลง ใหเลือก หรือกดแปน <Control> คางไว ตัวช้ีเมาสจะเปลี่ยนเปน

รูป (หากเราใชเครื่องมืออื่นในการตัดพื้นที่ เราจะเห็นเครื่องหมายลบติดอยูดวยเสมอ เชน ) หลังจากนั้นใหเราคลิกเมาสคางไว แลวลากเมาสไปบริเวณพื้นที่ๆ ตองการตัด

 

การเลือกพื้นที่เฉพาะสวนที่ตัดกันของพื้นที่เดิม  ในกรณีที่เราตองการเลือกพื้นที่เฉพาะสวนที่ตัดกัน ใหกด หรือกดคีย <Shift+Ctrl> คางไว ตัวช้ีเมาสจะ

เปลี่ยนเปนรูป (หากเราใชเครื่องมืออื่นในการตัดพื้นที่ เราจะเห็นเครื่องหมายตัว u ควํ่าติดอยูดวยเสมอ เชน

) หลังจากนั้นใหคลิกเมาสลากพื้นที่สวนที่เราตองการบนภาพ การเลือกพื้นที่จะเหลือเฉพาะสวนของเสนประที่ตัดกันเทานั้น

เลือกพื้นที่คร้ังที ่1 ผลลัพธการเลือกพื้นที่ เลือกพื้นที่คร้ังที ่2

เลือกพื้นที่คร้ังที ่1 เลือกพื้นที่คร้ังที ่2 ผลลัพธการเลือกพื้นที่

เลือกพื้นที่คร้ังที ่1 ผลลัพธการเลือกพื้นที่ เลือกพื้นที่คร้ังที ่2

Page 63: Gimp Complete Book - คํมือ Gimp ภาษาไทย

Page 59

เลือกพื้นที่จากคําสัง่ Select  นอกจากจะใชเครื่องมือในกลุม Selection Tool ในการเลือกพื้นที่ไดแลว เรายังสามารถเลือกพื้นที่ในลักษณะตางๆ ไดดวยคําสั่ง Select ที่เมนูของหนาตาง Image Window โดยเลือกคําสั่ง Select และเลือกลักษณะการเลือกพ้ืนที่

ตัวอยางการเลือกพื้นที่ตรงขาม  เปนการเปลี่ยนจากพื้นที่ไมถูกเลือกในภาพเปนพื้นที่ที่ถูกเลือก และพื้นที่ที่ถูกเลือกกลายเปนพื้นที่ที่ไมถูกเลือก (ใชกับเครื่องมือ Selection ทุกประเภท) ไดดังนี้

1. คลิกเลือกพื้นที่ในสวนของพื้นหลังภาพ ในที่นี้เราจะใชเครื่องมือ Fuzzy Selection Tool ในการเลือก

2. กําหนดคาความแตกตางของคาสีใน Tool Options ตัวอยางนี้กําหนดที่ 80 (คาต่ําจะเลือกสีที่ใกลเคียงกับตําแหนงสีที่เราคลิกเมาสมากๆ เทานั้น)

3. ตัวช้ีเมาสจะเปลี่ยนเปนรูป ใหเราคลิกเมาสลงบนจุดสีที่ตองการเลือกบริเวณสีที่ใกลเคียงกับจุดที่เราคลิกเมาสจะถูกเลือกไปดวย

4. เลือกคําสั่ง Select>Invert หรือกดคีย <Ctrl+I>

5. สังเกตการเปลี่ยนแปลง จะเห็นวาเสนประจะมาแสดงอยูในพื้นที่ที่เราไมไดเลือกไวในตอนแรก

เลือกพื้นที่คร้ังที ่1 ผลลัพธการเลือกพื้นที่ เลือกพื้นที่คร้ังที ่2

เลือกพื้นที่ภาพทั้งหมด

ยกเลิกการเลือกพื้นที่ภาพทั้งหมด เลือกพื้นที่ตรงขามกับที่เลือกไว

กําหนดพื้นที่ที่เลือกใหเปนเลเยอรลอย เลือกพื้นที่ดวยเครือ่งมือ Select By Color Tool เลือกพื้นที่จากเสนพาธที่สราง

Page 64: Gimp Complete Book - คํมือ Gimp ภาษาไทย

Page 60

1. คลิกเลือกเครื่องมือ Fuzzy Selection Tool

2. กําหนดคาความแตกตางของคาสีใน Tool Options

3. เลือกพื้นที่ในสวนของพื้นหลัง จะไดการเลือกพื้นที่ของพื้นหลัง

4. เลือกคําสั่ง Select>Invert 5. จะไดผลลัพธการเลือกพื้นที่ตรงขาม

Page 65: Gimp Complete Book - คํมือ Gimp ภาษาไทย

Page 61

การเลือกพื้นที่อยางปราณตีดวย Quick Mask Toggle  ในกรณีที่พ้ืนที่ๆ เลือกเปนพื้นที่อิสระ ไมมีรูปทรงที่แนนอน รวมทั้งมีความแตกตางของสีภาพกับสีพ้ืนหลังนอย เราจึงใชสีมาแยกความแตกตางระหวางพื้นที่ๆ ถูกเลือกและพื้นที่ๆ ไมถูกเลือก โดยบริเวณที่มีสีแดงเปนเหมือนกับการใสหนากาก หามไมใหทําการปรับแตงคาบริเวณนั้น ดังนี้

1. คลิก เพื่อเขาสูโหมดควิกมาสก

2. ใช คลิกลบพื้นที่ในสวนที่เราตองการ 3. คลิก อีกครั้งเพื่อกลับมาที่โหมดปกติ จะไดการเลือกพื้นที่

TIP : ในกรณีที่เราลบพื้นที่เกินจากที่เราตองการ เราสามารถใช ระบายสีพ้ืนที่ใหเปนสีแดงเหมือนเดิมได

ตัวอยางการเลือกพืน้ที่นําไปตกแตงสีสัน

1. คลิกเพื่อเขาสูโหมดควิกมาสก

2. ใช คลิกลบพื้นที่ในสวนที่เรา

3. คลิกอีกครั้งเพื่อกลับมาที่โหมดปกติ

จะไดการเลือกพื้นที่

Page 66: Gimp Complete Book - คํมือ Gimp ภาษาไทย

Page 62

 

การจัดการพืน้ที่ที่เลือกดวย Selection Editor  เราสามารถจัดการการเลือกพื้นที่ไดจากหนาตาง Selection Editor โดยเลือกที่คําสั่ง Select>Selection

Editor จะแสดงหนาตางของ Selection Editor ซึ่งมีปุมคําสั่งตางๆ ดานลาง ดังนี้

การปรับแตงการเลือกพื้นที ่ เมื่อเราเลือกพื้นที่แลวเราสามารถปรับแตงการเลือกพื้นที่เพิ่มเติม เพื่อใหไดลักษณะของการเลือกพื้นที่ที่ตองการไดหลายรูปแบบ ดังนี้

ปรับขอบการเลือกพื้นที่ใหฟุงเบลอ  เปนการปรับขอบของการเลือกพื้นที่ใหมีความฟุง เพื่อใหการตกแตงภาพดูกลมกลืนขึ้น ไดดังนี้

1. เลือกพื้นที่ดวย Ellipse Selection Tool

2. เลือกคําสั่ง Select>Feather...

สวนที่ลบเกินออกมา ใช ระบายสีพื้นที่ใหเปนสีแดงเหมือนเดิม

แสดงสวนที่ถูกเลือก

ยกเลิกการเลือกพื้นที่ทั้งหมด

เลือกพื้นที่ทั้งหมด

เลือกพื้นที่ตรงขาม สราง Selection Mask ที่ Channel

สราง Selection Mask ที่ Channel

ใสสีใหเสนขอบของการเลือกพื้นที ่

Page 67: Gimp Complete Book - คํมือ Gimp ภาษาไทย

Page 63

3. จะปรากฏหนาตาง Feather Selection กําหนดระยะความฟุงเบลอของการเลือกพื้นที่ 4. คลิกปุม เพื่อตกลงใชคาที่กําหนด

5. คลิกที่ขอบภาพ และเลื่อนภาพในพื้นที่ที่เลือกออกมา จะเห็นวาขอบของการเลือกนั้นฟุงดูกลมกลืน

NOTE   หากเราตองการปรับขอบของภาพ ใหไมมีความฟุงเบลออยางรวดเร็ว ก็สามารถทําได โดยใชคําสั่ง Sharpen

1. คลิกเลือกพื้นที ่

2. เลือกคําสั่ง Select>Feather...

3. กําหนดคา Feather

4. คลิกเมาส

ผลลัพธเมื่อคลิกเลือ่นภาพ ผลลัพธเมื่อกําหนด Feather เทากับ 0

Page 68: Gimp Complete Book - คํมือ Gimp ภาษาไทย

Page 64

ลดขนาดการเลือกพื้นที่อัตโนมัต ิ จะเปนการลดขนาดของการเลือกพื้นที่ลงตามสัดสวนของการเลือกพื้นที่เดิม ตามระยะขอบการเลือกพื้นที่ ดังนี้

1. เลือกพื้นที่

2. เลือกคําสั่ง Select>Shrink

3. จะปรากฏหนาตาง Shink Selection กําหนดระยะจากขอบการเลือกพื้นที่ที่ตองการใหลดลง 4. คลิกปุม เพื่อตกลงใชคาที่กําหนด

5. ขนาดการเลือกพื้นที่จะลดลง

1. เลือกพื้นที ่

2. เลือกคําสั่ง Select>Shrink

3. กําหนดระยะในการลดขนาดพื้นที ่

4. คลิกเมาส

5. ผลลัพธการเลือกพื้นที่จะลดลง

Page 69: Gimp Complete Book - คํมือ Gimp ภาษาไทย

Page 65

เพิ่มขนาดการเลือกพื้นที่  จะเปนการเพิ่มขนาดการเลือกพื้นที่ ตามระยะขอบการเลือกพื้นที่โดยรอบคลายกับการเปลงแสงออกมา ดังนี้

1. เลือกพื้นที่

2. เลือกคําสั่ง Select>Glow

3. จะปรากฏหนาตาง Glow Selection กําหนดระยะจากขอบการเลือกพื้นที่ที่ตองการใหเพิ่มขึ้น 4. คลิกปุม เพื่อตกลงใชคาที่กําหนด

5. ขนาดการเลือกพื้นที่จะเพิ่มขึ้น

เปล่ียนการเลือกพื้นที่เปนการเลือกพื้นที่เสน  จะเปนการสรางการเลือกพื้นที่ใหกลายเปนการเลือกพื้นที่ของเสนขอบ ดังนี้

1. เลือกพื้นที่

2. เลือกคําสั่ง Select>Border

3. จะปรากฏหนาตาง Border Selection กําหนดความหนาของเสนที่ตองการ • Feather border ทําใหขอบพื้นที่ที่เลือกนุมนวลขึ้น

1. เลือกพื้นที ่

2. เลือกคําสั่ง Select>Glow

3. กําหนดระยะในการเพิ่มขนาดพื้นที ่

4. คลิกเมาส 5. ผลลัพธการเลือกพื้นที่จะเพิ่มขึ้น

Page 70: Gimp Complete Book - คํมือ Gimp ภาษาไทย

Page 66

• Lock selection to image edges Lock selection to image edges กําหนดใหขอบของพื้นที่ที่เลือกไมเปลี่ยนแปลงเมื่อวางชนขอบของภาพพอดี

4. คลิกปุม เพื่อตกลงใชคาที่กําหนด

5. จะเกิดการเลือกพื้นที่เปนเลนขอบ

การบันทึกการเลือกพื้นที่ และการนํากลับมาใชใหม  เราสามารถบันทึกการเลือกพื้นที่โดยเก็บเปนมาสกใน Channel ได โดยการใชคําสั่ง Save to Channel

ซึ่งจะเปนประโยชนเมื่อเราตองการเรียกการเลือกพื้นที่นั้นๆ มาใชอีกครั้งหนึ่ง ซึ่งสามารถทําไดดังนี้

1. หลังจากไดทําการเลือกพื้นที่จากคําสั่ง Selection ตางๆ แลว คลิกเลือก Select>Save to Channel

(หรือเปดหนาตาง Selection Editor ก็จะพบคําสั่ง Save to Channel เชนกัน)

1. เลือกพื้นที ่

2. เลือกคําสั่ง Select>Border

ไมกําหนด Lock selection to image edges

กําหนด Lock selection to image edges

กําหนดคุณสมบัติของเสน

4. คลิกเมาส

5. ผลลัพธจะเกิดการเลือกพื้นที่เปนเสนขอบ

Page 71: Gimp Complete Book - คํมือ Gimp ภาษาไทย

Page 67

2. ที่พาเล็ต Channel จะปรากฏเลเยอร Selection Mask Copy ซึ่งเปนการมาสกพ้ืนที่ที่เราเลือกไว เราสามารถทําการยกเลิกการเลือกพื้นที่เพื่อจัดการรูปภาพดวยคําสั่งอื่นๆ ได

3. เมื่อตองการนําการเลือกพื้นที่นั้นมาใชใหม ใหคลิกเลือกเลเยอร Selection Mask Copy ที่ ที่พาเล็ต Channel หรือคลิกขวาที่เลเยอรนั้น เพื่อไปยังคําสั่ง Channel Menu>Channel to Selection

4. จะปรากฏการเลือกพื้นที่เดิมขึ้นมาอีกครั้งหนึ่ง

1. คลิกเลือกคําสั่ง Select>Save to Channel

2. จะปรากฏเลเยอร Selection Mask Copy

หรือปดหนาตาง Selection Editor

Save to Channel

เราสามารถทําการยกเลิกการเลือกพื้นที่ได

3. ที่พาเล็ต Channel เลือกคําสั่ง Channel Menu>channel to Selection เมื่อตองการใหการเลือกพื้นที่กลับมาอีกคร้ัง

4. จะปรากฏการเลือกพื้นที่เดิมขึ้นมาอีกคร้ังหนึ่ง

Page 72: Gimp Complete Book - คํมือ Gimp ภาษาไทย

Page 68

บทที่ 4 การจัดวาง และปรับรูปทรง 

หลังจากที่ไดนําภาพสวนประกอบตางๆ มาวางซอนกันจนเขาที่แลว ในขั้นตอนนี้เราจะมาทําการจัดวาง ปรับขนาดภาพ หมุนภาพ และบิดภาพ เพื่อใหสวนประกอบของภาพเหลานี้เขากัน โดยใชเครื่องมือในกลุม Transform Tool

การใชงานเครื่องมือวัดตําแหนงตางๆ กอนการตกแตงภาพ เชน ภาพคน ภาพสิ่งของที่ตองการระบุตําแหนงของวัตถุเหลานั้นใหแนชัด เพื่อตกแตงภาพเฉพาะ

จุด โปรแกรมจึงจัดใหมีเครื่องมือที่ชวยอํานวยความสะดวกในการจัดวางงานของเรา ซึ่งไดแกเครื่องมือตางๆ ดังนี้

• แถบไมบรรทัด (Ruler) ใชอางอิงตําแหนง และตรวจดูขนาดของวัตถุ • เสนไกด (Guide) เปนเสนที่ใชอางอิงในการจัดวางวัตถุในชิ้นงาน

• เสนกริด (Grid) เปนเสนตารางที่ใชเปนแนวอางอิงในการจัดวางวัตถุในชิ้นงาน

• เครื่องมือวัด (Measure Tool) ไมบรรทัดที่ใชวัดระยะทาง ขนาด และวัดมุมความเอียงของวัตถุ

การบอกตําแหนงภาพดวย Ruler   Ruler มีลักษณะเหมือนไมบรรทัดที่อยูบริเวณดานบน และดานซายของหนาตางเปนตัวอางอิงเพื่อใชบอกตําแหนงตัวช้ีเมาสบนภาพ

 การเปล่ียนหนวยวัดใหกับไมบรรทัด   เราสามารถเปลี่ยนหนวยวัดที่ไมบรรทัดได โดยคลิกเลือกหนวยที่ดานลางของหนาตาง Image Window

เมื่อวางเมาสบนภาพจะแสดงลูกศรตําแหนงบนแถบไมบรรทัด

Page 73: Gimp Complete Book - คํมือ Gimp ภาษาไทย

Page 69

   

 

การซอน/แสดงแถบไมบรรทัด  โดยปกติแลวเมื่อเราเปดไฟล หรือสรางไฟลภาพขึ้นมาใหม จะปรากฏแถบของไมบรรทัดขึ้นมาใหเราใชงานทันที แตเราสามารถซอนหรือแสดงแถบไมบรรทัดได โดยเลือกที่คําสั่ง View>Show Ruler ถามีเครื่องหมาย จะเปนการแสดงไมบรรทัด ถาไมมีเปนการซอนแถบไมบรรทัดไว

   

 

แสดงจุดอางอิงบนภาพดวยเสนไกด  เสนไกดเปนเสนที่ใชในการอางอิงระยะบนภาพ โดยเราสามารถใชเสนไกดไดทั้งแนวตั้ง และแนวนอน หรืออาจนําเสนไกดทั้ง 2 แนวมาตัดกัน เพื่อเกิดพิกัดที่ชวยบงบอกระยะสําหรับแกไขภาพ การวางวัตถุ เปนตน โดยเสนเหลานี้จะไมถูกพิมพออกทางเครื่องพิมพ ซึ่งการสรางเสนไกดมีวิธีดังนี้

1. นําเมาสไปวางที่แนวไมบรรทัดในแนวตั้งหรือแนวนอนก็ได จากนั้นลากเมาสออกมาในตําแหนงที่ตองการก็จะมีเสนไกดแสดงออกมาดวย

คลิกเลือกเพื่อเปลี่ยนหนวยวัด

ผลลัพธแถบไมบรรทัดเปลี่ยนไป

เลือกคําสั่ง View>Show Ruler

เคร่ืองหมาย หายไป

แถบไมบรรทัดหายไป

Page 74: Gimp Complete Book - คํมือ Gimp ภาษาไทย

Page 70

2. เมื่อไดตําแหนงที่ตองการแลว ปลอยเมาส เสนไกดจะเปลี่ยนเปนเสนประสีฟา ซึ่งเราสามารถสรางกี่เสนก็ไดตาม

ตองการ (เมื่อวางเมาสที่เสนไกด เสนไกดจะเปลี่ยนเปนสีแดง และตัวช้ีเมาสจะเปลี่ยนเปนรูป เมื่อคลิกเสนไกดจะเปลี่ยนเปนสีเขียว)

 

การเคลื่อนยายเสนไกด  หากตองการยายตําแหนงเสนไกด ใหคลิกยังเสนไกดที่ตองการยายตําแหนงคางไว และลากไปยังตําแหนงใหมที่ตองการ

 

การลบเสนไกด   การลบเสนไกดคือ การยายเสนไกดออกไปนอกหนาตางภาพ เสนไกดก็จะหายไป โดยการคลิกเมาสคางไว แลวลากออกไปที่แถบไมบรรทัด

ลากเมาสออกมาในตําแหนงที่ตองการแลวปลอยเมาส จะมีเสนไกด แสดงตามออกมาดวย

คลิกเสนไกดคางไวแลวลากไปยังตําแหนงที่ตองการ

Page 75: Gimp Complete Book - คํมือ Gimp ภาษาไทย

Page 71

 

การซอนและแสดงไกด   หากตองการซอนเสนไกดไว ใหเลือกคําสั่ง View>Show Guides ใหเครื่องหมาย หายไป และในทางกลับกัน ถาตองการใหเสนไกดกลับมาแสดงก็ใหเลือกคําสั่ง View>Show Guides อีกครั้ง

คลิกที่เสนคางไวแลวลากไปยังแถบไมบรรทัด

เลือกคําสั่ง View>Show Guides

แสดงเสนไกด ไมมีเคร่ืองหมาย ไมแสดงเสนไกด

Page 76: Gimp Complete Book - คํมือ Gimp ภาษาไทย

Page 72

การแสดงจุดพิกัดบนภาพดวยกริด  กริดเปนจุดที่บอกพิกัดเพื่ออางอิงตําแหนง เกิดจากเสนแนวตั้ง และแนวนอนมาตัดกันจนเกิดจุดตัดระหวางเสน โดยระยะหางระหวางจุดจะมีระยะหางที่เทากัน เราสามาถทําใหโปรแกรมแสดงเสนกริดได โดยเลือกคําสั่ง View>Show Grids (สังเกตวาหลังจากเลือกแลวจะปรากฏเครื่องหมาย ขึ้นมา)

   

นอกจากนี้ภายในโปรแกรมยังสามารถกําหนดรายละเอียดของเสนกริดได โดยเลือกที่เมนู Edit ในหนาตาง Image Window และเลือกคําสั่ง Preferences จะปรากฏหนาตาง Preferences ใหเรากําหนดลักษณะของ Default Grids ดังนี้

สรางความแมนยําในการวางภาพดวย Snap  Snap เปนคําสั่งที่จะทําใหวัตถุที่เรานํามาวางถูกดูดติดกับแนวเสนไกด เสนขอบของหนาเอกสาร และเสนกริด

เลือกคําสั่ง View>Show Grids ผลลัพธแสดงเสนกริด

1. เลือกคําสั่ง File>Preferences 2. เลือกกําหนดลักษณะของ Default Grids

3. กําหนดคาตางๆ 4. คลิกเมาส

Page 77: Gimp Complete Book - คํมือ Gimp ภาษาไทย

Page 73

 

การเลือกใช Snap ในลักษณะตางๆ • ใช Snap ยึดแนวเสนไกด ใหเลือกคําสั่ง View>Snap to Guides คลิกใหเปนเครื่องหมาย • ใช Snap ยึดแนวเสนกริด ใหเลือกคําสั่ง View>Snap to Grid คลิกใหเปน

เครื่องหมาย

วัดระยะของวัตถุดวย Measure Tool 

เราสามารถวัดระยะทาง และมุมจากตําแหนง 2 ตําแหนงได โดยการใช Measure Tool ซึ่งทําหนาที่เหมือนไมบรรทัดวัดระยะทาง และไม Protector วัดมุม เพื่อใหการทํางานของเราสะดวกรวดเร็ว และแมนยําขึ้น โดยมีวิธีการตอไปนี้

1. คลิกเลือกเครื่องมือ Measure Tool

2. ลากเมาสระหวางจุดเริ่มตน และจุดปลายที่ตองการวัด

เลือกคําสั่ง View>Snap to Guides

แสดง Snap วางยึดเสนไกด

Page 78: Gimp Complete Book - คํมือ Gimp ภาษาไทย

Page 74

3. คลิกเลื่อนเมาสใหจุดปลายทํามุมกับแนวนอน ลากเมาสไปยังจุดที่ตองการ

 

 

   

 

NOTE  เราสามารถดูระยะทาง และองศาของมุมที่เราใชเครื่องมือ Measure Tool ลากไป โดยคลิกเลือก Use info

Window ที่ Tool Options ของเครื่องมือ Measure Tool จะทําใหปรากฏหนาตาง Measure แสดงระยะทาง และองศาของมุมที่เราวัดได

 

     

นอกจากนั้น เรายังสามารถเลื่อนเสนวัดระยะทาง หรือมุมจากจุดที่เราวัดไวแลว โดยเลื่อนเมาสไปที่เสนนั้น ตัวช้ี

เมาสจะเปลี่ยนเปนรูป แลวลากเมาสเลื่อนเสนไปยังตําแหนงที่ตองการ

1. คลิกเลือกเครื่องมือ Measure Tool 2. คลิกลากเมาสระหวางจุดเร่ิมตน และจุดปลาย

คลิกเลือก Use info Window ที่ Tool Options

ปรากฏหนาตาง Measure

แสดงระยะทาง

แสดงคามุม

ความกวาง ความสูง

Page 79: Gimp Complete Book - คํมือ Gimp ภาษาไทย

Page 75

 

TIP  ถาเรากดคีย <Ctrl> คางไวขณะที่ ทําการลากเมาส จะบังคับเมาสใหเลื่อนเพิ่มหรือลดลงทีละ 15 องศา

รูจักกับการปรับรูปทรงภาพดวยเครื่องมือ Transform Tool  เปนเครื่องมือที่นําภาพหรือพ้ืนที่ภาพที่เราเลือกไว มาปรับรูปทรงใหเปลี่ยนแปลงไปจากเดิม เชน ปรับภาพใหมีขนาดเล็กลง ปรับทิศทางการวางภาพใหเอียง ยืดและบิดภาพ เปนตน ซึ่งวิธีการเหลานี้ สามารถปรับไดตามที่เราคลิกกําหนดรูปทรง หรือกําหนดคาในหนาตางของเครื่องมือชนิดตางๆ เพื่อกําหนดคาได

ปรับขนาดภาพ (Scale Tool)

หมุนภาพ (Rotate Tool)

จุดปลายของตําแหนงเดิม

คลิกเมาสเลื่อนเสนไปยังตําแหนงใหมที่ตองการ

Page 80: Gimp Complete Book - คํมือ Gimp ภาษาไทย

Page 76

บิดภาพ (Shear Tool)

 

บิดภาพ (Perspective Tool)

พลิกกลับดานภาพ (Flip Tool)

การปรับขนาดภาพใหพอดีดวย Scale Tool  ภาพที่ตัดตอมาซอนอยูนั้น บางครั้งขนาดจะเล็กหรือใหญกวาพื้นที่ที่เราจะวางภาพ ดังนั้นตองปรับขนาดกันสัก

หนอยดวย Scale Tool ดังนี้

1. ใชเครืองมือตัดภาพตัดภาพออกมา 2. กอปปภาพที่ตัดมาวางในภาพอีกภาพหน่ึง

3. คลิกเลือก Scale Tool เพื่อกํานดขนาด

4. คลิกที่รูปเพื่อปรับขนาด หรือ กําหนดขนาด โดยการตั้งคาที่หนาตาง Scale

5. เมื่อกําหนดขนาดเรียบรอยแลว คลิกที่ปุม เพื่อตกลงใชคา

Page 81: Gimp Complete Book - คํมือ Gimp ภาษาไทย

Page 77

กําหนดคุณสมบัติเพิ่มเติมเก่ียวกับเครื่องมือ Scale Tool  เราสามารถกําหนดคุณสมบัติเพิ่มเติมของเครื่องมือ Scale Tool ไดที่ Tool Options ดานลางของหนาตาง Main Toolbox ซึ่งมีรายละเอียดดังนี้

1. ตัดภาพจากภาพตนฉบับ 2. กอปปภาพที่ตัดมาวางในภาพอีกภาพหนึ่ง

3. คลิกเลือก Scale Tool หรือกําหนดคาตางๆ

5. คลิกเมาสเพื่อตกลงใชคา

4. คลิกบนภาพเพื่อกําหนดขนาด

ผลลัพธเมื่อเปลี่ยนขนาดใหพอดี

Page 82: Gimp Complete Book - คํมือ Gimp ภาษาไทย

Page 78

หมุนภาพใหไดมุมที่ลงตัวดวย Rotate Tool  หากภาพที่ตัดตอมานั้นอยูในทิศทาง หรือมุมที่ไมลงตัว อันนี้ก็หมุนใหอยูในที่ควรจะอยูไดดวย Rotate Tool

ดังนี้

1. คลิกเลือก Rotate Tool เพื่อกําหนดขนาด

2. คลิกที่รูปเพื่อหมุนภาพ หรือกําหนดการหมุน โดยการตั้งคาที่หนาตาง Rotate ดังนี้ • Angle กําหนดมุมในการหมุน

• Center X และ Center Y กําหนดจุดหมุน

3. เมื่อกําหนดการหมุนภาพเรียบรอยแลว คลิกที่ปุม เพื่อตกลงใชคาที่กําหนด

เลือกโหมดการจัดการกับวัตถุชนิดตางๆ

เลือกลักษณะการปรับขนาดได 2 แบบ คือ Normal (Forward) คือการปรับไปตามที่เรากําหนด และแบบ Corrective (Backward) เปนการปรับไปในทิศทางตรงขามกับที่กําหนด

กําหนดคุณภาพของการปรับภาพ

กําหนดการตัดภาพที่ถูกปรับเรียบรอยแลวใหมีขนาดเทากับขนาดภาพตนฉบับโดยอัตโนมัติ

กําหนดลักษณะภาพตัวอยางในการปรับภาพ กําหนดใหอัตราสวนระหวาง

ความกวาง และความสูงคงที ่

1. คลิกเลือก Scale Tool หรือกําหนดรายละเอียดเพื่อทําการหมุนภาพ

3. คลิกเมาส

Page 83: Gimp Complete Book - คํมือ Gimp ภาษาไทย

Page 79

กําหนดคุณสมบัติเพิ่มเติมเก่ียวกับเครื่องมือ Rotate Tool เราสามารถกําหนดคุณสมบัติเพิ่มเติมของเครื่องมือ Rotate Tool ไดที่ Tool Options ดานลางของหนาตาง

Main Toolbox ซึ่งมีรายละเอียดดังนี้

บิดภาพใหลาดเอียงดวย Shear Tool   เปนการบิดภาพใหมีลักษณะลาดเอียง โดยใหบิดกรอบดานใดดานหนึ่ง ซึ่งกรอบอีกดานจะอยูคงที่ จะปรากฏกรอบสําหรับการบิดภาพใหบิดไปซายขวาหรือบนลางตามตองการ ดังนี้

1. คลิกเลือก Shear Tool

2. คลิกที่รูปเพื่อทําการบิดภาพ หรือกําหนดการบิดภาพ โดยการตั้งคาที่หนาตาง Shear ดังนี้ • Magnitude X / Y กําหนดระยะจากมุมเดิมที่ยื่นออกมาเมื่อทําการบิดภาพ

2. คลิกที่รูปเพื่อหมุนภาพ ผลลัพธการหมุนภาพ

เลือกโหมดการจัดการกับวัตถุชนิดตางๆ

เลือกลักษณะการปรับขนาดได 2 แบบ คือ Normal (Forward) คือการปรับไปตามที่เรากําหนด และแบบ Corrective (Backward) เปนการปรับไปในทิศทางตรงขามกับที่กําหนด

กําหนดคุณภาพของการปรับภาพ

กําหนดการตัดภาพที่ถูกปรับเรียบรอยแลวใหมีขนาดเทากับขนาดภาพตนฉบับโดยอัตโนมัติ กําหนดลักษณะภาพตัวอยางใน

การปรับภาพ

ใหการหมุนเปลี่ยนมุมไปครั้งละ 15 องศา

Page 84: Gimp Complete Book - คํมือ Gimp ภาษาไทย

Page 80

3. เมื่อกําหนดการบิดภาพเรียบรอยแลว คลิกที่ปุม เพื่อตกลงใชคา

บิดภาพใหผดิสัดสวนดวย Perspective Tool   เปนการบิดภาพโดยมุมทั้งสองขางเอียงเขาหากัน หรือบิดภาพไดโดยไมมีการรักษาสัดสวนภาพ โดยใช

Perspective Tool ดังนี้

1. คลิกเลือก Perspective Tool

2. คลิกเลื่อนมุมของภาพเพื่อทําการบิดภาพ ในเครื่องมือนี้เราไมสามารถตั้งคาไดจากหนาตาง Perspective แตที่หนาตางนี้จะแสดงขอมูลการบิดภาพของเราแทน

3. เมื่อกําหนดการบิดภาพเรียบรอยแลว คลิกที่ปุม เพื่อตกลง

1. คลิกเลือก Shear Tool

2. คลิกที่ภาพเพื่อทาํการบิด

หรือกําหนดระยะเพือทําการบิดภาพ

3. คลิกเมาส ผลลัพธการบิดภาพ

1. คลิกเลือก Perspective Tool

2. คลิกที่มุมของภาพเพื่อทําการบิด

Page 85: Gimp Complete Book - คํมือ Gimp ภาษาไทย

Page 81

กําหนดคุณสมบัติเพิ่มเติมเก่ียวกับเครื่องมือ Shear Tool และ Perspective Tool  เราสามารถกําหนดคุณสมบัติเพิ่มเติมของเครื่องมือ Shear Tool และ Perspective Tool ไดที่ Tool

Options ดานลางของหนาตาง Main Toolbox ซึ่งมีรายละเอียดหนาตาง Tool Option ของ Shear Tool และ Perspective Tool ที่เหมือนกัน ดังนี้

การพลิกกลับดานรูปดวย Flip Tool   เปนกลับดานของภาพจากซายเปนขวา หรือ จากดานบนเปนดานลาง โดยใช Flip Tool ดังนี้

1. คลิกเลือก Flip Tool

2. เลื่อนเมาสมาที่ภาพ (ลูกศรจะกลายเปนรูป กลับภาพในแนวนอน และ กลับภาพในแนวตั้ง) และคลิกเพื่อกลับดานภาพ

3. ภาพที่ไดจะถูกพลิก

3. คลิกเมาสเพื่อตกลง ผลลัพธการบิดภาพ

เลือกโหมดการจัดการกับวัตถุชนิดตางๆ

เลือกลักษณะการปรับขนาดได 2 แบบ คือ Forward คือการปรับไปตามที่เรากําหนด และแบบ Backward เปนการปรับไปในทิศทางตรงขามกับที่กําหนด

กําหนดคุณภาพของการปรับภาพ

กําหนดการตัดภาพที่ถูกปรับเรียบรอยแลวใหมีขนาดเทากับขนาดภาพตนฉบับโดยอัตโนมัติ

กําหนดลักษณะภาพตัวอยางในการปรับภาพ

Page 86: Gimp Complete Book - คํมือ Gimp ภาษาไทย

Page 82

ตัวอยางการพลิกภาพในแนวตั้ง (กลับดานบนเปนดานลาง) 

TIP  เราสามารถเปลี่ยนแนวในการพลิกภาพได โดยกําหนดคุณสมบัติของเครื่องมือที่ Tool Option โดยเลือก Flip

Type เปนแบบ Horizontal (แนวนอน) หรอื Vertical (แนวตั้ง) หรือกดคีย <Ctrl> คางไวขณะคลิกเพื่อ

พลิกภาพ (สังเกตจากรูปลูกศรที่เปลี่ยนไป และ )

NOTE 

โหมดการจัดการกับวัตถุ (Affect)

ใน Tool Options ของเครื่องมือ Transform ตางๆ จะมีอยู 3 โหมด ดังนี้

จัดการกับเลเยอร หรือภาพในเลเยอร เชน ปรับขนาดภาพ หมุนภาพ บิดภาพ

จัดการกับการเลือกพื้นที่ เชน ปรับขนาดการเลือกพื้นที่ หมุนปรับการเลือกพื้นที่ บิดรูปรางของการเลือกพื้นที่

1. คลิกเลือก Flip Tool 2. เลื่อนเมาสมาที่ภาพ (พลิกจากซายเปนขวา)

3. ผลลัพธการพลิกภาพ

กอนพลิก หลังพลิก

Page 87: Gimp Complete Book - คํมือ Gimp ภาษาไทย

Page 83

จัดการกับช้ินพาธ เชน ปรับขนาดพาธ หมุนพาธ บิดรูปรางของพาธ

ลักษณะของการแสดงภาพตัวอยางในการปรับภาพ (Preview)

Outline จะแสดงเพียงเสนกรอบใหเห็นวารูปเปลี่ยนไปในลักษณะใด

Grid จะแสดงเปนเสนตารางกริดใหเห็นวารูปเปลี่ยนไปในลักษณะใด ซึ่งสามารถกําหนดจํานวนกริดที่แสดงบริเวณดานลางได

Image จะแสดงเปนลักษณะของรูปภาพที่เปลี่ยนไป

Image and grid จะแสดงทั้งรูปภาพและเสนกริดเปนลักษณะภาพที่เปลี่ยนไป

Page 88: Gimp Complete Book - คํมือ Gimp ภาษาไทย

Page 84

บทที่ 5 การสรางขอความตกแตงภาพ 

การสรางงานกราฟกนอกจากจะประกอบดวยภาพหลายๆ ภาพที่นํามาตกแตงเปนเรื่องราวที่ตองการแลว เรายังสามารถใสขอความที่เปนช่ือเรื่อง หรือคําอธิบายรายละเอียดของเรื่องที่ตองการนําเสนอนั้นดวย เนื้อหาในบทนี้เราจะกลาวกันถึงเรื่องการใสตัวอักษรลงไปในภาพ และการปรับแตงตัวอักษรและขอความตางๆ

รูจักกับรปูแบบของตัวอกัษรทีใ่ชในโปรแกรมกราฟก ตัวอักษรที่ใชในโปรแกรมกราฟก โดยทั่วไปแบงออกเปน 2 ประเภท เชนกัน คือ

แบบ Outline หรือแบบ Vector  

ตัวอักษรแบบ Outline จะถูกจัดเก็บในลักษณะการประมวลผลเปนสูตรคณิตศาสตร ทําใหไมเกิดปญหารอยหยัก แตก บนขอบตัวอักษรเมื่อเกิดการยอ/ขยายตัวอักษร จึงเหมาะสําหรับนํามาใชในงานสิ่งพิมพและงานศิลป อยางไรก็ตาม ตัวอักษรแบบนี้จะนําไปตกแตงเอฟเฟกตโดยใชฟลเตอรไมได

แบบ Bitmap 

ตัวอักษรแบบ Bitmap จะถูกจัดเก็บในรูปแบบพิกเซล ทําใหสะดวกในการประมวลผลเรื่องสี โดยเฉพาะอยางยิ่งการลงสีและการตกแตงภาพ ฉะนั้นขอดีของอักษรแบบ Bitmap คือ สามารถใชไดกับการใสเอฟเฟกตและฟลเตอร ในขณะที่ขอเสีย คือ เมื่อมีการเปลี่ยนแปลงขนาด เชน การขยายขนาดจะทําใหตัวอักษรแตก

จากขอดีและขอเสียของตัวอักษรแบบ Outline และ Bitmap ที่ผานมาเราสรุปไดดังนี้คือ

ตัวอักษร Outline ตัวอักษร Bitmap 1. ปรับเปลี่ยนขนาดไดตามใจชอบภาพไมแตก

2. แกไขขอความไดงาย 3. การปรับแตงสี และลูกเลนทําไดนอยมาก

1. ปรับเปลี่ยนขนาด ภาพจะแตก

2. แกไขขอความยาก หรือแกไขไมได 3. การปรับแตงสี และลูกเลนทําไดมาก

แบบ Outline: ขอความทั่วไปที่ตองการความคมชัด

แบบ Bitmap: ขอความที่ตองการเนนโดยการใสเอฟเฟกตพเิศษ

Page 89: Gimp Complete Book - คํมือ Gimp ภาษาไทย

Page 85

ฉะนั้นหลักการและเทคนิคในการปรับแตงตัวอักษรที่ดีที่สุด คือ พิมพขอความ กําหนดขนาดและดูความถูกตองของขอความใหตรงกับความตองการมากที่สุด หลังจากนั้นจึงเปลี่ยนจากตัวอักษรแบบ Outline มาเปนตัวอักษรแบบ Bitmap จากนั้นก็ปรับเปลี่ยนสี และใสเอฟเฟกตใหกับตัวอักษร เพราะถาเราแปลงขอความจาก Outline เปน Bitmap แลว ตอจากนั้นมาปรับขนาดทีหลังจะสงผลใหความละเอียดของภาพผิดเพี้ยนไป

การสรางตัวอักษรแบบ Outline  ตัวอักษรแบบ Outline เหมาะสําหรับการนําเสนอขอความที่มีความคมชัด และมีสีสันเรียบงาย เพราะตัวอักษรแบบ Outline ไมสามารถใสเอฟเฟกตไดมากนัก สามารถสรางไดดังนี้

1. คลิกเลือก Text Tool

2. คลิกบริเวณภาพที่ตองการใสขอความ

3. จะปรากฏหนาตาง GIMP Text editor พิมพขอความที่ตองการ 4. กําหนดลักษณะตัวอักษรที่ Tool Options

• Font กําหนดรูปแบบตัวอักษร • Size กําหนดขนาดของตัวอักษร • Hinting คลิกเพื่อใชสําหรับการสรางขอความขนาดเล็กใหดูชัดเจนมากขึ้น • Force auto-hinter คลิกเพื่อใหโปรแกรมสรางขอความใหดูสวยงามมากที่สุด ซึ่งจะกําหนดคาโดย

อัตโนมัติ

• Antialiasing คลิกเพื่อกําหนดการตัดเหลี่ยมขอบของขอความใหขอความดูสวยงามมากขึ้น • Color กําหนดสีของขอความ

• Justify กําหนดการจัดเรียงขอความในกรอบขอความ มี 4 แบบ คือ

กําหนดใหวางชิดขอบซาย

กําหนดใหวางชิดขอบขวา

กําหนดใหวางกึ่งกลาง

กําหนดใหวางเต็มบรรทัด

• Indent กําหนดระยะของจุดเริ่มตนของขอความในกรอบขอความ

• Line spacing กําหนดระยะชองวางระหวางบรรทัดของขอความ

• Letter spacing กําหนดระยะหางระหวางตัวอักษร • Text along path กําหนดใหขอความที่พิมพไหลไปตามเสนพาธ

• path from text คลิกที่ปุมนี้เพื่อสรางขอความที่พิมพใหเปนเสนพาธ

5. คลิกปุม เพื่อสิ้นสุดการกําหนด และแกไขขอความ

Page 90: Gimp Complete Book - คํมือ Gimp ภาษาไทย

Page 86

การแกไขขอความที่พิมพผิดพลาด  ถาเราพิมพขอความผิด หรืออยากปรับรูปแบบใหม มีขั้นตอนดังนี้

1. เลือก Text Tool และคลิกไปบนกรอบขอความ

2. จะปรากฏหนาตาง GIMP Text Editor ใหเราพิมพแกไขขอความ

ลากเมาสบนตัวอักษรใหเกิดแถบสีน้ําเงินครอบตัวอักษรเพื่อพิมพคําใหมทับลงไป

ลากเมาสบนตัวอักษรใหเกิดแถบสีน้ําเงินครอบตัวอักษรเพื่อพิมพคําใหมทับลงไป

1. คลิกเลือก Text Tool

2. คลิกบริเวณภาพที่ตองการใสขอความ

3. พิมพขอความ

5. คลิกเมาส

4. กําหนดลักษณะตัวอักษร ผลลัพธที่ได

Page 91: Gimp Complete Book - คํมือ Gimp ภาษาไทย

Page 87

ขณะที่เลือกกําลังแกไขขอความที่หนาตาง GIMP Text Editor สามารถปรับแตงรายละเอียด ตัวอักษรเพิ่มเติมไดที่ Tool Options

การสรางตัวอักษรแบบ Bitmap  ทําไดโดยการเลือกพื้นที่เปนรูปขอความที่ตองการ และใชเครื่องมือเติมสี หรือระบายสีตางๆ ลงสีใหกับพื้นที่รูปตัวอักษรที่เลือกไว ทําใหสามารถตกแตงสีของขอความไดมากขึ้น สามารถทําได ดังนี้

1. พิมพขอความที่ตองการเหมือนกับการสรางขอความแบบ Outline

2. คลิกเลือกที่ปุม ใน Tool Options เพื่อสรางขอความใหเปนเสนพาธ 3. คลิกปุม เพื่อสิ้นสุดการกําหนด และแกไขขอความ

4. ไปที่ไดอะล็อก Path คลิกเมาสขวาที่พาธขอความเลือกคําสั่ง Path to selection เพื่อสรางการเลือกพ้ืนที่เปนรูปขอความ

5. ใช ระบายสีใหกับพื้นที่รูปขอความที่เลือก

1. พิมพขอความ

2. คลิกเมาส

3. คลิกเมาส

Page 92: Gimp Complete Book - คํมือ Gimp ภาษาไทย

Page 88

แปลงตัวอักษร Outline ใหเปนแบบ Bitmap  เนื่องจากขอความแบบ Outline ใหความคมชัด ในขณะที่ขอความแบบ Bitmap นําไปใชตกแตงเอฟเฟกตโดยใชเครื่องมือตางๆ ดังนั้นถาเราตองการจุดดีของทั้งสองแบบ ใหเราเริ่มโดยการสรางขอความแบบ Outline กอน เมื่อวางที่ตําแหนงและขนาดเหมาะสม เราก็จะแปลงเปนแบบ Bitmap ดังตัวอยางตอไปนี้

1. พิมพขอความที่ตองการ 2. คลิกเมาสขวาที่เลเยอรของขอความในไดอะล็อก Layers เลือกคําสั่ง Discard Text Information เพื่อ

แปลงขอความ

3. ขอความ Outline จะเปลี่ยนไปเปนแบบ Bitmap

4. คลิกเมาสขวาเลอืก คําสั่ง Path to Selection

จะไดการเลือกพื้นที่เปนรูปขอความ

5. ระบายสีพื้นที่ที่เลือก ผลลัพธจะไดตัวอักษรแบบ Bitmap

1. พิมพขอความ

Page 93: Gimp Complete Book - คํมือ Gimp ภาษาไทย

Page 89

สรางขอความแบบแฟนตาซีดวย Alpha to Logo  เปนการสรางขอความที่มีรูปแบบสวยงาม โดยเปนรูปแบบขอความสําเร็จรูปกําหนดมาใหเราเลือกใช และทําการกําหนดคาเพิ่มเติมนิดหนอยเทานั้น เชน มีการเติมสีขอความเปนลวดลาย มีแสงรอบๆ ขอความ เปนตน (ซึ่งก็คือฟลเตอร Script-Fu ในเวอรช่ันกอนๆ) จะใชงานขอความจาก Alpha to Logo ได ดังนี้

1. เลือกคําสั่ง Filters>Alpha to Logo ที่หนาตาง Image Window

2. เลือกรูปแบบของขอความ ตัวอยางจะเลือกแบบ Alien-Glow

3. กําหนดคาตางๆ ใหกับขอความ • Glow size ขนาดของของแสงที่เปลงออกมารอบตัวอักษร • Glow color สีของแสงที่เปลงออกมารอบตัวอักษร

4. คลิกปุม เพื่อตกลงใชงานรูปแบบขอความที่เลือก

2. คลิกเมาสขวา เลอืกคําสั่ง Discard Text Information

3. ขอความ Outline จะเปลี่ยนไปเปนแบบ Bitmap

1. เลือกคําสั่ง Filters>Alpha to Logo

2. เลือกรูปแบบของขอความที่จะสราง

3. กําหนดคาตางๆ

4. คลิกเมาส

Page 94: Gimp Complete Book - คํมือ Gimp ภาษาไทย

Page 90

ตัวอยางขอความรูปแบบตางๆ 

ผลลัพธของขอความที่ได

Page 95: Gimp Complete Book - คํมือ Gimp ภาษาไทย

Page 91

บทที่ 6 การทํางานกับเลเยอร 

ในบทแรกเราไดทราบถึงวิธีการเลือกพื้นที่ภาพ การตัดภาพจากไฟลตางๆ มารวมกันเปนช้ินงาน และการใสขอความลงไปประกอบในชิ้นงาน ดังนั้นในบทนี้เราจะมา สรางชิ้นงานกันอยางตอเนื่อง โดยการจัดวางภาพที่ซอนกันอยูใหลงตัวมากยิ่งขึ้น ใน GIMP เรียกการทํางานนี้วา “เลเยอร” ซึ่งชวยอํานวยความสะดวกในการจัดวางภาพแตละสวนที่วางซอนกันอยูเปนช้ันๆ ทําใหสามารถทํางานกับภาพเฉพาะสวนไดโดยไมมีผลกระทบกับสวนอื่นๆ ของภาพที่ไมเกี่ยวของ

ความหมายของ Layer   เลเยอร (Layer) เปนการซอนภาพเหมือนกับนําแผนใสที่มีภาพซอนทับกันเปนช้ันๆ ซึ่งบริเวณของแผนใสที่ไมมีรูปก็จะสามารถมองเห็นทะลุถึงแผนใสที่อยูช้ันลางได และเมื่อนําทุกแผนใสทุกช้ันมาวางซอนทับกัน จะทําใหเกิดเปนรูปภาพที่สมบูรณ การใชเลเยอรจะชวยใหเราจัดวางงานไดงาย เนื่องจากแตละเลเยอรทํางานเปนอิสระตอกัน มีคุณสมบัติตางๆ เปนของตัวเอง จึงทําใหการแกไขที่เราทําในแตละเลเยอรนั้นไมสงผลตอเลเยอรอื่นๆ

Gimp สามารถอานและปรับแตงไฟล .psd ของโปรแกรม Photoshop ที่มีการต้ังเลเยอรไวไดทันที โดยไมตองปรับแตงแกไขใดๆ เพิ่มเติม

การซอนภาพดวยเลเยอร   ตัวอยางนี้ เราจะลองนําภาพและขอความมาซอนกัน เพื่อจะสรางสรรคงานออกมาใหดูนาสนใจมากยิ่งขึ้น มีขั้นตอนดังนี้

o ขั้นตอนที่ 1 เปดภาพที่สรางเปนฉากหลัง o ขั้นตอนที่ 2 ซอนภาพมาในเลเยอรที่ 2

o ขั้นตอนที่ 3 ใสขอความลงในภาพ

ภาพในแตละเลเยอรจะซอนกันเหมือนแผนใส

แผนใสภาพขอความ

แผนใสตกตาหมี

แผนพื้นหลัง

Page 96: Gimp Complete Book - คํมือ Gimp ภาษาไทย

Page 92

การสรางเลเยอร   หลังจากที่เราเปดภาพจากไฟล background.psd ขึ้นมาเพื่อสรางฉากหลัง จะ เห็นวาที่ไดอะล็อก Layers

จะมีเพียงเลเยอรเดียว คือ Background เราตองทําการสรางเลเยอรใหมเพื่อใสภาพดอกไม ซึ่งมีขั้นตอนดังนี้

1. ที่หนาตาง Image Window เลือกคําสั่ง Layer>New Layer หรือใน หนาตาง Docking ที่ไดอะล็อก

Layers คลิกเมาสที่ เพื่อทําการสรางเลเยอรใหม 2. จะปรากฏหนาตาง New Layer ใหเราพิมพช่ือลงในชอง Layer Name จากนั้นกําหนดรูปแบบของ

Layer 3. คลิกปุม สรางเลเยอรใหมตามที่เรากําหนด

1. เปดภาพที่สรางเปนฉากหลัง ลากภาพตุกตาหมีมาซอน

ใสขอความลงในภาพ

Page 97: Gimp Complete Book - คํมือ Gimp ภาษาไทย

Page 93

หลังจากทําการสรางเลเยอรใหมเรียบรอยแลวใหเราทําการคัดลอกภาพตุกตาหมีที่เตรียมไวมาวางบนเลเยอรที่สรางใหม

การใชงานเลเยอร  ในหัวขอนี้เราจะมาเรียนรูจักวิธีการใชงานเลเยอรเบื้องตน เพื่อใหเราสามารถประยุกตไปใชกับงานเลเยอรเรื่องอื่นๆ ได

1. เลือกคําสั่ง Layer>New Layer

หรือคลิกเมาส เพื่อสรางเลเยอร

2.พิมพชื่อเลเยอร

กําหนดรูปแบบของเลเยอร

3. คลิกเมาส

เลเยอรจะถูกสรางขึ้นใหม

วางภาพตุกตาหมีบนเลเยอรที่สรางใหม

ผลที่ไดจากการซอนเลเยอรตุกตาหมีกับพื้นหลัง

Page 98: Gimp Complete Book - คํมือ Gimp ภาษาไทย

Page 94

ทํางานกับ Active Layer  ในการใชงานโปรแกรม GIMP แมช้ินงานจะประกอบไปดวยหลายเลเยอร แตเราจะทํางานไดเพียงทีละเลเยอรเทานั้น โดยเลเยอรที่เรากําลังทํางานอยูเรียกวา “Active Layer” ซึ่งในพาเล็ต Layers จะปรากฏเปนแถบสีน้ําเงิน แสดงวากําลังทําการปรับแตงใหกับเลเยอรนั้น

ซอนและแสดงเลเยอร  ถาช้ินงานที่เราแกไขประกอบไปดวย เลเยอรจํานวนมาก เราอาจตองการซอนบางเลเยอรที่ยังไมไดใช เพื่อความสะดวกในการทํางาน เมื่อเสร็จแลวก็ใหแสดงเลเยอรนั้นใหเห็นดังเดิม ดังตัวอยางเราจะทดลองซอนเลเยอรขอความ ดังนี้

ซอนเลเยอร 

1. คลิกเมาสที่ เพื่อซอนเลเยอร (ชองสถานะนั้นจะเปลี่ยนเปน )

2. ผลลัพธที่ได คือ เลเยอรภาพหมีจะหายไป

แถบสีน้ําเงิน หมายถึง Active Layer

คลิกเมาสที่เลเยอรที่ตองการใชงาน

จากนั้น Active Layer จะเปลี่ยนไปตามเลเยอรที่เราเลือก

ภาพตนฉบับ

1. คลิกเมาสเพื่อซอนเลเยอร

2. เลเยอรภาพหมีจะหายไป

Page 99: Gimp Complete Book - คํมือ Gimp ภาษาไทย

Page 95

แสดงเลเยอร 

1. แสดงเลเยอร โดยคลิกเมาสที่ อีกครั้งหนึ่ง (ชองสถานะจะเปลี่ยนกลับมาเปน ) 2. ผลลัพธที่ไดคือ เลเยอรตุกตาหมีจะปรากฏขึ้นอีกครั้ง

TIP  เราสามารถทําการซอนและแสดงเลเยอรไดทีละหลายๆ เลเยอรพรอมกัน เพียงแตทําการคลิกชอง เพื่อเลือกซอนและแสดงในเลเยอรที่ตองการ

คัดลอกเลเยอร  ในการทํางานกับเลเยอรอาจมีขอผิดพลาดเกิดขึ้นได หากเราตองการปองกันไมใหเลเยอรนั้นสูญหายไปดวย ขอแนะนําใหทําการคัดลอกเลเยอรสํารองไว โดยเลเยอรใหมที่ถูกคัดลอกออกมานั้นจะมีคุณสมบัติเหมือนเลเยอรตนแบบทุกประการ เพียงแตช่ือของเลเยอรจะมีคําวา Copy ตอทาย เชน ถาเราคัดลอก Layer 1 เราจะไดเลเยอรใหมที่มีช่ือวา “Layer 1 Copy” เราสามารถทําไดดังนี้

1. เลือกเลเยอรที่ตองการทําการคัดลอก

2. คลิกไอคอน Duplicate layer เพื่อทําการคัดลอกเลเยอร

คลิกเมาสเพื่อแสดงเลเยอร

ภาพในเลเยอรตุกตาหมีกลับมา

1. เลือกเลเยอรที่ตองการคัดลอก

2. คลิกเมาส

จะไดเลเยอรใหมหลังการคัดลอก

Page 100: Gimp Complete Book - คํมือ Gimp ภาษาไทย

Page 96

NOTE  การคัดลอกเลเยอรเขาไปไวในตางไฟลภาพ สามารถทําโดยเลือกเลเยอรที่ตองการในหนาตาง Docking และทําการคัดลอกภาพในหนาตาง Image Window ไปวางยังไฟลที่ตองการ ทั้งนี้ตองระวังเรื่อง Resolution ที่ตางกันระหวางตนทางและปลายทาง หากปลายทางมีคา Resolution ตํ่ากวาตนทาง รูปที่ปรากฏที่ปลายทางจะมีขนาดเล็กลง

เปล่ียนลําดับของเลเยอร  โดยปกติภาพที่ซอนกันจะถูกเรียงเลเยอรเปนลําดับตามการสรางงานของเรา (สรางกอนจะอยูช้ันลางสุด) แตเพื่อความเหมาะสม เราก็สามารถสลับตําแหนงการวางของเลเยอรแตละเลเยอรได โดยคลิกที่ปุม เพื่อเลื่อนเลเยอรขึ้น หรือ เพื่อเลื่อนเลเยอรลงดานลาง

ในตัวอยางเราจะลากเมาสสลับตําแหนงของเลเยอร โดยใหเลเยอร Text จากที่เคยอยูบนสุดมาอยูดานลางของ Flower ที่เปนภาพดอกไม เพื่อใหขอบภาพดานลางของดอกไมแสดงอยูเหนือขอความ

1. คลิกเมาสเลือกเลเยอรที่ตองการยาย (ในที่นี้เลือกเลเยอรขอความ “Miss You..”)

2. คลิกเมาสที่ปุม เพื่อเลื่อนเลเยอรลงมาดานลาง 3. ผลลัพธที่ไดเลเยอรขอความจะเปลี่ยนตําแหนงไปยังตําแหนงที่ตองการ (อยูดานลางตุกตาหมี)

การรวมเลเยอรลอยเขากับเลเยอรหลัก  เมื่อเราทําการใช Selection Tool เลือกพื้นที่แลวเคลื่อนยายภาพที่เลือก หรือคัดลอกไฟลภาพจากที่อื่นมาวางในหนาตาง Image Window ภาพดังกลาวจะเปนเลเยอรลอย ทําใหเราไมสามารถทําการแกไขในสวนอื่นตอได ดังนั้นเราตองทําการรวมเลเยอรลอยเขากับเลเยอรหลักเสียกอน ซึ่งมีขั้นตอนดังนี้

1. เลือกเลเยอรหลักที่ตองการนําไฟลภาพที่คัดลอกเขามารวมดวย (ในที่นี้เลือก เลเยอรภาพดอกไม) 2. เลือกคําสั่ง Edit>Paste ในหนาตาง Image Window เพื่อวางไฟลภาพที่ทําการคัดลอกมา จะปรากฏเล

เยอรลอย (Floating Selection) เปนเลเยอรบนสุดในหนาตาง 3. เลือกไอคอน ในหนาตางเลเยอร หรือ คลิกเมาสนอกขอบของเลเยอร ในหนาตาง Image Window

เพื่อรวมเลเยอรภาพผีเสื้อที่คัดลอกมาเขากับเลเยอรภาพดอกไมที่ไดทําการเลือกไว

กอนการเปลี่ยนลําดับเลเยอร หลังการเปลี่ยนลําดับเลเยอร

Page 101: Gimp Complete Book - คํมือ Gimp ภาษาไทย

Page 97

ไฟลภาพผีเสื้อทีค่ัดลอกมา

1. เลือกเลเยอรหลัก

2. เลือกคําสั่ง Edit>Paste

ปรากฏเลเยอร Floating Selection

เลเยอรลอยถูกรวมกับเลเยอรที่เลือกไว

เลเยอรภาพผีเสื้อถกูรวมกับเลเยอรภาพดอกไมเรียบรอยแลว

3. คลิกเมาส

Page 102: Gimp Complete Book - คํมือ Gimp ภาษาไทย

Page 98

เมื่อเราคัดลอกภาพผีเสื้อมาวางในงานเรียบรอยแลว แตไมตองการรวมไฟลภาพผีเสื้อที่เปนเลเยอรลอยเขากับเล

เยอรหลักที่มีอยูแลว ใหไปที่ไดอะล็อก Layers คลิกเมาสที่ปุม (New Layer) จะปรากฏเลเยอรภาพผีเสื้อขึ้นมาเปนเลเยอรใหมทันที

NOTE   เลเยอรลอยที่ยังไมรวมเขากับเลเยอรหลักสามารถทําการแกไขได เชน การปรับขนาด เปลี่ยนสี และเปลี่ยนขนาดได แตไมสามารถทําการแกไขเลเยอรอื่นภายในภาพได

การเชื่อมโยงเลเยอรเขาดวยกัน  บางครั้งเราตองการแกไขเลเยอรหลายเลเยอรในลักษณะเดียวกัน เชน ตองการเลื่อนภาพที่อยูตางเลเยอรใหอยูในลักษณะเดียวกัน ซึ่งการเลือกทีละภาพจะเปนการเสียเวลามาก ทางออกของปญหานี้ที่จะชวยประหยัดเวลาใหกับเรานั่นคือ การเชื่อมเลเยอรนั้นๆ เขาดวยกัน เรียกวา “การลิงคเลเยอร (Link Layer)” ซึ่งในโปรแกรม GIMP นั้น การลิงคเปนการสรางความเกี่ยวโยงของเลเยอร 2 เลเยอรหรือมากกวา

ในตัวอยาง เราตองการลิงคภาพที่อยูในเลเยอร bear และเลเยอรขอความ ซึ่งเราสามารถสรางลิงคไดดวยวิธีการงายๆ ดังนี้ คือ

1. คลิกเมาสที่ หนาเลเยอรที่เราตองการลิงค

2. ชองสถานะนั้นจะเปลี่ยนเปน แสดงถึงการทําการงานลิงคกัน

3. จากนั้นทดลองเคลื่อนยายเลเยอรดวย Move Tool และลดขนาดโดยใช Scale Tool จะสังเกตเห็นวาภาพที่ลิงคกันอยูก็จะเคลื่อนยายและลดขนาดตามไปดวย

คลิกเมาสเพื่อสรางเลเยอรลอยใหเปนเลเยอรใหม จะปรากฏเลเยอรลอยเปนเลเยอรใหม

Page 103: Gimp Complete Book - คํมือ Gimp ภาษาไทย

Page 99

ภาพตนฉบับ ภาพตุกตาหมีจะเลื่อนและลดขนาดตามขอความไปดวย

ลบเลเยอร  เมื่อเราไมตองการใชเลเยอรใดก็ควรจะลบทิ้งไปเสีย เนื่องจากการเก็บเลเยอรที่ไมใชไวเยอะๆ จะเปลืองหนวยความจําของเครื่อง ทําใหโปรแกรมทํางานไดชา การลบเลเยอรสามารถทําไดดังนี้

1. คลิกเลือกเลเยอรที่ตองการลบ 2. คลิกที่ไอคอน

3. เลเยอรผีเสื้อที่ลบทิ้งจะหายไป

1. คลิกเมาส หนาเลเยอรที่ตองการลิงค

2. ชองสถานะนั้นจะเปลี่ยน เปน แสดงถึงการลิงคกัน

3. ทดลองลดขนาด และเลื่อนเลเยอรขอความ

ภาพกอนลบเลเยอรผีเสื้อ ภาพหลังลบเลเยอรผีเสื้อ

Page 104: Gimp Complete Book - คํมือ Gimp ภาษาไทย

Page 100

การเปลี่ยนขนาดของเลเยอร  ในการตกแตงภาพดวยโปรแกรม GIMP เราสามารถกําหนดขนาดของภาพในเลเยอรได 2 ลักษณะ คือ

การเปล่ียนขนาดภาพในเลเยอร  เปนการเปลี่ยนขนาดของเลเยอร ซึ่งจะสงผลถึงขนาดของภาพในเลเยอรดวย คือ เมื่อยอ/ขยายขนาดของเลเยอร ขนาดของภาพจะยอ/ขยายตาม สามารถทําไดดังนี้

1. คลิกที่ปุมที่ไดอะล็อก Layers เลือกคําสั่ง Scale Layer...

2. จะปรากฏหนาตาง Scale Layer ใหเรากําหนดขนาดและคุณภาพของเลเยอร ดังนี้ • Layer size กําหนดขนาด Width ความกวางของเลเยอร และ Height ความสูงของเลเยอร • Quality กําหนดคุณภาพของภาพในเลเยอรเมื่อมีการขยายภาพ โดยสามารถกําหนดคุณภาพของภาพได 3

ระดับ

o None คือ คุณภาพระดับต่ําสุด

o Linear คือ คุณภาพระดับกลาง o Cubic คือ คุณภาพระดับสูง o Sinc (Lanczos-3) ใหคุณภาพสูงสุดดวยฟงกช่ัน Sinc

3. คลิกเมาสที่ปุม เพื่อสั่งใหโปรแกรมเปลี่ยนขนาดเลเยอรใหมตามที่เรากําหนด

1. คลิกเลือกเลเยอร

2. คลิก เพื่อลบเลเยอร

3. เลเยอรภาพผีเสื้อหายไป

1. คลิกที่ ในเลือกคําสั่ง Layer Menu>Scale Layer

2. กําหนดขนาด และคุณภาพของเลเยอร

3. คลิกเมาส

Page 105: Gimp Complete Book - คํมือ Gimp ภาษาไทย

Page 101

ภาพตนฉบับ ภาพผลลัพธ จะไดภาพในเลเยอรที่ใหญขึ้น

การเปล่ียนขนาดพื้นที่ในเลเยอร  เปนการเปลี่ยนขนาดพื้นที่ของเลเยอร ซึ่งจะไมสงผลถึงขนาดของภาพในเลเยอร คือ เมื่อยอ/ขยายขนาดของเลเยอร ขนาดของภาพจะเทาเดิม แตพ้ืนที่ภายในเลเยอรจะมากขึ้น/นอยลง สามารถทําได ดังนี้

1. คลิกที่ปุม ที่ไดอะล็อก Layers เลือกคําสั่ง Layer Boundary Size...

2. จะปรากฏหนาตาง Set Layer Boundary Size ใหเรากําหนดขนาด และตําแหนงภาพในเลเยอร ดังนี้ • Layer size กําหนดขนาด Width ความกวางของเลเยอร และ Height ความสูงของเลเยอร • Offset กําหนดตําแหนงของภาพเดิมในพื้นที่ที่กําหนดขึ้นใหม X คือ พิกัดของตําแหนงรูปในแนวนอน

และ Y คือ พิกัดของตําแหนงรูปในแนวตั้ง

หากตองการใหภาพเดิมอยูตรงกลางของพื้นที่ สามารถคลิกปุม เพื่อจัดตําแหนงภาพใหอยูก่ึงกลางโดยอัตโนมัติ

3. คลิกเมาสที่ปุม เพื่อสั่งใหโปรแกรมเปลี่ยนขนาดเลเยอรใหมตามที่เรากําหนด

1. คลิกที่ ในเลือกคําสั่ง Layer Menu>Layer Boundary Size...

2. กําหนดขนาด และตําแหนง

3. คลิกเมาส

Page 106: Gimp Complete Book - คํมือ Gimp ภาษาไทย

Page 102

รวมเลเยอร  หลังจากที่เราไดแกไขชิ้นงานเสร็จสิ้น และไมจําเปนตองใชเลเยอรตางๆ อีกตอไป ก็อาจจะรวมเลเยอร ทั้งหมดใหเปนเลเยอรเดียว ซึ่งการทําเชนนี้จะทําใหลดขนาดไฟลช้ินงาน และทําใหเครื่องทํางานไดรวดเร็วขึ้นทําได 2 วิธี โดยการ

• วิธีท่ี 1 ลบเลเยอรที่ไมตองการออกไป • วิธีท่ี 2 รวมเลเยอรต้ังแต 2 เลเยอร ขึ้นไปไวเปนเลเยอรเดียวกัน เราเรียกวิธีนี้วาการ “Merge” เลเยอร

โดยคําสั่งที่ใชในการรวมเลเยอรต้ังแต 2 เลเยอร มี 3 แบบดังตอไปนี้ คือ

1. รวมเลเยอร 2 เลเยอรที่อยูติดกันใหเปนเลเยอรเดียวกัน

2. รวมเลเยอรที่มองเห็นอยูใหเปนเลเยอรเดียวกัน

3. รวมทุกเลเยอรใหเปนเลเยอรเดียว

Warning

เราตองแนใจวาเลเยอรที่เราตองการ Merge ตองเปนเลเยอรที่แสดงอยู (Visible ) เพราะโปรแกรมจะรวมเฉพาะเลเยอรที่แสดงอยูเทานั้น

รวมเลเยอร 2 เลเยอรที่อยูติดกันใหเปนเลเยอรเดียวกัน  การทํางานลักษณะนี้ เราเรียกวา “Merge Down” เปนการรวมเลเยอร 2 เลเยอรที่อยูติดกันใหเปนเลเยอรเดียวกัน โดยเลเยอรที่เราเลือกให Active จะยุบลงไปรวมกับเลเยอรขางลาง จากตัวอยางเราตองการรวมเลเยอร Miss

You.. และเลเยอร bear ใหเปนเลเยอรเดียวกัน คือ เลเยอร butterfly

1. คลิกเมาสเลือกเลเยอร Text

2. เลือกคําสั่ง Layer>Merge Down ในหนา Image Window หรือใชวิธีคลิกที่ ในไดอะล็อก Layers แลวเลือกคําสั่ง Layer Menu>Merge Down

3. ผลลัพธที่ไดคือเลเยอร Text จะยุบไปรวมกับเลเยอร bear

ภาพตนฉบับ ภาพผลลัพธ จะไดภาพที่มีขนาดเทาเดมิ แตพื้นที่ภายในเลเยอรจะใหญขึ้น

Page 107: Gimp Complete Book - คํมือ Gimp ภาษาไทย

Page 103

รวมเลเยอรที่มองเห็นอยูใหเปนเลเยอรเดียวกัน  การทํางานลักษณะนี้เราเรียกวา “Merge Visible” เปนการรวมเลเยอรทั้งหมด ที่มองเห็น (เลเยอรที่มีสัญลักษณ ) ใหเปนเลเยอรเดียว ดังตัวอยางเราตองการรวม เลเยอร Background, เลเยอร bear และเลเยอร Miss

You.. ใหเปนเลเยอรเดียว โดยจะไดเปนเลเยอร Background เสมอ มีวิธีการดังตอไปน้ี

1. คลิกที่ ในไดอะล็อก Layers แลวเลือกคําสั่ง Layer Menu>Merge Visible Layers

2. จะปรากฏหนาตาง Merge Layers ใหเราเลือกลักษณะการรวมเลเยอร 3. คลิกเมาสที่

4. เลเยอรทั้งหมดที่อยูในสถานะ Visible จะยุบไปรวมกันที่เลเยอร Background

1. เลือกเลเยอรที่ตองการ Merge

2. คลิกที่ ในเลือกคําสั่ง Layer Menu>Merge Down

3. เลเยอรจะถูกรวมเขาดวยกันในเลเยอร butterfly

Page 108: Gimp Complete Book - คํมือ Gimp ภาษาไทย

Page 104

รวมทุกเลเยอรใหเปนเลเยอรเดียว  การทํางานลักษณะนี้เราเรียกวา “Flatten Image” เปนการรวมเลเยอรทั้งหมดเขาไวเปนเลเยอรเดียว ภาพที่ถูกรวมจะเปลี่ยนช่ือเปน Background ไมวาเราจะทํางานอยูในเลเยอรใดก็ตาม

1. คลิกที่ ในไดอะล็อก Layers แลวเลือกคําสั่ง Layer Menu>Flatten Image

2. ทุกเลเยอรจะรวมกันเปนเลเยอรเดียวช่ือเลเยอร Background

1. คลิกที่ เลือกคําสัง่ Layer Menu>Merge Visible Layers

2. เลือกลักษณะการรวมเลเยอร

3. คลิกเมาส

4. เลเยอรจะถูกรวมเขาดวยกันในเลเยอร Background

Page 109: Gimp Complete Book - คํมือ Gimp ภาษาไทย

Page 105

WARNING

ตองระวังวาการใชคําสั่ง Flatten Image นี้ จะเปนการรวมเลเยอรทั้งหมดที่มองเห็นและลบเลเยอรที่มองไมเห็นทิ้งไป

1. คลิกที่ เลือกคําสัง่ Layer Menu>Flatten Image

2. ทุกเลเยอรจะถูกรวมเขาดวยกันเปนเลเยอร Background

Page 110: Gimp Complete Book - คํมือ Gimp ภาษาไทย

Page 106

บทที่ 7 เทคนิคการตกแตงภาพในเลเยอร 

หลังจากที่เราไดจัดเตรียมภาพ และนําภาพมาจัดเรียงในแตละเลเยอรใหเขากันแลว ตอไปเราจะทําการตกแตงภาพในแตละเลเยอรใหกลมกลืนกัน และทําเทคนิคผสานเลเยอรใหดูสวยงามได

ปรับเลเยอรที่ซอนใหมองทะลุถงึกัน เปนลักษณะการปรับภาพใหจางลง จนกระทั่งกลายเปนภาพใสที่สามารถมองทะลุไปยังพื้นหลังได เราเรียก

คุณสมบัตินี้วา “Opacity” ซึง่การปรับคา Opacity นี้จะเกิดขึ้นกับภาพทั้งภาพในเลเยอรนั้นรวมทั้งเอฟเฟกตที่ใชดวย โดยมากเทคนิคนี้มักจะนิยมใชกับเลเยอรที่วางซอนกัน

เทคนิคการสราง Layer Mask  เปนการเจาะภาพดานบนใหโปรงใส เพื่อใหภาพดานลางลอดขึ้นมาดานบนตามชองของหนากาก เราเรียกเทคนิคนี้วา “Layer Mask”

พิมพจํานวนเปอรเซ็นต หรือเลื่อนสไลดเพื่อปรับคา Opacity

Opacity = 100% Opacity = 65% Opacity = 40%

สวนสีขาวจะทึบแสง

สวนสีเทาโปรงแสงเล็กนอย

สวนสีดําโปรงแสง

Page 111: Gimp Complete Book - คํมือ Gimp ภาษาไทย

Page 107

• สวนที่เปนสีดํา เปนสวนที่โปรงแสง คือ ภาพจากดานลางสามารถแสดงลอดเขามาได 100%

• สวนที่เปนสีเทา จะโปรงแสงนอยกวาสีดําแตไมทึบแสง ภาพจะแสดงไดตามขนาดความโปรงแสง • สวนที่เปนสีขาว จะทึบแสง ภาพสวนนี้จะทึบแสง ภาพจากเลเยอรดานลางไมอาจแสดงลอดขึ้นมาได

การสราง Layer Mask ขึ้นมาใหมนั้นจะปรากฏหนาตาง Add Layer Mask ใหกําหนดรูปแบบของ Layer Mask มี 6 รูปแบบดังนี้

• White (full opacity) เปนการกําหนดคาทึบแสงเต็มที่ คือมีคา Opacity เปน 100% ทําใหเห็นภาพเลเยอรในดานบนทั้งหมด

• Black (full transparent) เปนการกําหนดคาโปรงแสงเต็มที่ คือมีคา Opacity เปน 0% ทําใหเห็นภาพเลเยอรในดานลางทั้งหมด

• Layer’s alpha channel ลักษณะของมาสกจะเปนไปตามที่กําหนดในเลเยอร Alpha channel

• Transfer layer’s alpha channel จะทํางานคลายกับ Layer’s alpha channel แตจะมีการต้ังคา Alpha channel เปนแบบ Full opacity

• Selection จะสรางมาสกตามการเลือกพื้นที่ คือ จะปรากฏภาพในสวนพื้นที่ที่เลือก สวนนอกพื้นที่ที่ทําการเลือกจะโปรงแสงดังนั้นจึงเห็นภาพที่อยูเลเยอรดานลาง

ภาพดานบน

กําหนดการไลโทนสี ภาพพื้นหลัง

ภาพพื้นหลังแสดงผานขึ้นมาดานบนได

Page 112: Gimp Complete Book - คํมือ Gimp ภาษาไทย

Page 108

• Grayscale copy to layer มาสกจะถูกสรางจากการนํารูปในเลเยอรมาทําเปนภาพแบบ Grayscale

สวนที่เปนสีขาวจะทึบแสงเต็มที่ สวนที่เปนสีดําจะมีความโปรงแสงเต็มที่ สวนที่เปนสีเทาจะมีการไลความโปรงแสงตามความเขมของส ี

• Channel จะสรางมาสกตาม Channel ที่เลือก

ในสวนตอไปจะแสดงการสราง Layer Mask 4 ตัวอยางดวยกันไดนี้

1. สราง Layer Mask โดยการไลโทนส ี

2. สราง Layer Mask โดยการคัดลอกภาพ

3. สราง Layer Mask โดยการเลือกพื้นที่ 4. ตกแตง Layer Mask อยางอิสระ

สราง Layer Mask โดยการไลโทนสี  จากความรูที่กลาวไปขางตน เราสามารถนํา Layer Mask มาใชตกแตงภาพไดอยางกลมกลืน โดยการนําภาพ 2 ภาพมาซอนกัน แลวใหภาพหนึ่งเปน Mask หรอืเปนหนากากเพื่อใหภาพในเลเยอรลางลอดออกมาจากชองของหนากาก

1. ลาก 2 ภาพใหมาซอนกัน โดยใหภาพ Mask1 (เลเยอร Background) เปนเลเยอรลาง แลวให Mask2 เปนเลเยอรบน

2. เลือกเลเยอรบนใหเปน Active เลเยอรคลิกขวาเลือกคําสั่ง Add Layer Mask

3. จะปรากฏหนาตาง Add Layer Mask ในที่นี้ใหเลือกเปน White (full opacity)

4. จะปรากฏ Layer Mask ในเลเยอรที่กําลัง Active อยู

5. คลิกเมาสที่ เพื่อทําการไลโทนสี แบบ

6. เลือกสีที่จะไลโทนสีเปนโฟรกราวนด = สีดํา และแบ็คกราวนด = สีขาว 7. เลือกใหไลโทนสีจากโฟรกราวนดไปยังแบ็คกราวนด 8. ไลโทนสีในเลเยอรที่ตองการ Mask โดยใหสวนที่โปรงแสงมากกวาอยูดานที่เปนสีดํา 9. แสดงผลการซอนเลเยอรโดยการใช Layer Mask

ภาพเลเยอรดานบนเปนภาพผูหญิง ภาพเลเยอรดานลางเปนภาพทุงหญา ผลจากการซอน Layer Mask จะเห็นภาพผูหญิง (ในเลเยอรดานบน) กับ ทุงหญา (ในเลเยอรดานลาง)

Page 113: Gimp Complete Book - คํมือ Gimp ภาษาไทย

Page 109

สราง Layer Mask จากการคัดลอกภาพ ในตัวอยางนี้เราจะเปลี่ยนพื้นหลังของภาพดอกไม ดวยการสราง Mask บังสวนของดอกไมไว จากนั้นใชการคัดลอกพื้นหลังใหม (ภาพใหม) ที่ตองการนําไปแทนที่พ้ืนหลังของดอกไม ก็จะไดพ้ืนหลังใหมอยางแนบเนียน

1. เรียง 2 ภาพตามลําดับ

2. คลิกขวาเลือกคําสั่ง Add Layer Mask

จะปรากฏหนาตาง Add Layer Mask

3. เลือกเปน White (full opacity)

4. เพิ่ม Layer Mask ในเลเยอร

5. คลิกเลือก Gradient Tool

6. เลือกสีโฟรกราวนดและ แบ็คกราวนดเปนสีดํา-ขาว

7. เลือกใหไลโทนสีจากโฟรกราวนดไปยังแบ็คกราวนด

8. ไลโทนสีจากสีดําไปยังสีขาว

9. แสดงผลการซอนเลเยอรโดยการใช Layer Mask

Page 114: Gimp Complete Book - คํมือ Gimp ภาษาไทย

Page 110

1. ใชเครื่องมือ Selection เลือกเฉพาะพื้นหลังของภาพดอกไม 2. เลือกพื้นหลังของภาพใหมที่ตองการนําไปแทรก

3. หลังจากที่เลือกภาพพ้ืนหลังใหม ใหเลือกคําสั่ง Edit>Copy หรือกดคีย <Ctrl+C>

4. คลิกเมาสกลับมายังไฟลภาพดอกไม แลวเลือกคําสั่ง Edit>Paste Into หรือ กดคีย <Shift+Ctrl+V>

5. ภาพพื้นหลังใหมจะถูกนํามาวาง ใหเราใช Move Tool เลื่อนภาพใหอยู ในตําแหนงที่ตองการ 6. จะปรากฏเลเยอรลอยในไดอะล็อก Layers คลิกเมาส รวมเลเยอรลอยเขากับเลเยอร Background

 

สราง Layer Mask โดยการเลือกพื้นที่  การสราง Layer Mask อีกรูปแบบหนึ่ง คือการใช Selection Tool เลือกสวนที่เราตองการ และลบสวนที่ไมตองการออก โดยในตัวอยางเราตองการนําบางสวนของภาพไปตกแตงงานกราฟกของเรา

1. ใชเครื่องมือ Selection เลือกเฉพาะภาพดอกไม

1. เลือกพื้นที่รอบๆ ภาพซึ่งจะตองถูกแทนที่

2. เลือกพื้นที่ภาพซึง่ตองการจะนําไปแทนที่

3. เลือกคําสั่ง Edit>Copy

4. เลือกคําสั่ง Edit>Paste Into ในไฟลภาพที่ตองการแทนที่

5. ภาพพื้นหลังใหมจะถูกนํามาวาง

6. คลิกเมาส ทําการรวม เลเยอรลอยเขากับเลเยอรหลัก

Page 115: Gimp Complete Book - คํมือ Gimp ภาษาไทย

Page 111

2. คลิกขวาเลือกคําสั่ง Add Layer Mask

3. จะปรากฏหนาตาง Add Layer Mask ในที่นี้ใหเลือกเปน Selection

4. สวนที่อยูนอกเหนือจากที่เราทําการ Selection จะหายไปหมด จากนั้นเราสามารถนําภาพไปสรางงานอื่นได

1. เลือกพื้นที่รอบๆ ภาพที่ตองการ 2. คลิกขวาเลือกคําสั่ง Add Layer Mask

จะปรากฏหนาตาง Add Layer Mask

แสดงการ Mask ในหนาตาง Layers

3. เลือกเปน Selection

สวนที่อยูนอกเหนือจากสวนที่เลือกจะหายไป

สามารถนําพื้นที่นั้นไปสรางงานอื่นตอไป

Page 116: Gimp Complete Book - คํมือ Gimp ภาษาไทย

Page 112

ตกแตง Layer Mask อยางอิสระ  เทคนิคตอไปนี้เปนอีกวิธีหนึ่งที่ชวยใหเรากําหนด Mask ไดอยางมีอิสระ โดยจะใชพูกันระบายเพื่อใหเกิดมาสก ในสวนของภาพที่ตองการใหแสดงออกมาดังตัวอยางตอไปนี้

กําหนดใหสีโฟรกราวนดเปนสีดํา และแบ็คกราวนดเปนสีขาว

NOTE  เราสามารถลบ Mask Layer ไดเชนเดียวกับการลบเลเยอรแบบธรรมดา โดยลากเลเยอรไปจะทิ้งใน

คลิกเมาสเพื่อทํางานกับ Mask

เมื่อใช ระบาย สวนที่เปนภาพซอนจะถูกบังหายไปบางสวน

เปนเหมือนการลดพื้นที่ Mask

ลักษณะ Layer Mask ที่พาเล็ต Layers

เมื่อใช สวนที่เปน Mask ภาพจะ

เพิ่มขึ้น

ตัวอยางภาพที่สรางจากการซอน Layer Mask

Page 117: Gimp Complete Book - คํมือ Gimp ภาษาไทย

Page 113

ทําความเขาใจกับ Layer Blending Mode  Layer Blending Mode เปนการปรับสีภาพที่ซอนกันอยูใหผสมสีใหมออกมา ดูนาสนใจ กอนที่เราจะทําความเขาใจเกี่ยวกับ Blending Mode ตางๆ มีคําศัพทพ้ืนฐาน 3 คําที่เราควรรูกอน คือ

o Base Color เปนสีของรูปที่เปน เลเยอร Background หรือสีเดิม

o Blend Color เปนสีของภาพหรือสีที่นํามาเติมเปนเลเยอรที่ซอนทับบนเลเยอร Back ground

o Result Color เปนสีของภาพทั้งหมดที่ไดจากการซอนทับสีของ Base Color กับสี Blend Color

เราตองเริ่มจากการเตรียมภาพทั้ง 2 ที่ตองการ และใหเลือกวาภาพใดจะเปนภาพ Base Color และภาพใดจะเปนภาพ Blend Color จากนั้นใหดึงภาพทั้ง 2 มาไวในไฟลเดียวกัน

1. จากภาพที่มีอยู มี 2 เลเยอร คือ เลเยอรที่เปนรูปผูหญิงและเลเยอรที่เปนรูป สนามหญา ใหคลิกเมาสเลือกเลเยอรที่เราตองการใชเปน Blending Mode ผสมสี (ในตัวอยางเลือก Layer1 รูปสนามหญา)

2. คลิกเมาสที่ ในไดอะล็อก Layers เพื่อเลือกลักษณะของ Blending mode ที่ตองการ ในที่นี้เราเลือก Hard light สังเกตวาผลที่ได

3. คลิกเมาสปรับความโปรงใสของภาพไดที่ Opacity (ในตัวอยางเราเลือกคา Opacity = 50%) และเราจะไดผลลัพธ ดังรูป

เลเยอร Background เปน Base Color เลเยอรที่ซอนทับเลเยอร Background เปน Blend Color

Result Color ผลจากการใช Blending

ภาพกอนการเปลี่ยนแปลง 1. คลิกเมาสเลือกเลเยอรที่ตองการใช Blending Mode ผสมส ี

Page 118: Gimp Complete Book - คํมือ Gimp ภาษาไทย

Page 114

Normal ที่คา Opacity = 50 Dissolve ที่คา Opacity = 50 Multiply

Divide Screen Overlay

2. คลิกเลือก Hard Light ใน Blending Mode ภาพหลังการใช Blending mode ผสมสี

3. กําหนดคา Opacity ภาพหลังการปรับคา Opacity

Page 119: Gimp Complete Book - คํมือ Gimp ภาษาไทย

Page 115

Dodge Burn Hard Light

Soft Light Grain extract Grain merge

Difference Addition Subtract

Darken only Lighten only Hue

Saturation Color Value

ใช Paint Brush Tool    ตกแตงภาพรวมกับ Blending Mode  เราสามารถใช Brush Tool ชวยในการตกแตงภาพ Blending Mode เพิ่มเติมได โดยการเพิ่มสีตางๆ

เขาไปในภาพ ดวย Brush Tool จะชวยใหภาพในสวนของ Base Color มีความชัดเจนขึ้น ซึ่งเราอาจเลือกระบายในบริเวณใดก็ได ดังตัวอยางตอไปนี้ เราจะเลือกใชสีแดงออนๆ ระบายทับบริเวณภาพผูหญิงเพื่อใหภาพของเธอเดนขึ้นมาดังนี้

Page 120: Gimp Complete Book - คํมือ Gimp ภาษาไทย

Page 116

1. คลิกเมาสเลือก Brush Tool ที่ Toolbox

2. คลิกเลือกสีที่ Foreground จะปรากฏหนาตาง Change Foreground Color ขึ้นมา 3. คลิกเลือกสีที่ตองการ (ในตัวอยางเลือกสีแดงชมพู) จากนั้น ใหคลิกเมาสปุม 4. ระบายในสวนที่เราตองการสรางภาพใหเดนขึ้น

ภาพกอนการเปลี่ยนแปลง ภาพหลังการเปลี่ยนแปลง

1. คลิกเมาสเลือก Brush Tool

2. คลิกเลือกสีโฟรกราวนด

3. คลิกเลือกสีที่ตองการ แลวคลิกเมาสตกลง

4. ระบายในสวนที่เราตองการสรางภาพใหเดนขึ้น

Page 121: Gimp Complete Book - คํมือ Gimp ภาษาไทย

Page 117

บทที่ 8 การวาดภาพ และระบายสี 

ไมเพียงความสามารถในการตัดตอ และซอนภาพดังที่กลาวมาแลว เราสามารถใชโปรแกรม GIMP วาดภาพ หรือระบายสีภาพได นอกจากนี้เรายังเอาใจคนที่ชอบวาดการตูน โดยจะกลาวถึงเทคนิคการนําภาพการตูนที่วาดมาลงสีดวยโปรแกรม GIMP

วาดรูปทรงดวย Path tool  การวาดภาพใน GIMP จะเปนการวาดภาพโดยใชเสนพาธ (Path) ซึ่งเสนพาธเหลานี้สามารถดึงใหตรง หรือ

ดัดโคงใหเกิดเปนรูปรางตางๆ ไดตามที่เราตองการดวยเครื่องมือ Path Tool โดยลากเสนพาธ และดัดเสนใหเกิดความโคง พ่ือใหไดภาพเปนรูปทรงที่เราตองการ คลายๆ กับการใชตะปูยึดสายไฟในแตละจุดเพื่อใหเราสามารถลากสายไฟไปตามสวนตางๆ ของผนังบานได

รูจักกับเสนพาธ  เสนพาธ คือ เสนที่วาดเชื่อมตอกันจากจุดหนึ่งไปยังจุดหนึ่ง โดยที่ปลายทั้งสองของเสนจะมีจุดที่ใชยึดใหเสนเช่ือมตอกันจุดนี้ เรียกวา จุดยึด (Anchor point) ซึ่งสามารถปรับจุดยึดเพื่อกําหนดรูปทรง และทิศทางของเสนได โดยมีสวนประกอบดังตอไปนี้

A: สวนโคงของเสนพาธ B: จุดปรับความโคงสามารถปรับทิศทางความโคงของเสนพาธ

C: แขนปรับความโคง เปนแขนที่ยื่นออกมาจากจุดยึด

D: จุดยึดใหเสนเชื่อมตอถึงกัน

E: จุดปลายของเสนพาธ

โดยทั่วไป เราจะแบงเสนพาธออกเปน 2 ประเภท คือ แบบเปด (Open Path) และแบบปด (Close Path)

มีลักษณะ ดังนี้

Page 122: Gimp Complete Book - คํมือ Gimp ภาษาไทย

Page 118

เนื่องจากเสนพาธที่เราสรางขึ้นมา อาจประกอบดวยสวนของเสนตรงหรือเสนโคงก็ได ฉะนั้นจุดยึดที่เกิดขึ้นจะแบงออกไดเปน 2 ชนิด ไดแก จุดยึดสวนโคง (Smooth Point) และจุดยึดสวนมุม (Corner point)

ฝกวาดเสนพาธ  เราจะวาดเสนพาธตามรูปอมยิ้มรูปหัวใจ โดยจะมี ขั้นตอนในการสรางและปรับแตงดังนี้

• ขั้นตอนที่ 1 สรางเสนพาธ

• ขั้นตอนที่ 2 การเพิ่มจุดรอยตอของเสนพาธ

• ขั้นตอนที่ 3 การเคลื่อนยายจุดรอยตอของเสนพาธ

• ขั้นตอนที่ 4 ลบจุดรอยตอของเสนพาธ

• ขั้นตอนที่ 5 ปรับสวนโคงของเสนพาธ

ข้ันตอนที่ 1 สรางเสนพาธ  เริ่มตนเลือกใชงานเครื่องมือ Pen Tool ทําการสรางเสนพาธดังนี้

1. คลิกเลือกเครื่องมือ Path Tool

2. กําหนดคุณสมบัติของเครื่องมือที่ Tool Options โดยเลือกโหมดการใชงานเครื่องมือแบบ Design เพื่อ

สรางเสนพาธใหม ตัวช้ีเมาสจะเปลี่ยนเปนรูป

3. คลิกเมาสที่ตําแหนงเริ่มตน

เสนพาธแบบเปด (Open Path) เปนเสนพาธที่จุดปลายทั้งสองดานไมบรรจบกัน

เสนพาธแบบปด (Close Path) เปนเสนพาธที่จุดปลายทั้งสองดาน

มาบรรจบกัน (เปนจุดเดียวกัน)

จุดยึดสวนโคง (Smooth Point) เปนจุดที่เชื่อมตอระหวางเสนโคงกับเสนโคง

จุดยึดสวนมุม (Corner Point) เปนจุดที่เชื่อมตอระหวางเสนตรงกับเสนตรง

หรือเสนโคงกับเสนโคงก็ได

เสนพาธรูปหัวใจ

Page 123: Gimp Complete Book - คํมือ Gimp ภาษาไทย

Page 119

4. คลิกเมาสที่ตําแหนงปลาย จะไดเสนตรงลากเชื่อมจุดทั้งสอง โดยปลายของเสนทั้งสองดานจะเปนสัญลักษณ

รูป (เรียกสัญลักษณนี้วา “จุด Anchor”) และขณะนั้นตัวช้ีเมาสจะเปลี่ยนเปน

5. คลิกเมาสที่จุดตอๆ ไปที่เราตองการสรางเสนตอเนื่องครบวง ปดเสนพาธใหเปนแบบปด โดยกดคีย <Ctrl>

คางไว ตัวช้ีเมาสจะเปลี่ยนเปนรูป คลิกเลือกที่จุดเริ่มตน 6. ผลลัพธที่ไดในตัวอยางจะเปนรูปสามเหลี่ยมปด โดยเสนพาธที่สรางขึ้นจะปรากฏที่ไดอะล็อก Paths

1. คลิกเลือก Path Tool

2. เลือกโหมดการใชงานเครื่องมือแบบ Design

3. คลิกเมาสที่ตําแหนงเร่ิมตน

4. คลิกเมาสที่ตําแหนงปลาย

5. คลิกเมาสที่จุดตอๆ ไป และปดพาธ โดยกดคีย <Ctrl>

คางไว ตัวชี้เมาสจะเปลี่ยนเปนรูป คลิกเลือกที่จุดเร่ิมตน

6. ผลลัพธของเสนพาธรูปสามเหลี่ยมแบบปด

Page 124: Gimp Complete Book - คํมือ Gimp ภาษาไทย

Page 120

ข้ันตอนที่ 2 การเพิ่มจุดรอยตอของเสนพาธ  จากหัวขอที่ผานมา เราจะไดลักษณะของเสนพาธที่มีรอยตอของเสนพาธ อยู 3 จุด ตอไปเราสามารถเพิ่มจุดรอยตอเหลานี้ไดโดยเปล่ียนโหมดของเครื่องมือ Path Tool เปน แบบ Edit เพื่อแกไขโดยการเพิ่มจุดแองเคอรไวใชในการปรับแตงภาพ

1. กําหนดคุณสมบัติของเครื่องมือที่ Tool Options โดยเลือกการโหมดใชงานเครื่องมือแบบ Edit เพื่อแกไขเสนพาธ

2. นําเมาสไปชี้ที่ตําแหนงที่เราตองการเพิ่มจุดรอยตอบนเสนพาธของเรา ตัวช้ีเมาสจะเปลี่ยนเปนรูป จากนั้นคลิกเมาสเพื่อเพิ่มจุด

3. จะไดจุดรอยตอที่เพิ่มขึ้นพรอมแขนทั้งสองขางสําหรับการปรับสวนโคง

ข้ันตอนที่ 3 เคล่ือนยายจุดรอยตอของเสนพาธ  อีกขั้นตอนหนึ่งของการสรางเสนพาธ คือ การเคลื่อนยายจุดรอยตอ โดยอาศัยการทํางานรวมกับจุด Anchor

โดยตรง ซึ่งเราจะตองเปลี่ยนโหมดของเครื่องมือกลับไปเปนแบบ Design ดังตัวอยางเราจะเคลื่อนยายเสนพาธไปยังขอบของรูปหัวใจ

1. กําหนดคุณสมบัติของเครื่องมือที่ Tool Options โดยเลือกโหมดการใชงานเครื่องมือแบบ Design เพื่อยายตําแหนงจุดแองเคอร

1. เลือกโหมดการใชงานเครื่องมือแบบ Edit

2. คลิกเพิ่มจุด 3. จะไดจุดรอยตอที่เพิ่มขึ้นพรอมแขนทั้งสองขาง

Page 125: Gimp Complete Book - คํมือ Gimp ภาษาไทย

Page 121

2. คลิกเลือกจุดรอยตอบนเสนพาธที่เราตองการเคลื่อนยาย ตัวช้ีเมาสจะเปลี่ยนเปนรูป และคลิกลากเมาสไปยังตําแหนงใหมที่เราตองการ

3. ผลลัพธที่ไดคือ จุด Anchor ที่เราลากเมาสนั้นจะเปลี่ยนตําแหนงไปตามที่ตองการ

ข้ันตอนที่ 4 ลบจุดรอยตอของเสนพาธ  ในขณะที่เรากําลังทํางานกับเสนพาธอยูนั้น หากเกิดการผิดพลาด เชน วาดเสนในตําแหนงที่ผิด วางจุด Anchor

ไมถูกตามแบบที่คิดไว เราสามารถทําการแกไขไดโดยการลบจุดรอยตอของเสน หรือลบจุด Anchor นั้นเอง โดยเปลี่ยนโหมดการใชงานเครื่องมือเปนแบบ Edit และทําการลบจุดที่ไมตองการออก ดังตัวอยางเราจะลบจุด Anchor ที่อยูบนรูปหัวใจออกไป

1. กําหนดคุณสมบัติของเครื่องมือที่ Tool Options โดยเลือกโหมดการใชงานเครื่องมือแบบ Edit เพื่อแกไขเสนพาธ

2. กดคีย <Shift> คางไวขณะเลือกจุด ตัวช้ีเมาสจะกลายเปนรูป และคลิกลบจุดที่ตองการ 3. ผลลัพธที่ไดคือ จุด Anchor นั้นจะหายไป

1. เลือกโหมดการใชงานเครื่องมือแบบ Design

2. คลิกลากจุดไปยงัตําแหนงที่ตองการ

3. ผลลัพธคือจุดแองเคอร จะยายไปยังตําแหนงที่ตองการ

1. เลือกโหมดการใชงานเคร่ืองมือแบบ Edit

2. คลิกลบจุดที่ตองการ

3. ผลลัพธที่ไดจุดแองเคอรจะหายไป

Page 126: Gimp Complete Book - คํมือ Gimp ภาษาไทย

Page 122

ข้ันตอนที่ 5 ปรับสวนโคงของเสนพาธ  เราสามารถปรับเสนพาธใหเปนเสนโคงตามทิศทางที่เราตองการ โดยกําหนดโหมดในการใชเครื่องมือ Path

Tool เปนแบบ Edit และทําการแกไขสวนโคงของเสน ดังตัวอยางเราจะปรับเสนพาธใหพอดีกับเสนโคงของรูปหัวใจดังนี้

1. คลิกเมาสที่จุดที่ตองการปรับ จะปรากฏแขนของจุดนั้น คลิกที่ปลายแขน ตัวช้ีเมาสจะเปลี่ยนเปนรูป

2. คลิกเลือกที่ปลายแขนของสวนโคง และลากเมาสปรับไปตามตําแหนงที่ตองการ

NOTE  ในการปรับเสนพาธในขั้นตอนตอๆ ไป เราจะใชการเพิ่ม/ลดจุด ปรับความโคง และการยายตําแหนงของจุดตามวิธีที่ไดกลาวมาแลว เพื่อสรางรูปพาธใหไดอยางที่ตองการ

การเคลือ่นยายพาธ  เราสามารถเคลื่อนยายเสนพาธทั้งช้ินได โดยกําหนดโหมดในการใชเครื่องมือ Path Tool เปนแบบ Move

และคลิกเคลื่อนยายตําแหนง ดังนี้

1. คลิกเมาสที่จุดทีต่องการปรับ 2. คลิกเลือกที่ปลายแขนของสวนโคง และลากเมาสปรับความโคงของเสน

ลากเมาสปรับจุดตางๆ จนไดรูปทรงตามตองการ

Page 127: Gimp Complete Book - คํมือ Gimp ภาษาไทย

Page 123

กําหนดคุณสมบัติเพิ่มเติมเก่ียวกับเครื่องมือ Path Tool  เราสามารถกําหนดคุณสมบัติเพิ่มเติมของเครื่องมือ Path Tool ไดที่ Tool Options ดานลางของหนาตาง Main Toolbox ซึ่งมีรายละเอียดดังนี้

TIP  ในขณะที่เราวาดรูปภาพในโหมด Design เราสามารถเปลี่ยนโหมดการใชงานไปเปนโหมดตางๆ โดย

• กดคีย <Ctrl> เพื่อเปลี่ยนเปนโหมด Edit สําหรับเพิ่มจุดแองเคอร และปรับความโคง • กดคีย <Ctrl+Shift> เพื่อลบจุดแองเคอร • กดคีย <Alt> เพื่อเปลี่ยนเปนโหมด Move สําหรับเคลื่อนยายช้ินพาธ

การทํางานกบัเสนพาธที่วาดขึ้น   เมื่อเราทําการวาดชิ้นพาธที่ตองการแลว ช้ินพาธที่ไดจะไปปรากฏอยูที่ไดอะล็อก Paths เพื่อทําใหเราสามารถจัดการกับพาธไดงายๆ

ทําความรูจักกับไดอะล็อก Paths 

1. เลือกโหมดการใชงานเครื่องมือแบบ Move 2. คลิกยายตําแหนงพาธ

เลือกโหมดการใชงานเครื่องมือ

กําหนดใหสรางเสนพาธเปนเสนตรง

คลิกเพื่อสรางการเลือกพื้นที่จากพาธที่เราสราง

คลิกเพื่อกําหนดการเติมสีใหกับเสนพาธ

Page 128: Gimp Complete Book - คํมือ Gimp ภาษาไทย

Page 124

การสรางพาธใหม  ในกรณีที่ตองการสรางเสนพาธใหม สามารถทําไดโดยการคลิกที่ปุม (New Path) ซึ่งการทํางานนั้นจะคลายกับเปนการสรางเลเยอรใหมใหกับช้ินงานของเรา ดังนี้

1. คลิกเลือก

2. จะปรากฏหนาตาง New Path ใหเราตั้งช่ือของภาพที่จะสราง

3. คลิกที่ปุม พาธใหมที่ตองการจะปรากฏทันที

การซอน/แสดงเสนโครงรางของพาธ  เมื่อเราใสสีใหกับเสนพาธ เราจะยังคงเห็นเสนโครงรางของพาธที่วาดขึ้น ซึ่งเราสามารถซอนและแสดงเสนโครง

รางของพาธได โดยคลิกที่

แท็ปแสดงไดอะล็อก Paths

ปุมแสดงเมนูของ Paths

แสดงเสนพาธที่มีอยู

สรางเสนพาธใหเปนการเลือกพื้นที่

สรางการเลือกพื้นที่ใหเปนเสนพาธ

ใสสีใหกับเสนพาธ

ใสสีใหกับเสนพาธ

ใสสีใหกับเสนพาธ

กอปปพาธ

เลื่อนลําดับพาธลงไปดานลาง

เลื่อนลําดับพาธขึ้นไปดานบน

สรางพาธใหม ลบเสนพาธ

1. คลิกเมาส

2. ตั้งชื่อพาธ

3. คลิกเมาส พาธใหมที่สรางขึ้น

Page 129: Gimp Complete Book - คํมือ Gimp ภาษาไทย

Page 125

การคัดลอกพาธ  หากเราไมตองการสรางเสนพาธรูปเดิมใหม หรือตองการคัดลอกไปวางในไฟลภาพอื่น ใหเราทําการคัดลอกได โดยคลิกที่ปุม จะปรากฏพาธที่คัดลอกขึ้นมาใหมทันที ดังนี้

คลิกแสดงพาธ

คลิกซอนพาธ

ผลลัพธเมื่อแสดงพาธ

ผลลัพธเมื่อซอนพาธ

1. คลิกเลือกพาธทีต่องการกอปป

2. คลิกเมาส

3. จะไดพาธที่กอปปขึ้นมาใหม

Page 130: Gimp Complete Book - คํมือ Gimp ภาษาไทย

Page 126

การเปล่ียนลําดับพาธ  โดยปกติพาธที่ซอนกันจะถูกเรียงเปนลําดับตามการสรางงานของเรา (สรางกอนจะอยูช้ันลางสุด) แตเพื่อความเหมาะสม เราก็สามารถสลับตําแหนงการวางของพาธแตละช้ินได โดยคลิกที่ เพื่อเลื่อนลําดับพาธจากลางขึ้นขางบน และ เพื่อเลื่อนลําดับพาธจากขางบนลงมาขางลาง

การปรับพาธที่เราสรางขึ้นใหเปนการเลือกพื้นที่  หากเราจะเติมสี หรือตัดพื้นที่ในเสนพาธที่สรางขึ้น เพื่อนําไปใชงานตางๆ จะตองเปลี่ยนเสนพาธนั้นใหอยูในรูปของการเลือกพื้นที่เสียกอน จากตัวอยางที่ผานมาเราจะมาศึกษาตอถึงการปรับเสนพาธที่เราวาดใหเปนการเลือกพื้นที่ได โดยคลิกเลือกที่ปุม ดานลางของไดอะล็อก Paths หรือใชคําสั่ง Path to selection ที่ปุมแสดงเมนูของ Paths

ดังตอไปนี้

1. คลิกเมาสที่

2. เลือกคําสั่ง Paths Menu>Path to selection

1. คลิกเลือกพาธ

2. คลิกเลื่อนพาธขึน้

1. คลิกเมาส

2. เลือกคําสั่ง Paths Menu>Path to selection ผลลัพธจะไดการเลือกพื้นที ่

Page 131: Gimp Complete Book - คํมือ Gimp ภาษาไทย

Page 127

NOTE นอกจากนี้แลวเรายังสามารถสรางการเลือกพื้นที่จากเสนพาธได โดยคลิกที่ ใน

Tool Options ของเครื่องมือ Path Tool

TIP  นอกจากจะสามารถสรางการเลือกพื้นที่จากเสนพาธไดแลว ยังสามารถสรางเสนพาธจากการเลือกพื้นที่ได โดยคลิกที่ปุม หรือเลือกคําสั่ง Paths Menu>Selection to Path ที่ปุมแสดงเมนูของ Paths ในไดอะล็อก

Paths ก็ได

การรวมเสนพาธกับการเลือกพื้นที่ที่ซอนทับกัน  ตอไปเมื่อเรามีการเลือกพื้นที่อยูแลว เราสามารถสรางพาธขึ้นมาอีกช้ินหนึ่ง และ ทําการจัดการพื้นที่ระหวางเสนพาธ และการเลือกพื้นที่ที่มีอยูไดหลายลักษณะ ดังนี้

1. สรางเสนพาธขึ้นมาอีก 1 ช้ิน

2. คลิกเมาสที่ เลือกคําสั่ง Paths Menu

3. คลิกเลือกคําสั่งที่ตองการ ตัวอยางจะเลือกคําสั่ง Add to selection

1. สรางเสนพาธ

2. คลิกเมาส เลือกคําสั่ง Paths Menu

Page 132: Gimp Complete Book - คํมือ Gimp ภาษาไทย

Page 128

ตัวอยางการรวมพื้นที่แบบอื่นๆ 

การใสสีใหกับเสนพาธ  นอกจากการสรางพื้นที่ภาพดวยเสนพาธ เรายังสามารถสรางพาธใหเปนเสนไดตามตองการ โดยคลิกเลือกที่ปุม ดานลางของไดอะล็อก Paths หรือใชคําสั่ง Stroke Path ที่ปุมแสดงเมนูของ Paths ดังตอไปนี้

1. คลิกเมาสที่

2. เลือกคําสั่ง Paths Menu>Stroke Path

3. จะปรากฏหนาตาง Stroke Path ใหเราเลือกลักษณะของการเติมสีใหเสนพาธสามารถเลือกได 2 ลักษณะ คือ o Stroke line กําหนดเสนพาธเอง ซึ่งมีรายละเอียดดังนี้ o Line Width กําหนดความกวางของเสน

o Line Style กําหนดรูปแบบเสน มีรายละเอียดดังนี้

Cap Style กําหนดรูปแบบของปลายเสนแบบเปดมีใหเลือก 3 แบบ

แบบปลายตัดพอดีเสนพาธ

แบบปลายมน

แบบปลายตัดเลยออกมารอบเสนพาธ

3. เลือกคําสั่ง Add to selection

ผลลัพธการเลือกพื้นที่

ผลลัพธการเลือกพื้นที่แบบ Intersect with Selection เหลือการเลือกพื้นที่ไวเฉพาะสวนที่ซอนทับกัน

Page 133: Gimp Complete Book - คํมือ Gimp ภาษาไทย

Page 129

Join Style กําหนดรูปแบบรอยตอของเสนพาธบริเวณมุม

แบบมุมฉาก

แบบมุมมน

แบบมุมตัดฉาก

Miter limit กําหนดความแหลมของมุมตัด ซึ่งจะสัมพันธกับขนาดของเสน

Dash Pattern สวนที่ใหเรากําหนดลักษณะเสนไดเอง

Dash Preset สามารถเลือกลักษณะเสนที่กําหนดไวใหแลว

Antialiasing คลิกเพื่อกําหนดการตัดเหลี่ยมขอบของเสนใหดูสวยงามขึ้น

o Solid กําหนดใหเปนการใสสีใหกับเสน

o Pattern กําหนดใหเปนการใสลวดลายใหกับเสน

o Stroke with a paint tool กําหนดใหเติมสีเสนดวยเครื่องมือเติมสีตางๆ

o Paint Tool เลือกเครื่องมือเติมสีที่ตองการ 4. คลิกปุม เพื่อตกลงใชลักษณะการเติมสีเสนที่กําหนด

ลักษณะของเสนพาธ

1. คลิกเมาส

2. เลือกคําสั่ง Paths Menu>Stroke Path

Page 134: Gimp Complete Book - คํมือ Gimp ภาษาไทย

Page 130

Workshop การวาดภาพการตูนดวยเครื่องมือ Path Tool 

ในหัวขอนี้ เราจะลองวาดภาพการตูนดวยเครื่องมือ Path Tool และระบายสีภาพการตูน ต้ังแตเริ่มโดยแบงเปนขั้นตอนหลักๆ ดังนี้

o ขั้นตอนที่ 1 สรางเสนพาธภาพการตูน

o ขั้นตอนที่ 2 ใสสีภาพการตูน

o ขั้นตอนที่ 3 ใสลวดลายเสื้อการตูน

o ขั้นตอนที่ 4 ตกแตงสีสันเพิ่มเติม

ข้ันตอนที่ 1 สรางเสนพาธภาพการตูน   เราจะเริ่มจากการนําภาพการตูนที่สเก็ตไวเขามา และสรางเสนพาธตามภาพ ดังนี้

3. กําหนดลักษณะการเติมสีเสน

4. คลิกเมาส

ผลลัพธของเสนที่ได

Page 135: Gimp Complete Book - คํมือ Gimp ภาษาไทย

Page 131

ข้ันตอนที่ 2 ใสสีสวนตางๆ ใหการตูน  เปนการใสสีเพื่อตกแตงสวนประกอบตางๆ ใหกับภาพการตูน ไดแก ดวงตา ผม แขน กางเกง และขา

1. ทําการสเก็ตภาพการตูนลงบนกระดาษ จากนั้นใชเคร่ืองสแกนเนอร ทําการสแกนภาพลงในเครื่องคอมพิวเตอร

2. ใช ลากพื้นที่ภาพที่เราตองการลงไป โดยการแบงพื้นที่ภาพออกเปนสวนๆ เพื่อนําไปใสสีพื้นในหัวขอตอไป

3. แสดงการลากเสนพาธในสวนใบหนา และลําตัวเปนพื้นที่เดียวกันในเลเยอรใหมที่ชื่อวา body

4. คลิกเปลี่ยนเสนพาธเปนการเลือกพื้นที่

5. แลวทําการใสสีเนื้อลงบนภาพ ดังรูป

Page 136: Gimp Complete Book - คํมือ Gimp ภาษาไทย

Page 132

ข้ันตอนที่ 3 ใสลวดลายเสื้อการตูน 

6. ทําการซอนเลเยอร body โดยคลิกเมาสเพื่อปดตา

7. สรางเลเยอรใหม และใช วาดเสนพาธในสวนของตา

8. ทําการใสสีดวงตา

9. สรางเลเยอรใหม และใช วาดเสนพาธในสวนพื้นที่ของผมการตูน 10. ทําการใสสีใหกับผม

11. สรางเลเยอรใหม และ ใช วาดเสนพาธ ในสวนพื้นที่ของแขน กางเกง และขา จากนั้นทําการใสสี ตามตองการดังรูป

Page 137: Gimp Complete Book - คํมือ Gimp ภาษาไทย

Page 133

ข้ันตอนที่ 4 ตกแตงสีเพิ่มเติม 

12. สรางเลเยอรใหม และใช วาดเสนพาธของเสือ้

กําหนดการเทสี แบบ Pattern

13. แปลงเสนพาธในสวนเสื้อผาใหเปลี่ยนเปนเสนของการ เลือกพื้นที ่

และใช เทสีพื้นเปนแบบ Pattern ในสวนของเสื้อ

14. เลือกที่เลเยอร body และ

Hand ใช ชวยในการตกแตงการปดแกม และเงาบริเวณลําตัว และแขน ดังรูป

Page 138: Gimp Complete Book - คํมือ Gimp ภาษาไทย

Page 134

16. สรางเลเยอรใหมขึ้นมา ในที่นี้ตั้งชื่อวา

line แลวใช ตัดเสนโครงรางของตัวการตูน โดยลากตัดเปนเสนคูใหบรรจบกัน เพื่อใหเห็นการแบงสวนตางๆ ของตัวการตูนใหดูชัดเจนมากขึ้น

15. ซอนเลเยอรทั้งหมด และแสดงใหเห็นเฉพาะเลเยอร Background ของโครงรางภาพการตูนเทานั้น

17. แสดงการวาดภาพการตูน และไดตกแตงสีสันตามจินตนาการของเราเรียบรอย

แสดงภาพเลเยอรภาพทั้งหมด

Page 139: Gimp Complete Book - คํมือ Gimp ภาษาไทย

Page 135

บทที่ 9 ความรูเรื่องสี และการเลือกใชสี 

การแสดงสีที่มาจากจอภาพ หรือสิ่งพิมพจะเกิดจากการผสมสีที่ลอกเลียนแบบธรรมชาติในวิธีการตางๆ ดังนั้น โปรแกรม GIMP จึงพยายามที่จะเลียนแบบสีธรรมชาติเหลานั้น โดยการนําหลักการแสดงสีของโมเดลสีในรูปแบบตางๆ เขามาประยุกตใหเกิดเปนโหมดสีจํานวนมาก เพื่อเปดใหผูใชงานไดทํางานกับสีไดมากที่สุด จึงทําใหความรูเรื่องสีเปนสิ่งที่สําคัญอยางยิ่งสําหรับคนที่ตองการตกแตงภาพใน GIMP เนื่องจากเปนพื้นฐานแรกกอนที่เราจะสรางงานกราฟกในขั้นตอๆ ไป โดยในบทนี้เราจะมาเรียนรูจักเรื่องของสีและความรูเกี่ยวกับสีที่นักกราฟกควรทราบกัน

โมเดลการมองเห็นสทีั่วไป  โดยทั่วไปแลวสีตางๆ ในธรรมชาติและสีที่ถูกสรางขึ้น จะมีรูปแบบการมองเห็นสีที่แตกตางกัน ซึ่งรูปแบบการมองเห็นสีนี้เรียกวา ”โมเดล (Model)” ดังนั้น จึงทําใหมีโมเดลหลายแบบดังที่เราจะไดศึกษาตอไปนี้คือ

โมเดลแบบ HSB ตามหลักการมองเห็นสีของสายตามนุษย

โมเดล RGB ตามหลักการแสดงสีของเครื่องคอมพิวเตอร

โมเดล CMYK ตามหลักการแสดงสีของเครื่องพิมพ

โมเดล Lab ตามมาตรฐานของ CIE

โมเดลแบบ HSB ตามหลักการมองเห็นสีของสายตามนุษย  เปนลักษณะพื้นฐานของการมองเห็นสีดวยสายตาของมนุษย โมเดล HSB จะ ประกอบดวยลักษณะของสี 3 ลักษณะคือ

1. Hue เปนสีของวัตถุที่สะทอนเขามายังตาของเรา ทําใหเราสามารถมองเห็นวัตถุเปนสีได ซึ่งแตละสีจะแตกตางกันตามความยาวของคลื่นแสงที่มากระทบวัตถุและสะทอนกลับมาที่ตาของเรา Hue ถูกวัดโดยตําแหนงการแสดงสีบน Standard Color Wheel ซึ่งถูกแทนดวยองศา คือ 0 ถึง 360 องศา แตโดยทั่วๆ ไปแลว มักจะเรียกการแสดงสีนั้นๆ เปนช่ือของสีเลย เชน สีแดง สีมวง สีเหลือง

Page 140: Gimp Complete Book - คํมือ Gimp ภาษาไทย

Page 136

2. Saturation คือสัดสวนของสีเทาที่มีอยูในสีนั้น โดยวัดคาสีเทาในสีหลักเปนเปอรเซ็นตดังนี้คือ จาก 0% (สีเทาผสมอยูมาก) จนถึง 100% (สีเทาไมมีเลย หรือเรียกวา “Full Saturation” คือสีมีความอิ่มตัวเต็มที่) โดยคา Saturation นี้จะบงบอกถึงความเขมขนและความจางของสี ถาถูกวัดโดยตําแหนงบน Standard

Color Wheel คา Saturation จะเพิ่มขึ้นจากจุดกึ่งกลางจนถึงเสนขอบ โดยคาที่เสนขอบจะมีสีที่ชัดเจนและอิ่มตัวที่สุด

3. Brightness เปนเรื่องของความสวางและความมืดของสี ซึ่งถูกกําหนดคาเปนเปอรเซ็นตจาก 0% (สีดํา) ถึง 100% (สีขาว) ยิ่งมีเปอรเซ็นตมากจะทําใหสีนั้นสวางมากขึ้น

โมเดล RGB ตามหลักการแสดงสีของเคร่ืองคอมพิวเตอร  โมเดล RGB เกิดจากการรวมกันของสเปกตรัมของแสงสี แดง (Red), เขียว (Green) และน้ําเงิน (Blue) ในสัดสวนความเขมขนที่แตกตางกัน โดยจุดที่แสงทั้งสามสีรวมกันจะเปนสีขาว นิยมเรียกการผสมสีแบบนี้วา “Additive”

แสงสี RGB มักจะถูกใชสําหรับการสองแสงทั้งบนจอภาพทีวีและจอคอมพิวเตอร ซึ่งสรางจากสารที่ใหกําเนิดแสงสีแดง สีเขียวและสีน้ําเงิน ทําใหสีดูสวางกวาความเปนจริง

คา Hue จะบอกคาสีเปนองศา จาก 0 องศาหมุนไปถึง 360 องศา

คา Saturation เร่ิมตั้งแต 0 % ที่จุดกึ่งกลางไลไปเรื่อยๆ จนถึง 100 % ที่ขอบ

H+S แทนคาสีทั้งหมดที่เกิดขึ้นหลังจากที่ Hue+Saturation

Page 141: Gimp Complete Book - คํมือ Gimp ภาษาไทย

Page 137

โมเดล CMYK ตามหลักการแสดงสีของเครื่องพิมพ  โมเดล CMYK มีแหลงกําเนิดสีอยูที่การซึมซับ (Absorb) ของหมึกพิมพบนกระดาษ โดยมีสีพ้ืนฐานคือ สีฟา (Cyan), สีบานเย็น (Magenta) และเหลือง (Yellow) โดยเรียกการผสมสีทั้ง 3 สีขางตนวา “Subtractive

Color” แตสี CMYK ก็ไมสามารถผสมรวมกันใหไดสีบางสี เชน สีน้ําตาล จึงตองมีการเพิ่มสีดํา (Black) ลงไป ฉะนั้นเมื่อรวมกันทั้ง 4 สี คือ CMYK สีที่ไดจากการพิมพ จึงจะครอบคลุมทุกสี

โมเดล Lab ตามมาตรฐานของ CIE  โมเดล Lab เปนคาสีที่ถูกกําหนดขึ้นโดย CIE (Commission Internationale d Eclarirage) ใหเปนมาตราฐานกลางของการวัดสีทุกรูปแบบ ครอบคลุมทุกสีใน RGB และ CMYK และใชไดกับสีที่เกิดจากอุปกรณทุกอยางไมวาจะเปนจอคอมพิวเตอร เครื่องพิมพ เครื่องสแกนและอื่นๆ สวนประกอบของโหมดสีนี้ไดแก

L หมายถึง คาความสวาง (Luminance)

a หมายถึง สวนประกอบที่แสดงการไลสีจากสีเขียวไปยังสีแดง b หมายถึง สวนประกอบที่แสดงการไลสีจากสีน้ําเงินถึงสีเหลือง

Page 142: Gimp Complete Book - คํมือ Gimp ภาษาไทย

Page 138

โมเดลการมองเห็นสใีนโปรแกรม GIMP  จากการมองเห็นสีโดยทั่วไปมาสูหลักการมองเห็นสีใน GIMP ที่เราจะเรียกวา “โหมด (Mode)” ซึ่งโหมดของสีใน GIMP จะแบงออกเปน 3 กลุม ดังนี้

o กลุมที่ 1 โหมดที่อางอิงตามโมเดล

o กลุมที่ 2 โหมดที่ถูกกําหนดขึ้นพิเศษหรือที่เรียกวา ”โหมด Specialized”

o กลุมที่ 3 โหมดที่ใชกับการควบคุมคาของพิกเซลหรือที่เรียกวา “โหมด Blending”

ซึ่งมีรายละเอียดดังตอไปนี้

กลุมที่ 1 โหมดที่อางอิงตามโมเดล 

โหมด RGB  ใชหลักการของโมเดล RGB โดยมีการกําหนดคาความเขมขนของสีแดง เขียว และน้ําเงินที่มาผสมกันในแตละพิกเซล เปนคาตั้งแต 0-255 ตัวอยางเชน สี Bright Red เกิดจาก R (สีแดง) ที่ 246 และ G (สีเขียว) ที่ 20 และ B (สีน้ําเงิน) ที่ 50 ภาพที่เกิดจากโหมด RGB จะเปนการซอนสีหลัก 3 ช้ัน และสามารถมองทะลุผาน 3 สีนี้ จนกลายเปนภาพ ซึ่งเรียกช้ันของสีเหลานี้วา “Channel” โดยปกติสีทั่วไปในการแสดงผลจะมีถึง 16.7 ลานสี หรือ 224

แสงสีแดง (Red) แสงสีเขียว (Green) แสงสีน้ําเงิน (Blue)

โหมด CMYK  ใชหลักการของโมเดล CMYK โดยมีการกําหนดคาสีจากเปอรเซ็นตความเขมขนของสีแตละสีที่มาผสมกัน เชน สี Bright Red เกิดจาก C = 2%, M = 93%, Y = 90% และ K = 0% (หรือสีขาว)

ภาพในโหมด RGB ซึ่งเกิดจากการผสมของแสงสี แดง เขยีว และน้ําเงิน

Page 143: Gimp Complete Book - คํมือ Gimp ภาษาไทย

Page 139

สีฟา (Cyan) สีบานเย็น (Magenta)

สีเหลือง (Yellow) สีดํา (Black)

โหมด LAB  ใชหลักการของโมเดล LAB ในการผสมสี โดยโปรแกรมจะยึดโหมดนี้เปนเหมือนตัวกลางในการแปลงจากโหมดสีหนึ่งไปอีกโหมดสีหนึ่ง เนื่องจากหลักการของ LAB นี้เปนมาตรฐานที่ไมขึ้นอยูกับโมเดลใดๆ จึงใชเปนโหมดตัวกลางนั่นเอง

ภาพในโหมด CMYK ซึ่งเกิดจากการผสมของหมึกสี Cyan, Magenta ,Yellow และ Black

ภาพในโหมด LAB ซึ่งเกิดจากการผสมกันของ 3 องคประกอบคือ L*a*b

Page 144: Gimp Complete Book - คํมือ Gimp ภาษาไทย

Page 140

Lightness A Component (green-red) B Component (blue-yellow)

กลุมที่ 2 โหมดที่ถูกกําหนดขึ้นพิเศษหรือที่เรียกวา “โหมด Specialized” 

โหมด Grayscale 

ประกอบดวยสีทั้งหมด 256 สี โดยไลสีจากสีขาว สีเทาไปเรื่อยๆ จนทายสุดคือสีดํา ใชพ้ืนที่ในการเก็บขอมูล 8 บิต

โหมด Indexed color 

ถึงแมบางภาพจะมีสีไดมากถึง 16.7 ลานสี แตสวนใหญจะใชไมถึง ในกรณีที่เราตองการลดขนาดไฟลภาพก็อาจใชโหมดนี้ ซึ่งจะทอนสีใหเหลือใกลเคียงกับที่ตองใช โหมดนี้สามารถแสดงสีได 256 สี โดยคุณภาพไมลดลงมากนัก

กลุมท่ี 3 โหมด Blending กับการควบคุมคาพิกเซลในไดอะล็อก Layers   เปนโหมดพิเศษที่ใชเฉพาะในไดอะล็อก Layers และโหมดในการระบายสีดวยเครื่องมือใสสีตางๆ เพื่อเปนตัวกําหนดวาพิกเซลแตละพิกเซลจะมีการเปลี่ยนแปลงอยางไรเมื่อมีการปรับเปลี่ยนใหแสดงผลในโหมด Blending

ตางๆ (สําหรับรายละเอียดดูไดจากบท “เทคนิคการแตงภาพในเลเยอร”)

การเปลี่ยนโหมดสีของภาพ  โดยปกติแลว ภาพที่เราเก็บไวในคอมพิวเตอรนั้นจะเปนโหมด RGB แตถาเราตองเปลี่ยนโหมดของภาพเพื่อใหเหมาะสมกับลักษณะของงานที่จะนําไปใชก็สามารถเปลี่ยนโหมดสีได ดังนี้

เปล่ียนโหมดสี RGB เปน Grayscale  ภาพในโหมด Grayscale จะเปนภาพไลโทนสีขาว-ดํา เหมาะกับการนําไปผลิตงานสิ่งพิมพสีเดียว สามารถเปลี่ยนโหมดได ดังนี้

Page 145: Gimp Complete Book - คํมือ Gimp ภาษาไทย

Page 141

เปล่ียนโหมดสี RGB เปน Indexed color  ภาพในโหมด Indexed color จะใชสําหรับกรณีที่เราตองการลดขนาดไฟลภาพ ซึ่งจะทอนสีใหเหลือใกลเคียงกับที่ตองใช โดยไมมีผลกับคุณภาพของภาพ สามารถเปลี่ยนโหมดได ดังนี้

1. เลือกคําสั่ง Image>Mode>Indexed...

2. จะปรากฏหนาตาง Indexed Color Conversion ใหเรากําหนดคาตางๆ

Colormap กําหนดคาของสีจะใชเลือกได 4 แบบ

Generate optimum palette กําหนดจํานวนสีที่จะใช Use web-optimized palette กําหนดใหใชสีจากพาเล็ตสีที่ใชงานบนเว็บ

Use black and white (1-bit) palette กําหนดใหใชสีเพียง 2 สี คือ สีขาว และสีดํา

Use custom palette เลือกสีจากพาเล็ตสีตางๆ

Dithering กําหนดความกลมกลืนในการผสมเฉดสีในภาพซึ่งมีใหเลือกหลายรูปแบบ

Enable dithering of tranparency กําหนดใหมีการกําหนดความกลมกลืนในสวนของ Transparency

3. คลิกปุม เพื่อตกลงการใชคาที่กําหนด

เลือกคําสั่ง Image>Mode>Grayscale

Page 146: Gimp Complete Book - คํมือ Gimp ภาษาไทย

Page 142

เปล่ียนโหมดสีแบบอื่นๆ  นอกจากนี้ยังสามารถกําหนดสีเปนโหมดอื่นๆ ได ดังนี้

1. เลือกคําสั่ง Image>Mode>Indexed..

2. กําหนดคาตางๆ 3. คลิกเมาส

1. เลือกคําสั่ง Color>Components>Decompose…

2. เลือกโหมดภาพที่ตองการ

Page 147: Gimp Complete Book - คํมือ Gimp ภาษาไทย

Page 143

การเลือกใชสกีับงานกราฟก  งานกราฟกที่เราสรางนั้น ลวนแตมีจุดประสงคที่จะสื่อใหผูชมเขาใจถึงความหมาย และมีความรูสึกรวมกับงานช้ินนั้น ตัวอยางเชน โฆษณาขายบานที่ตองการแสดงถึงความรักและความอบอุน การโฆษณาขายเสื้อผาของคนแตละวัยก็ตองการดีไซนที่ตางกัน หากเปนผูชายวัยทํางานก็ตองดูภูมิฐาน และผูหญิงวัยรุนก็ตองมีความอินเทรน ดังนั้นการใชสีที่สื่อถึงกลุมคนและความรูสึกเหลานี้ลวนแตมีความสําคัญ

สีและวงลอของสี  ในวงลอของสีเราสามารถแบงสีไดเปน 3 หมวดหมู ดังนี้

• สีขั้นที่ 1 (Primary Color) เปนแมสีนั่นเอง ไดแก สีเหลือง สีแดง และสีน้ําเงิน

• สีขั้นที่ 2 (Secondary Color) เปนสีที่ไดจากแตละสีในขั้นที่ 1 มาผสมกัน ไดแก สีสม สีเขียว และสีมวง

• สีขั้นที่ 3 (Tertiary Color) เปนสีที่ไดจากสีขั้นที่ 1 ผสมกับสีขั้นที่ 2 ไดแก แดง-สม, แดง-มวง, เหลือง-เขียว, เหลือง-สม, น้ําเงิน-เขียว และน้ําเงิน-มวง

สีโทนรอนและสีโทนเย็น  จากวงลอของสี เราสามารถนําไปใชงานใหเหมาะสม โดยแยกเปนโทนสีไดดังนี้

• สีโทนเย็น เปนสีที่สื่อถึงความเยือกเย็น ขรึม สุภาพ มั่นคง เช่ียวชาญ (หรือเปน Professional) และดูเศรา ไดแก สีเขียว สีเขียว-น้ําเงิน น้ําเงิน น้ําเงินมวง และสีมวง

• สีโทนรอน เปนสีที่ดูอบอุน สนุก รอนแรง ไดแก สีแดง สีสม-แดง สีสม สีสม-เหลือง และสีเหลือง

สีโทนเย็น

สีโทนรอน

Page 148: Gimp Complete Book - คํมือ Gimp ภาษาไทย

Page 144

สีและการสื่อความหมาย  สีที่เรานิยมเลือกนํามาใชเปนสีหลักในช้ินงาน จะเปนตัวสื่อถึงความหมาย และเขาถึงอารมณของผูชมไดเปนอยางดี ซึ่งเพื่อการความเขาใจแบบงายๆ จะขอสรุปเปนแนวทางได ดังนี ้

สี สื่อความหมาย

สีแดง เปนสีของไฟและเลือด พลังงาน สงคราม อันตราย ความแข็งแรง พละกําลัง ความปรารถนา และความรัก

สีแดงออน ความสนุกสนาน ความออนไหว ความยั่วยุทางเพศ ความปรารถนา และความรัก

สีชมพู สื่อถึงความเปนผูหญิง ความโรแมนติก ความรัก มิตรภาพ และความละเอียดออน

สีแดงเขม คือความโกรธ บาคลั่ง ความมุงมั่น ความกลาหาญ ผูนํา ความใคร ความกระฉับกระเฉง และความมุงราย

สีน้ําตาล สื่อถึงการชวนคิด ความเสถียรภาพ แข็งแกรง และคุณภาพ

สีน้ําตาลแดง ความหมายในทางบวกสื่อถึงฤดูเก็บเกี่ยว การเกิดผลสําเร็จ เกาแก และโบราณ นอกจากนี้จะพบบอยในการโฆษณาขายบาน และสื่อถึงครอบครัว

สีสม เกิดจากสีแดงที่มีพลังและสีเหลืองที่สื่อถึงความสุข มาเปนสีสมจึงหมายถึง ความสนุก ความสดใส แสงแดด ความรอนแรง ความกระตือรือรน ชวนใหหลงรัก ชางคิด ชางฝน ความตั้งใจ ความสําเร็จ การชวยเหลือ นิยมใชในการโฆษณาผลไม ผลไมเพื่อสุขภาพ และของเลน

สีสมเขม หมายถึง โกหก หลอกลวง มีอุบาย ไมนาไวใจ และนาสงสัย

สีสมแดง หมายถึง ความปรารถนา การยั่วยุทางเพศ ความเพลิดเพลิน ดูมีอํานาจ กาวราว และแสดงถึงความกระหาย

สีเหลือง เปนสีของแสงอาทิตย สื่อถึง ความสนุกสนาน ความสุข ความฉลาด ความยินดี ชัยชนะ มั่นคง ปลอดภัย พลัง และความกระปกระเปรา นอกจากนี้ ยังใชในการโฆษณาอาหาร สินคาเด็ก รถแทกซี่ สินคาราคาแพง ใชคาดกับสีดําสําหรับการแจงเตือนวาอันตราย เพราะมองเห็นไดเดนชัด ใชระบายเนนในจุดสําคัญ

สีเหลืองหมน สื่อถึงความเสื่อมสลาย ความเจ็บปวย อิจฉา ขี้หึง และหวงแหน

สีเหลืองออน สื่อถึงสติปญญา ความสดใหม จืด ทะลึ่ง ความสนุกสนาน และราเริง

สีเขียว เปนสีของธรรมชาติ ความเจริญเติบโต ความสามัคคี ความอุดมสมบูรณ การเริ่มตน และความหวัง

Page 149: Gimp Complete Book - คํมือ Gimp ภาษาไทย

Page 145

นอกจากนี้ยังใชสื่อถึงความปลอดภัยในการโฆษณายา

สีเขียวเขม สื่อถึง เงิน ธนาคาร ความทะเยอทะยาน ความโลภ และความอิจฉา

สีเขียว-เหลือง ช้ีถึงความเจ็บปวย ความขี้ขลาด ความอิจฉา และริษยา

สีเขียวผลมะกอก สื่อถึงสันติภาพ และความสงบสุข

สีน้ําเงิน เปนสีของทองฟาและน้ําทะเล ใชสื่อถึงความลึก ความมั่นคง ความเสถียรภาพ เปนสัญลักษณของความเช่ือใจ ความไวใจ ความซื่อสัตย จงรักภักดี สุขุมรอบคอบ ฉลาด และความศรัทธา นอกจากนี้จะพบบอยในโฆษณาสินคาและบริการที่ใหดูวาสะอาด เชน เครื่องกรองน้ํา และน้ํายาทําความสะอาด ถาเปนโฆษณาที่สื่อถึงอากาศและทองฟา ก็มีสายการบิน และเครื่องปรับอากาศ ถาสื่อถึงน้ําและทะเล ก็จะเปนการโดยสารผานเรือ และน้ําแร สินคาไฮเทคโนโลยีตางๆ รวมทั้งเปนสีประจําเพศชาย จะพบโดยมากในโฆษณาสินคาของผูชาย

สีน้ําเงินออน สื่อถึงความสงบ รมรื่น เยือกเย็น เห็นอกเห็นใจ และความออนนุม

สีน้ําเงินเขม สื่อถึงความรู ความมั่นคง ความขรึม ความเปนผูใหญ และเอาจริงเอาจัง

สีมวง เปนสีของกษัตริย อํานาจ ความเปนผูดี ชนช้ันสูง ฟุมเฟอย หรูหรา ความทะเยอทะยาน ความสงา ความอิสระ และใชกับอํานาจวิเศษ-เวทมนตร

สีมวงออน สื่อถึงความโรแมนติก และความคิดถึง

สีมวงเขม สื่อถึงความมืดมน ความโศกเศรา และการหักลาง

สีขาว สื่อถึงความสวาง ความดี บริสุทธิ์ และไรเดียงสา เราจะเห็นสีขาวในชุดพยาบาล หมอ ชุดเจาสาว ฤดูหนาว-หิมะ และสินคาลดน้ําหนัก

สีดํา สื่อถึงความชั่วราย ความตาย การสูญเสีย ความลึกลับ การมีแบบแผน และดูมีมารยาท เปนสัญลักษณของความโศกเศรา แตยังพบเห็นในการใชกับสินคาที่หรูหรา และมีเกียรติ

แบบแผนในการใชส ี การทราบความหมายของสี จะชวยใหเราเลือกสีหลักที่ใชสื่อความหมายของชิ้นงานไดอยางเหมาะสม แตมีมากกวานั้นคือ ในงานกราฟกนอกจากจะประกอบดวยสีพ้ืนหลังแลว ยังตองมีภาพประกอบ ขอความ และวัตถุตางๆ ซึ่งจะตองมีการกําหนดสี เพื่อใหภาพโดยรวมมีสีที่ดึงดูดนาสนใจ ไมกลมกลืน หรือขัดแยงกันมากจนเกินไป

สีเหลือง : สื่อถึงความสนุกสนาน มีพลัง และชัยชนะ

สีน้ําเงิน : นิยมใชกับสินคาที่เจาะกลุมผูซื้อที่เปนผูชาย

Page 150: Gimp Complete Book - คํมือ Gimp ภาษาไทย

Page 146

เราสามารถนําแบบแผนการใชสีไปประยุกตในการจัดทําเอกสาร หรือหนังสือในโหมดสองสีได โดยการจับคูสีที่มีความเหมาะสมตามลักษณะงาน จะทําใหงานพิมพมีสีสันมากขึ้นกวางานขาว-ดํา และใกลเคียงงานสี่สี แตมีคาใชจายถูกกวางานสี่สีมาก

สีแบบสีเดียว (Monochromatic)   เปนการใชสีเพียงสีเดียว คือ สีหลักที่เราเลือก โดยจะนําสีนั้นมาผสมไลโทนให แตกตางกันบางในบางจุดของช้ินงาน การผสมสีมี 2 แบบ คือ Shade เปนการใสสีดําใหเขมขึ้น และ Tint ใสสีขาวผสมสีใหออนลง ตัวอยางเชน สีแดง เพิ่มสีดําก็จะได สีแดงเขมเหมือนอิฐแดง และเพิ่มสีขาวก็จะกลายเปนสีชมพู

สีที่คลายคลึงกัน (Analogous)   จะเปนสีที่เราเลือกและอีก 2 สีที่อยูขางเคียง ตัวอยางเชน เราเลือกสีแดง จากนั้นก็มีสีสมแดง และมวงแดงที่อยูขางเคียง

สีที่ตรงขามกัน (Complementary)  เปน 2 สี ที่อยูตรงขามกันในตําแหนงวงลอของสี หากเราใชสีหนึ่งยืนพื้น ก็จะชวยขับใหอีกสีหนึ่งดูแรงกลา โดดเดนขึ้นมา ตัวอยาง เชน สีแดงจะอยูตรงขามกับสีเขียว

Page 151: Gimp Complete Book - คํมือ Gimp ภาษาไทย

Page 147

สีหลักและสีขางเคียงสีตรงขาม (Split complementary)   สีแรก คือสีที่เราเลือกจะยืนพื้นเปนหลักกับอีก 2 สีที่อยูขางๆ สีตรงขามของสีหลักที่เราเลือกนั่นเอง ตัวอยางเชน สีแดง (สีหลัก) สีเขียวเหลือง และสีเขียวน้ําเงิน

สีสามเสา (Triadic )  เปน 3 สีที่อยูหางเทาๆ กันบนวงลอของสี เชน สีแดง สีเหลือง และสีน้ําเงิน

2 คูสีตรงกันขาม (Double complement)   จะประกอบดวย 2 คูสีที่อยูตรงขามกัน ตัวอยางเชน คูสีเหลืองกับสีมวง และคูสีน้ําเงินกับสีสม

สีสามเสาและสีตรงขาม (Alternate complement)  จะมีดวยกัน 4 ส ีโดย 3 สีแรกจะเปนสี 3 เสา และสีที่ 4 จะเปนสีตรงขามกับสีหลัก ตัวอยางเชน สีแดง สีเหลือง สีน้ําเงิน และสีมวงซึ่ง (เปนสีตรงขามกับสีแดงที่เปนสีหลัก)

Page 152: Gimp Complete Book - คํมือ Gimp ภาษาไทย

Page 148

ส่ีสีที่หางเทากัน (Tetrad)  ประกอบดวย 4 สี โดยแตละสีอยูระยะหางเทากันบนวงลอของสี และสามารถแจกแจงออกมาไดเปน 1 สีที่เปนสีขั้นที่ 1 อีก 1 สีในสีขั้นที่ 2 และอีก 2 สีในสีขั้นที่ 3 ตัวอยางเชน สีแดง สีเขียว สีสมเหลือง และสีมวงน้ําเงิน

Page 153: Gimp Complete Book - คํมือ Gimp ภาษาไทย

Page 149

บทที่ 10 การปรับแตงภาพ 

การทํางานใน GIMP นอกจากจะเปนการนําภาพตางๆ มาตัดตอประกอบกันเปนช้ินงานแลว ยังเปนดังสตูดิโอตกแตงภาพอีกดวย โดยเราสามารถนําภาพตางๆ มาปรับแตงสี ปรับโทนความสวาง ปรับแตงสีที่ผิดเพี้ยนใหตรงความเปนจริง การแตงเติมสีในบางสวนของภาพใหดูนาสนใจมากยิ่งขึ้น และการตกแตงสีดวยเทคนิคพิเศษเพื่อใหกําเนิดภาพที่สรางสรรคแปลกใหมได

ปรับแตงความสมดุลของสีภาพดวย Color Balance Tool  ในการปรับแตงแกไขสีของภาพเราจะพิจารณาวงลอสี ดังรูป ซึ่งเราจะเห็นไดวา ใน โหมดสี RGB และ CMYK

มีสีที่ตรงขามกันอยู ซึ่งเราเอาความรูเรื่องนี้ไปปรับแตงสีของภาพดวยการเลือกเครื่องมือ Color Balance Tool ดังตัวอยาง เมื่อเราตองการปรับสีแดง (Red) ใหเพิ่มขึ้น ในขณะที่เราทํางานอยูในโหมด RGB ทําไดโดยการเพิ่มความเขมของสีเหลือง (Yellow) และสีมวง (Magenta) หรือลดความเขมของสีฟา (Cyan) ลง ซึ่งเปนสีตรงกันขามในวงลอ เราก็จะไดสีแดงเขมขึ้น ซึ่งมีขั้นตอนดังนี้

1. คลิกเลือก ที่ Image Window>Colors

Page 154: Gimp Complete Book - คํมือ Gimp ภาษาไทย

Page 150

2. จะปรากฏหนาตาง Color Balance ใหทําการปรับแตงสี 3. คลิกเลือกสวนของสีภาพที่เราตองการปรับได 3 สวน คือ

o Shadow เปนสวนที่เปนเงามืดในภาพ o Midtone เปนสวนของสีหลักๆของภาพ o Hightlight เปนสวนของแสงสวางในภาพ

(ตัวอยางเลือกกําหนดภาพที่ Midtone)

4. เลื่อนแถบสไลดกําหนดสีของภาพ (ตัวอยางจะลดความเขมของสีฟา (Cyan) และลดความเขมของสีน้ําเงินลง)

5. คลิกเมาส เพื่อตกลงใชคาที่กําหนด

TIP 

ภายในหนาตางของเครื่องมือการปรับแตงภาพจะมีชองคําสั่ง ใหเราคลิกเพื่อดูการเปลี่ยนแปลงของภาพขณะที่เราทําการปรับแตงอยู

1. คลิกเลือก Color Balance…

2. คลิกเมาสภายในภาพที่ตองการปรับแตงสี

3. เลือกสวนของสภีาพที่เราตองการปรับ

4. เลื่อนแถบสไลดกําหนดสี

5. คลิกเมาส

Page 155: Gimp Complete Book - คํมือ Gimp ภาษาไทย

Page 151

ปรับความเขมและความจางของสีภาพดวย Hue/Saturation Tool  การปรับภาพโดยใชคําสั่ง Hue/Saturation จะอาศัยพ้ืนฐานของการมองภาพในโมเดลของ HSB ดังรายละเอียดที่กลาวมาแลวในบท “ความรูเรื่องสีและการเลือกใชโหมดสี” ซึ่งจะเปนการปรับสีภาพโดยรวมทั้งหมด และปรับภาพใหเปนโทนสีเดียวได

ในตัวอยางนี้เราจะปรับภาพดอกกลวยไมนี้ใหมีโทนสีเดียวเปนสีสม (เลื่อนสไลดไปทางซาย) แลวเพิ่มความอิ่มของสีดวยคา Saturation และคา Lightness ทําใหดอกกลวยไมมีสีสดและสวางขึ้น (เลื่อนสไลดไปทางขวา) โดยทําตามขั้นตอนดังนี้

1. คลิกเลือก ที่ Image Window>Colors

2. จะปรากฏหนาตาง Hue-Saturation เลือกชวงของสี

3. เลือกปรับภาพในโหมดสี โดยลดและเพิ่มคา Hue, Saturation และ Lightness มีรายละเอียดดังนี้ • Hue ปรับคาสใีหมใหกับภาพ (สามารถปรับไดต้ังแต -180 ถึง 180)

• Saturation ปรับคาความอิ่มตัวของสี โดยคาที่เพิ่มมากขึ้นจะทําใหสีภาพดูอิ่มและเขมขึ้น สวนคาที่ติดลบจะทําใหสีภาพมืดลงจนเปนสีเทา (สามารถปรับไดต้ังแต -100 ถึง 100)

• Lightness ปรับคาความมืดและสวางของภาพ คาที่เพิ่มมากขึ้นจะทําใหภาพสวางจนเปนสีขาว และคาที่ติดลบจะทําใหภาพมืดลงจนเปนสีดํา (สามารถปรับไดต้ังแต -100 ถึง 100)

4. คลิกเมาส เพื่อตกลงใชคาที่กําหนด

1. คลิกเลือก color>Hue-Saturation…

2. คลิกเมาสภายในภาพที่ตองการปรับแตงสี

3. กําหนดชวงของสีที่ตองการปรับ (ในที่นี้คือสีเหลือง)

4. เลื่อนสไลดเพือ่ปรับคา

คลิกเพื่อรีเซ็ตคาไปเปนคาเร่ิมตน

Page 156: Gimp Complete Book - คํมือ Gimp ภาษาไทย

Page 152

ปรับสใีหภาพดวย Colorize Tool  เปนการเปลี่ยนสีภาพที่เหมือนกับการใสฟลเตอรสีตางๆ ลงบนภาพแบบ Grayscale โดยเราสามารถทําการปรับคา Hue-Saturation และ Lightness ไดเหมือนกับเหมือน กับ Hue-Saturation Tool ซึ่งมีขั้นตอนดังนี้

1. คลิกเลือก ที่ Image Window>Colors

2. จะปรากฏหนาตาง Colorize

3. ทําการเลื่อนแถบสไลดเพื่อปรับคาสีตามตองการ โดยที่ Hue มีคาตั้งแต 1 ถึง 360 คา Lightness และ Saturation มีคา-100 ถึง 100 (ในที่นี้ปรับ Hue ใหเปน สีเขียวแบบตัวอยาง)

4. จากนั้นคลิกปุม เมื่อปรับไดสีตามตองการแลว

ผลลัพธเมื่อทําการเลื่อนสไลดเพือ่เปลี่ยนสีภาพ เฉดสีในสวนตางๆ ก็จะเปลี่ยนไปดวย

5. คลิกเมาส

Page 157: Gimp Complete Book - คํมือ Gimp ภาษาไทย

Page 153

ปรับแตงความคมชัดและความสวางของภาพดวย Brightness/Contrast Tool  เปนการปรับคาสีในพิกเซลภาพใหเกิดความสวาง และความคมชัด โดยจะมีคาใหปรับอยู 2 คา คือ

o Brightness ปรับคาความมืด-สวางใหกับเม็ดสี o Contrast ปรับความคมชัดใหกับภาพ

ในตัวอยางเปนการเปนการปรับความสวางและความคมชัดของภาพรถยนต โดยใช Brightness/Contrast

Tool ซึ่งมีขั้นตอนดังนี้

1. คลิกเลือก ที่ Image Window>Colors

2. จะปรากฏหนาตาง Brightness-Contrast

3. ทําการเลื่อนแถบสไลดเพื่อปรับคาความสวางและความคมชัดใหกับภาพ

4. จากนั้นคลิกปุม เมื่อปรับไดภาพตามที่ตองการแลว

1. คลิกเลือก Colors>Colorize…

3. ปรับคาโหมดสี โดยลดคา Hue และเพิ่มคา Saturation และ Lightness

4. คลิกเมาส

Page 158: Gimp Complete Book - คํมือ Gimp ภาษาไทย

Page 154

การปรับภาพใหเปนสีขาว และสีดําดวย Threshold Tool  ลักษณะการปรับภาพแบบนี้ จะเปนการปรับภาพทั้งภาพใหเปนภาพ 2 สี คือขาว และดํา โดยจะเปลี่ยนคาสีในภาพเปนขาวหรือดํา โดยจะพิจารณาจากคา Threshold โดยสามารถกําหนดสีคาได 2 ชวง เชน กําหนดใหคาในชวงแรกเปน 70 จะทําใหสีที่มีคาอยูในชวง 1-70 ถูกเปลี่ยนเปนสีดํา และ 71-255 เปนสีขาว ถาเรากําหนดชวงที่ 2 ดวยใหมีคา 200 จะทําใหสีที่มีคาอยูในชวง1-70 และ 200-255 ถูกเปลี่ยนเปนสีดํา และในชวง 71-199 เปนสีขาว

1. คลิกเลือก ที่ Image Window>Colors

2. จะปรากฏหนาตาง Threshold

3. คลิก เลื่อนแถบสไลดเพื่อปรับคา Threshold ชวงที่ 1

4. คลิก เลื่อนแถบสไลดเพื่อปรับคา Threshold ชวงที่ 2

5. จากนั้นคลิกปุม เมื่อปรับไดภาพตามที่ตองการแลว

1. คลิกเลือก Colors>Brightness-Contrast…

2. คลิกเมาสภายในภาพที่ตองการปรับแตงสี

3. เลื่อนแถบสไลดเพื่อใหไดภาพตามที่ตองการ

4. คลิกเมาส

Page 159: Gimp Complete Book - คํมือ Gimp ภาษาไทย

Page 155

กําหนดคุณสมบัติเพิ่มเติมเก่ียวกับเครื่องมือ Threshold  เราสามารถกําหนดคุณสมบัติเพิ่มเติมของเครื่องมือ Threshold ไดที่ Tool Options ดานลางของหนาตาง Main Toolbox ซึ่งมีรายละเอียดดังนี้

ปรับแตงสีของภาพดวย Level Tool  เปนการปรับความสวางของภาพ โดยอาศัยขอมูลของกราฟ Histogram สามารถปรับระดับสีของภาพใหเขมขึ้นหรือจางลงได โดยอาศัยหลักการเพิ่มสีดํา (Shadow) และโทนสีขาว (Highlight) และปรับระดับสีภาพใหอยูระดับกลาง (Midtone) โดยจุดประสงคในการปรับนั้นเนนเรื่องความสวาง-มืดของภาพและความชัดเจนของสีเปนสําคัญ ตอไปนี้เรามาลองใชงาน Level โดยมาปรับใหภาพมีบรรยากาศที่เปลี่ยนไปดังนี้

1. คลิกเลือก Colors>Threshold…

2. คลิกเมาสภายในภาพที่ตองการปรับแตงสี

3. คลิกเลื่อนคาสีชวงที่ 1 หรือ ใสคาสีชวงที่ 1

4. คลิกเลื่อนคาสีชวงที่ 2 หรือ ใสคาสีชวงที่ 2

5. คลิกเมาส

Page 160: Gimp Complete Book - คํมือ Gimp ภาษาไทย

Page 156

1. คลิกเลือก ที่ Image Window>Colors

2. จะปรากฏหนาตาง Level

3. คลิกเลือก Channel สีที่ตองการ (ถาตองการปรับสีทุกแชนแนล เลือกแบบ Value)

4. คลิกเลื่อนแถบสไลดเพื่อปรับคาไปทางซายหรือขวา เพื่อปรับความมืดความสวางของภาพ • ลูกศรสีดํา (Shadow) ถาเลื่อนไปทางขวา หมายถึง การเติมสีดํา จะทําใหภาพมีความสวางนอยลง • ลูกศรสีเทา (Midtone) เปนการปรับภาพใหอยูระดับกลางๆ มีทั้งสีดํา และสีขาวเทาๆ กัน

• ลูกศรสีขาว (Highlight) ถาเลื่อนไปทางซาย หมายถึงการเติมสีขาวมากขึ้น จะทําใหภาพมีความสวางมากขึ้น

5. คลิกเลื่อนแถบสไลดเพื่อปรับคาไปทางซายหรือขวา เพื่อปรับโทนสีของภาพ

• ลูกศรสีดํา เลื่อนไปทางขวา โทนสีจะยิ่งออนมากขึ้น

• ลูกศรสีขาว เลื่อนไปทางซายโทนสีจะยิ่งเขมมากขึ้น

6. จากนั้นคลิกปุม เมื่อปรับไดภาพตามที่ตองการแลว

1. คลิกเลือก Colors>Level…

2. คลิกเมาสภายในภาพที่ตองการปรับแตงสี

Page 161: Gimp Complete Book - คํมือ Gimp ภาษาไทย

Page 157

ปรับระดับแสงเงาภาพดวย Curve Tool

เปนการปรับความสวางของภาพ สามารถปรับระดับสีของภาพใหเขมขึ้นหรือจางลงได โดยอาศัยหลักการเพิ่มสีดํา (Shadow) และโทนสีขาว (Highlight) และปรับระดับสีภาพใหอยูระดับกลาง (Midtone) โดยจุดประสงคในการปรับนั้นเนนเรื่องความสวาง-มืดของภาพและความชัดเจนของสี สามารถตั้งคาความสวางเฉพาะจุดได ทําใหภาพที่ออกมามีมิติมากขึ้น กราฟ Curve จะแสดงการเปรียบเทียบคาสีเดิมกับและคาสีใหม กอนปรับแตงมาดูรายละเอียดของหนาตาง Curve ดังนี้

ปรับระดับแสงเงาภาพดวย Curve Tool  เปนการปรับความสวางของภาพ สามารถปรับระดับสีของภาพใหเขมขึ้นหรือจางลงได โดยอาศัยหลักการเพิ่มสีดํา (Shadow) และโทนสีขาว (Highlight) และปรับระดับสีภาพใหอยูระดับกลาง (Midtone) โดยจุดประสงคในการปรับนั้นเนนเรื่องความสวาง-มืดของภาพและความชัดเจนของสี สามารถตั้งคาความสวางเฉพาะจุดได ทําใหภาพที่ออกมามีมิติมากขึ้น กราฟ Curve จะแสดงการเปรียบเทียบคาสีเดิมกับและคาสีใหม กอนปรับแตงมาดูรายละเอียดของหนาตาง Curve ดังนี้

3. เลือก Channel สีเปน Value

4. ลากลูกศรไป ทางซายหรือขวา เพื่อปรับความมืด ความสวางของภาพ

5. ลากลูกศรไป ทางซายหรือขวาเพื่อปรับโทนสีของภาพ

6. คลิกเมาส

Page 162: Gimp Complete Book - คํมือ Gimp ภาษาไทย

Page 158

ในตัวอยางนี้เราจะปรับภาพแมวสองตัวนี้ใหสวางขึ้น โดยการใชเครื่องมือ Curve Tool โดยทําตามขั้นตอนดังนี้

1. คลิกเลือก ที่ Image Window>colors จะปรากฏหนาตาง Curve

2. เลือก Channel ของสีที่เราตองการปรับแตง 3. ปรับความสวางและความชัดของภาพ โดยสามารถทําการปรับ Curve ได 2 วิธี คือ ปรับโดยการลากเสน

Curve และปรับดวยการวาดเสน Curve เอง

4. จากนั้นคลิกปุม เมื่อปรับคาสีเรียบรอยแลว

คลิกเลือกลักษณะของ Histograms ที่แสดง เลือก Channel ที่

ตองการปรับ

แกน Y แทนคาเดิมของสีมีคาตั้งแต 0-255 แกน X แทนใหมของสี หลังปรับแตงมี

คาตั้งแต 0-255

เลือกชนิดของ Curve

1. คลิกเลือก Colors>Curve…

2. คลิกเมาสภายในภาพที่ตองการ

ปรับแตงสี

Page 163: Gimp Complete Book - คํมือ Gimp ภาษาไทย

Page 159

 

กําหนดคุณสมบัติเพิ่มเติมเก่ียวกับเครื่องมือ Level Tool และ Curve Tool  เราสามารถกําหนดคุณสมบัติเพิ่มเติมของเครื่องมือ Level Tool และ Curve Tool ไดที่ Tool Options

ดานลางของหนาตาง Main Toolbox ซึ่งมีรายละเอียดที่เหมือนกันดังนี้

ปรับ/ลดโทนสีในภาพดวย Posterize Tool  เปนการกําหนดลักษณะโทนสีใหแตละ Channal ตัวอยางเชน ถาเราเลือกเปน 2 ระดับในโหมดภาพ RGB

จะทําใหภาพนั้นมี 6 สีประกอบดวย สีแดง 2 ระดับ สีเขียว 2 ระดับ และสีน้ําเงิน 2 ระดับ ซึ่งเอฟเฟกตนี้จะเหมาะกับการแตงภาพขนาดใหญ เชน ภาพโปสเตอรโฆษณา สังเกตวาถากําหนด Level (ระดับ) นอยๆ จะทําใหเห็นการไลโทนสีอยางเดนชัด หากกําหนด Level (ระดับ) มากๆ ก็จะไมเห็น ซึ่งมีขั้นตอนในการปรับ/ลดโทนสี ดังนี้

3. เลือก Channel

4.1 ปรับโดยการลากเสน Curve 4.2 ปรับโดยการวาดเสน Curve

5. คลิกเมาส

กําหนดลักษณะของ Histogram ที่แสดง

Sample average เปนการกําหนดคารัศมีของพื้นที่สีในการปรับภาพ

Page 164: Gimp Complete Book - คํมือ Gimp ภาษาไทย

Page 160

1. คลิกเลือก ที่ Image Window>colors จะปรากฏหนาตาง Posterize

2. ทําการเลื่อนแถบสไลดเพื่อปรับคา Posterize ใหกับภาพ

3. จากนั้นคลิกปุม เมื่อปรับไดสีตามที่ตองการแลว

1. คลิกเลือก Colors>Posterize

2. คลิกเมาสภายในภาพที่ตองการปรับแตงสี

3. ทําการเลื่อนแถบสไลด เพื่อปรับระดบัสีซึ่งมีคาระหวาง 0-256

4. คลิกเมาส

Page 165: Gimp Complete Book - คํมือ Gimp ภาษาไทย

Page 160

บทที่ 11 ตกแตงภาพดวยการรีทัช 

เมื่อเราจัดเตรียมภาพ เพื่อนํามาประกอบในการสรางชิ้นงาน หลายครั้งเราอาจตองปรับแตงภาพตนฉบับนั้นใหตรงกับแนวของงานที่เราตองการมากที่สุด และการปรับเปลี่ยนหรือแกไขภาพในลักษณะที่จะกลาวถึงตอไปนี้ เปนอีกความสามารถหนึ่งของโปรแกรม GIMP โดยเราสามารถทําการปรับภาพใหดูเบลอเปนภาพที่นุมนวลขึ้น การลบริ้วรอยไมพ่ึงประสงคในภาพ การเกลี่ยสีภาพใหดูแปลกตาหรือกลมกลืนมากยิ่งขึ้น ซึ่งเทคนิคเหลานี้เราพบไดในการตกแตงภาพของนางแบบที่ใชในการขึ้นปกนิตยสารนั่นเอง

Retouch เทคนิคการแตงภาพสําหรับ GIMP  รีทัช (Retouch) เปนคําศัพทที่เรียกใชการแตงภาพเฉพาะจุด เพื่อใหภาพในสวนที่เปนตําหนิไดรับการแกไขใหดียิ่งขึ้น และรวมไปถึงการผสมผสานภาพที่นํามาตัดตอใหดูเขากันอยางกลมกลืน ใน GIMP นั้น มีเครื่องมือสําหรับการ Retouch ดังนี้

ปรับความคมชัดของภาพดวย Convolve Tool  Convolve Tool เปนเครื่องมือในหนาตาง Main Toolbox ที่ใชสําหรับตกแตงภาพใหมีความเบลอ (Blur) หรือชัดเจน (Sharpen) มากยิ่งขึ้น จะเห็นไดวาคุณสมบัติการใชงานของ Convolve Tool แบงอยางไดอยางชัดเจน ซึ่งเราทําการกําหนดชนิดของ Convolve Tool ใหเปนแบบ Blur หรือ Sharpen ไดจาก Tool Option

ซึ่งแตละชนิดมีขั้นตอนดังนี้

สรางภาพเบลอ (Blur)  จะทําใหภาพดูเบลอพลามัว ซึ่งเราสามารถนําไปประยุกตในการปรับแตงภาพ ดังตัวอยางเราจะปรับภาพพื้นหลังรอบๆ นางแบบใหดูเบลอ เพื่อเสริมใหตัวนางแบบดูโดดเดนขึ้นมา

Clone Tool Dodge/Burn Tool

Heal Tool Smudge Tool

Perspective Clone Tool

Blur / Sharpen Tool

Page 166: Gimp Complete Book - คํมือ Gimp ภาษาไทย

Page 161

1. คลิกเลือก Covolve Tool ที่ Toolbox จะปรากฏตัวช้ีเมาสรูป ของหัวแปรง 2. กําหนดรายละเอียดของ Covolve Tool ใน Tool Option เลือก Convolve Type เปน Blur และ

กําหนดรายละเอียดตางๆ ดังนี้ o Opacity ใชกําหนดคาความโปรงแสงของสีเทลงไป

o Mode กําหนดโหมดในการผสมสีระหวางสีเทลงไปกับสีของภาพเดิม

o Brush เลือกขนาดและลักษณะของหัวแปรง o Pressure sensitivity ต้ังคาเพิ่มเติมเกี่ยวกับความไวของแรงกด

o Fade out เปนการกําหนดลัษณะการปรับภาพแบบคอยๆจาง เมื่อคลิกเลือกจะสามารถกําหนด Length เพื่อใหกําหนดระยะการจางหายของภาพ

o Hard edge กําหนดใหขอบของแปรงตกแตงภาพไมมีการไลสี ทําใหสวนที่ตกแตงดูแข็ง o Convolve Type เปนการกําหนดชนิดของ Convolve มี 2 ชนิดคือ

Blur การทําใหภาพเบลอ

Sharpen การทําใหภาพคมชัดขึ้น

o Rate เปนการกําหนดอัตราความเบลอหรือความคมชัด

3. ลากเมาสบริเวณที่ตองการทําใหภาพเบลอ (จากตัวอยาง เราทําใหบริเวณภาพรอบๆ ใบหนานางแบบเบลอ เพื่อใหภาพนุมนวล)

1. คลิกเลือก Convolve Tool

2. กําหนดคุณสมบัติเครื่องมือ และเลือกชนิดของ Convolve เปน Blur

3. ลากเมาสไปมาบริเวณที่ตองการทําใหภาพเบลอ

Page 167: Gimp Complete Book - คํมือ Gimp ภาษาไทย

Page 162

สรางความคมชัดใหกับภาพ (Sharpen)   ชวยเนนความเขมของขอบภาพและเพิ่มความคมชัดของภาพ (มีลักษณะการใชงานตรงขามกับการทําภาพเบลอ) เครื่องมือนี้จะชวยทําใหภาพดูชัดขึ้น แตตองระวังตรงที่วาถาใชมากอาจทําใหภาพที่ไดดูแข็งกระดางไป

ในตัวอยางนี้ เราจะใชประโยชนของ Sharpen แตงหนานางแบบที่เดิมเปนภาพที่ดูกลมกลืน แตจะแตงใหบางสวนเดนชัดขึ้น ดังภาพ

1. คลิกเลือก Covolve Tool ที่ Toolbox

2. กําหนดรายละเอียดของ Covolve Tool ใน Tool Option เลือก Convolve Type เปน Sharpen

จะปรากฏตัวช้ีเมาสรูป ของหัวแปรงและกําหนดรายละเอียดตางๆ

3. ลากเมาสบริเวณที่ตองการทําใหภาพคมชัด (จากตัวอยาง เราทําใหบริเวณใบหนาของผูหญิงดูคมชัดขึ้น)

กอนปรับภาพ หลังปรับภาพ

1. คลิกเลือก Convolve Tool

2. กําหนดคุณสมบัติของเครื่องมือ และเลือกชนิดของ Convolve เปน Sharpen

4. ลากเมาสไปมาบริเวณที่ตองการทําใหภาพคมชัดขึ้น

Page 168: Gimp Complete Book - คํมือ Gimp ภาษาไทย

Page 163

เกล่ียสีภาพดวย Smudge Tool  Smudge Tool เปนเครื่องมือที่มีลักษณะการทํางานคลายๆ กับการเอานิ้วเกลี่ยสีที่เปยก เพื่อกระจายไปตามทิศทางที่นิ้วเกลี่ยนั้น โดยในตัวอยาง เราจะเกลี่ยภาพนางแบบใหกลมกลืนกับฉากหลังที่เปนเปลวไฟ ทําใหภาพดูแปลกตาออกไปเหมือนกับภาพกราฟก

1. คลิกเลือก Smudge Tool ที่ Toolbox จะปรากฏตัวช้ีเมาสรูป ของ หัวแปรง 2. กําหนดรายละเอียดของ Smudge Tool ใน Tool Option ดังนี้

o Opacity ใชกําหนดคาความโปรงแสงของสีเทลงไป

o Mode กําหนดโหมดในการผสมสีระหวางสีเทลงไปกับสีของภาพเดิม

o Brush เลือกขนาดและลักษณะของหัวแปรง o Pressure sensitivity ต้ังคาเพิ่มเติมเกี่ยวกับความไวของแรงกด

o Fade out เปนการกําหนดลัษณะการปรับภาพแบบคอยๆ จาง เมื่อคลิกเลือกจะสามารถกําหนด Length เพื่อใหกําหนดระยะการจางหายของภาพ

o Hard edge กําหนดใหขอบของแปรงตกแตงภาพไมมีการไลสี ทําใหสวนที่ตกแตงดูแข็ง o Rate เปนการกําหนดอัตราความเบลอหรือความคมชัด

3. ลากเมาสบริเวณที่ตองการ (จากตัวอยาง เราจะทําการเกลี่ยเฉพาะขอบภาพของนางแบบใหดูกลมกลืนกับฉากหลังที่เปนเปลวไฟ)

กอนปรับภาพ หลังปรับภาพ

1. คลิกเลือก Smudge Tool

2. กําหนดคุณสมบัติของเครื่องมือ

3. ลากเมาสบริเวณที่ตองการเกลี่ยสี

Page 169: Gimp Complete Book - คํมือ Gimp ภาษาไทย

Page 164

ปรับโทนสีของภาพโดยใช Dodge/Burn Tool  Dodge/Burn Tool เปนเครื่องมือในการปรับความสวาง (Dodge) และความมืด (Burn) ของภาพเพียงบางสวน จะเห็นวาเครื่องมือเดียวไดทําการรวมชนิดการใชงานไวทั้ง 2 รูปแบบ ซึ่งเราสามารถเลือกชนิดการใชงานไดจากออปช่ันในหนา Main Toolbox

ปรับภาพใหสวางขึ้นเฉพาะสวน (Dodge)  ใชปรับความสวางของภาพเฉพาะบางสวนใหสวางขึ้นดวยสีของภาพเอง หรือเรียกงายๆ วาเปนการสราง Highlight ใหกับภาพ โดยในตัวอยางนี้ เราจะปรับภาพดอกไมที่คอนขางมืดใหสวางขึ้น ดังนี้

1. คลิกเลือก Dodge/Burn Tool ที่ Toolbox จะปรากฏตัวช้ีเมาสรูป

2. กําหนดรายละเอียดของ Dodge/Burn Tool ใน Tool Option เลือก Type เปน Dodge และกําหนดรายละเอียดตางๆ ดังนี้

o Opacity ใชกําหนดคาความโปรงแสงของสีเทลงไป

o Mode กําหนดโหมดในการผสมสีระหวางสีเทลงไปกับสีของภาพเดิม

o Brush เลือกขนาดและลักษณะของหัวแปรง o Pressure sensitivity ต้ังคาเพิ่มเติมเกี่ยวกับความไวของแรงกด

o Fade out เปนการกําหนดลัษณะการปรับภาพแบบคอยๆ จาง เมื่อคลิกเลือกจะสามารถกําหนด Length เพื่อใหกําหนดระยะการจางหายของภาพ

o Hard edge กําหนดใหขอบของแปรงตกแตงภาพไมมีการไลสี ทําใหสวนที่ตกแตงดูแข็ง o Type เปนการกําหนดชนิดของเครื่องมือ มี 2 ชนิดคือ

Dodge การปรับภาพใหสวางขึ้นเฉพาะสวน

Burn การปรับภาพใหสีเขมขึ้นเฉพาะสวน

o Mode เปนการเลือกสวนของสีภาพที่จะทําการปรับ มีใหเลือก 3 โหมด คือ

Shadow สวนของเงามืดภายในภาพ

Midtones สวนของสีหลักภายในภาพ

Highlights สวนแสงสวางภายในภาพ

Page 170: Gimp Complete Book - คํมือ Gimp ภาษาไทย

Page 165

o Exposure เปนคาของแสงที่ปรับความมืด และสวางใหกับภาพ โดยคานอยจะทําใหการ Highlights นอย แตถามีคามากก็มีการ Highlight มาก ในที่นี้กําหนดใหคา Exposure มีคาเทากับ 50%

3. ลากเมาสบริเวณที่ตองการสราง Highlight ของภาพ สังเกตวาภาพสวนนั้นจะสวางขึ้น

ปรับภาพใหสีเขมข้ึนเฉพาะสวน (Burn)  ใชปรับใหภาพมืดลงในบางสวนหรือเรียกงายๆ วา เปนการสราง Shadow (เงา) ใหกับภาพ ซึ่งในตัวอยางนี้ เราจะลองปรับแตงภาพวิวชายทะเลในบางสวนใหดูมีแสงเงา

1. คลิกเลือก Dodge/Burn Tool ที่ Toolbox

1. คลิกเลือก Dodge/Burn Tool

2. กําหนดคุณสมบัติของเครื่องมือ

เลือกชนิดของ เคร่ืองมือเปน Dodge

กําหนดคา Exposure เทากับ 50%

3. ลากเมาสบริเวณที่ตองการปรับความสวาง

Page 171: Gimp Complete Book - คํมือ Gimp ภาษาไทย

Page 166

2. กําหนดรายละเอียดของ Dodge/Burn Tool ใน Tool Option เลือก Type เปน Burn จะปรากฏตัวช้ี

เมาสรูป กําหนดคา Exposure ถาปรับคานอยการสรางแสงเงาจะนอย และถาคามากก็มีการสรางเงามาก ในที่นี้กําหนดใหคา Exposure มีคาเทากับ 50%

3. ลากเมาสบริเวณที่ตองการสรางเงาของภาพ (จากตัวอยาง เราทําใหภาพวิวในบางสวนที่ไมโดนแสงอาทิตยใหมีแสงเงาที่มืดลง)

TIP ในขณะใชเครื่องมือ Convolve Tool และ Dodge/Burn Tool ทําการปรับแตงภาพอยูนั้น เราสามารถ

เปลี่ยนชนิดของ เครื่องมือไดงายๆ โดยการกด <Ctrl> ที่คียบอรดคางไว

การทําสําเนาภาพดวย Clone Tool 

Clone Tool สามารถทํางานได 2 ลักษณะไดแกเปนเครื่องมือที่ใชสําหรับการคัดลอกภาพ และใสลวดลายลงในภาพ เราสามารถกําหนดลัษณะการทํางานของเครื่องมือจาก Tool Option

โคลนนิ่งภาพ (Image source) ใชทําสําเนาแบบหนึ่งตอหนึ่ง หรือเรียกวา “โคลนนิ่งภาพ” โดยจะใชบางสวนของภาพที่เลือกไวมาสรางเปนภาพ

ที่เหมือนกันในพื้นที่ใหม ดังตัวอยางเราจะสําเนารูปประสาทหินใหเปนหลายชุดเพื่อตกแตงภาพใหดูนาสนใจมากขึ้น

1. คลิกเลือก Dodge/Burn Tool

2. กําหนดคุณสมบัติของเครื่องมือ

เลือกชนิดของเครื่องมือเปน Burn

กําหนดคา Exposure เทากับ 50%

3. ลากเมาสบริเวณที่ ตองการปรับใหภาพมืดลง

Page 172: Gimp Complete Book - คํมือ Gimp ภาษาไทย

Page 167

1. คลิกเลือก Clone Tool ที่ Toolbox จะปรากฏตัวช้ีเมาสรูป

2. กําหนดรายละเอียดของ Clone Tool ใน Tool Option เลือก Source เปน Image source และกําหนดรายละเอียดตางๆ ดังนี้ o Opacity ใชกําหนดคาความโปรงแสงของสีเทลงไป

o Mode กําหนดโหมดในการผสมสีระหวางสีเทลงไปกับสีของภาพเดิม

o Brush เลือกขนาดและลักษณะของหัวแปรง o Pressure sensitivity ต้ังคาเพิ่มเติมเกี่ยวกับความไวของแรงกด

o Fade out เปนการกําหนดลัษณะการปรับภาพแบบคอยๆ จาง เมื่อคลิกเลือกจะสามารถกําหนด Length เพื่อใหกําหนดระยะการจางหายของภาพ

o Hard edge กําหนดใหขอบของแปรงตกแตงภาพไมมีการไลสี ทําใหสวนที่ตกแตงดูแข็ง o Source เปนการกําหนดที่มาของการทําสําเนา มี 2 ลักษณะ คือ

Image source การใชบางสวนของภาพที่เลือกไวเปนภาพที่เหมือนกันในพื้นที่ใหม

Pattern source การสรางลวดลายใหกับภาพโดยใชแพทเทริน

o Alignment เปนการกําหนดตําแหนงของภาพตนแบบใน 3 ลักษณะ (ในตัวอยางใหเลือกแบบ Aligned เพื่อใหการทําสําเนาเปนแบบตอเนื่อง)

Non-Aligned ภาพตนแบบจะเปนภาพตําแหนงเติมไมวาจะทําการวาดใหมก่ีครั้งก็ตาม

Aligned ภาพตนแบบจะเปลี่ยนตามตําแหนงที่เราวาด แตระยะหางระหวางภาพตนแบบและสําเนาจะเทากัน

Registered ภาพตนแบบ จะเปนตําแหนงเดียวกับที่เราวาดภาพใหม

3. กําหนดตําแหนงภาพเปนตนแบบ โดยกดแปน <Ctrl> คางไว ตัวช้ีเมาสจะเปลี่ยนเปนรูป แลวคลิกเมาสที่ตําแหนงที่เราตองการใหเปนตําแหนงเริ่มตน

4. ลากเมาสระบายบริเวณที่เราตองการใหสําเนาภาพ โดยใหสังเกตเครื่องหมาย เปนหลัก ถาเครื่องหมายนี้

ปรากฏอยูบริเวณใด ภาพที่ปรากฏในพื้นที่ใหมจากตัวช้ีเมาสรูป จะเปนภาพเดียวกัน (ในขณะนี้เราสามารถเปลี่ยนขนาดหัวพูกันเพื่อความสะดวกได)

2. กําหนดคุณสมบัติของเครื่องมือ เลือก Image เปนที่มาของการทําสําเนา

Page 173: Gimp Complete Book - คํมือ Gimp ภาษาไทย

Page 168

 

การใชงาน Perspective Clone Tool เครื่องมือนี้จะชวยเราในการคัดลอกรูปภาพโดยรักษาสัดสวน Perspective ที่ถูกตอง โดยมีวิธีการดังตอไปน้ี

1. คลิกเลือก Perspective Clone Tool ที่ Toolbox จะปรากฏตัวช้ีเมาสรูป

1. คลิกเลือก Clone Tool

2. กําหนดคุณสมบัติของเครื่องมือ เลือก

Image source เปนที่มาของการทําสําเนา

Aligned เพื่อการทําสําเนาอยางตอเนื่อง

3. กดแปน <Alt> คางไวแลวคลิกเมาส ตําแหนงที่ตองการ

4. คลิกเมาสและลากเมาสระบายบริเวณที่

ตองการแปะภาพ

ภาพผลลัพธของการโคลนนิ่งภาพ

กอนปรับภาพ หลังปรับภาพ คนที่คัดลอกมาใหมมีสัดสวนสัมพันธกับมุมมองของรูปโดยรวม

Page 174: Gimp Complete Book - คํมือ Gimp ภาษาไทย

Page 169

2. กําหนดรายละเอียดของ Perspective Clone Tool ใน Tool Option เลือก Modify Perspective

3. ปรับเสน Perspective ใหเขากับทิศทางมุมมองของรูปภาพ

4. เมื่อไดมุมที่ตองการแลว คลิกที่ Perspective Clone กําหนดคุณสมบัติตางๆ ตามที่ตองการ ดังนี้ • Mode กําหนดโหมดในการผสมสีระหวางสีเทลงไปกับสีของภาพเดิม

• Opacity ใชกําหนดคาความโปรงแสงของสีเทลงไป

• Brush เลือกลักษณะของหัวแปรง • Scale เลือกขนาดของหัวแปรง • Fade out เปนการกําหนดลัษณะการปรับภาพแบบคอยๆ จาง เมื่อคลิกเลือกจะสามารถกําหนด

Length เพื่อใหกําหนดระยะการจางหายของภาพ

• Hard edge กําหนดใหขอบของแปรงตกแตงภาพไมมีการไลสี ทําใหสวนที่ตกแตงดูแข็ง • Source เปนการกําหนดที่มาของการทําสําเนา มี 2 ลักษณะ คือ

o Image source การใชบางสวนของภาพที่เลือกไวเปนภาพที่เหมือนกันในพื้นที่ใหม

o Pattern source การสรางลวดลายใหกับภาพโดยใชแพทเทริน

• Alignment เปนการกําหนดตําแหนงของภาพตนแบบใน 3 ลักษณะ (ในตัวอยางใหเลือกแบบ Aligned เพื่อใหการทําสําเนาเปนแบบตอเนื่อง)

o Non-Aligned ภาพตนแบบจะเปนภาพตําแหนงเดิมไมวาจะทําการวาดใหมก่ีครั้งก็ตาม

o Aligned ภาพตนแบบจะเปลี่ยนตามตําแหนงที่เราวาด แตระยะหางระหวางภาพตนแบบและสําเนาจะเทากัน

o Registered ภาพตนแบบ จะเปนตําแหนงเดียวกับที่เราวาดภาพใหม o Fixed กําหนดตําแหนงที่แนนอน

5. เลือกพื้นที่ตนแบบ โดยกด <Control> คางไว ขณะคลิกเมาสเลือกพื้นที่ เมาสจะเปลี่ยนเปนรูป

6. คลิกเมาสพ้ืนที่ที่ตองการคัดลอกภาพลงไป

7. จะไดภาพที่คัดลอกที่มีสัดสวนและทิศทาง Perspective สมจริง

1. คลิกเลือกเครื่องมือ Perspective Clone Tool

2. เลือก Modify Perspective

ภาพตนฉบับ

3. ปรับเสน Perspective ใหเขากับทิศทางมุมมองของรูปภาพ

Page 175: Gimp Complete Book - คํมือ Gimp ภาษาไทย

Page 170

กําหนดคุณสมบัติตางๆ ตามที่ตองการ 4. คลิกเลือก Perspective Clone

5. เลือกพื้นที่ตนแบบ โดยกด <Control> คางไว ขณะคลิกเมาสเลือกพื้นที ่

6. คลิกเมาสบริเวณพื้นที่ที่ตองการคัดลอกภาพลงไป

7. จะไดภาพผลลัพทที่คัดลอกที่มีสัดสวนและทิศทาง Perspective สมจริง

Page 176: Gimp Complete Book - คํมือ Gimp ภาษาไทย

Page 171

สรางลวดลายใหกับภาพดวย (Pattern source)  ใชสําหรับสรางลวดลายใหกับภาพ โดยมีวิธีคราวๆ คือเราตองกําหนดหรือสรางรูปแบบภาพ (Pattern)

เสียกอน หลังจากนั้นจึงระบายภาพนั้นลงไปไดตามตองการ ดังตัวอยางนี้ เราจะสรางลวดลายใหกับเสื้อของนางแบบ โดยจะเปลี่ยนใหเปนเสื้อมีแขนจากลวดลาย ดังกลาว ดังนี ้

1. คลิกเลือก Clone Tool ที่ Toolbox จะปรากฏตัวช้ีเมาสรูป

2. กําหนดรายละเอียดของ Clone Tool ใน Tool Option เลือก Source เปน Pattern source เลือกลวดลายที่จะใชใน Pattern

3. เลือกพื้นที่ใหกับสวนที่ตองการใสลวดลาย (ในกรณีที่เราตองการระบายลวดลายเฉพาะจุด)

4. ระบายบริเวณที่เราตองการใหลวดลายปรากฏ

1. คลิกเลือก Clone Tool

2. กําหนดคุณสมบัติของเครื่องมือ เลือก Pattern source เปน

ที่มาของการทํา

เลือกลวดลายที่จะใช

Page 177: Gimp Complete Book - คํมือ Gimp ภาษาไทย

Page 172

3. เลือกพื้นที่ในสวนที่ตองการใสลวดลาย

4. ลากเมาสเพื่อใสลวดลายใหทั่วทั้งพื้นที่ Selection

ภาพผลลัพธของการใสลวดลายใหกับภาพ

Page 178: Gimp Complete Book - คํมือ Gimp ภาษาไทย

Page 173

บทที่ 12 การตกแตงภาพอยางสรางสรรคดวยฟลเตอร 

เมื่อเราทํางานกราฟก จะพบวาการตกแตงภาพในบางลักษณะ ก็เปนเรื่องที่เราตองทํากันบอยๆ และอาจจะมีขั้นตอนที่ซับซอน ในบทนี้เราจะมาใชเครื่องมือ ช้ินหนึ่งที่ GIMP ไดรวบรวมเทคนิคการตกแตงภาพเกี่ยวกับงานที่เรานิยมใชกัน มาชวยใหเราทํางานตกแตงภาพเหลานั้นไดงายและรวดเร็วยิ่งขึ้นภายในไมก่ีขั้นตอน เครื่องมือนั้นคือ “ฟลเตอร”

ฟลเตอรคืออะไร  ฟลเตอร (Filter) เปนคําสั่งพิเศษที่ตกแตงภาพไดสวยงามภายในคําสั่งเดียว โดยจะชวยลดความยุงยากในการตกแตงภาพที่มีขั้นตอนมากมายใหนอยลง เชน เราจะสรางแสงใหกับภาพ แทนที่เราตองมาทําทีละขั้นตอน คือ สรางเลเยอรใหม คัดลอกภาพลงเลเยอร แลวลงสี ปรับคา Opacity ฯลฯ แตเมื่อเราเรียกใชคําสั่งฟลเตอร เพียงครั้งเดียว ก็สามารถกําหนดคาตางๆ ดังที่กลาวมาและไดผลลัพธออกมาในเวลาที่รวดเร็ว

กฏการใชงานฟลเตอร  ลักษณะของการตกแตงภาพดวยการใชฟลเตอรนั้น เปนเหมือนกับการซอนภาพดวยแผนฟลมบางๆ ที่ชวยเปลี่ยนใหภาพปกติแปลกตาออกไป เหมือนกับการถายภาพดวยการใสฟลเตอรใหกับเลนสของกลอง สีที่ออกมาหรือรูปแบบที่ออกมานั้นจะทําใหภาพตางออกไปจากความเปนจริง ซึ่งการทํางานของฟลเตอรมีกฏงายๆ ดังนี้

o ฟลเตอรจะทํางานกับเลเยอรที่ถูกเลือกหรืออยูในสภาวะ Active และ Visible เทานั้น

o บางฟลเตอรนั้นสามารถใชไดกับเฉพาะภาพ RGB และบางฟลเตอรไมสามารถใชกับภาพในโหมด Grayscale และ Indexed ได

Page 179: Gimp Complete Book - คํมือ Gimp ภาษาไทย

Page 174

o ทุกฟลเตอรสามารถใชไดกับภาพ 8 บิต แตจะมีบางฟลเตอรที่สามารถใชกับภาพ 16 บิตไดดวย เชน Blur,

Gaussian Blur, Motion Blur, Noise, Despeckle, Sharpen, Unsharp Mask และ Emboss เปนตน (ซึ่งจะแสดงตัวอยางในบทนี้)

o การใชงานฟลเตอรบางตัวจําเปนตองใชเครื่องที่มีหนวยความจําสูงมาก

วิธีการใชงานฟลเตอร  เราสามารถเรียกใชฟลเตอรไดโดยเลือกที่คําสั่ง Filter ที่หนาตาง Image Menu และเลือกฟลเตอรที่ตองการใส ตัวอยางจะทําการใสฟลเตอร Gaussian Blur ดังนี้

1. เลือกคําสั่ง Filter>Blur>Gaussian Blur

2. จะปรากฏหนาตางฟลเตอร Gaussian Blur ใหเรากําหนดคาตางๆ 3. คลิกปุม เพื่อตกลงใชคา

TIP หากเราตองการใสฟลเตอรที่ เพิ่งใสซ้ําลงไปอีกครั้ง สามารถทําไดอยางรวดเร็ว โดยการกดคีย <Ctrl+F> หรือ

ถาตองการใสฟลเตอรชนิดเดิมซ้ําแตตองการเปลี่ยนคาที่กําหนดใหตางไปจากเดิม สามารถทําไดโดยกดคีย <Shift+Ctrl+F> จะปรากฏ หนาตางกําหนดคาของฟลเตอรชนิดนั้นเพื่อใหเรากําหนดคาได

1. เลือกคําสั่ง Filter>Blur>Gaussian Blur

หนาตาง Preview

2. กําหนดคาตางๆ 3. คลิกเมาส

Page 180: Gimp Complete Book - คํมือ Gimp ภาษาไทย

Page 175

ตัวอยางฟลเตอรใน GIMP 

กลุมฟลเตอรแบบ Blur เปนกลุมฟลเตอรที่ชวยใหภาพออนนุม ลง ดูกลมกลืน โดยใชคําสั่ง Filter>Blur> ฟลเตอรที่กําหนด

กลุมฟลเตอรแบบ Colors เปนกลุมฟลเตอรในการตกแตงสีให กับภาพ โดยใชคําสั่ง Filter>Colors>ฟลเตอรที่กําหนด

ภาพตนฉบับ

ภาพตนฉบับ

Page 181: Gimp Complete Book - คํมือ Gimp ภาษาไทย

Page 176

Page 182: Gimp Complete Book - คํมือ Gimp ภาษาไทย

Page 177

กลุมฟลเตอรแบบ Noise  เปนกลุมฟลเตอรที่จะเพิ่มจุดเม็ดสีเขา ไปในภาพโดยใชคําสั่ง FilterNoise>ฟลเตอรที่กําหนด

กลุมฟลเตอรแบบ Edge‐Detect  เปนกลุมฟลเตอรที่ใชสําหรับตกแตง เสนของขอบภาพ โดยโปรแกรมจะทําการคนหาขอบภาพ และโครงรางของวัตถุในภาพ โดยประมวลผลจากความตางสี โดยใชคําสั่ง Filters>Edge-Detect>ฟลเตอรที่กําหนด

ภาพตนฉบับ

ภาพตนฉบับ

Page 183: Gimp Complete Book - คํมือ Gimp ภาษาไทย

Page 178

กลุมฟลเตอรแบบ Enhance  เปนกลุมฟลเตอรที่ใชสําหรับปรับภาพ ใหดูคมชัดหรือโดดเดนขึ้น โดยใชคําสั่ง Filters>Enhance>ฟลเตอรที่กําหนด

กลุมฟลเตอรแบบ Generic เปนกลุมฟลเตอรที่ใหเราสามารถสรางฟลเตอรดวยตนเอง โดยใชคําสั่ง Filters>Generic>Convolution

Matrix และสวนฟลเตอรอื่นๆ ในกลุมจะเปนตัวอยางฟลเตอรที่สรางจาก Convolution Matrix

ภาพตนฉบับ

Page 184: Gimp Complete Book - คํมือ Gimp ภาษาไทย

Page 179

กลุมฟลเตอรแบบ Glass Effect เปนกลุมฟลเตอรที่สรางภาพใหเหมือนกับการมองภาพผานเลนส หรือกระจกใสที่มีลวดลาย โดยใชคําสั่ง

Filter> Glass Effect>ฟลเตอรที่กําหนด

กลุมฟลเตอรแบบ Lighting Effect เปนกลุมฟลเตอรที่สรางแสงไฟสอง หรือแสงสะทอน โดยใชคําสั่ง Filter> Lighting Effect>ฟลเตอรที่

กําหนด

ภาพตนฉบับ

ภาพตนฉบับ

Page 185: Gimp Complete Book - คํมือ Gimp ภาษาไทย

Page 180

กลุมฟลเตอรแบบ Distort  เปนกลุมฟลเตอรที่ใชปรับเปลี่ยน รูปรางของภาพในหลายๆ รูปแบบ โดยใชคําสั่ง Filter>Distort>ฟลเตอรที่

กําหนด

ภาพตนฉบับ

ภาพตนฉบับ

Page 186: Gimp Complete Book - คํมือ Gimp ภาษาไทย

Page 181

กลุมฟลเตอรแบบ Artistic เปนกลุมฟลเตอรที่เปลี่ยนภาพถายใหเปนภาพวาดงานศิลปะตางๆ โดยใชคําสั่ง Filter>Artistic>ฟลเตอรที่

กําหนด

ภาพตนฉบับ

Page 187: Gimp Complete Book - คํมือ Gimp ภาษาไทย

Page 182

กลุมฟลเตอรแบบ Map เปนกลุมฟลเตอรในการนําภาพจากตนแบบมาสรางเปนลวดลายในรูปแบบตางๆ โดยใชคําสั่ง Filter>Map>

ฟลเตอรที่กําหนด

ภาพตนฉบับ

Page 188: Gimp Complete Book - คํมือ Gimp ภาษาไทย

Page 183

กลุมฟลเตอรแบบ Render เปนกลุมฟลเตอรสําหรับสรางภาพ แพทเทิรนขึ้นมาใชงานในหลายๆ ลักษณะ โดยไมมีการอางอิงมาจากรูป

ตนแบบเหมือนในกลุม Map โดยใชคําสั่ง Filter>Map> ฟลเตอรที่กําหนด

ภาพตนฉบับ

Page 189: Gimp Complete Book - คํมือ Gimp ภาษาไทย

Page 184

Page 190: Gimp Complete Book - คํมือ Gimp ภาษาไทย

Page 185

บทที่ 13 การนําภาพกราฟกไปใชงาน 

ในบทนี้ เราจะกลาวถึงเรื่องการจัดการภาพเพื่อนําไปใชงานใหเหมาะสมกับงานในรูปแบบตางๆ สรางงานเสร็จแลวสิ่งสําคัญที่ตามมาก็คือ การพิมพงานออกทางเครื่องพิมพ ซึ่งเราจะกลาวถึงกระดาษที่เหมาะกับการพิมพ วิธีการพิมพ และการตรวจสอบงานกราฟกเพื่อสงผานโรงพิมพ และการสรางภาพเพื่อใชงานบนเว็บเพจ

เรานําภาพไปใชงานอะไรไดบาง  ภาพที่สราง และตกแตงใหสวยงามเรียบรอยแลวเรามักนิยมนําไปใชงานไดหลากหลายรูปแบบ ดังนี้

การพิมพภาพผลงาน  ภาพถายที่เรารีทัช หรือตัดตอไว สามารถพิมพออกมาเปนภาพสติกเกอร หรือ นําภาพพิมพที่ไดไปใชงานไดหลายรูปแบบ

นําภาพไปแสดงโชวบนเว็บ  เว็บไซตบนอินเทอรเน็ต จัดเปนสื่ออยางหนึ่งที่เรามักจะนําภาพไปประกอบ หรืออาจจะสรางเปนเว็บที่ใชแสดงภาพผลงาน

เตรียมพรอมกอนพิมพภาพ 

เครื่องพิมพกับงานกราฟก  เครื่องพิมพในปจจุบันที่เราใชกันอยูทั่วไป จะแบงออกเปน 2 ประเภทใหญๆ คือ

1) เคร่ืองพิมพแบบเลเซอร   เปนเครื่องพิมพที่ใชเทคโนโลยีสูง และคลายกับเครื่องถายเอกสาร โดยจะใชแสงสองเขาไปเปลี่ยนประจุไฟฟาบนดรัมไวแสง (Photo-sensitive drum) ใหเขมหรือจาง เมื่อกระดาษเคลื่อนที่ผานดรัม และแทงความรอนภายในเครื่อง จะทําใหผงหมึกในโทนเนอร (Toner) ละลายเกิดเปนจุดสีบนบริเวณที่มีประจุ ทําใหเกิดตัวอักษรหรือภาพบนกระดาษอยางคมชัด และคุณภาพสูง เครื่องพิมพแบบเลเซอรมีทั้งแบบขาวดําเหมาะกับการพิมพเอกสารในสํานักงาน เพราะคุณภาพดี ราคาหมึกประหยัด และแบบสีเหมาะกับการพิมพรายการสินคาที่ตองการคุณภาพมีสีที่สวยงาม

Page 191: Gimp Complete Book - คํมือ Gimp ภาษาไทย

Page 186

2) เคร่ืองพิมพแบบอิงคเจ็ต  เปนเครื่องพิมพที่ใชหลักการพนหมึกสีผสมกัน จาก 4 สี คือ CMYK สีฟา (Cyan), สีมวงบานเย็น (Magenta), สีเหลือง (Yellow) และสีดํา (Black) ทําใหเกิดภาพชิ้นงานสีที่ไดคุณภาพตามตองการ และราคาเครื่องไมแพงเมื่อเทียบกับเครื่องพิมพเลเซอรแบบสี

การพิมพงานสีดวยเครื่องพิมพแบบอิงคเจ็ต จะเหมาะกับการพิมพตัวอยางชิ้นงานจริงกอนที่จะสงพิมพเขาโรงพิมพ เพื่อจะตรวจสอบคุณภาพสีใหมั่นใจกอน และยังเหมาะกับงานกราฟกที่ไมเนนความละเอียดสูง เชน การพิมพภาพถาย พิมพสติ๊กเกอร และ นามบัตร เปนตน

เลือกกระดาษสําหรับพิมพงานกราฟกและภาพ  ชนิดของกระดาษก็มีสวนสําคัญตอการรองรับหมึกที่พิมพลงไป และเครื่องพิมพแตละชนิดก็ใชหมึกที่ตางกัน จึงตองเลือกใชกระดาษที่เหมาะสมดวย นอกจากนี้ยังมีงานกราฟกบางชนิดที่ตองใชกระดาษแบบพิเศษที่ใชเฉพาะตองานเหลานั้น เชน การลอกลายภาพบนผา การพิมพสติ๊กเกอร และการพิมพแผนใสสําหรับงานพรีเซนเตชั่น เปนตน

Page 192: Gimp Complete Book - คํมือ Gimp ภาษาไทย

Page 187

กระดาษสําหรับเอกสาร (A4 ปอนด 80 แกรม)  เปนกระดาษปอนดเนื้อขาว 80 แกรม ขนาด A4 ที่เรานิยมใชพิมพเอกสารในสํานักงานนั่นเอง เหมาะกับการพิมพแบบเลเซอร และใชพิมพงานกราฟกดวยเครื่องพิมพอิงกเจ็ตได แตภาพที่ออกมาจะไมสวยมากนัก

กระดาษสําหรับภาพถาย (Photo Paper)  เนื้อกระดาษขาวเรียบและละเอียด สามารถรองรับเม็ดสีในการพิมพไดดี จะทําใหไดภาพที่คมชัด สีสัน สดใส สวนใหญทุกยี่หอจะสามารถกันน้ําได เหมาะสําหรับงานพิมพภาพถาย, กราฟก และงานพิมพทั่วไปใชกับเครื่องพิมพอิงคเจ็ต

กระดาษสําหรับภาพถายแบบมัน (Glossy Photo Paper)  เนื้อกระดาษขาวมันเงา เนื้อจะหนากวากระดาษแบบ Photo Paper ทั่วไป สามารถรองรับเม็ดสีจากการพิมพไดเปนอยางดี งานพิมพที่ไดแหงเร็วทันทีและยังกันน้ําไดดีอีกดวย เหมาะสําหรับงานพิมพภาพถายเหมือนจริง

กระดาษสําหรับภาพถายขนาดการด (Photo Card)  เนื้อกระดาษหนา 220 แกรม รองรับเม็ดสีในการพิมพไดอยางดี บางรุนสามารถพิมพ 2 ดาน กันน้ําไดดี เหมาะสําหรับงานพิมพภาพถาย สีไมซึมเลอะเทอะ งานพิมพสวยสด คมชัด

กระดาษลอกลายภาพลงบนผา (Fabric Transfer Paper)  กระดาษลอกลายบนผา สามารถนําภาพที่ช่ืนชอบมาลอกลายบนปลอกหมอน, เสื้อยืด หรือแผนรองเมาส เปนตน

กระดาษแบบสติกเกอร  กระดาษทําสติกเกอร ที่ใหภาพชัดเจน แผนกระดาษมีคุณสมบัติพิเศษ ชวยใหสีแหงเร็วขึ้น และรองรับเม็ดสีไดดี

กระดาษสําหรับพิมพลงซีดีดวยตัวเอง  กระดาษผิวเรียบ ชวยใหสีมีความเดนชัดขึ้นและสวางใส ผลลัพธที่ไดจะเปนรูปซีดี ที่พรอมแปะลงบนแผนซีดีไดทันท ี

กระดาษสําหรับพรีเซนงานเปนแบบฟลมใส (งานสไลด)  ฟลมใสสําหรับงานพรีเซนต สําหรับใชกับเครื่องฉายแผนใส (Overhead) สามารถแสดงคุณภาพสีไดอยางยอดเยี่ยม ใชกับเครื่องพิมพแบบอิงคเจ็ตไดอยางไมมีปญหา

การกําหนดคุณสมบัติตางๆ ในการพิมพงาน  เราจะเริ่มตนสั่งพิมพงานโดยการกําหนดคุณสมบัติตางๆ เชน การเลือกเครื่องพิมพและกระดาษ ดวยคําสั่ง File>Page Setup จะปรากฏหนาตาง Page Setup ขึ้น ดังรูป

Page 193: Gimp Complete Book - คํมือ Gimp ภาษาไทย

Page 188

จากหนาจอ Page Setup ใหเราคลิกเมาสปุม เพื่อทําการเลือกเครื่องพิมพที่จะใชงาน โดยการเลือกเครื่องพิมพไดจากชอง Name ดังรูป

การพิมพงานออกสูเครื่องพิมพ  ขั้นตอนสุดทายเราสามารถพิมพงานได โดยการใชคําสั่ง File>Print ซึ่งจะปรากฏหนาตางการพิมพงานดังรูป

ตัวอยางขนาดกระดาษที่เราเลือก

กําหนดแนวการพิมพ

กําหนดลักษณะกระดาษ

กําหนดระยะเวนขอบของกระดาษพิมพ

คลิกเมาสเพื่อเขาไปตั้งคาเครื่องพิมพ

กําหนดชนิดของเคร่ืองพิมพ

กําหนดคุณสมบัติในการพิมพ

เลือกรุนของเคร่ืองพิมพ

กําหนดคาตางๆ ในการพิมพ

กําหนดจํานวนที่พิมพ

คลิกเมาสเพื่อสั่งพมิพ

Page 194: Gimp Complete Book - คํมือ Gimp ภาษาไทย

Page 189

สรางงานสาํหรับเว็บเพจ  อินเทอรเน็ต นับเปนระบบการสื่อสารที่สรางปรากฏการณใหมในยุคสหัสวรรษนี้ ขอมูลที่เราเคยมีในหนากระดาษถูกนํามาสื่อสารใหคนทั่วโลกอานในเวลาพรอมๆ กันโดยระบบ อินเทอรเน็ตผานหนาเว็บเพจตางๆ ที่ไดรับการสรางสรรคอยางสมบูรณ และหลากหลายความคิด

ขอมูลภาพหรือกราฟก นับเปนสื่อหนึ่งที่มีความสําคัญในการสื่อสารผานเว็บ เพราะเราอาจเคยไดยินมากอนแลววา ภาพหนึ่งภาพสามารถแทนคําพูดไดนับพันคํา แตการสรางภาพเพื่อนําเสนอบนเว็บไมใชเรื่องงาย เพราะนอกจากตองใหไดความสวยงามแลว ยังตองคํานึงถึงความรวดเร็วในการแสดงผลดวย ซึ่งเราจะตองเขาใจองคประกอบตางๆ ของภาพเปนอยางดี ตลอดจนกระบวนการแสดงภาพบนเว็บ เพื่อใหเว็บของเราเปนที่ประทับใจของผูเขาชม

ความรูทั่วไปเก่ียวกับการแสดงภาพบนเว็บ  การออกแบบสื่อสิ่งพิมพและการออกแบบภาพบนเว็บ มีรายละเอียดที่แตกตางกันพอสมควร ฉะนั้น หากเราจะออกแบบภาพบนเว็บไซตไดดี เราจําเปนตองมีความรูพ้ืนฐานของอินเทอรเน็ตและเว็บดวย ซึ่งพอสรุปไดดังนี้

ความแตกตางระหวางระบบเครื่อง ระบบปฏิบัติการและเว็บบราวเซอร  เนื่องจากอินเทอรเน็ตเปนระบบที่เช่ือมโยงกับเครื่องคอมพิวเตอรทั่วโลก ความแตกตางที่เกิดจากเครื่องแตละเครื่องจึงเปนสิ่งที่เราควรรูคราวๆ เชน จอภาพที่ตางกัน ระบบการแสดงผลที่ตางกันจะใหสีที่ตางกัน จอภาพของเครื่องแมคจะใหสีที่มีความสวางกวาจอภาพของเครื่องพีซี ฉะนั้นเมื่อเราออกแบบภาพบนเครื่องพีซี เราตองกําหนดความสวางใหลดลงกวาปกติเล็กนอย เพราะหากแสดงผลบนเครื่องแมค ความสวางจะเขมขึ้นอีก นอกจากนี้บราวเซอรที่แตกตางกัน ทําใหการแสดงผลของภาพบนเว็บแตกตางกัน เชน บราวเซอรบางประเภทไมสามารถแสดงตัวอักษรบางชนิดได เปนตน

หนวยวัดมาตรฐานของภาพบนเว็บ  ภาพที่แสดงบนเว็บใชหนวยวัดขนาดเปนพิกเซล ซึ่งเปนหนวยวัดมาตรฐานสําหรับการแสดงผลบนจอภาพ ตางกับการสรางสื่อสิ่งพิมพซึ่งจะกําหนดหนวยวัดเปนนิ้ว

ความละเอียดของภาพ  ภาพบนเว็บไมจําเปนตองใชความละเอียดเทากับภาพบนสื่อสิ่งพิมพ ความละเอียดโดยทั่วไปที่ยอมรับได คือ 72 จุดตอนิ้ว (dpi) ในขณะที่สิ่งพิมพใชความละเอียดภาพ 300 จุดตอนิ้ว (dpi)

ขนาดของไฟล   ขนาดของไฟลภาพ จะมีผลอยางมากตอความเร็วของการแสดงภาพบนเว็บ ถาขนาดไฟลภาพมากก็จะใชเวลาโหลดนานขึ้น ดังนั้นเราควรคํานึงเสมอวา ไมมีผูเขาชมรายใดที่จะสามารถอดทนรอคอยนานๆ ได ซึ่งวิธีแกปญหา ควรใชหลักการดังนี้

1) แบงภาพเปนไฟลเล็กๆ นํามาเรียงตอเปนภาพใหญ (ดีกวาการดาวนโหลดภาพใหญเพียงภาพเดียว)

2) พยายามใชภาพเดิมในหนาเว็บไซตอื่นๆ เพื่อจะไมเสียเวลาดาวนโหลดนาน

3) กําหนดโครงสรางของเว็บใหแสดงผลในสวนที่เปนตัวอักษรกอน เพื่อไมใหผู เขาชมเสียเวลา (เพราะจะไดขอความที่ดาวนโหลดไดเร็วกวาการแสดงผลภาพ)

Page 195: Gimp Complete Book - คํมือ Gimp ภาษาไทย

Page 190

Dither  เปนกระบวนการสรางพาเล็ตสี (จานสี) ขึ้นใหมตามจํานวนสีที่กําหนดแลวแทรกลงไปบนภาพในลักษณะการแทรกจุดสี ซึ่งเปนการไลระดับสีเพื่อหลอกตาใหเห็นวามีสีนั้นอยูในภาพอยางกลมกลืน ใชสําหรับการแปลงภาพจากภาพที่มีสีมากกวา ไปยังภาพที่มีสีนอยกวาเชนจากภาพโดยทั่วไป 16.7 ลานสี ปรับใหเปน 256 สี โดยโปรแกรมจะคํานวนคาสีเพื่อสรางจานสีใหม (ซึ่งสีที่อยูในจานสีใหมอาจมาจากสีเดิมหรืออาศัยการคํานวณจากคาสีใกลเคียง)

ฟอรแม็ตของไฟลสําหรับเว็บกราฟก  จากที่กลาวมาขางตนแลววา ภาพบนเว็บตองมีขนาดไฟลที่เล็ก ฉะนั้น ฟอรแม็ตที่ใชตองมีการบีบอัดขอมูลทําใหขนาดไฟลเล็กลง โดยรูปแบบของไฟลนั้นไดแก GIF, JPEG และ PNG เราตองทําความเขาใจลักษณะการบีบอัดขอมูลของแตละฟอรแม็ต เพื่อใหเราสามารถเลือกใชงานไดอยางถูกตอง ดังนี้

1) ใช .JPEG สําหรับภาพถาย

2) ใช .GIF สําหรับภาพลายเสน ภาพที่มีพ้ืนหลังโปรงใส และภาพเคลื่อนไหว

3) ใช .PNG สําหรับภาพถายที่ตองการใหมีลักษณะโปรงแสง แตไฟลที่ไดหลังการบีบอัดจะมีขนาดใหญกวาไฟล JPEG และมีคุณภาพมากกวาไฟล JPEG

ฟอรแม็ต GIF o ถูกพัฒนาโดย CompuServe ในป 1980 เพื่อบีบอัดขอมูลภาพลายเสน

o มีขอจํากัดการใชงานอยูที่ 256 สีเทานั้น (8 บิต) o ใชการบีบอัดแบบสรางพาเล็ตสีขึ้นใหม ทําใหไมสูญเสียคุณภาพของภาพ เพราะไมมีการตัดสีภาพออก แตเปน

ลักษณะการแทนสีภาพในแตละพิกเซลดวยสีที่กําหนดขึ้นใหม ฉะนั้นคุณภาพไฟลจะไมเสีย o ความสามารถในการแสดงภาพโปรงแสงและภาพเคลื่อนไหว o Gif สามารถกําหนด Transparency ได 2 ระดับคือ โปรงใส และไมโปรงใส

Page 196: Gimp Complete Book - คํมือ Gimp ภาษาไทย

Page 191

ฟอรแม็ต JPEG o ถูกพัฒนาขึ้นโดย Joint Photographic Experts Group สําหรับบีบอัดขอมูลของไฟลรูปภาพ มีจุดเดน

คือ หลังการบีบอัด ยังสามารถใชสีไดถึง 16.7 ลานสี ในขณะที่ .GIF ใชไดเพียง 256 สีเทานั้น

o ไมจําเปนตองกําหนดพาเลตสีเพื่อการใชงาน เพราะรองรับขอมูลสีไดมากถึง 16.7 ลานสีอยูแลว o ลักษณะการบีบอัด เปนการลบขอมูลสวนที่ซ้ําซอนกันมากที่สุดออกจากภาพ ยิ่งมีการบีบอัดขอมูลมากขึ้นเทาไหร

คุณภาพก็จะสูญเสียมากขึ้นเทานั้น

o ผลของการบีบอัดขอมูล จะไดไฟลภาพที่มีขนาดเล็กยิ่งกวาฟอรแม็ต GIF ซึ่งจะทําใหใชเวลาการดาวนโหลดนอย แตใชเวลาในการแสดงผลนานกวา เพราะตองขยายขอมูลการบีบอัดกอนการแสดงผล

o ไมสนับสนุนการบีบอัดขอมูลที่มีภาพโปรงแสง เพราะหลังการบีบอัดพิกเซลที่ โปรงแสงจะถูกแทนที่ดวยสีของ Background

ภาพ Original (ภาพตนฉบับ) ภาพที่ถูกบีบอัดเปน JPEG ที่มีคุณภาพต่ํา

ฟอรแม็ต PNG o บีบอัดขอมูลไดดีกวา GIF 20 -30 เปอรเซ็นต ไมเสียขอมูลเหมือนกับแบบ JPEG

o สามารถเลือกการจัดเก็บขอมูลไดทั้งแบบ 8, 24 และ 32 บิต ตางกับ .GIF

o ถูกพัฒนาโดย Thomas Boutell และ Tom Lane สําหรับการทํางานขามระบบ ทําใหสามารถแสดงผลไดอยางถูกตองกับเครื่องทุกระบบ

o แสดงผลไดเร็วกวาแบบ .GIF เพราะภาพใน .GIF จะเริ่มแสดงผลเมื่อดาวนโหลดขอมูลมาได 1 ใน 18 สวน ขณะที่ PNG จะแสดงผลเมื่อขอมูลถูกโหลดเขามา 1 ใน 64 สวน

o สนับสนุนการทํางานกับภาพโปรงใสแบบหลายระดับ แตคุณสมบัตินี้ไมสามารถแสดงไดในบางเว็บบราวเซอร

แปลงภาพสําหรับเว็บ  การนําภาพกราฟกไปประกอบบนเว็บเพจ เราจะตองปรับขนาดความละเอียด และสีของภาพ โดยจะสงผลใหภาพมีขนาดเล็ก และเหมาะสมที่จะแสดงผลบนหนาเว็บไดอยางรวดเร็ว ซึ่งโดยสวนใหญเรามักจะพบบอยกับการแปลงไฟลภาพใน 2 ฟอรแม็ต คือ

แปลงภาพแบบ JPEG

แปลงภาพแบบ GIF

Page 197: Gimp Complete Book - คํมือ Gimp ภาษาไทย

Page 192

แปลงภาพแบบ JPEG  ไฟลภาพ JPEG แสดงสีไดถึง 16.7 ลานสี จึงเหมาะกับภาพที่คมชัด เชน ภาพสินคา และภาพถาย เปนตน

1. เปดไฟลภาพที่ตองการแปลง และทําการยอขนาดภาพใหเรียบรอย 2. จัดเก็บภาพ โดยเลือกคําสั่ง File>Save as จะปรากฏหนาตาง Save Image ต้ังช่ือ และกําหนดที่เก็บภาพ

3. เลือกฟอรแม็ตภาพแบบ JPEG Image

4. คลิกปุม

5. ปรากฏหนาตาง Save as JPEG กําหนดคุณภาพของ และคาอ็อบช่ันเพิ่มเติม

6. คลิกเมาสที่ปุม เพื่อจัดเก็บภาพเพื่อนําไปใช

Page 198: Gimp Complete Book - คํมือ Gimp ภาษาไทย

Page 193

แปลงภาพแบบ GIF  ภาพ GIF จะรักษาคุณภาพสีอยูที่ 256 สี จึงเหมาะกับภาพวาด และที่นิยมที่สุดก็คือ ภาพที่มีความโปรงใส ซึ่งสามารถนําไปวางซอนบนพื้นหลังแบบใดก็ได

1. เปดไฟลภาพ และทําการยอขนาดภาพใหเรียบรอย

คลิกเพื่อเลอืกชนิดของไฟลที่ตองการจัดเก็บ

2. ตั้งชื่อ และกําหนดที่เก็บภาพ

3. เลือกฟอรแม็ตภาพแบบ JPEG Image

4. คลิกเมาส

5. กําหนดคุณภาพของรูปภาพ และคาอ็อบชั่นเพิ่มเติม

6. คลิกเมาส

Page 199: Gimp Complete Book - คํมือ Gimp ภาษาไทย

Page 194

หนาเว็บเพจ

การแปลงภาพแบบ GIF นั้นใชมีวิธีการเดียวกับตัวอยางการแปลงแบบ JPEG เพียงแคเลือกฟอรแม็ตภาพใหเปนแบบ GIF และกําหนดคาตางๆ ตามตองการ

วางภาพโปรงแสงที่ทําดวย GIMP

ภาพโปรงแสงจะวางซอนอยูบนลวดลายของพื้นหลัง

คลิกเมาสเพื่อเลือกวาจะ Export ภาพหรือไม

กําหนดคุณสมบัติตางๆ

คลิกเมาสเพื่อจัดเกบ็ภาพ

Page 200: Gimp Complete Book - คํมือ Gimp ภาษาไทย

Page 195

Workshop 1  ตกแตงแกไขภาพที่มีตําหน ิ

เมื่อเราถายภาพเราก็ตองการใหภาพที่ถายออกมาดูดี แตถาภายในภาพมีรอยตําหนิ หรือภาพที่ไดออกมาไมสวยงามตามที่ตองการ เราสามารถที่จะตกแตงแกไขภาพดวยโปรแกรม GIMP ซึ่งในเวิรคชอปนี้จะมีตัวอยางการแกไขภาพถึง 3 แบบดวยกัน คือ การลบริ้วรอยบนใบหนา การปรับสีจืดใหดูสดใสขึ้น และปรับภาพมืดใหดูสวางขึ้น

การลบริ้วรอยบนใบหนา  ในการลบริ้วรอยบนใบหนานี้จะเปนการตกแตงแกไขภาพเฉพาะจุด โดยจะใชเครื่องมือในกลุมรีทัชภาพ เชน

Clone Tool, Smudge Tool และ Blur Tool เพื่อตกแตงภาพ

ภาพตนฉบับ ผลลัพธหลังการปรับแตง

ขั้นตอนการลบริ้วรอยบนใบหนามีดังนี้

1. เปดไฟลภาพ และใช Clone Tool โคลนในจุดที่ตองการ 2. ใช Smudge Tool และ Blur Tool ปรับภาพใหดูกลมกลืน

ข้ันตอนที่ 1 เปดไฟลภาพ และใช Clone Tool โคลนนิ่งภาพ  ใช Clone Tool คัดลอกภาพในสวนที่ดีมาแปะทับบริเวณริ้วรอยตางๆ บริเวณ ดวงตา และแกม

Page 201: Gimp Complete Book - คํมือ Gimp ภาษาไทย

Page 196

1. เปดไฟลภาพที่ตองการแกไขโดยเลือกคําสั่ง File>Open... หรือกดคีย <Ctrl+O> คลิกเลือกไฟลภาพที่ตองการจากนั้นคลิกปุม เพื่อตกลงเปดภาพที่เลือก

2. คลิกเลือก Clone Tool คลิกเลือกรูปแบบหัวแปรง Circle Fuzzy (15) กําหนด Source แบบ Image Source เพื่อเลือกโคลนนิ่งจากภาพตนแบบ และเลือก Alignment แบบ Aligned เพื่อใหจุดที่เปนภาพตนแบบเปลี่ยนไป ซึ่งจะสัมพันธกับตําแหนงที่เราวาด

1.1 เลือกคําสั่ง File>Open... หรือกดคีย <Ctrl+O> เพื่อเปดไฟลภาพ

1.2 เลือกไฟลภาพที่ตองการ

1.3 คลิกเมาส

1.4 ไฟลภาพที่เลือกถูกเปดขึ้นมา

Page 202: Gimp Complete Book - คํมือ Gimp ภาษาไทย

Page 197

3. ลบริ้วรอย โดยเลือกสวนที่เปนภาพตนแบบ โดยกดคีย <Ctrl> คางไวใหเมาสเปลี่ยนเปนรูป และคลิกเลือก

สวนที่จะใชเปนตนแบบ จากนั้นไมตองกดคีย เมาสจะเปลี่ยนกลับมาเปนรูป และคลิกระบายทับสวนที่มีตําหนิ

4. ลบสวนริ้วรอย ในสวนอื่นๆ เพิ่ม

2.1 คลิกเลือก Clone Tool

2.2 เลือกรูปแบบหัวแปรง

2.3 กําหนด Source แบบ Image Source

2.4 กําหนด Alignment แบบ Aligned

3.1 กดคีย <Ctrl> และคลิกเลือกตนแบบ

3.2 คลิกระบายทับสวนที่มีตําหนิ

ผลลัพธที่ได

Page 203: Gimp Complete Book - คํมือ Gimp ภาษาไทย

Page 198

ข้ันตอนที่ 2 ใช Smudge Tool และ Blur Tool ปรับภาพใหดกูลมกลืน 

ใช Smudge Tool ถูเกลี่ยสีสวนของภาพที่ดูไมกลมกลืนกันใหมีสีที่กลมกลืนกันมากขึ้น และใช Blur Tool ปรับภาพใหเบลอเพ่ือเพิ่มความเนียนของภาพ

1. คลิกเลือก Smudge Tool เลือกรูปแบบของหัวแปรงแบบ Circle Fuzzy (17) และกําหนดอัตราการเกลี่ยสีภาพที่ Rate เทากับ 30 จากนั้นคลิกเกลี่ยสีภาพสวนตางๆ ที่มีตําหนิใหดูกลมกลืนขึ้น

4.1 เลือกตนแบบบริเวณดวงตา

4.2 คลิกระบายทับใตตาที่มีตําหนิ

4.3 เลือกตนแบบบริเวณแกม 4.4 คลิกระบายทับ

แกมที่มีตําหนิ ผลลัพธที่ได

1.1 คลิกเลือก Smudge Tool

1.2 เลือกรูปแบบของหัวแปรง

1.3 กําหนด Rate เทากับ 30 1.4 คลิกเกลี่ยสีภาพ

Page 204: Gimp Complete Book - คํมือ Gimp ภาษาไทย

Page 199

2. คลิกเลือก Blur Tool เลือกรูปแบบของหัวแปรงแบบ Circle Fuzzy (17) เลือกการปรับภาพแบบ Blur

และกําหนดอัตราความเบลอที่ Rate เทากับ 50 จากนั้นคลิกปรับภาพใหเบลอเพื่อเพิ่มความเนียนของภาพในสวนตางๆ ที่มีตําหนิ

การเปลี่ยนสี และปรับสีภาพจืดใหดสูดใสขึ้น  การถายภาพดวยกลองที่ไมมีคุณภาพ อาจจะทําใหถายออกมามีสีจืดชืด ไมตรงกับความเปนจริง ทําใหภาพที่ไดดูจืดชืด ไมมีสีสัน เราสามารถปรับสีของภาพใหดูสดใสขึ้นได โดยใชเครื่องมือ Hue-Saturation Tool ในการปรับสีภาพ ดังตัวอยางจะเปลี่ยนสีเขียวบนรูปบอลลูนใหกลายเปนสีน้ําเงิน และปรับสีภาพใหดูสดใสขึ้น

ขั้นตอนการเปลี่ยนสี และปรับสีภาพจืดชืดใหดูสดใสขึ้น

1. เปดไฟลภาพ และเปลี่ยนสีภาพ

2. ปรับสีภาพใหดูสดใสขึ้น

2.1 คลิกเลือก Blur Tool

2.2 เลือกรูปแบบของหัวแปรง

2.3 เลือกการปรับภาพแบบ Blur

2.5 คลิกปรับภาพใหเบลอ

2.4 กําหนด Rate เทากับ 50

Page 205: Gimp Complete Book - คํมือ Gimp ภาษาไทย

Page 200

ข้ันตอนที่ 1 เปดไฟลภาพ และเปลี่ยนสีภาพ  เราจะเปลี่ยนสีสวนของสีเขียวในลูกบอลลูนใหกลายเปนสีน้ําเงิน โดยใชเครื่องมือ Hue-Saturation Tool

เลือกปรับเฉพาะสีที่ตองการ ตัวอยางจะเลือกสีเขียว และปรับเปลี่ยนเฉดสีที่สไลดบาร Hue หรอืต้ังคาเทากับ 120 จากนั้น

คลิก เพื่อดูภาพผลลัพธ

1. เลือกคําสั่ง File>Open... เพื่อเปดไฟลภาพ

2. คลิกเลือก Hue-Saturation

3. คลิกที่ภาพเพื่อปรับแตงสี

4. คลิกเลือกเฉดสีที่ตองการปรับ

6. คลิกเพื่อดูภาพผลลัพธ

5. คลิกเลื่อนสไลดบารเพื่อปรับสีหรือตั้งคาเทากับ 120

ผลลัพธที่ได

Page 206: Gimp Complete Book - คํมือ Gimp ภาษาไทย

Page 201

ข้ันตอนที่ 2 ปรับสีภาพใหดูสดใสขึ้น 

ปรับสีภาพทั้งภาพใหดูสดใสขึ้น โดยคลิกเลือก และคลิกเลื่อนสไลดบาร Saturation หรือต้ังคาเทากับ 100 เมื่อปรับสีภาพเรียบรอยแลวคลิกปุม เพื่อตกลงใชงานคาสีที่ต้ัง

การปรับภาพมืดใหดสูวางขึ้น  ในสภาวะที่มีแสงนอย หรือมีความผิดพลาดในการวัดแสงขณะที่ถายภาพ อาจจะทําใหภาพที่ไดมืดเกินไป จนไมสามารถเห็นรายละเอียดของภาพไดอยางชัดเจน แตเราสามารถปรับสีของภาพใหดูสวางขึ้นได ดวยเครื่องมือ Curve

ขั้นตอนการปรับภาพมืดใหดูสวางขึ้น  เราจะใช Curve Tool และคลิกเลือกตําแหนงสีในภาพที่ตองการปรับ จากนั้นคลิกบริเวณจุดที่ปรากฏบนกราฟเพื่อปรับสีใหสวางขึ้น

1. คลิกเมาสเพื่อเลอืกใหปรับสีภาพทั้งภาพ

2. คลิกเลื่อนสไลดบารเพื่อปรับสีหรือต้ังคาเทากับ 100

3. คลิกเมาส ผลลัพธที่ได

Page 207: Gimp Complete Book - คํมือ Gimp ภาษาไทย

Page 202

1. เลือกคําสั่ง File>Open... เพื่อเปดไฟลภาพ

2. คลิกเลือก Curve

3. คลิกเลือกสีบริเวณพื้นที่ภาพที่ตองการแกไข จะปรากฏจุดที่หนาตาง Curve

5. คลิกเลื่อนจุดเพือ่ปรับสี

6. คลิกเมาส

ผลลัพธที่ได

Page 208: Gimp Complete Book - คํมือ Gimp ภาษาไทย

Page 203

Workshop 2 เปลี่ยนรูปรางของเชอรี่

ความสามารถของโปรแกรม GIMP นอกจากจะสามารถตกแตงภาพใหดูสวยงามแลว ยังสามารถตกแตงดัดแปลงภาพใหผิดไปจากความเปนจริงได ดังตัวอยางนี้จะเปนการเปลี่ยนลักษณะของลูกเชอรี่กลมๆ ใหกลายเปนสี่เหลี่ยมไดงายๆ

หลักการเปลีย่นรูปรางของเชอรี่เปนสี่เหลี่ยม จากรูปทรงสี่เหลี่ยมโดยปกติแลวจะตองมีมุม และดาน ซึ่งเราจะตองทําการสรางมุม และดานใหกับลูกเชอรี่ของ

เรา จากนั้นจึงทําการตกแตงรูปรางรอบนอกใหสัมพันธกับมุมที่สรางใหดูเหมือนรูปทรงสี่เหลี่ยม จากนั้นจึงตกแตงบริเวณพ้ืนผิวใหมีแสงเงา และสรางเงาตกทอดที่พ้ืนใหดูสมจริง

ลักษณะของกลองสี่เหลี่ยม

Page 209: Gimp Complete Book - คํมือ Gimp ภาษาไทย

Page 204

ขั้นตอนในการเปลี่ยนรูปรางของลูกเชอร่ี 1. ปรับขนาดลูกเชอรี่เพื่อเตรียมกอนจะทําเปนสี่เหลี่ยม

2. วาดเงาของมุมเหลี่ยม และแตงลูกเชอรี่ใหเปนสี่เหลี่ยม

3. ตกแตงพื้นผิวใหสวยงาม

4. ใสกานใหผลเชอรี่ และวาดเงาตกแตง

ข้ันตอนที่ 1 ปรับขนาดลูกเชอรี่เพื่อเตรียมกอนจะทําเปนสี่เหล่ียม  เพราะวาเราตองการเปลี่ยนรูปรางของลูกเชอรี่ใหเปนรูปสี่เหลี่ยม เราจึงตองเพิ่มพื้นที่บริเวณดานขาง และมุมโคง

ใหดูเหลี่ยมและมีพ้ืนที่มากขึ้น โดยเราจะเลือกพื้นที่บางสวนของภาพตนแบบมาแปะเพื่อเพิ่มพื้นที่ และใช Eraser

Tool ลบขอบที่ไมตองการออก เพื่อชวยใหสวนที่นํามาแปะดูกลมกลืนกัน

1. สรางไฟลขึ้นมาใหมสําหรับทําลูกเชอรี่สี่เหลี่ยม โดยเลือกคําสั่ง File>New.. หรือกดคีย <Ctrl+N> จะปรากฏหนาตาง Create a New Image ใหเรากําหนดขนาดของภาพ (ตัวอยางกําหนด 400x400 พิกเซล) เลือกโหมดสีภาพแบบ RGB Color และกําหนดสีพ้ืนหลังที่ Fill with เปนแบบ White จากนั้น คลิก

ปุม

1.1 เลือกคําสั่ง File>New…

1.2 กําหนดขนาดของรูปภาพ

1.3 เลือกโหมดสี RGB Color

1.4 กําหนด Background เปนแบบ White

1.5 คลิกเมาส

Page 210: Gimp Complete Book - คํมือ Gimp ภาษาไทย

Page 205

2. เปดไฟลภาพลูกเชอรี่ที่จะใชเปนตนแบบขึ้นมา โดยเลือกคําสั่ง File>Open... หรือกดคีย <Ctrl+O> เลือกไฟลภาพ cherry_org.jpg จากนั้นคลิกปุม

3. เลือกพื้นที่ของลูกเชอรี่ เพื่อนําไปไวในไฟลใหม โดยคลิกเลือก Free Select Tool วาดเพื่อเลือกพื้นที่รอบๆ ลูกเชอรี่

จะไดไฟลภาพใหม

2.1 เลือกคําสั่ง File>Open... 2.2 เลือกไฟลภาพที่ตองการ

2.3 คลิกเมาส

3.1 คลิกเลือก Free Select Tool

3.2 คลิกเลือกพื้นทีท่ี่ตองการ

Page 211: Gimp Complete Book - คํมือ Gimp ภาษาไทย

Page 206

4. นําภาพไปวางในไฟลใหม โดยคลิกเมาสขวาบริเวณรูปเชอรี่ที่เลือก และเลือกคําสั่ง Edit>Copy หรือกดคีย <Ctrl+C> เพื่อกอปปภาพ จากนั้นมาที่ไฟลใหมคลิกเมาสขวาบริเวณภาพและเลือกคําสั่ง Edit>paste หรือกดคีย <Ctrl+V> เพื่อวางภาพที่กอปปมา

5. เมื่อเรานําภาพไปวางในไฟลใหมเลเยอรที่ไดยังเปนเลเยอรที่ลอยๆอยู เราจึงตองสรางเลเยอรใหภาพ โดยคลิกที่ ในไดอะล็อก Layers ของหนาตาง Docking ภาพที่กอปปมาจะถูกวางในเลเยอรใหมที่สรางทันที

6. ปรับขนาดภาพโดยคลิกเลือก Scale Tool กําหนดคุณสมบัติเพิ่มเติมของเครื่องมือที่ Tool Options ในสวนของ Constraints เลือก Keep aspect เพื่อใหปรับขนาดภาพโดยยังคงสัดสวนเดิมของภาพไว

4.1 เลือกคําสั่ง Edit>Copy เพื่อกอปปรูปเชอร่ี

4.2 เลือกคําสั่ง Edit>Paste เพื่อวางภาพในไฟลใหม

5.1 ภาพที่นํามาวางจะยังเปนแคเลเยอรลอยๆ อยู

5.3 ภาพที่นํามาวางจะถูกวางลงในเลเยอรใหม

ผลลัพธภาพที่ Image Window

Page 212: Gimp Complete Book - คํมือ Gimp ภาษาไทย

Page 207

จากนั้นคลิกปรับขนาดภาพ ตัวอยางจะยอขนาดภาพลง (หรือกําหนดขนาดที่หนาตาง Scale ก็ได) เมื่อกําหนดขนาดเรียบรอยแลว คลิกปุม ที่หนาตาง Scale เพื่อตกลง

7. หมุนภาพโดยคลิกเลือก Rotate Tool และคลิกหมุนภาพ (หรือกําหนดมุมองศาที่หนาตาง Rotate ก็ได) เมื่อหมุนภาพเรียบรอยแลว คลิกปุม ที่หนาตาง Rotate เพื่อตกลง

6.1 คลิกเลือก Scale Tool

6.2 ที่ Tool Box ของ Scale เลือก Keep aspect เพื่อใหคงสัดสวนเดิมของภาพ

6.3 คลิกปรับขนาดภาพ

หรือ กําหนดขนาดภาพใหม

6.4 คลิกเมาส

ผลลัพธที่ได

7.1 คลิกเลือก Scale Tool

7.2 คลิกหมุนภาพ หรือ กําหนดคามุม

7.3 คลิกเมาส

Page 213: Gimp Complete Book - คํมือ Gimp ภาษาไทย

Page 208

8. เพิ่มพื้นที่บริเวณดานขางดวยการนําภาพมาแปะเพิ่ม โดยกลับไปทํางานที่ไฟลภาพตนแบบ cherry_org.jpg

ใช Free Select Tool เลือกพื้นที่ดานขางของลูกเชอรี่ จากนั้นกอปปภาพที่เลือก โดยกดคีย <Ctrl+C>

จากนั้นไปที่ไฟลภาพใหม กดคีย <Ctrl+V> เพื่อวางภาพ และคลิกที่ ในไดอะล็อก Layers ของหนาตาง Docking ภาพที่กอปปมาจะถูกวางในเลเยอรใหมที่สรางทันที

9. ปรับขนาดของภาพใหเหมาะสมดวย Scale Tool และหมุนภาพใหไดมุมที่เหมาะสมดวย Rotate

Tool จากนั้นใช Move Tool จัดวางตําแหนงภาพใหเหมาะสม

10. เพิ่มพื้นที่บริเวณดานขวาดวยการนําภาพมาแปะเพิ่มอีกสวนตามขั้นตอนที่ 8-9

8.1 คลิกเลือก Free Select Tool

8.2 คลิกเลือกพื้นที ่และกด คีย <Ctrl+C> เพื่อกอปปภาพ

8.3 กดคีย <Ctrl+V> เพื่อวางภาพ

8.5 ภาพที่กอปปมาจะถูกวางในเลเยอรใหม

8.4 คลิกเมาสเพื่อสรางเลเยอรใหม

9.1 ปรับขนาดภาพดวย Scale Tool

9.2 หมุนภาพดวย Rotate Tool

9.3 จัดวางตําแหนงภาพดวย Move Tool

Page 214: Gimp Complete Book - คํมือ Gimp ภาษาไทย

Page 209

11. ทําภาพที่นํามาแปะ และลูกเชอรี่ใหดูกลมกลืนกัน โดยเลือกที่เลเยอรของชิ้นสวนแตละช้ิน คลิกเลือก

Eraser Tool กําหนดรูปแบบของยางลบ (ตัวอยางกําหนดแบบ Circle Fuzzy ขนาด 19) และคา Opacity เทากับ 15 จากนั้นคลิกลบบริเวณขอบของแตละช้ินสวน ใหภาพดูกลมกลืน

ข้ันตอนที่ 2 วาดเงาของมุมเหลี่ยม และแตงลูกเชอรี่ใหเปนสี่เหล่ียม  ในขั้นตอนนี้จะเปนการสรางเงาบริเวณมุมตางๆ ของรูปสี่เหลี่ยม เพื่อใหลูกเชอรี่ดูเหมือนสี่เหลี่ยมมากขึ้น และตกแตงลบขอบของรูปใหกลายเปนรูปรางสี่เหลี่ยม

1. ทําการรวมเลเยอรของลูกเชอรี่ และชิ้นสวนตางๆ ใหเปนเลเยอรเดียวกันกอนเพื่อใหงายตอการตกแตง โดยคลิกที่ หนาเลเยอร Background ใหหายไป เพื่อซอนเลเยอรเอาไวกอน จากนั้นคลิก เลือกคําสั่ง Layers

Menu>Merge Visible Layers... เพื่อรวมเลเยอรทั้งหมดที่แสดงอยูใหเปนเลเยอรเดียวกัน

10.1 คลิกเลือกพื้นที่ และกดคีย <Ctrl+C> เพื่อกอปปภาพ

10.2 กดคีย <Ctrl+V> เพื่อวางภาพ และสรางเลเยอรใหมเพื่อรองรับภาพ 10.3 ปรับขนาด หมุน และจัด

วางภาพใหเหมาะสม

11.1 คลิกเลือก Eraser Tool

11.2 คลิกเลือกรูปแบบของยางลบ

11.3 กําหนดคา Opacity เทากับ 15

11.4 คลิกลบขอบใหดูกลมกลืน

Page 215: Gimp Complete Book - คํมือ Gimp ภาษาไทย

Page 210

2. สรางเลเยอรขึ้นมาใหมสําหรับวาดเงา โดยคลิกที่ ในไดอะล็อก Layers จะปรากฏหนาตาง New

Layer ใหเรากําหนดคาตางๆ จากนั้นคลิกปุม เพื่อตกลง

1.1 คลิกซอนเลเยอร Background ไว

1.2 คลิก เลือกคําสัง่ Layers Menu>Merge Visible

Layers...

1.3 คลิกเลือกลักษณะการรวมเลเยอร

1.4 คลิกเมาส

1.5 เลเยอรจะถูก รวมเปนเลเยอรเดียว

1.6 คลิกแสดงเลเยอร

Page 216: Gimp Complete Book - คํมือ Gimp ภาษาไทย

Page 211

3. เลือกสีที่ใชวาดเงาของรูปสี่เหลี่ยม โดยคลิกเลือก Paintbrush Tool กําหนดรูปแบบของหัวแปรง ตัวอยางกําหนดแบบ Circle (07) กําหนดคา Opacity เทากับ 10 คลิกกําหนดสีโฟรกราวนดเปนสีชมพู หรือใสรหัสสี #ffa8a8 จากนั้นคลิกปุม เพื่อตกลง และคลิกวาดเงาเปนเงาบริเวณมุมตางๆ ของรูปสี่เหลี่ยมในเลเยอรใหมที่สรางขึ้น

2.1 คลิกสรางเลเยอรใหม 2.2 กําหนดคาตางๆ

2.3 คลิกเมาส

3.1 คลิกเลือก Paintbrush Tool 3.3 กําหนดคา Opacity เทากับ 10

3.4 คลิกกําหนดสีโฟรกราวนด

3.5 ใสรหัสสี

3.6 คลิกเมาส

3.7 คลิกวาดเงาของมุมสี่เหลี่ยม

Page 217: Gimp Complete Book - คํมือ Gimp ภาษาไทย

Page 212

4. คลิกเลือก Eraser Tool กําหนดรูปแบบยางลบเปนแบบ Circle Fuzzy (09) กําหนดคา Opacity

เทากับ 100 จากนั้นคลิกเลือกเลเยอรภาพลูกเชอรรี่ และลบขอบภาพลูกเชอรรี่ใหเปนรูปทรงสี่เหลี่ยม

ข้ันตอนที่ 3 ตกแตงพื้นผิวใหสวยงาม  จะเปนการตกแตงเพิ่มเติมบริเวณพื้นผิว เพราะวาบริเวณดานซายของลูกเชอรี่จะตองเปนเงามืด เราจึงตองปรับภาพบริเวณนี้ใหดูเขมขึ้น จากนั้นจึงเปนการตกแตงสวนตางๆ เพิ่มเติมทั้งพื้นผิว และบริเวณเงา

1. ทําพื้นที่ดานซายของลูกเชอรี่ใหสีเขมขึ้น โดยคลิกเลือก Color Picker Tool เพื่อเลือกสีตนแบบจาก

สวนที่เปนเงาของลูกเชอรรี ่ จากนั้นเลือก Paintbrush Tool กําหนดคา Opacity 50% และคลิกระบายสีบริเวณดานซายของลูกเชอรี่

4.1 คลิกเลือก Eraser Tool

4.2 คลิกเลือกรูปแบบหัวแปรง

4.3 กําหนดคา Opacity เทากับ 100

4.4 คลิกลบขอบภาพ

1.1 คลิกเลือก Color Picker Tool

1.2 คลิกเลือกสีตนแบบ

1.3 สีของโฟรกราวนดจะเปลี่ยนไปเปนสทีี่เราเลือก

1.4 คลิกเลือก Paintbrush Tool

1.5 คลิกเลือกรูปแบบหัวแปรง

1.6 กําหนดคา Opacity เทากับ 50

1.7 คลิกระบายส ี

Page 218: Gimp Complete Book - คํมือ Gimp ภาษาไทย

Page 213

2. ตกแตงพื้นผิวดานอื่นๆ โดยใช Color Picker Tool คลิกเลือกสีตนแบบ จากนั้นใช Paintbrush Tool คลิกระบายสีพ้ืนผิว

3. ทําการเกลี่ยสีของเงา และพื้นผิว โดยคลิกเลือก Convolve Tool กําหนด Convolve Type แบบ Blur เพื่อปรับภาพใหฟุงเบลอ และกําหนดคา Rate เทากับ 50

ข้ันตอนที่ 4 ใสกานใหผลเชอรี่ และวาดเงาตกแตง  ขั้นตอนนี้เปนขั้นตอนสุดทายในการตกแตง ซึ่งเราจะนํากานของเชอรี่จากภาพตนฉบับมาใสในรูปลูกเชอรี่สี่เหลี่ยมของเรา และตกแตงใหกลมกลืน จากนั้นจึงวาดเงาตกแตงเพื่อความสมจริง

1. ใช Scissor Tool เลือกพื้นที่ของกานในภาพตนฉบับ และคลิกตรงกลางพื้นที่ที่เลือก จะไดการเลือกพื้นที่ของกานเชอรรี่ ใหกดคีย <Ctrl+C> เพื่อกอปปภาพ จากนั้นมาที่ภาพเชอรี่สี่เหลี่ยมกดคีย <Ctrl+V> เพื่อวางภาพ และคลิกที่ ในไดอะล็อก Layers เพื่อสรางเลเยอรขึ้นมารองรับภาพที่วาง

2.1 คลิกเลือกสีตนแบบ

2.2 คลิกระบายส ี

3.1 คลิกเลือก Convolve Tool

3.2 กําหนด Convolve Type แบบ Blur

3.3 กําหนดคา Rate เทากับ 50

3.4 คลิกเกลี่ยสีภาพ

Page 219: Gimp Complete Book - คํมือ Gimp ภาษาไทย

Page 214

2. ปรับแตงรูปทรงของกานเชอรรี่ใหเหมาะสม โดยใช Scale Tool ปรับขนาดของกาน ใช Rotate

Tool หมุนกานเชอรี่ และใช Move Tool เลื่อนตําแหนงจัดวางภาพใหเหมาะสม

1.1 คลิกเลือก Scissor Tool

1.2 เลือกพื้นที่ของกานเชอรี่ และคลิกตรงกลางพื้นที่ที่เลือก

1.3 จะไดการเลือกพื้นที่ของกานเชอรร่ี ใหกดคีย <Ctrl+C>

1.4 กดคีย <Ctrl+V> เพื่อวางภาพกานที่กอปปมาในภาพเชอรี่สี่เหลี่ยม

1.5 คลิกสรางเลเยอรใหม

1.5 คลิกสรางเลเยอรใหม

2.1 ใช Scale Tool ปรับขนาดภาพ

2.2 Rotate Tool หมุนภาพ 2.3 ใช Move Tool จัดวางภาพใหเหมาะสม

Page 220: Gimp Complete Book - คํมือ Gimp ภาษาไทย

Page 215

3. ทําภาพกานที่นํามาแปะใหดูกลมกลืนกัน โดยคลิกเลือก Eraser Tool กําหนดรูปแบบยางลบเปนแบบ

Circle Fuzzy (09) กําหนดคา Opacity เทากับ 15 จากนั้นคลิกลบขอบภาพ

4. เลือกสีจากเงาในภาพเชอรี่ตนแบบ โดยใช Color Picker Tool จากนั้นคลิกเลือกที่เลเยอร Background เพื่อใชวาดเงา

5. วาดเงาใหกับลูกเชอรี ่ โดยคลิกเลือก Airbrush Tool กําหนดรูปแบบหัวพนเปนแบบ Circle Fuzzy

(09) กําหนดคา Opacity เทากับ 15.9 กําหนดคา Rate เทากับ 100 และ คา Pressure เทากับ 10

จากนั้นคลิกระบายสีเงาตรงสวนลาง และซายของลูกเชอรี่สี่เหลี่ยม

3.1 คลิกเลือก Eraser Tool 3.3 กําหนดคา Opacity เทากับ 15

3.2 คลิกเลือกรูปแบบหัวแปรง 3.4 คลิกลบขอบภาพ

4.1 คลิกเลือก Color Picker Tool

4.2 คลิกเลือกสีตนแบบ

4.3 คลิกเลือกที่ใชวาดเงา

5.2 กําหนดคา Opacity เทากับ 15.9

Page 221: Gimp Complete Book - คํมือ Gimp ภาษาไทย

Page 216

6. เกลี่ยสีของเงาใหดูเรียบ โดยคลิกเลือก Convolve Tool กําหนด Convolve Type แบบ Blur เพื่อปรับภาพใหฟุงเบลอ

5.1 คลิกเลือก Airbrush Tool

5.3 คลิกเลือกลักษณะหัวพน

5.4 กําหนดคา Rate เทากับ 100 และ คา Pressure เทากับ 10

5.5 คลิกวาดเงา

6.1 คลิกเลือก Convolve Tool

6.2 กําหนด Convolve Type แบบ Blur

6.3 คลิกเกลี่ยสีภาพ ผลลัพธของภาพที่ได