Transcript
Page 1: The 7th NPRU NAC 2015, Full Proceedingpws.npru.ac.th/kamollapoo/data/files/The 7th NPRU NAC... · 2015-04-12 · 17. อาจารย ดร.ธดา สิทธิ์ธาดา
Page 2: The 7th NPRU NAC 2015, Full Proceedingpws.npru.ac.th/kamollapoo/data/files/The 7th NPRU NAC... · 2015-04-12 · 17. อาจารย ดร.ธดา สิทธิ์ธาดา
Page 3: The 7th NPRU NAC 2015, Full Proceedingpws.npru.ac.th/kamollapoo/data/files/The 7th NPRU NAC... · 2015-04-12 · 17. อาจารย ดร.ธดา สิทธิ์ธาดา

สารอธิการบดี

มห า วิทยาลั ย ร าช ภัฏนคร ปฐม ยึ ดมั่ น ในป รั ชญ า “การศึกษาสรางคน คิดคนภูมิปญญา พัฒนาทองถ่ิน” และมีวิสัยทัศน คือ “มหาวิทยาลัยราชภัฏนครปฐม มุงมั่นที่จะเปนองคกรแหงการเรียนรู ผลิตบัณฑิตที่มีศักยภาพพรอมทํางานในประชาคมอาเซียน เปนศูนยกลางการเรียนรูอารยธรรมทวารวดี และเปนคําตอบของทองถ่ินในการสรางภูมิคุมกันตอการเปลี่ยนแปลง” เปนมหาวิทยาลัยเพื่อการพัฒนาทองถ่ินอยางย่ังยืน ผลิตบัณฑิตที่มีคุณภาพคูคุณธรรม พัฒนาองคความรู ภูมิปญญาสูสากล ซึ่งเปนกลไกหน่ึงที่ขับเคลื่อนใหเกิดการคิดคนภูมิปญญา เพื่อที่จะผลิตบัณฑิตใหมีคุณภาพ หรือการพัฒนาทองถ่ินอยางย่ังยืน คือการสรางองคความรูจากงานวิจัยเพื่อตอบโจทยปญหา พัฒนาทองถ่ินและ ผลที่จะตามมาคือองคความรูที่ไดจากงานวิจัย ซึ่งนําไปสูสากลเวทีงานประชุมวิชาการระดับชาติ มหาวิทยาลัยราชภัฏนครปฐม ครัง้ที ่7 ภายใตแนวคิด “พัฒนางานวิจัย สรางสรรคประเทศไทย กาวไกล สูประชาคมอาเซียน” ในระหวางวันที่ 30 -31 มีนาคม 2558 ณ มหาวิทยาลัยราชภัฏนครปฐม

ทายสุด น้ี ผมขอขอบคุณสํานักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา เครือขายสหวิทยาการ สํานักงานราชบัณฑิตยสภา ในพระราชูปถัมภ สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี IEEE Communications Society - Thailand Chapter สถาบันวิจัยและพัฒนา และคณะผูจัดงานประชุมวิชาการระดับชาติครั้งน้ี ที่ดําเนินการใหเกิดการแลกเปลี่ยนเรียนรูทางวิชาการ ผมหวังเปนอยางย่ิงวา การประชุมวิชาการเสนอผลงานในครั้งน้ีจะเปนอีกกาวหน่ึงที่เปดโอกาสใหกับอาจารย นักวิจัย นิสิต นักศึกษา ของมหาวิทยาลัยตางๆ ตลอดจนผูสนใจทุกทานแลกเปลี่ยนเรียนรูรวมกัน เพื่อเปนเครือขายการสรางสรรคงานวิจัย และสามารถนําองคความรูที่ไดจากงานวิจัยไปประยุกตใชใหเกิดประสิทธิภาพ ประสิทธิผล อยางแทจริงกับสังคมและประเทศชาติในอนาคตตอไป

(ผูชวยศาสตราจารยสมเดช นิลพันธุ) อธิการบดีมหาวิทยาลัยราชภัฏนครปฐม

Page 4: The 7th NPRU NAC 2015, Full Proceedingpws.npru.ac.th/kamollapoo/data/files/The 7th NPRU NAC... · 2015-04-12 · 17. อาจารย ดร.ธดา สิทธิ์ธาดา

การประชุมวิชาการระดับชาติ มหาวิทยาลัยราชภัฏนครปฐม คร้ังที่ 7 มหาวิทยาลัยราชภัฏนครปฐม | จังหวัดนครปฐม | ประเทศไทย | 30 – 31 มีนาคม 2558

“พัฒนางานวิจัย สรางสรรคประเทศไทย กาวไกลสูประชาคมอาเซียน”

The 7th NPRU National Academic Conference Nakhon Pathom Rajabhat University | Nakhon Pathom | Thailand | 30 – 31 March 2015

“Research Development to create the creative Thailand for stepping towards the ASEAN Community”

การรปปปปรรรระะะะชชชชุุุุมววววิิิิชชชชาาาากกกกาาาารรรรรระะะะดดดดัััับบบชชชชาาาาตตตติิิ มมมมหหหหาาาาววววิิิิททททยยยยาาาาลลลลััยยยยรรรราาาาชชชชภภภภััััฏฏฏฏนนนนคคคครปปปปฐฐฐฐมมมม คคคคร้้้้ัััังที่ 777 มหหหหาาาาววววิิิิทยาาาลลลลััััยยยยรรรราชภภภภััััฏฏฏฏนนนนคคคครรรรปปปปฐฐฐฐมมมม |||| จจจจังงงงหหหหววววััดดดดนนนนคคคครรรรปปปปฐฐฐฐมมมม |||| ปปปปรรรระะะะเเเเททททศศศศไไไไททททยยยย |||| 33330000 – 331111 มมมมีีีีนนาคคคคมมมม 2558

“พพััััฒฒฒฒนนนนาาาางาาาานนนนววววิิิิจจจจััััยยยย สสสสรรรราาาางงงงสสสสรรรรรรรรคคคคปปรรรระะะะเเเเททททศศศศไไไไทททยยยย กกกกาาาาววววไไไไกกกกลลลลสูปปปปรรรระะะะชชชชาาาาคมมมมออออาาาาเเเเซีีีียน”

TTTThhhheeee 77thththth NNNNPPPPRRRRUUUU NNNNaaaattttiiiooonnnaaallll AAAAccccaaaaddddeeeemmmmiiiicccc CCCCoooonfeeeerrrreeeennnccceeee NNNNaaaakkkkhhhhoonnnn Patttthhhhoooommmm RRRRaaaajjjjaabbbbhhhhaaaatttt UUUUnnnniiiivvvveeeerrrrssssiiiittttyyyy |||| NNNNaaaakkkkhhhhoooonnnn PPPPaaaatttthhhhoooommmm |||| TTTThhhhaaaaiiiillllaaaannndddd |||| 333300 –––– 33331111 MMMMarcccchhhh 2015

““““RRRReeesssseeeeaaaarrrccchhhh DDDDeeeevvvveeeellllooooppppmmmment ttttoooo ccreatttteeee tttthhhheeee ccccrrrreeeeaaaattttiiiivvvveeee TTTThhhhaaiiiillllaaaannnndd ffffooor ssstttteeeeppppppppiiinnnngggg ttoooowarddddssss tttthhhheeee ASEEEAAAANNNN CCCCoooommmmmmmmuuunnnniiittttyyyy”

Page 5: The 7th NPRU NAC 2015, Full Proceedingpws.npru.ac.th/kamollapoo/data/files/The 7th NPRU NAC... · 2015-04-12 · 17. อาจารย ดร.ธดา สิทธิ์ธาดา

สารจากรองอธิการบดี

งานประชุมวิชาการระดับชาติมหาวิทยาลัยราชภัฏนครปฐมคร้ังท่ี 7 ภายใตแนวคิด “พัฒนางานวิจัย สรางสรรคประเทศไทย กาวไกลสูประชาคมอาเซียน” ในระหวางวันท่ี 30 - 31 มีนาคม 2558 ณ มหาวิทยาลัยราชภัฏนครปฐม ภายใตความรวมมือของมหาวิทยาลัยราชภัฏนครปฐม สํานักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา เครือขายสหวิทยาการ สํานักงานราชบัณฑิตยสภาในพระราชูปถัมภ สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี และ IEEE Communications Society มีวัตถุประสงคเพ่ือเปนเวทีแลกเปล่ียนทางวิชาการระหวางคณาจารย นักศึกษา นักวิจัย นักวิชาการ ท้ังจากหนวยงานภายใน และหนวยงานภายนอกมหาวิทยาลัย เพ่ือนําเสนอแลกเปล่ียนผลงานท้ังในรูปแบบของภาคบรรยาย (Oral Presentation) และภาคโปสเตอร (Poster Presentation) ซ่ึงถูกกล่ันกรอง และคัดเลือกโดยผูทรงคุณวุฒิในสาขาน้ันๆ จํานวน 2 ทาน บทความท่ีไดรับคัดเลือก ใหนําเสนอในงานประชุมวิชาการคร้ังน้ี บทคัดยอจะไดรับการตีพิมพในเอกสารประกอบการประชุมวิชาการ (Abstract Proceedings Book) พรอมบทความฉบับเต็ม (Full Paper) ในรูปแบบดิจิตอลไฟลในแผนซีดี และจะสงใหหองสมุดของมหาวิทยาลัย ท่ัวประเทศ และหนวยงานท่ีเก่ียวของ นอกจากน้ีจะคัดเลือกบทความวิจัยฉบับเต็ม (Full Paper) ท่ีมีคุณภาพดี และผานการพิจารณาจากผูทรงคุณวุฒิของวารสารเพ่ือลงตีพิมพในวารสารวิชาการมหาวิทยาลัยราชภัฏตะวันตก ซ่ึงอยูในฐานขอมูลดัชนีการอางอิงวารสารไทย (TCI Thai-Journal Citation Index) งานประชุมวิชาการระดับชาติมหาวิทยาลัยราชภัฏนครปฐมคร้ังท่ี 7 น้ี มีการแบงสาขาของการนําเสนอบทความวิจัยเปน 17 สาขา ใน 6 กลุมสาขาวิชาการหลัก คือ วิทยาศาสตรและเทคโนโลยี วิศวกรรมศาสตร ครุศาสตร มนุษยศาสตรและสังคมศาสตร พยาบาลศาสตร และวิทยาการจัดการ โดยมีบทความท่ีสงเขารวมท้ังหมด 300 เร่ือง ไดรับการคัดเลือกใหนําเสนอบทความจํานวน 239 เร่ือง และในงานประชุมวิชาการคร้ังน้ีไดมีการบรรยายของวิทยากรระดับชาติ โดย รองศาสตราจารยวุฒิสาร ตันไชย เลขาธิการสถาบันพระปกเกลา เร่ือง “การปฏิรูปการปกครองทองถิ่นไทย เพ่ือเขาสูประชาคมอาเซียน” และ รอยตํารวจเอก ดร.นิติภูมิ นวรัตน เร่ือง “วิกฤตหรือโอกาสของทองถิ่นไทยในการเขาสูประชาคมอาเซียน”

ผมขอขอบคุณ และแสดงความยินดีตอความสําเร็จของนักวิจัยทุกทาน ท่ีไดพากเพียรทุมเทในการศึกษาคนควาวิจัย จนไดผลการวิจัยท่ีมีประโยชนตอทองถิ่น ประเทศชาติ และสะทอนความกาวหนาทางวิชาการในสาขาตางๆ

ทายน้ี ผมขอขอบคุณ สํานักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา เครือขายสหวิทยาการ สํานักงานราชบัณฑิตยสภา ในพระราชูปถัมภ สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี และ IEEE Communications Society – Thailand Chapter สถาบันวิจัยและพัฒนา คณะผูจัดงานประชุมวิชาการท่ีไดรวมกันสนับสนุน และจัดงานประชุมวิชาการระดับชาติในคร้ังน้ี หวังวาการรวมมือกันในคร้ังน้ี จะสามารถขับเคล่ือนในการสรางเครือขายการวิจัย ในสาขาตางๆ ใหกวางขวางตอไปในอนาคต มีการเชื่อมโยง และสรางประโยชนใหผูท่ีสนใจ นําความรูไปประยุกตใชในการศึกษาวิจัย พัฒนาทองถิ่น และประเทศชาติตอไป

(รองศาสตราจารยโสรัจ กายบริบรูณ) รองอธิการบดีมหาวิทยาลัยราชภัฏนครปฐม

Page 6: The 7th NPRU NAC 2015, Full Proceedingpws.npru.ac.th/kamollapoo/data/files/The 7th NPRU NAC... · 2015-04-12 · 17. อาจารย ดร.ธดา สิทธิ์ธาดา

กองบรรณาธกิารบริหารเอกสารประกอบการประชุมวิชาการระดบัชาต ิมหาวิทยาลัยราชภัฏนครปฐม ครั้งที ่7

1. ผูชวยศาสตราจารยสมเดช นิลพันธุ ประธานกรรมการ 2. รองศาสตราจารยโสรจั กายบรบิูรณ รองประธานกรรมการ 3. รองศาสตราจารยชลรีัตน พยอมแยม กรรมการ 4. รองศาสตราจารย ดร.สุนุตตรา ตะบูนพงศ กรรมการ 5. รองศาสตราจารยบรรดล สุขปติ กรรมการ 6. รองศาสตราจารย ดร.ปยะ โควินททวีวัฒน กรรมการ 7. ผูชวยศาสตราจารย ดร.เกศินี ประทุมสุวรรณ กรรมการ 8. ผูชวยศาสตราจารย ดร.จักรพงษ แกวขาว กรรมการ 9. ผูชวยศาสตราจารย ดร.จิตติรัตน แสงเลิศอุทัย กรรมการ 10. ผูชวยศาสตราจารย ดร.เยาวภา บัวเวช กรรมการ 11. ผูชวยศาสตราจารย ดร.หทัยชนก บัวเจริญ กรรมการ 12. อาจารย ดร.กิติพันธ บุญอินทร กรรมการ 13. อาจารย ดร.ไกรุง เฮงพระพรหม กรรมการ 14. อาจารย ดร.ณัฐพล ศรีสิทธิโภคกลุ กรรมการ 15. อาจารย ดร.ณัฐพัชญ ศรีราจันทร กรรมการ 16. อาจารย ดร.เดช ธรรมศิร ิ กรรมการ 17. อาจารย ดร.ธดา สิทธ์ิธาดา กรรมการ 18. อาจารย ดร.ธีรวุธ ธาดาตันติโชค กรรมการ 19. อาจารย ดร.นพดล ผูมีจรรยา กรรมการ 20. อาจารย ดร.นภาภรณ ยอดสิน กรรมการ 21. อาจารย ดร.นภาเดช บุญเชิดชู กรรมการ 22. อาจารย ดร.นันทนภัส นิยมทรัพย กรรมการ 23. อาจารย ดร.นิพล เช้ือเมืองพาน กรรมการ 24. อาจารย ดร.บุญสม ทับสาย กรรมการ 25. อาจารย ดร.ปยะพร ตันณีกุล กรรมการ 26. อาจารย ดร.พิชญาภา ยืนยาว กรรมการ 27. อาจารย ดร.พิทักษพงศ ปอมปราณี กรรมการ 28. อาจารย ดร.ภัทรวจ ี ยะสะกะ กรรมการ 29. อาจารย ดร.มินทมันตา หิรัณยณภัทร กรรมการ 30. อาจารย ดร.รุงนภา เพงรุงเรืองวงษ กรรมการ 31. อาจารย ดร.สันติ กูลการขาย กรรมการ 32. อาจารยจิตรภณ สุนทร กรรมการ 33. อาจารยพงศสฎา เฉลิมกลิ่น กรรมการ 34. อาจารยไพรินทร มากเจริญ กรรมการ 35. อาจารยวลัยลักษณ อมรสิริพงษ กรรมการ

Page 7: The 7th NPRU NAC 2015, Full Proceedingpws.npru.ac.th/kamollapoo/data/files/The 7th NPRU NAC... · 2015-04-12 · 17. อาจารย ดร.ธดา สิทธิ์ธาดา

36. อาจารยวัลล ี นวลหอม กรรมการ 37. อาจารยสัณหกฤษณ บุญชวย กรรมการ 38. อาจารยอมุาพร สิทธิบรูณาญา กรรมการ 39. อาจารย ดร.พัชรศักด์ิ อาลัย กรรมการและเลขานุการ 40. อาจารย ดร.สุพจน เฮงพระพรหม กรรมการและผูชวยเลขานุการ 41. อาจารย ดร.อุมาพร อาลัย กรรมการและผูชวยเลขานุการ 42. นายไชยณัฐ ดําดี กรรมการและผูชวยเลขานุการ 43. นางสาวพิมลพรรณ แซเหลี่ยว ผูชวยเลขานุการ 44. นายจิรันดร บูฮวดใช ผูชวยเลขานุการ 45. นางสาวสาลินี เจริญศร ี ผูชวยเลขานุการ 46. นางสาวแสงดาว นาคปาน ผูชวยเลขานุการ 47. นางสาวภคมน แจมจํารัส ผูชวยเลขานุการ

Page 8: The 7th NPRU NAC 2015, Full Proceedingpws.npru.ac.th/kamollapoo/data/files/The 7th NPRU NAC... · 2015-04-12 · 17. อาจารย ดร.ธดา สิทธิ์ธาดา

คณะกรรมการผูทรงคณุวุฒปิระเมินบทความวิจัยโครงการประชุมวิชาการระดบัชาต ิมหาวิทยาลัยราชภัฏนครปฐม ครั้งที ่7

1. รองศาสตราจารยโสรจั กายบรบิูรณ ประธานกรรมการ 2. ศาสตราจารย พล.ต.ต.หญิง ดร.นัยนา เกิดวิชัย กรรมการ 3. ศาสตราจารย ดร.ประนอม โอทกานนท กรรมการ 4. ศาสตราจารย พล.ต.ต.ดร.โสภณ ศรีวรพจน กรรมการ 5. รองศาสตราจารย ดร.วิชัย วงษใหญ กรรมการ 6. รองศาสตราจารย ดร.กฤษณ ทองเลิศ กรรมการ 7. รองศาสตราจารย พ.ต.อ.ดร.กิตต์ิชนทัต เลอวงศรัตน กรรมการ 8. รองศาสตราจารย ดร.จริยาวัตร คมพยัคฆ กรรมการ 9. รองศาสตราจารย ดร.จอนผะจง เพ็งจาด กรรมการ 10. รองศาสตราจารย ดร.นันทิยา นอยจันทร กรรมการ 11. รองศาสตราจารย ดร.บัญชา ชลาภิรมย กรรมการ 12. รองศาสตราจารย ดร.ประกอบ คุณารักษ กรรมการ 13. รองศาสตราจารย ดร.ปยะ โควินททวีวัฒน กรรมการ 14. รองศาสตราจารย ดร.พรทิพย เกยุรานนท กรรมการ 15. รองศาสตราจารย ดร.วิไลพร วรจิตตานนท กรรมการ 16. รองศาสตราจารย ดร.ศักด์ิไทย สุรกจิบวร กรรมการ 17. รองศาสตราจารย ดร.สมใจ พุทธาพิทักษผล กรรมการ 18. รองศาสตราจารย ดร.สมิต อินทรศิรพิงษ กรรมการ 19. รองศาสตราจารย ดร.สุนุตตรา ตะบูนพงศ กรรมการ 20. รองศาสตราจารยชลรีัตน พยอมแยม กรรมการ 21. รองศาสตราจารยบรรดล สุขปติ กรรมการ 22. พระครูสุนทรธรรมโสภณ (รองศาสตราจารย) กรรมการ 23. ผูชวยศาสตราจารย ดร.กรัณศุภมาส เองฉวน กรรมการ 24. ผูชวยศาสตราจารย ดร.กัณฑธิมา นิลทองคํา กรรมการ 25. ผูชวยศาสตราจารย ดร.เกศินี ประทุมสุวรรณ กรรมการ 26. ผูชวยศาสตราจารย ดร.จักรพงษ แกวขาว กรรมการ 27. ผูชวยศาสตราจารย ดร.จันทนา วัฒนกาญจนะ กรรมการ 28. ผูชวยศาสตราจารย ดร.จิตติรัตน แสงเลิศอุทัย กรรมการ 29. ผูชวยศาสตราจารย ดร.ชญาพมิพ อุสาโห กรรมการ 30. ผูชวยศาสตราจารย ดร.ณรงค สังวาระนท ี กรรมการ 31. ผูชวยศาสตราจารย ดร.ณัฐนันท คุณมาศ กรรมการ 32. ผูชวยศาสตราจารย ดร.ดารินทร ประดิษฐทัศนีย กรรมการ 33. ผูชวยศาสตราจารย ดร.ธงชัย พงศสิทธิกาญจนา กรรมการ 34. ผูชวยศาสตราจารย ดร.ธีรนันท วรรณศิร ิ กรรมการ 35. ผูชวยศาสตราจารย ดร.นรินทร สังขรักษา กรรมการ

Page 9: The 7th NPRU NAC 2015, Full Proceedingpws.npru.ac.th/kamollapoo/data/files/The 7th NPRU NAC... · 2015-04-12 · 17. อาจารย ดร.ธดา สิทธิ์ธาดา

36. ผูชวยศาสตราจารย ดร.นันทิยา ดวงภุมเมศ กรรมการ 37. ผูชวยศาสตราจารย ดร.ประยูร บุญใช กรรมการ 38. ผูชวยศาสตราจารย ดร.ปยะนาถ บุญมีพพิิธ กรรมการ 39. ผูชวยศาสตราจารย ดร.ผัสสพรรณ ถนอมพงษชาติ กรรมการ 40. ผูชวยศาสตราจารย ดร.พมิสุภาว จันทนะโสตถ์ิ กรรมการ 41. ผูชวยศาสตราจารย ดร.เยาวภา บัวเวช กรรมการ 42. ผูชวยศาสตราจารย ดร.โยธิน ศรีโสภา กรรมการ 43. ผูชวยศาสตราจารย ดร.รัชนก คชไกร กรรมการ 44. ผูชวยศาสตราจารย ดร.รัฐดาว พิศาลพงศ กรรมการ 45. ผูชวยศาสตราจารย ดร.วงจันทร เพชรพิเชฐเชียร กรรมการ 46. ผูชวยศาสตราจารย ดร.วรรณรีย บุญคุม กรรมการ 47. ผูชวยศาสตราจารย ดร.วัลนิกา ฉลากบาง กรรมการ 48. ผูชวยศาสตราจารย ดร.วิชัย ลําใย กรรมการ 49. ผูชวยศาสตราจารย ดร.วิโรจน เจษฎาลักษณ กรรมการ 50. ผูชวยศาสตราจารย ดร.ศิลปชัย กงตาล กรรมการ 51. ผูชวยศาสตราจารย ดร.สมจิต จันทรฉาย กรรมการ 52. ผูชวยศาสตราจารย ดร.สุธาสินี ศิริโภคาภิรมย กรรมการ 53. ผูชวยศาสตราจารย ดร.สุพิชฌาย จินดาวัฒนภูม ิ กรรมการ 54. ผูชวยศาสตราจารย ดร.สุมนทิพย จิตสวาง กรรมการ 55. ผูชวยศาสตราจารย ดร.สุวัฒน ฉิมะสังคนันท กรรมการ 56. ผูชวยศาสตราจารย ดร.สุวิมล เรืองศร ี กรรมการ 57. ผูชวยศาสตราจารย ดร.เสรี วรพงษ กรรมการ 58. ผูชวยศาสตราจารย ดร.หทัยชนก บัวเจริญ กรรมการ 59. ผูชวยศาสตราจารย ดร.อุษา นอยทิม กรรมการ 60. ผูชวยศาสตราจารยประภาพรรณ เพียรชอบ กรรมการ 61. อาจารย ดร.กฤษณ รักชาติเจริญ กรรมการ 62. อาจารย ดร.กัญญา สอนสนิท กรรมการ 63. อาจารย ดร.กันตดนัย วรจิตติพล กรรมการ 64. อาจารย ดร.กิติพันธ บุญอินทร กรรมการ 65. อาจารย ดร.กีรติ เกิดศิร ิ กรรมการ 66. อาจารย ดร.เจษฎา สาททอง กรรมการ 67. อาจารย ดร.ชานนท วริสาร กรรมการ 68. อาจารย ดร.ณรงค โพธิ กรรมการ 69. อาจารย ดร.ณรงคชัย บุญโญปกรณ กรรมการ 70. อาจารย ดร.ณัฐกฤตา จันทิมา กรรมการ 71. อาจารย ดร.ณัฐพล ศรีสิทธิโภคกลุ กรรมการ 72. อาจารย ดร.ณัฐพัชญ ศรีราจันทร กรรมการ 73. อาจารย ดร.เดช ธรรมศิร ิ กรรมการ

Page 10: The 7th NPRU NAC 2015, Full Proceedingpws.npru.ac.th/kamollapoo/data/files/The 7th NPRU NAC... · 2015-04-12 · 17. อาจารย ดร.ธดา สิทธิ์ธาดา

74. อาจารย ดร.ธงไชย สุรินทรวรางกูร กรรมการ 75. อาจารย ดร.นพดล ผูมีจรรยา กรรมการ 76. อาจารย ดร.นภาเดช เชิดชู กรรมการ 77. อาจารย ดร.นภาภรณ ยอดสิน กรรมการ 78. อาจารย ดร.นันทนภัส นิยมทรัพย กรรมการ 79. อาจารย ดร.นิฏฐิตา เชิดชู กรรมการ 80. อาจารย ดร.นิพล เช้ือเมืองพาน กรรมการ 81. อาจารย ดร.นิออน ศรีสมยง กรรมการ 82. อาจารย ดร.เนตรชนก เกียรต์ินนทพัทธ กรรมการ 83. อาจารย ดร.เนตรชนก นุยสีรุง กรรมการ 84. อาจารย ดร.ธดา สิทธ์ิธาดา กรรมการ 85. อาจารย ดร.บรรณทัศน สรอยระยา กรรมการ 86. อาจารย ดร.บุญสม ทับสาย กรรมการ 87. อาจารย ดร.บุรัสกร โตรัตน กรรมการ 88. อาจารย ดร.ปรารถนา แซอึ๊ง กรรมการ 89. อาจารย ดร.ปาริชาติ ขําเรือง กรรมการ 90. อาจารย ดร.ปยะพร ตันณีกุล กรรมการ 91. อาจารย ดร.เปรมศิริ โรจนสัจจะกลุ กรรมการ 92. อาจารย ดร.เปรมศิริ สมพรเสริม กรรมการ 93. อาจารย ดร.พงษศักด์ิ กีรติวินทกร กรรมการ 94. อาจารย ดร.พรเทพ จันทราอุกฤษฎ กรรมการ 95. อาจารย ดร.พฤฒิพล ลิ้มกจิเจรญิภรณ กรรมการ 96. อาจารย ดร.พิจิตรา จอมศรี กรรมการ 97. อาจารย ดร.พิชญาภา ยืนยาว กรรมการ 98. อาจารย ดร.พิทักษพงศ ปอมปราณี กรรมการ 99. อาจารย ดร.ภรัณยา ปาลวิสทุธ์ิ กรรมการ 100. อาจารย ดร.ภัทรวจี ยะสะกะ กรรมการ 101. อาจารย ดร.ภัทราวุฒิ แสงศิร ิ กรรมการ 102. อาจารย ดร.ภาสกร อินทุมาร กรรมการ 103. อาจารย ดร.มติ หอประทมุ กรรมการ 104. อาจารย ดร.มนูญ จันทรสมบูรณ กรรมการ 105. อาจารย ดร.มินทมันตา หิรัณยณภัทร กรรมการ 106. อาจารย ดร.มนัสนันท นํ้าสมบรูณ กรรมการ 107. อาจารย ดร.ยศกิต เรืองทวีป กรรมการ 108. อาจารย ดร.ยศพล เหลืองโสมนภา กรรมการ 109. อาจารย ดร.ย่ิง กีรติบรูณะ กรรมการ 110. อาจารย ดร.รัฐศิรินทร วังกานนท กรรมการ 111. อาจารย ดร.รุงนภา เพงรุงเรืองวงษ กรรมการ

Page 11: The 7th NPRU NAC 2015, Full Proceedingpws.npru.ac.th/kamollapoo/data/files/The 7th NPRU NAC... · 2015-04-12 · 17. อาจารย ดร.ธดา สิทธิ์ธาดา

112. อาจารย ดร.เรอืงอุไร อมรไชย กรรมการ 113. อาจารย ดร.วฤษสพร ณัฐรุจิโรจน กรรมการ 114. อาจารย ดร.วัลลภา จันทรเพ็ญ กรรมการ 115. อาจารย ดร.วิเชียร ศิริพรม กรรมการ 116. อาจารย ดร.วิศิษฐ ฤทธิบุญไชย กรรมการ 117. อาจารย ดร.ศุภรัตน ทัศนเจริญ กรรมการ 118. อาจารย ดร.สมศักด์ิ อมรสิริพงศ กรรมการ 119. อาจารย พล.ต.ดร.สิทธิเดช วงศปรัชญา กรรมการ 120. อาจารย ดร.สัญชัย เกียรติทรงชัย กรรมการ 121. อาจารย ดร.สันติ กูลการขาย กรรมการ 122. อาจารย ดร.สจุิตรา คงจินดา กรรมการ 123. อาจารย ดร.สุชาดา แสงดวงดี กรรมการ 124. อาจารย ดร.สุพจน เฮงพระพรหม กรรมการ 125. อาจารย ดร.สเุมธี วงศศักด์ิ กรรมการ 126. อาจารย ดร.แสงแข บุณศิร ิ กรรมการ 127. อาจารย ดร.หรรษา คลายจันทรพงษ กรรมการ 128. อาจารย ดร.อัมรินทร อินทรอยู กรรมการ 129. อาจารย ดร.อุมาพร อาลัย กรรมการ 130. อาจารยพงศสฎา เฉลิมกลิ่น กรรมการ 131. อาจารยศานติ ดิฐสถาพรเจริญ กรรมการ

Page 12: The 7th NPRU NAC 2015, Full Proceedingpws.npru.ac.th/kamollapoo/data/files/The 7th NPRU NAC... · 2015-04-12 · 17. อาจารย ดร.ธดา สิทธิ์ธาดา

สารบัญ (ตอ) หนา

A Comparison of Female Protagonists in Fairy Tales: Cinderella and Pla Boo Thong By Nupong Phusri 277 The Guidelines of English Language Teaching for Thai teachers By Lalana Pathomchaiwat 283 ผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนรายวิชาวารสารและหนังสือพิมพดวยวิธีการสอนแลวสอบของนักศึกษาสาขาวิชาการบรรณารักษศาสตรและสารสนเทศศาสตร หมูเรียน 55/76 ปการศึกษา 2556 โดย นุชรี บุญศรีงาม 290 การศึกษาพฤติกรรมการลอกแบบฝกหัดและไมสงงานหรือการบานของนักศึกษาในรายวิชาทักษะการรูสารสนเทศ ปการศึกษา 2556 โดย ไพโรจน แกวเขียว 297 การรําหนาพาทยเพลงตระ โดย ชมนาด กิจขันธ 306 การส่ือสารขามวัฒนธรรมกับการสอนภาษาอังกฤษ โดย สุธาพร ฉายะรถ ี 313 การวิเคราะหอัตลักษณในคําขวัญประจําจังหวัดในภูมิภาคตะวันตก: ส่ือแสดงอัตลักษณทองถิ่นสูประชาคมอาเซียน โดย แพรภัทร ยอดแกว 318

การนําเสนอผลงานสาขาพยาบาลศาสตร สาธารณสุขศาสตรและสุขภาพ (NUR) 331 รองศาสตราจารย ดร.สุนุตตรา ตะบูนพงศ และผูชวยศาสตราจารย ดร.หทัยชนก บัวเจริญ การนําเสนอผลงานแบบบรรยาย (Oral Presentation) 332 การศึกษาเปรียบเทียบการเปล่ียนแปลงทางดานสรีรวิทยาจากการสัมผัสความรอน ของแรงงานเด็กในงานเกษตรกรรม โดย ประกาศิต ทอนชวย, อัมรินทร คงทวีเลิศ, วิทยา อยูสุข และดุสิต สุจิรารัตน 333 การศึกษาเปรียบเทียบการใช SCBA (Self-Contained Breathing Apparatus) แบบชนิดถังเหล็กกับชนิดถังคารบอนไฟเบอรในพนักงานดับเพลิง : ประเมินผลกระทบตอสุขภาพ โดย พรวิมล ตันประดิษฐ, วิชัย พฤกษธาราธิกูล, สุทธินันท ฉันทธนกุล และสุคนธา ศิริ 341 ปจจัยที่สงผลตอพฤติกรรมสุขภาพของพระสงฆในอําเภอเมือง จังหวัดพิษณุโลก โดย เอกภพ จันทรสุคนธ, อภิรักษ แสนใจ และอนุสรา กุดไธสง 351 ประสิทธิผลของโปรแกรมการปองกันและควบคุมโรคไขเลือดออกโดยการมีสวนรวมของชุมชน ตําบลบานนา อําเภอวชิรบารมี จังหวัดพิจิตร โดย นิธิพงศ ศรีเบญจมาศ, ธัญลักษณ ชูศรี และวราภรณ ไชยโคตร 362 รูปแบบการปรับพฤติกรรมการใชยารักษาตามแผนการรักษาของผูสูงอายุโรคความดันโลหิตสูงในชุมชน โดย กมลภู ถนอมสัตย และวิไล ตาปะสี 371 วิจัยทางการพยาบาลฉุกเฉินในประเทศไทย : การทบทวนวรรณกรรมอยางเปนระบบ ตั้งแตป พ.ศ. 2546-2556 โดย มาลินี จําเนียร และธัญญลักษณ วจนะวิศิษฐ 382 ผลการใหคําปรึกษาทางการพยาบาลแบบกลุมตอการเสริมสรางความรูสึกมีคุณคาในตนเองของผูสูงอายุ ในชุมชนเทศบาลโพรงมะเดื่อ จังหวัดนครปฐม โดย วริยา จันทรขํา และฐิติวัลคุ ธรรมไพโรจน 390

Page 13: The 7th NPRU NAC 2015, Full Proceedingpws.npru.ac.th/kamollapoo/data/files/The 7th NPRU NAC... · 2015-04-12 · 17. อาจารย ดร.ธดา สิทธิ์ธาดา

สารบัญ (ตอ) หนา

การรับรูอาการของโรคหัวใจขาดเลือดในประชากรกลุมเส่ียง ตําบลวังตะกู อําเภอเมือง จังหวัดนครปฐม โดย กมลภู ถนอมสัตย และคณะ 396 ความสัมพันธเก่ียวกับความรูและความเช่ือม่ันของประชาชนตอการเรียกใชบริการการแพทยฉุกเฉินในชุมชนตําบลหนองปากโลง โดย จุฑารัตน ผูพิทักษกุล และหทัยชนก บัวเจริญ 407 การศึกษาการจัดการเรียนรูโดยใชสถานการณจําลองอุบัติภัยหมูในรายวิชาการพยาบาลฉุกเฉินและสาธารณภัย โดย จุฑารัตน ผูพิทักษกุล 416 การพัฒนารูปแบบสนับสนุนการเขาถึงบริการสุขภาพของผูสูงอายุในชุมชน โดย สุนุตตรา ตะบูนพงศ, เรียม นมรักษ, พรทิพย จอกกระจาย และนวลฉวี ศรีวิพัฒน 426 การสรางเสริมพลังอํานาจครอบครัวในการดูแลภาวะโภชนาการในผูสูงอายุ โดย ณัฐธยาน อังคประเสริฐกุล และเอมวดี เกียรติศิริ 437 การศึกษาทุนและศักยภาพขององคการบริหารสวนตําบลสระกะเทียมเพื่อสรางชุมชนทองถิ่นจัดการตนเอง โดย สมบัติ ประทักษกุลวงศา และวริยา จันทรขํา 445 การพัฒนานวัตกรรมการฟนฟูสภาพสําหรับผูสูงอายุที่เจ็บปวยเรื้อรังในชุมชน โดย สมบัติ ประทักษกุลวงศา, วริยา จันทรขํา และพิมสุภาว จันทนะโสตถิ์ 453 การศึกษาการรับรูประโยชนและความพึงพอใจตอการใชแผนที่ความคิดในการเรียนวิชา ปฏิบัติการพยาบาลจิตเวชและสุขภาพจิต โดย สมบัติ ประทักษกุลวงศา, ฐิติวัลคุ ธรรมไพโรจน และวริยา จันทรขํา 465 การประยุกตแนวคิดการเรียนรูโดยใชสมองเปนฐานสูการเรียนรูภาคปฏิบัติการพยาบาล ของนักศึกษาพยาบาล โดย เสาวรี เอ่ียมละออ 473 ปญหาแมวัยใส : ความทาทายของงานสาธารณสุขไทย โดย วิไล ตาปะสี 481 ปจจัยที่สัมพันธกับการรับรูอาการและอาการแสดงของโรคหลอดเลือดสมองเฉียบพลันในผูใหญวัยกลางคน ตําบลหนองปากโลง จังหวัดนครปฐม โดย พรพรรณ สุดใจ, สุนุตตรา ตะบูนพงศ และพัชชา นิลดํา 490 การนําเสนอผลงานแบบโปสเตอร (Poster Presentation) 498 ผลการพัฒนากระบวนการใหบริการแผนกผูปวยนอก สําหรับผูมีสิทธิประกันสังคมและสิทธิขาราชการ ในโรงพยาบาลเขายอย จังหวัดเพชรบุรี โดย ณัฐนภัสสร ธัญญาพงษ, วรางคณา จันทรคง และชอทิพย บรมธนรัตน 499 การพัฒนาแบบบันทึกทางการพยาบาลของหองปฏิบัติการสวนหัวใจ โรงพยาบาลเอกชนแหงหน่ึง ในกรุงเทพมหานคร โดย สุวิมล โพธ์ิสวัสดิ์, เรณุการ ทองคํารอด และอารี ชีวเกษมสุข 508

การนําเสนอผลงานสาขาน ิเทศศาสตร (PR) 521 ผูชวยศาสตราจารย ดร.เยาวภา บัวเวช การนําเสนอผลงานแบบบรรยาย (Oral Presentation) 522 กลยุทธการ ส่ือสารการตลาดของบริ ษัทในประเทศสาธารณรัฐประชาธิป ไตยประชาชนจีนที่นําเขาละครโทรทัศน ไทย โดย Fen Lan 523

Page 14: The 7th NPRU NAC 2015, Full Proceedingpws.npru.ac.th/kamollapoo/data/files/The 7th NPRU NAC... · 2015-04-12 · 17. อาจารย ดร.ธดา สิทธิ์ธาดา

The 7th NPRU National Academic Conference Nakhon Pathom Rajabhat University | Nakhon Pathom | Thailand | 30 – 31 March 2015

396 | Research Development to create the creative Thailand for stepping towards the ASEAN Community

การรบัรูอาการของโรคหัวใจขาดเลือดในประชากรกลุมเสี่ยง ตําบลวังตะกู อําเภอเมือง จังหวัดนครปฐม*

Symptoms Recognition of Ischemic Heart Disease among Risk Population in Wangtakoo Subdistrict, Muang District, Nakhon Pathom Province

กมลภู ถนอมสัตย และคณะ

คณะพยาบาลศาสตร มหาวิทยาลัยราชภัฏนครปฐม

[email protected]

บทคัดยอ

การวิจัยเชิงพรรณนาครั้งน้ี มีวัตถุประสงคเพื่อศึกษาระดับการรับรูอาการของโรคหัวใจขาดเลือด และเปรียบเทียบการรับรูอาการของโรคหัวใจขาดเลือด ของประชากรกลุมเส่ียงในตําบลวังตะกู อําเภอเมือง จังหวัดนครปฐม ที่มี เพศ ระดับการศึกษา อายุ รายได และประสบการณมีอาการโรคหัวใจขาดเลือดแตกตางกัน กลุมตัวอยางที่ใชในการวิจัย คือ ผูที่มีอายุ 35 ปขึ้นไป จํานวน 325 คน เลือกกลุมตัวอยางแบบหลายขั้นตอน เครื่องมือที่ใชในการวิจัย ใชเปนแบบสอบถามทั้งหมด 2 สวน ไดแก สวนที่ 1 ขอมูลสวนบุคคลและขอมูลเก่ียวกับการเจ็บปวยและการรักษา และสวนที่ 2 แบบสอบถามเก่ียวกับการรับรูอาการของโรคหัวใจขาดเลือด หาคุณภาพเครื่องมือวิจัยโดยการตรวจสอบความตรงตามเน้ือหาโดยผูเช่ียวชาญทั้งหมด 3 ทาน และหาคาความเช่ือม่ันของแบบสอบถามดวยวิธีหาคาสัมประสิทธ์ิอัลฟาของครอนบาค โดยทดสอบใน กลุมเส่ียงตอการเกิดโรคหัวใจขาดเลือดที่ไมใชกลุมตัวอยางจํานวน 30 คน ไดเทากับ .84 รวบรวมขอมูลระหวางเดือนกุมภาพันธ 2558 วิเคราะหขอมูลโดยใชสถิติพรรณนาตามระดับการวัดของขอมูล เปรียบเทียบความแตกตางคาเฉล่ียการรับรูอาการของโรคหัวใจขาดเลือดของประชากรกลุมเส่ียงในตําบลวังตะกูที่มีเพศ และประสบการณการมีอาการโรคหัวใจขาดเลือดตางกัน โดยใช Independent t-test และเปรียบเทียบความแตกตางคาเฉล่ียการรับรูอาการของโรคหัวใจขาดเลือดของประชากรกลุมเส่ียงในตําบลวังตะกูที่มีระดับการศึกษา อายุ และรายได แตกตางกัน โดยใช One-way ANOVA

ผลการศึกษาพบวา กลุมตัวอยางมีการรับรูอาการของโรคหัวใจขาดเลือดในภาพรวมในระดับสูง ( x =9.29, S.D. = 3.78) เม่ือเปรียบเทียบความแตกตางคาเฉล่ียการรับรูอาการของโรคหัวใจขาดเลือดของปจจัยที่เก่ียวของ พบวา กลุมตัวอยางที่มีประสบการณมีอาการโรคหัวใจขาดเลือด (t= 3.06, p<.05) ระดับการศึกษา (F5,320= 2.74, p<01) และชวงอายุ(F2,323= 4.41, p<01) ตางกัน มีคาเฉล่ียการรับรูอาการของโรคหัวใจขาดเลือดแตกตางกัน สวนกลุมตัวอยางที่มีเพศ และรายไดตางกัน มีคาเฉล่ียการรับรูอาการของโรคหัวใจขาดเลือดไมแตกตางกัน ผลการวิจัยครั้งน้ีสามารถนําไปเปนขอมูลพื้นฐานในการใหความรูแกประชากรกลุมเส่ียง ในประเด็นที่เก่ียวของกับการสรางเสริมสุขภาพและปองกันโรคหัวใจขาดเลือด โดยเนนการสรางการรับรูอาการของโรคหัวใจขาดเลือดในกลุมที่ไมมีประสบการณมีอาการโรคหัวใจขาดเลือด กลุมที่ไมไดเรียน จบการศึกษาระดับประถมศึกษา และมัธยมศึกษา และกลุมที่มีชวงอายุ 41-59 ป และ60 ปขึ้นไป

คําสําคัญ: การรับรูอาการ, โรคหัวใจขาดเลือด, ประชากรกลุมเส่ียง

Abstract

This correlational descriptive research aimed to examine the recognition of ischemic heart

disease symptom, and to compare the levels of differences of it among the population at risk for ischemic heart disease in Wangtakoo Subdistrict, Muang, Nakhon Pathom in five factors; gender, age

* ไดรับทุนสนับสนุนจากมหาวิทยาลัยราชภัฏนครปฐม

Page 15: The 7th NPRU NAC 2015, Full Proceedingpws.npru.ac.th/kamollapoo/data/files/The 7th NPRU NAC... · 2015-04-12 · 17. อาจารย ดร.ธดา สิทธิ์ธาดา

การประชุมวิชาการระดับชาต ิมหาวิทยาลัยราชภฏันครปฐม ครั้งที ่7 มหาวิทยาลัยราชภฏันครปฐม | จังหวัดนครปฐม | ประเทศไทย | 30 – 31 มีนาคม 2558

พัฒนางานวิจัย สรางสรรคประเทศไทย กาวไกลสูประชาคมอาเซียน | 397

groups, income levels, education levels, and experiences of ischemic heart disease symptom. A multi-stage random sampling method was used to recruit 325 risk population. The research instrument was questionnaire ascertaining 2 parts: part 1 demographic data, and information about the illness and treatment, and part 2 about to recognition of ischemic heart disease symptom. Content validity was considered by 3 experts. The reliability of the questionnaire was tested by using data of 30 samples apart from the 325 risk population and the Cronbach’s alpha was .84. The data were collected in January, 2015. Descriptive statistics, independent t-rest, and One-way ANOVA and Pearson’s Product Moment Correlation Coefficient were performed to analyze the data.

The findings of this study revealed that the participants had a high average score of recognition

of ischemic heart disease symptom ( x == 9.29, SD = 3.78). There were statistically significant differences in three factors, namely experiences of ischemic heart disease symptom (t = 3.06, p <.05), education levels (F5,320 = 2.74, p <01),and age groups (F2,323 = 4.41, p <01. ). There were no significant differences in sex and income levels. The results of this study could be used as a basic information in providing knowledge to population at risk for ischemic heart disease, especially in health promotion and health prevention for ischemic heart disease, focusing on creating recognition of ischemic heart disease in people without experience of ischemic heart disease symptom, people with no education, primary, and secondary school, and people in the age groups of 41-59 and above 60 years old.

Keywords: symptoms recognition, ischemic heart disease, risk population 1. บทนํา

ปจจุบันโลกมีความเปล่ียนแปลงไปมาก ซ่ึงทําใหเกิดปญหาตางๆจากการดํารงกิจวัตรประจําวันที่ไมเหมาะสม โดยเฉพาะพฤติกรรมสุขภาพ อาทิ คนสูบบุหรี่กันมากขึ้นเลือกรับประทานอาหารไมถูกวิธี จํานวนผูปวยโรคหัวใจและ หลอดเลือดในประเทศ จึงมีแนวโนมเพิ่มสูงขึ้นทุกป ซ่ึงเปนสาเหตุการเสียชีวิต พบมากเปนอันดับ 3 รองจากโรคมะเร็ง และอุบัติเหตุประมาณรอยละ 80 เกิดจากกลามเน้ือหัวใจขาดเลือดและมีแนวโนมเพิ่มขึ้นทุกป (กรมควบคุมโรค กระทรวงสาธารณสุข, 2557) สถานการณโรคกลามเน้ือหัวใจขาดเลือดเฉียบพลัน เปนโรคที่เปนปญหาทางสาธารณสุขของประเทศไทยและทั่วโลก จากการศึกษาขององคการอนามัยโลก (World Health Organization ; WHO, 2007) พบวา การเสียชีวิตเฉียบพลัน มีสาเหตุจากโรคหลอดเลือดหัวใจ ในประเทศไทยพบวา ประมาณรอยละ 45 ของการเสียชีวิตเฉียบพลันมีสาเหตุจากโรคหลอดเลือดหัวใจ เชนเดียวกัน สําหรับสถิติการเกิดโรคหัวใจขาดเลือดในจังหวัดนครปฐมพบวามีแนวโนมในการเพิ่มขึ้น โดยป 2545 พบวา มีผูปวยรอยละ 17.07 และในป 2555 เพิ่มเปนรอยละ 27.12 ของประชาชนในจังหวัดนครปฐม โรคหัวใจขาดเลือดมีผลกระทบตอชีวิตซ่ึงอาจถึงแกความตายจากภาวะหัวใจเตนผิดจังหวะ (Ventricular fibrillation) หรือจากภาวะหัวใจวาย หากไมไดรับการรักษาอยางทันทวงที (สุทธิพงศ ทัศนียพันธุ, 2554) นอกจากน้ันยังมีผลกระทบตอเศรษฐกิจซ่ึงตองใชเงินในการรักษา

จากการทบทวนวรรณกรรมพบวา ปจจัยที่เก่ียวของที่ทําใหเกิดโรคหลอดเลือดหัวใจน้ันมาจากพฤติกรรมสุขภาพของผูปวยไดแก การรับประทานอาหาร การออกกําลังกาย การสูบบุหรี่ การมีโรคประจําตัว นอกจากน้ันจากการศึกษาของระพีพล กุญชร ณ อยุธยา (2557) พบวามีอุบัติการณสูงขึ้นในผูสูงอายุและในรายที่เปนโรคหลอดเลือดหัวใจพบวามากกวาครึ่งหน่ึงของผูที่เสียชีวิตเฉียบพลันจากโรคหัวใจที่ไมเคยมีอาการมากอน สําหรับผูปวยโรคกลามเน้ือหัวใจขาดเลือดเฉียบพลันจะมีอัตราเสียชีวิตเฉียบพลันสูงกวาผูอ่ืนประมาณ 4-6 เทาผูที่มีความเส่ียงตอการเปนโรคน้ีอาจมีอาการเจ็บหนาอก ใจส่ัน เหน่ือยงายเม่ือออกกําลังกายบางครั้ง เปนลมหมดสติโดยไมทราบสาเหตุ (วรงค ลาภอนันท, 2557) การศึกษาครั้งน้ีจึงศึกษารับรูอาการของโรคหัวใจขาดเลือดของประชากรกลุมเส่ียง เพื่อใชเปนขอมูลพื้นฐานในการวางแผนดูแลกลุมเส่ียงตอการเกิดโรคหัวใจใหมี สุขภาวะที่ดีแบบองครวมตอไป

Page 16: The 7th NPRU NAC 2015, Full Proceedingpws.npru.ac.th/kamollapoo/data/files/The 7th NPRU NAC... · 2015-04-12 · 17. อาจารย ดร.ธดา สิทธิ์ธาดา

The 7th NPRU National Academic Conference Nakhon Pathom Rajabhat University | Nakhon Pathom | Thailand | 30 – 31 March 2015

398 | Research Development to create the creative Thailand for stepping towards the ASEAN Community

2. วัตถุประสงคของการวิจัย

2.1 เพื่อศึกษาระดับการรับรูอาการของโรคหัวใจขาดเลือดของประชากรกลุมเส่ียง ในตําบลวังตะกู 2.2 เพื่อเปรียบเทียบการรับรูอาการของโรคหัวใจขาดเลือดของประชากรกลุมเส่ียง ในตําบลวังตะกูที่มี เพศ

ระดับการศึกษา อายุ รายไดและประสบการณการมีอาการโรคหัวใจขาดเลือดแตกตางกัน

ตัวแปรตน ตัวแปรตาม

ภาพที่ 1 กรอบแนวคิดในการวิจัย

3. สมมติฐานการวิจัย ประชากรกลุมเ ส่ียงที่มีเพศ ระดับการศึกษา อายุ รายไดและประสบการณการมีอาการโรคหัวใจขาดเลือด ที่แตกตางกัน มีการรับรูอาการของโรคหัวใจขาดเลือดแตกตางกัน 4. นิยามศัพทที่ใชในการวิจัย การรับรูอาการของโรคหัวใจขาดเลือด หมายถึง ความรูสึกนึกคิดของผูปวยที่เปนโรคหัวใจขาดเลือด เก่ียวกับอาการของโรคหัวใจขาดเลือดที่จะเกิดความรุนแรงหรือการเกิดภาวะแทรกซอนจากโรคหัวใจขาดเลือด 5. วิธีดําเนินงานวิจัย

การวิจัยครั้งน้ีเปนการวิจัยเชิงพรรณนา (Descriptive research) เพื่อศึกษาระดับการรับรูอาการของโรคหัวใจ ขาดเลือดของประชากรกลุมเส่ียงในตําบลวังตะกู และเปรียบเทียบการรับรูอาการของโรคหัวใจขาดเลือด ของประชากร กลุมเส่ียงในตําบลวังตะกู มีเพศ ระดับการศึกษา อายุ รายได ประสบการณการมีอาการของ โรคหัวใจขาดเลือดแตกตางกัน

5.1 ประชากร ประชากรที่ ใชในการศึกษาครั้ง น้ีคือ ผูที่ มีอายุ 35 ปขึ้นไป ทั้งเพศหญิงและชายที่อาศัยอยู ในตําบลวังตะกู

อยางนอย 6 เดือน ที่มีรายช่ืออยูในทะเบียนรายช่ือ ตําบลวังตะกู อําเภอเมือง จังหวัดนครปฐม จํานวนทั้งส้ิน 1,724 คน

5.2 กลุมตัวอยาง กลุมตัวอยาง คือ ผูที่มีอายุ 35 ปขึ้นไป ทั้งเพศหญิงและเพศชายอาศัยอยูในตําบลวังตะกู คํานวณโดยใชสูตร

ยามาเน (Yamane, 1967) ไดกลุมตัวอยางจํานวน 325 คน เลือกกลุมตัวอยางแบบหลายขั้นตอน (Multi stage random sampling) โดย 1) สุมกลุมตัวอยางมาทั้งหมด 4 หมูบาน โดยจับฉลากจากทั้งหมด 8 หมูบาน 2) สุมตัวอยางแบบเปนระบบ (Systemic random sampling) ทุก 2 หลังคาเรือน 3) จับฉลากกลุมตัวอยางที่มีลักษณะตรงตามคุณสมบัติที่กําหนด ตามทะเบียนรายช่ือจนครบตามจํานวนที่ตองการ

5.3 เคร่ืองมือที่ใชในการวิจัย เครื่องมือวิจัยที่ใชในการวิจัยครั้งน้ี เปนแบบสอบถาม มีลักษณะ วิธีสรางเครื่องมือวิจัยการกําหนดการแปลผลคะแนน

การหาคุณภาพเครื่องมือวิจัย เครื่องมือที่ใชในการรวบรวมขอมูล ประกอบดวย 3 สวน ดังน้ี

-เพศ -ระดับการศึกษา -อายุ -รายได -ประสบการณการมีอาการโรคหัวใจขาดเลือด

การรับรูอาการ โรคหัวใจขาดเลือด

Page 17: The 7th NPRU NAC 2015, Full Proceedingpws.npru.ac.th/kamollapoo/data/files/The 7th NPRU NAC... · 2015-04-12 · 17. อาจารย ดร.ธดา สิทธิ์ธาดา

การประชุมวิชาการระดับชาต ิมหาวิทยาลัยราชภฏันครปฐม ครั้งที ่7 มหาวิทยาลัยราชภฏันครปฐม | จังหวัดนครปฐม | ประเทศไทย | 30 – 31 มีนาคม 2558

พัฒนางานวิจัย สรางสรรคประเทศไทย กาวไกลสูประชาคมอาเซียน | 399

สวนที่ 1 ขอมูลสวนบุคคลและขอมูลเกี่ยวกับการเจ็บปวยและการรักษา

1.1 แบบสอบถามขอมูลสวนบุคคล เป นแบบสอบถามใหเลือกตอบและเติมคําจํานวน 8 ขอ ประกอบดวยขอมูลเพศ อายุ สถานภาพสมรส ศาสนา อาชีพ รายไดเฉล่ียของครอบครัวตอเดือน ระดับการศึกษาและการไดรับความรูเรื่องโรคหัวใจขาดเลือด

1.2 ข อ มูล เกี่ ยวกับประสบการณการ มีอาการของโรคและการรักษาโรคหัว ใจขาด เ ลือด เปนแบบสอบถามใหเลือกตอบและเติมคํา จํานวน 12 ขอ ประกอบดวยขอมูลเก่ียวกับ ประสบการณการมีอาการของโรคโรคหัวใจขาดเลือด บุคคลที่กลุมเส่ียงอยูดวยขณะเกิดอาการ สถานที่เกิดอาการ ผูที่นําสงโรงพยาบาล พาหนะที่ผูปวยใชเดินทางมารับการรักษา ระยะทางจากบานถึงโรงพยาบาลที่ใกลที่สุด จํานวนครั้งของการเกิดภาวะกลามเน้ือหัวใจตายเฉียบพลัน ประวัติการไดรับการทําหัตถการ ประวัติโรคประจําตัว ประวัติการสูบบุหรี่ ประวัติการมีอาการโรคหัวใจขาดเลือดของคนในครอบครัว และประวัติการไดรับยาละลายล่ิมเลือด

สวนที่ 2 แบบสอบถามเกี่ยวกับการรับรูอาการของโรคหัวใจขาดเลือด เปนแบบสอบถามการรับรู การเจ็บปวยโรคหัวใจขาดเลือด ซ่ึงพัฒนาแบบสอบถามของเปน รักเกิด (2550) ประกอบดวยขอคําถามทั้งหมด 15 ขอ คะแนนรวมทั้งหมด 15 คะแนน ลักษณะคําตอบเปนแบบใหเลือกตอบ 2 ตัวเลือก คือ ใช และไมใช ตรวจหาคาความเช่ือม่ันของแบบสอบถามดวยวิธีหาคาสัมประสิทธ์ิอัลฟาของครอนบาค โดยทดสอบในกลุมเส่ียงตอการเกิดโรคหัวใจขาดเลือดที่ไมใช กลุมตัวอยางจํานวน 30 คน ไดเทากับ .84

การแปลความหมาย สามารถแปลผลความหมายของคาคะแนนที่ได ตามเกณฑดังน้ี

0.00-8.00 คะแนนหมายถึง การรับรูอาการที่เก่ียวของกับโรคอยูในระดับต่ํา 8.01-15.00 คะแนน หมายถึง การรับรูอาการที่เก่ียวของกับโรคอยูในระดับสูง

5.4 การเก็บรวบรวมขอมูลและพิทักษสิทธิ์กลุมตัวอยาง ผูวิจัยเขาพบกลุมตัวอยางแนะนําตัวและช้ีแจงวัตถุประสงคของการวิจัยใหกลุมตัวอยางทราบวา การเขารวมใน

การศึกษาครั้งน้ีเปนไปโดยความสมัครใจจะไมมีผลตอกลุมตัวอยาง ซ่ึงขอมูลทุกอยางที่ไดจากการศึกษาจะถูกเก็บเปนความลับ โดยผูวิจัยจะนําเสนอขอมูลในลักษณะภาพรวม และนํามาใชประโยชนทางการศึกษาเทาน้ัน กลุมตัวอยางสามารถแจงออกจากการศึกษาไดกอนที่การดําเนินการวิจัยจะส้ินสุดโดยไมเกิดผลเสียใดๆ เม่ือกลุมตัวอยางอนุญาตและลงนามในยินยอมใหทําการศึกษาจึงทําการเก็บขอมูล รวบรวมขอมูลระหวางเดือนกุมภาพันธ 2558

5.5 การวิเคราะหขอมูล ใชโปรแกรมสําเร็จรูปทางสถิติในการวิเคราะหขอมูลดังน้ี

5.3.1 ปจจัยสวนบุคคล การรับรูอาการของโรคหัวใจขาดเลือดของประชากรกลุมเส่ียงในตําบลวังตะกูที่มีเพศ และประสบการณการมีอาการโรคหัวใจขาดเลือด วิเคราะหดวยสถิติพรรณนาตามระดับการวัดของขอมูล

5.3.2 เปรียบเทียบการรับรูอาการของโรคหัวใจขาดเลือดของประชากรกลุมเส่ียงในตําบลวังตะกูที่มีเพศ และประสบการณการมีอาการโรคหัวใจขาดเลือด โดยใช Independent t-test

5.3.3 เปรียบเทียบการรับรูอาการของโรคหัวใจขาดเลือดของประชากรกลุมเส่ียงในตําบลวังตะกูที่มีระดับการศึกษา อายุ รายได แตกตางกัน โดยใช One-way ANOVA

6. ผลการวิจัย

1. ขอมูลทั่วไป พบวากลุมตัวอยางจากประชากรกลุมเส่ียงตัวอยางในตําบลวังตะกู มากกวาครึ่งหน่ึงเปนเพศหญิง (รอยละ 57.36) ครึ่งหน่ึงอยูในชวงวัยผูใหญ (อายุ40-59 ป) (รอยละ 50.00) สวนใหญนับถือศาสนาพุทธ (รอยละ 99.69) มากกวาครึ่งหน่ึงจบการศึกษาระดับประถมศึกษา(รอยละ 58.59) สวนใหญสถานภาพคู (รอยละ 76.07) ประมาณ 1 ใน 3 การประกอบอาชีพรับจาง รองลงมาเปนเกษตรกรรม (รอยละ 31.29 และ 25.15 ตามลําดับ) ประมาณ 1 ใน 3 มีรายไดเฉล่ีย

Page 18: The 7th NPRU NAC 2015, Full Proceedingpws.npru.ac.th/kamollapoo/data/files/The 7th NPRU NAC... · 2015-04-12 · 17. อาจารย ดร.ธดา สิทธิ์ธาดา

The 7th NPRU National Academic Conference Nakhon Pathom Rajabhat University | Nakhon Pathom | Thailand | 30 – 31 March 2015

400 | Research Development to create the creative Thailand for stepping towards the ASEAN Community

อยูระหวาง 5,001-7,500 บาท รองลงมารายไดเฉล่ียอยูระหวาง 2,501-5,000 บาท (รอยละ 33.44 และ 23.31 ตามลําดับ) สวนใหญไมเคยไดรับความรูเก่ียวกับ โรคหัวใจขาดเลือด (รอยละ76.07)

2. ระดับการรับรูอาการของโรคหัวใจขาดเลือด พบวากลุมตัวอยางจากประชากรกลุมเส่ียงตัวอยางในตําบลวังตะกู ในภาพรวมในระดับสูง ( x =9.29, S.D. = 3.78) เม่ือพิจารณารายขอพบวาการรับรูอาการของโรคหัวใจขาดเลือดที่ กลุมตัวอยางมีการรับรูอาการถูกตองนอย 3 ลําดับจากนอยไปมาคือ อาการคล่ืนไส กังวลใจ/หงุดหงิด และปวดศีรษะ (รอยละ 48.62, 48.62 และ 51.06 ตามลําดับ)

ตารางที่ 1 จํานวนและรอยละของประชาชนกลุมตัวอยาง ตําบลวังตะกู จําแนกตามการรับรูอาการของโรคหัวใจขาดเลือด (N=325 คน)

อาการ รับรูอาการถูกตอง รับรูอาการไมถูกตอง

จํานวน รอยละ จํานวน รอยละ เจ็บหนาอก 289 88.92 36 11.08 เจ็บราวไปที่ไหล แขนหรือกราม 261 80.37 64 19.63 ออนเพลีย 197 60.62 128 39.38 คล่ืนไส 158 48.62 167 51.38 เหง่ือออกหรือตัวเย็น 186 57.23 139 42.77 หายใจลําบากหรือหายใจหอบเหน่ือย 213 65.54 112 34.46 ใจส่ัน 233 71.69 92 28.31 เหน่ือยลา 180 55.38 145 44.62 วิงเวียน/มึนงง 168 51.69 157 48.31 ปวดศีรษะ 166 51.06 159 48.92 ปวดแนนทองบริเวณยอดอกหรือล้ินป 223 68.62 102 31.38 แนนหนาอกเหมือนมีอะไรมาทับ 230 70.77 95 29.23 กังวลใจ/หงุดหงิด 158 48.62 167 51.38 เปนลม/หมดสติ 181 55.69 144 44.31 รูสึกชาบริเวณปลายมือ ปลายเทา 201 61.85 124 38.15 x =9.29, S.D.=3.78, min-max=3-15

3. เปรียบเทียบความแตกตางคาเฉล่ียการรับรูอาการโรคหัวใจขาดเลือดในประชาชนกลุมเส่ียงตัวอยางตําบล วังตะกูที่มีเพศ และประสบการณการมีอาการโรคหัวใจขาดเลือดแตกตางกัน พบวากลุมตัวอยางเพศชายและเพศหญิง มีระดับการรับรูอาการโรคหัวใจขาดเลือดไมแตกตางกัน สวนกลุมตัวอยางที่มีประสบการณการมีอาการโรคหัวใจขาดเลือดที่แตกตางกันมีรับรูอาการโรคหัวใจขาดเลือดแตกตางกันที่ระดับนัยสําคัญทางสถิติที่ .05 โดยพบวากลุมตัวอยางที่เคยมีประสบการณการมีอาการโรคหัวใจขาดเลือดมีการรับรูอาการโรคหัวใจขาดเลือดมีการรับรูดีกวากลุมที่ไมเคยมีอาการ ดังตารางที่ 2

ตารางที่ 2 เปรียบเทียบความแตกตางคาเฉล่ียการรับรูอาการโรคหัวใจขาดเลือดในประชากรกลุมตัวอยางตําบลวังตะกูที่มีเพศ และประสบการณการมีอาการโรคหัวใจขาดเลือดแตกตางกัน (n=325 คน)

ปจจัย x SD t df p-value

เพศ ชาย หญิง

9.53 9.22

3.56 3.93

0.31 320 0.43

ประสบการณการมีอาการโรคหัวใจขาดเลือด มี ไมมี

13.81 9.75

2.96 3.79

3.06

7

<0.01

Page 19: The 7th NPRU NAC 2015, Full Proceedingpws.npru.ac.th/kamollapoo/data/files/The 7th NPRU NAC... · 2015-04-12 · 17. อาจารย ดร.ธดา สิทธิ์ธาดา

การประชุมวิชาการระดับชาต ิมหาวิทยาลัยราชภฏันครปฐม ครั้งที ่7 มหาวิทยาลัยราชภฏันครปฐม | จังหวัดนครปฐม | ประเทศไทย | 30 – 31 มีนาคม 2558

พัฒนางานวิจัย สรางสรรคประเทศไทย กาวไกลสูประชาคมอาเซียน | 401

4. เปรียบเทียบความแตกตางของคาเฉล่ียการรับรูอาการโรคหัวใจขาดเลือดในประชาชนกลุมเส่ียงตัวอยางใน ตําบลวังตะกู อําเภอเมือง จังหวัดนครปฐม ที่มีระดับการศึกษาแตกตางกัน พบวาประชาชนกลุมเส่ียงตัวอยางที่มีระดับการศ ึกษาแตกตางกัน มีการรับรูอาการโรคหัวใจขาดเลือดแตกตางกันอยางมีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ .05 (F5,320= 2.74, p<02) อยางนอย 1 คู ดังตารางที่ 3

เม่ือเปรียบเทียบคาเฉล่ียการรับรูอาการโรคหัวใจขาดเลือดรายคูเชิงซอน ของประชาชนกลุมเส่ียงตัวอยางที่มีระดับการศึกษาแตกตางกัน ดวยวิธี LSD พบวาระดับการศึกษาที่มีการรับรูอาการโรคหัวใจขาดเลือดตางกันอยางมีนัยสําคัญ ทางสถิติที่ระดับ .05 คือ ปริญญาตรีและไมไดเรียน ปริญญาตรีและประถมศึกษา ปริญญาตรีและมัธยมศึกษา โดยพบวา กลุมตัวอยางที่จบการศึกษาระดับปริญญาตรีมีคาเฉล่ียการรับรูอาการโรคหัวใจขาดเลือดดีกวา กลุมตัวอยางที่ไมไดเรียน จบการศึกษาระดับประถมศึกษา และมัธยมศึกษา สวนระดับการศึกษาอ่ืน ๆ มีการรับรูอาการโรคหัวใจขาดเลือดไมแตกตางกัน ดังตารางที่ 4

ตารางที่ 3 การวิเคราะหความแปรปรวน เปรียบเทียบความแตกตางของคาเฉล่ียการรับรูอาการโรคหัวใจขาดเลือดในประชาชนกลุมเส่ียงตัวอยางใน ตําบลวังตะกู อําเภอเมือง จังหวัดนครปฐม ที่มีระดับการศึกษาแตกตางกัน (n=325)

Source Sum of Squares df Mean Square F p-value Between Groups 190.36 5 38.07

2.74 <.05 Within Groups 4446.07 320 13.89 Total 4636.43 325

ตารางที่ 4 เปรียบเทียบคาเฉล่ียรายคูเชิงซอนการรับรูอาการโรคหัวใจขาดเลือดในประชาชนกลุมเส่ียงตัวอยางใน ตําบลวังตะกู

อําเภอเมือง จังหวัดนครปฐม ที่มีระดับการศึกษาแตกตางกัน (n=325)

ระดับการศึกษา x SD. ไมไดเรียน ประถมศึกษา

มัธยม ศึกษา

ปวช./ปวส.

ปริญญาตรี สูงกวา

ปริญญาตรี ไมไดเรียน ประถมศึกษา มัธยมศึกษา ปวช./ปวส.ปริญญาตรี สูงกวาปริญญาตรี

8.68 9.04 9.64 8.43 11.23 7.80

3.40 3.90 3.79 2.82 3.24 1.10

0.36

0.96 0.60

-0.25 -0.61 -1.22

2.55* 2.19* 1.59* 2.80

-0.88 -1.24 -1.84 -0.63 -3.43

รวม 9.35 3.78

*p<.05 5. เปรียบเทียบความแตกตางของคาเฉล่ียการรับรูอาการโรคหัวใจขาดเลือดในประชาชนกลุมเส่ียงตัวอยางใน

ตําบลวังตะกู อําเภอเมือง จังหวัดนครปฐม ที่มีชวงอายุแตกตางกัน พบวาประชาชนกลุมเส่ียงตัวอยางที่มีชวงอายุ แตกตางกัน มีการรับรูอาการโรคหัวใจขาดเลือดแตกตางกันอยางมีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ .05 (F2,323= 4.41, p<01) อยางนอย 1 คู ดังตารางที่ 5

เม่ือเปรียบเทียบคาเฉล่ียการรับรูอาการโรคหัวใจขาดเลือดรายคูเชิงซอน ของประชาชนกลุมเส่ียงตัวอยางที่มีชวงอายุแตกตางกัน ดวยวิธี LSD พบวาชวงอายุที่มีการรับรูอาการโรคหัวใจขาดเลือดตางกันอยางมีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ .05 คือ ชวงอายุ 35-40 ปกับ 41-59 ป และ 35-40 ป กับ 60 ปขึ้นไป สวนชวงอายุอ่ืนๆไมแตกตางกัน โดยพบวา กลุมตัวอยาง ชวงอายุ 35-40 ป มีคาเฉล่ียการรับรูอาการโรคหัวใจขาดเลือดดีกวาชวงอายุ 41-59 ป และ60 ปขึ้นไป ดังตารางที่ 6

Page 20: The 7th NPRU NAC 2015, Full Proceedingpws.npru.ac.th/kamollapoo/data/files/The 7th NPRU NAC... · 2015-04-12 · 17. อาจารย ดร.ธดา สิทธิ์ธาดา

The 7th NPRU National Academic Conference Nakhon Pathom Rajabhat University | Nakhon Pathom | Thailand | 30 – 31 March 2015

402 | Research Development to create the creative Thailand for stepping towards the ASEAN Community

ตารางที่ 5 การวิเคราะหความแปรปรวน เปรียบเทียบความแตกตางของคาเฉล่ียการรับรูอาการโรคหัวใจขาดเลือด ในประชาชนกลุมเส่ียงตัวอยางในตําบลวังตะกู อําเภอเมือง จังหวัดนครปฐม ที่มีชวงอายุแตกตางกัน (n=325)

Source Sum of Squares df Mean Square F p-value Between Groups 123.45 2 61.72

4.41 .01 Within Groups 4512.97 323 13.97 Total 4636.43 325

ตารางที่ 6 เปรียบเทียบคาเฉล่ียรายคูเชิงซอนการรับรูอาการโรคหัวใจขาดเลือดในประชาชนกลุมเส่ียงตัวอยางใน ตําบลวังตะกู

อําเภอเมือง จังหวัดนครปฐม มีชวงอายุแตกตางกัน (n=325) ชวงอายุ

SD. 35-40 ป 41-59 ป 60 ปข้ึนไป

35-40 ป 41-59 ป

11.03 9.50

3.26 3.74

-

- 1.54* -

- 2.21* - 0.67

60 ปขึ้นไป 8.82 3.83 - รวม 9.35 3.78 *p<.05 6. เปรียบเทียบความแตกตางของคาเฉล่ียการรับรูอาการโรคหัวใจขาดเลือดในประชาชนกลุมเส่ียงตัวอยางใน

ตําบลวังตะกู อําเภอเมือง จังหวัดนครปฐม ที่ มีรายไดแตกตางกัน พบวาประชาชนกลุมเส่ียงตัวอยางที่ มีรายได แตกตางกัน มีการรับรูอาการโรคหัวใจขาดเลือดไมแตกตางกัน (F4,321= 1.07, p =.36) ดังตารางที่ 7 ตารางที่ 7 การวิเคราะหความแปรปรวน เปรียบเทียบความแตกตางของคาเฉล่ียการรับรูอาการโรคหัวใจขาดเลือด

ในประชาชนกลุมเส่ียงตัวอยางในตําบลวังตะกู อําเภอเมือง จังหวัดนครปฐม ที่มีชวงอายุแตกตางกัน (n=325) Source Sum of Squares df Mean Square F p-value

Between Groups 61.37 4 15.34 1.07 .36 Within Groups 4575.05 321 14.25 Total 4636.43 325

7. สรุปผลการศึกษา

การวิจัยครั้งน้ีเปนการวิจัยเชิงพรรณนา (Descriptive research) เพื่อศึกษาระดับการรับรูอาการของโรคหัวใจ ขาดเลือดของประชากรกลุมเส่ียงในตําบลวังตะกู และเปรียบเทียบการรับรูอาการของโรคหัวใจขาดเลือด ของประชากร กลุมเส่ียงในตําบลวังตะกู มีเพศ ระดับการศึกษา อายุ รายได ประสบการณการมีอาการของ โรคหัวใจขาดเลือดแตกตางกัน กลุมตัวอยาง คือ ผูที่มีอายุ 35 ปขึ้นไป ทั้งเพศหญิงและเพศชายอาศัยอยูในตําบลวังตะกู อยางนอย 6 เดือนที่มีรายช่ืออยูในทะเบียนรายช่ือ ตําบลวังตะกู อําเภอเมือง จังหวัดนครปฐม จํานวนทั้งส้ิน 1,724 คน คํานวณโดยใชสูตรยามาเน (Yamane, 1967) ไดกลุมตัวอยางจํานวน 325 คน เลือกกลุมตัวอยางแบบหลายขั้นตอน (Multi stage random sampling) รวบรวมขอมูลโดยใชแบบสอบถามทั้งหมด 2 สวน ไดแก สวนที่ 1 ขอมูลสวนบุคคลและขอมูลเก่ียวกับการเจ็บปวยและการรักษา และสวนที่ 2 แบบสอบถามเก่ียวกับการรับรูอาการของโรคหัวใจขาดเลือด หาคุณภาพเครื่องมือวิจัยโดยการตรวจสอบความตรงตามเน้ือหาโดยผู เ ช่ียวชาญทั้งหมด 3 ทาน และหาคาความเช่ือม่ันของแบบสอบถามดวยวิธีหาคาสัมประสิทธ์ิอัลฟาของ ครอนบาค โดยทดสอบในกลุมเส่ียงตอการเกิดโรคหัวใจขาดเลือดที่ไมใชกลุมตัวอยางจํานวน 30 คน ไดเทากับ .84

ผูวิจัยเขาพบกลุมตัวอยางแนะนําตัวและช้ีแจงวัตถุประสงคของการวิจัยใหกลุมตัวอยางทราบวา การเขารวมในการศึกษาครั้งน้ีเปนไปโดยความสมัครใจจะไมมีผลตอกลุมตัวอยาง ซ่ึงขอมูลทุกอยางที่ไดจากการศึกษาจะถูกเก็บเปนความลับ โดยผูวิจัยจะนําเสนอขอมูลในลักษณะภาพรวม และนํามาใชประโยชนทางการศึกษาเทาน้ัน กลุมตัวอยางสามารถแจงออกจาก

Page 21: The 7th NPRU NAC 2015, Full Proceedingpws.npru.ac.th/kamollapoo/data/files/The 7th NPRU NAC... · 2015-04-12 · 17. อาจารย ดร.ธดา สิทธิ์ธาดา

การประชุมวิชาการระดับชาต ิมหาวิทยาลัยราชภฏันครปฐม ครั้งที ่7 มหาวิทยาลัยราชภฏันครปฐม | จังหวัดนครปฐม | ประเทศไทย | 30 – 31 มีนาคม 2558

พัฒนางานวิจัย สรางสรรคประเทศไทย กาวไกลสูประชาคมอาเซียน | 403

การศึกษาไดกอนที่การด ําเนินการวิจัยจะส้ินสุดโดยไมเกิดผลเสียใดๆ เม่ือกลุมตัวอยางอนุญาตและลงนามในยินยอมใหทําการศึกษาจึงทําการเก็บขอมูล รวบรวมขอมูลระหวางเดือนมกราคม 2558

การวิเคราะหขอมูลใชโปรแกรมสําเร็จรูปทางสถิติในการวิเคราะหขอมูลโดย 1) ปจจัยสวนบุคคล การรับรูอาการของโรคหัวใจขาดเลือดของประชากรกลุมเส่ียงในตําบลวังตะกูที่มีเพศ และประสบการณการมีอาการโรคหัวใจขาดเลือด วิเคราะหดวยสถิติพรรณนาตามระดับการวัดของขอมูล 2) เปรียบเทียบการรับรูอาการของโรคหัวใจขาดเลือดของประชากรกลุมเส่ียงในตําบลวังตะกูที่มีเพศ และประสบการณการมีอาการโรคหัวใจขาดเลือด โดยใช Independent t-test 3) เปรียบเทียบการรับรูอาการของโรคหัวใจขาดเลือดของประชากรกลุมเส่ียงในตําบลวังตะกูที่มีระดับการศึกษา อายุ รายได แตกตางกัน โดยใช One-way ANOVA ผลการศึกษาพบวา

1. ขอมูลทั่วไป พบวากลุมตัวอยางจากประชากรกลุมเส่ียงตัวอยางในตําบลวังตะกู มากกวาครึ่งหน่ึงเปนเพศหญิง (รอยละ 57.36) ครึ่งหน่ึงอยูในชวงวัยผูใหญ (อายุ40-59 ป) (รอยละ 50.00) สวนใหญนับถือศาสนาพุทธ (รอยละ 99.69) มากกวาครึ่งหน่ึงจบการศึกษาระดับประถมศึกษา(รอยละ 58.59) สวนใหญสถานภาพคู (รอยละ 76.07) ประมาณ 1 ใน 3 การประกอบอาชีพรับจาง รองลงมาเปนเกษตรกรรม (รอยละ 31.29 และ 25.15 ตามลําดับ) ประมาณ 1 ใน 3 มีรายไดเฉล่ียอยูระหวาง 5,001-7,500 บาท รองลงมารายไดเฉล่ียอยูระหวาง 2,501-5,000 บาท (รอยละ 33.44 และ 23.31 ตามลําดับ) สวนใหญไมเคยไดรับความรูเก่ียวกับ โรคหัวใจขาดเลือด (รอยละ76.07)

2. ระดับการรับรูอาการของโรคหัวใจขาดเลือด พบวากลุมตัวอยางจากประชากรกลุมเส่ียงตัวอยางในตําบลวังตะกู ในภาพรวมมีการรับรูอาการของโรคหัวใจขาดเลือดในระดับสูง ( x =9.29, S.D. = 3.78) เม่ือพิจารณารายขอพบวาการรับรูอาการของโรคหัวใจขาดเลือดที่กลุมตัวอยางมีการรับรูอาการถูกตองนอย 3 ลําดับจากนอยไปมาคือ อาการคล่ืนไส กังวลใจ/หงุดหงิด และปวดศีรษะ (รอยละ 48.62, 48.62 และ 51.06 ตามลําดับ)

3. เปรียบเทียบความแตกตางคาเฉล่ียการรับรูอาการโรคหัวใจขาดเลือดในประชาชนกลุมเส่ียงตัวอยางตําบล วังตะกูที่มีเพศ และประสบการณการมีอาการโรคหัวใจขาดเลือดแตกตางกัน พบวากลุมตัวอยางเพศชายและเพศหญิง มีระดับการรับรูอาการโรคหัวใจขาดเลือดไมแตกตางกัน สวนกลุมตัวอยางที่มีประสบการณการมีอาการโรคหัวใจขาดเลือดที่แตกตางกันมีรับรูอาการโรคหัวใจขาดเลือดแตกตางกันที่ระดับนัยสําคัญทางสถิติที่ .05 โดยพบวากลุมตัวอยางที่เคยมีประสบการณการมีอาการโรคหัวใจขาดเลือดมีการรับรูอาการโรคหัวใจขาดเลือดมีการรับรูดีกวากลุมที่ไมเคยมีอาการ

4. เปรียบเทียบความแตกตางของคาเฉล่ียการรับรูอาการโรคหัวใจขาดเลือดในประชาชนกลุมเส่ียงตัวอยางใน ตําบลวังตะกู อําเภอเมือง จังหวัดนครปฐม ที่มีระดับการศึกษาแตกตางกัน พบวาประชาชนกลุมเส่ียงตัวอยางที่มีระดับการศึกษาแตกตางกัน มีการรับรูอาการโรคหัวใจขาดเลือดแตกตางกันอยางมีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ .05 (F5,320= 2.74, p<02) อยางนอย 1 คู เม่ือเปรียบเทียบคาเฉล่ียการรับรูอาการโรคหัวใจขาดเลือดรายคูเชิงซอน ของประชาชนกลุมเส่ียงตัวอยางที่มีระดับการศึกษาแตกตางกัน ดวยวิธี LSD พบวาระดับการศึกษาที่มีการรับรูอาการโรคหัวใจขาดเลือดตางกันอยางมีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ .05 คือ ปริญญาตรีและไมไดเรียน ปริญญาตรีและประถมศึกษา ปริญญาตรีและมัธยมศึกษา โดยพบวา กลุมตัวอยางที่จบการศึกษาระดับปริญญาตรีมีคาเฉล่ียการรับรูอาการโรคหัวใจขาดเลือดดีกวา กลุมตัวอยางที่ ไมไดเรียน จบการศึกษาระดับประถมศึกษา และมัธยมศึกษา สวนระดับการศึกษาอ่ืนๆมีการรับรูอาการโรคหัวใจขาดเลือด ไมแตกตางกัน

5. เปรียบเทียบความแตกตางของคาเฉล่ียการรับรูอาการโรคหัวใจขาดเลือดในประชาชนกลุมเส่ียงตัวอยางใน ตําบลวังตะกู อําเภอเมือง จังหวัดนครปฐม ที่มีชวงอายุแตกตางกัน พบวาประชาชนกลุมเส่ียงตัวอยางที่มีชวงอายุ แตกตางกัน มีการรับรูอาการโรคหัวใจขาดเลือดแตกตางกันอยางมีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ .05 (F2,323= 4.41, p<01) อยางนอย 1 คู เม่ือเปรียบเทียบคาเฉล่ียการรับรูอาการโรคหัวใจขาดเลือดรายคูเชิงซอน ของประชาชนกลุมเส่ียงตัวอยางที่มีชวงอายุแตกตางกัน ดวยวิธี LSD พบวาชวงอายุที่มีการรับรูอาการโรคหัวใจขาดเลือดตางกันอยางมีนัยสําคัญทางสถิติที่ ระดับ .05 คือ ชวงอายุ 35-40 ปกับ 41-59 ป และ 35-40 ป กับ 60 ปขึ้นไป สวนชวงอายุอ่ืนๆไมแตกตางกัน โดยพบวา กลุมตัวอยาง ชวงอายุ 35-40 ป มีคาเฉล่ียการรับรูอาการโรคหัวใจขาดเลือดดีกวาชวงอายุ 41-59 ป และ60 ปขึ้นไป

6. เปรียบเทียบความแตกตางของคาเฉล่ียการรับรูอาการโรคหัวใจขาดเลือดในประชาชนกลุมเส่ียงตัวอยางใน ตําบลวังตะกู อําเภอเมือง จังหวัดนครปฐม ที่ มีรายไดแตกตางกัน พบวาประชาชนกลุมเส่ียงตัวอยางที่ มีรายได แตกตางกัน มีการรับรูอาการโรคหัวใจขาดเลือดไมแตกตางกัน (F4,321= 1.07, p =.36)

Page 22: The 7th NPRU NAC 2015, Full Proceedingpws.npru.ac.th/kamollapoo/data/files/The 7th NPRU NAC... · 2015-04-12 · 17. อาจารย ดร.ธดา สิทธิ์ธาดา

The 7th NPRU National Academic Conference Nakhon Pathom Rajabhat University | Nakhon Pathom | Thailand | 30 – 31 March 2015

404 | Research Development to create the creative Thailand for stepping towards the ASEAN Community

8. อภิปรายผลการศึกษา

จากผลการศึกษาพบวากลุมตัวอยางจากประชากรกลุมเส่ียงตัวอยางในตําบลวังตะกู ในภาพรวมในระดับสูง ( x =9.29, S.D. = 3.78) เน่ืองจากมีการไดรับความรูจากแหลงตางๆ อาทิ หนังสือพิมพ โทรทัศน เจาหนาที่สาธารณสุขในพื้นที่ รวมทั้งอาสาสมัครสาธารณสุขประจําหมูบาน (อสม.) นอกจากน้ันยังมีการแลกเปล่ียนขอมูลระหวางผูที่มีประสบการณมีอาการโรคหัวใจขาดเลือด ทําใหกลุมตัวอยางสวนมากมีความรูพื้นฐานที่เก่ียวของกับอาการของโรคหัวใจขาดเลือด

ประชาชนกลุมเ ส่ียงตัวอยางเพศชายและหญิงมีคาเฉล่ียการรับรูอาการโรคหัวใจขาดเลือดไมแตกตางกัน ซ่ึงสอดคลองกับการศึกษาของอุมาพร แซกอ และชนกพร จิตปญญา (2557) ที่พบวาความตระหนักรูเก่ียวกับโรคหลอดเลือดสมองของผูปวยกลุมเส่ียงระหวางเพศชายและหญิงไมแตกตางกัน ทั้งน้ีเน่ืองมาจากเพศชายและเพศหญิงมีความสามารถในการรับรูไมแตกตางกัน ประกอบกับในปจจุบันการเขาถึงขอมูลขาวสารและบริการทางดานสุขภาพไมจํากัดเพศ ทําใหเพศชายและหญิงมีความเทาเทียมกันในดานการเขาถึงขอมูลขาวสาร

ประชาชนกลุมเส่ียงตัวอยางที่เคยมีประสบการณการมีอาการโรคหัวใจขาดเลือดมีการรับรูอาการโรคหัวใจขาดเลือดมีการรับรูดีกวากลุมที่ไมเคยมีอาการ ซ่ึงสอดคลองกับการศึกษาของสุเพียร โภคทิพย ) 2555) ที่พบวา ผูหญิงในภาคอีสานที่เคยมีประสบการณมีอาการโรคหัวใจขาดเลือดจะมีความตะหนักถึงอาการของโรคมากกวาคนที่ไมมีประสบการณ และการศึกษาของอรวรรยา ภูมิศรีแกว (2555) ที่พบวา ผูปวยเบาหวานที่เคยมีประสบการณการมีอาการโรคหัวใจขาดเลือด จะรูวา โรคหัวใจขาดเลือดมีอาการเตือนอยางไร และสามารถจัดการไดดีกวาคนที่ไมมีประสบการณ ทั้งน้ีสามารถอธิบายไดวา คนที่มีประสบการณมีอาการโรคหัวใจขาดเลือด จะมีการเรียนรูวาลักษณะของอาการเปนอยางไร และจะมีการหาขอมูลจากแหลงความรูตางๆ อาทิ การพูดคุย สอบถามแลกเปล่ียนกับเจาหนาที่สาธารณสุข หรือขอมูลจากแหลงอ่ืนๆ และสามารถจัดการกับปญหาไดดีขึ้นเรื่อยๆ ดังทฤษฎีการเรียนรูของกาเย (Gagne,1985) ที่กลาววา เม่ือส่ิงเราคือ สถานการณตางๆ ที่เปนส่ิงเราใหผูเรียนเกิดการเรียนรู และจะมีการตอบสนอง โดยมีพฤติกรรมที่เกิดขึ้นจากการเรียนรู

ประชาชนกลุมเส่ียงตัวอยางที่มีระดับการศึกษาแตกตางกัน มีการรับรูอาการโรคหัวใจขาดเลือดแตกตางกัน กลุมตัวอยางที่จบการศึกษาระดับปริญญาตรีมีคาเฉล่ียการรับรูอาการโรคหัวใจขาดเลือดดีกวา กลุมตัวอยางที่ไมไดเรียน จบการศึกษาระดับประถมศึกษา และมัธยมศึกษา ซ่ึงสอดคลองกับการศึกษาของจันทิรา ทรงเตะ (2554) ที่พบวา กลุมตัวอยางที่มีระดับการศึกษาตางกันมีพฤติกรรมสุขภาพที่เส่ียงตอการเกิดโรคหลอดเลือดหัวใจแตกตางกัน และตรงขามกับ ผลการศึกษาของจรรวมล แพงโยธา (2548) ที่พบวา ผูปวยกลุมอาการหัวใจขาดเลือดเฉียบพลันที่มีระดับการศึกษาแตกตางกัน มีความสามารถในการดูแลตนเองไมแตกตางกันทั้งน้ีสามารถอธิบายไดวาบุคคลที่บุคคลที่มีการศึกษาสูงจะมีการเลือกหาแหลงขอมูลเชิงเหตุผลเพื่อประกอบการตัดสินใจในการแกปญหา และปฏิบัติพฤติกรรมที่ถูกตองเหมาะสมยิ่งขึ้น (Orem, 1980)

ประชาชนกลุมเส่ียงตัวอยางที่มีชวงอายุ 35-40 ป มีคาเฉล่ียการรับรูอาการโรคหัวใจขาดเลือดดีกวาชวงอายุ 41-59 ป และ 60 ปขึ้นไป ซ่ึงสอดคลองกับการศึกษาของสกุนตลา รอดไม (2548) ที่พบวา ผูปวยโรคหลอดเลือดหัวใจที่มีชวงอายุตางกันจะมีการรับรูอาการของโรคหัวเลือดแตกตางกัน จากการศึกษาพบวากลุมที่มีอายุนอยจะมีการรับรูอาการของโรคหัวใจขาดเลือดไดดีกวากลุมที่มีอายุมากกวา และตรงขามกับการศึกษาของพรพิมล อํ่าพิจิตร และชนกพร จิตปญญา (2552) ผูปวยกลุมอาการหัวใจขาดเลือดเฉียบพลันที่อายุตางกันมีพฤติกรรมการดูแลตนเองไมแตกตางกัน ทั้งน้ีสามารถอธิบายไดวา กลุมเส่ียงที่มีอายุนอยกวามีความสามารถในการรับรูไดดีกวากลุมที่อายุมากกวา เน่ืองจากในปจจุบัน มีความกาวหนาของเทคโนโลยี ที่มีจะเสริมสรางการเรียนรูเรื่อง การดูแลสุขภาพมากมาย และเม่ืออายุมากขึ้นโดยเฉพาะเขาสูวัยผูสูงอายุ รางกายจะมีความถอยของอวัยวะตางๆ สงผลทําความสามารถในการเรียนรูลดลง

ประชาชนกลุมเส่ียงตัวอยางที่มีรายไดแตกตางกัน มีการรับรูอาการโรคหัวใจขาดเลือดไมแตกตางกัน ซ่ึงสอดคลองกับการศึกษาของพิมพรรณ กิตติวงศภักดี (2547) ผูปวยโรคหลอดเลือดหัวใจที่มีรายไดตางกัน มีพฤติกรรมการดูแลตนเอง ไมแตกตางกัน ทั้งน้ีสามารถอธิบายไดวา การดูแลสุขภาพประชาชนในยุคปจจุบัน เปนการดูแลแบบสรางนําซอม มีจุดเนนในเรื่อง การสรางเสริมสุขภาพ และการปองกันโรค มีการใหบริการแบบไมตองเสียคาใชจาย เพื่อเปนการลดชองวาใหแกคนที่มีรายไดนอย ใหสามารถเขาถึงบริการสุขภาพได จึงสงผลใหประชาชนกลุมเส่ียงตัวอยางที่มีรายไดแตกตางกัน มีการรับรูอาการโรคหัวใจขาดเลือดไมแตกตางกัน

Page 23: The 7th NPRU NAC 2015, Full Proceedingpws.npru.ac.th/kamollapoo/data/files/The 7th NPRU NAC... · 2015-04-12 · 17. อาจารย ดร.ธดา สิทธิ์ธาดา

การประชุมวิชาการระดับชาต ิมหาวิทยาลัยราชภฏันครปฐม ครั้งที ่7 มหาวิทยาลัยราชภฏันครปฐม | จังหวัดนครปฐม | ประเทศไทย | 30 – 31 มีนาคม 2558

พัฒนางานวิจัย สรางสรรคประเทศไทย กาวไกลสูประชาคมอาเซียน | 405

9. ขอเสนอแนะ

จากผลการวิจัยพบวา ประชาชนกลุมเส่ียงตัวอยางที่มีประสบการณมีอาการโรคหัวใจขาดเลือด ระดับการศึกษาและชวงอายุตางกัน จะมีการรับรูอาการโรคหัวใจขาดเลือดตางกัน ผูวิจัยจึงมีขอเสนอแนะดังน้ี

9.1 ดานการปฏิบัติการพยาบาล ใหความรูแกประชากรกลุมเส่ียง ในประเด็นที่เก่ียวของกับการสรางเสริมสุขภาพและปองกันโรคหัวใจขาดเลือด โดย

เนนการสรางการรับรูอาการของโรคหัวใจขาดเลือดในกลุมที่ไมมีประสบการณมีอาการโรคหัวใจขาดเลือด กลุมที่ไมไดเรียน จบการศึกษาระดับประถมศึกษา และมัธยมศึกษา และกลุมที่มีชวงอายุ 41-59 ป และ60 ปขึ้นไป

9.2 ดานการวิจัย ควรศึกษาปจจัยที่เก่ียวของกับการรับรูอาการของโรคหัวใจขาดเลือดในเชิงคุณภาพ เพื่อศึกษาปรากฏการณที่

เก่ียวของในเชิงลึก

10. กิตติกรรมประกาศ

วิจัยฉบับน้ีสําเร็จลงไดโดยการสนับสนุนงบประมาณจากมหาวิทยาลัยราชภัฏนครปฐม ขอขอบพระคุณที่ไดใหโอกาสในการพัฒนางานวิจัย นอกน้ันงานวิจัยเรื่อง น้ี สําเร็จลุลวงได เ น่ืองจากบุคคลหลายทานที่กรุณาใหขอเสนอแนะ อาทิ รองศาสตราจารย ดร.สุนุตตรา ตะบูนพงศ รองศาสตราจารยประไพวรรณ ดานประดิษฐ และอาจารย ดร.ยศพล เหลืองโสมนภา ผูอํานวยการ และเจาหนาที่โรงพยาบาลสงเสริมสุขภาพตําบลวังตะกูทุกทาน และตองขอบคุณเปนพิเศษคือ กลุมตัวอยางที่ใหความรวมมือในการตอบแบบสอบถามวิจัย ทําใหงานวิจัยฉบับน้ีสําเร็จลุลวงไปดวยดี 11. เอกสารอางอิง กรมควบคุมโรค กระทรวงสาธารณสุข. (2557). รายงานการเฝาระวังโรคไมติดตอเร้ือรัง. คนเม่ือ 25 กรกฎาคม 2557 จาก

http://www.boe.moph.go.th จันทิรา ทรงเตะ. (2554). พฤติกรรมสุขภาพที่เส่ียงตอการเกิดโรคหลอดเลือดหัวใจของชาวไทยมุสลิมในชุมชนมีสุวรรณ 3.

วิทยานิพนธสาธารณสุขศาสตรมหาบัณทิตสาขาการจัดการสรางเสริมสุขภาพมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร. จรรวมล แพงโยธา. (2548). ความสัมพันธระหวางปจจัยสวนบุคคล ประสบการณการมีอาการ กลวิธีการจัดการอาการเจ็บ

หนาอก กับความสามารถในการดูแลตนเองของผูปวยกลุมอาการหัวใจขาดเลือดเฉียบพลัน โรงพยาบาลศูนยภาคใต. ปริญญาพยาบาลศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาการพยาบาลผูใหญ คณะพยาบาลศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย.

เปน รักเกิด. (2550). การรับรูการเจ็บปวยกับการตอบสนองตอการเจ็บปวยในผูปวยโรคกลามเนื้อหัวใจตายเฉียบพลัน. วิทยานิพนธพยาบาลศาสตรมหาบัณฑิต สาขาการพยาบาลผู ใหญ คณะพยาบาลศาสตร มหาวิทยาลัย สงขลานครินทร.

พรพิมล อํ่าพิจิตร และชนกพร จิตปญญา. (2552). ปจจัยที่มีความสัมพันธกับการดูแลตนเองของผูปวยกลุมอาการหัวใจขาดเลือดเฉียบพลัน. วารสารพยาบาลโรคหัวใจและทรวงอก, 20(2), 2-16.

พิมพรรณ กิตติวงศภักดี. (2547). ความสัมพันธระหวางความเช่ือดานสุขภาพการสนับสนุนทางสังคมกับพฤติกรรมการดูแลตนเองของผูปวยโรคหลอดเลือดหัวใจที่มารับบริการในคลินิกโรคหัวใจโรงพยาบาลนครปฐม. วิทยานิพนธวิทยาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาสุขศึกษาคณะศึกษาศาสตร มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ.

ระพีพล กุญชร ณ อยุธยา. (2557). แนวทางเวชปฏิบัติในการดูแลผูปวยโรคหัวใจขาดเลือดในประเทศไทยฉบับปรับปรุง ป 2557. (พิมพครั้งที่ 2). กรุงเทพฯ : สมาคมแพทยโรคหัวใจแหงประเทศไทยในพระบรมราชูปถัมภ.

วรงค ลาภอนันท. (2557). Updated treatment of Cardiovascular Disease in Elderly Patients. กรุงเทพฯ : กรมแพทยทหารอากาศ.

Page 24: The 7th NPRU NAC 2015, Full Proceedingpws.npru.ac.th/kamollapoo/data/files/The 7th NPRU NAC... · 2015-04-12 · 17. อาจารย ดร.ธดา สิทธิ์ธาดา

The 7th NPRU National Academic Conference Nakhon Pathom Rajabhat University | Nakhon Pathom | Thailand | 30 – 31 March 2015

406 | Research Development to create the creative Thailand for stepping towards the ASEAN Community

สกุนตลา รอดไม. (2548). ปจจัยท ี่มีผลตอพฤติกรรมการดูแลตนเองของผูปวยโรคหลอดเลือดหัวใจ โรงพยาบาลสรรพสิทธิประสงค จังหวัดอุบลราชธานี . วิทยานิพนธวิทยาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาสุขศึกษา บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ, กรุงเทพฯ.

สุทธิพงศ ทัศนียพันธุ. (2554). กลามเนื้อหัวใจตาย (Myocardial infarction). กรุงเทพฯ : โรงพยาบาลเจาพระยา. อุมาพร แซกอ และชนกพร จิตปญญา. (2557). ปจจัยที่สัมพันธกับคุณภาพชีวิตของผูปวยมะเร็งตับและทอนํ้าดี: การทบทวน

วรรณกรรมอยางเปนระบบ. วารสารมหาวิทยาลัยนราธิวาสราชนครินทร, 6(2), 13-23. สุเพียร โภคทิพย. (2555). การรับรูอาการโรคกลามเน้ือหัวใจตายของผูหญิงอีสาน. วารสารพยาบาลศาสตรและสุขภาพ,

35(2), 43-52. อรวรรยา ภูมิศรีแกว. (2555). การรับรูปจจัยเส่ียงของโรคหัวใจขาดเลือดในผูปวยเบาหวาน. วารสารวิทยาลัยพยาบาล

บรมราชชนนีนครราชสีมา, 18(2), 34-47. Gagne, R. (1985). The Conditions of Learning. (4th Edition). New York: Holt, Rinehart & Winston. Orem, D. E. (1995). Nursing: Concepts of practice. (5th ed. Edition). St. Louis: Mosby. World Health Organization. (2007). Deaths from coronary heart disease. Atlas of heart disease and

stroke. Geneva : World Health Organization. Yamane, Taro. (1967). Statistics: An Introductory Analysis. (2nd Edition). New York: Harper and Row. Zafari, A.M., Yang, E.H. (2011). Myocardial infarction. Retrieved April,28, 2011, from http://

emedicine.medscape.com


Recommended