47
การนําเขาขอมูลภาพดวยการถายภาพดิจิทัล ราชบดินทร สุวรรณคัณฑิ http://www.slideshare.net/rachabodin/

Image Digitization with Digital Photography

Embed Size (px)

DESCRIPTION

Slide lecture on the "Image Digitization with Digital Photography".

Citation preview

Page 1: Image Digitization with Digital Photography

การนําเขาขอมลูภาพดวยการถายภาพดิจิทัลราชบดินทร สุวรรณคัณฑิ

http://www.slideshare.net/rachabodin/

Page 2: Image Digitization with Digital Photography

หัวขอการบรรยาย

• การถายภาพ และการถายภาพดิจิทัล

• กลองถายภาพดิจิทัล

2

Page 3: Image Digitization with Digital Photography

การถายภาพคืออะไร

การถายภาพ (Photography) คือ การบันทึกเหตุการณ ณ จุด

เวลาใดเวลาหนึ่ง โดยการเก็บสภาพแสง ณ เวลานั้นไวบนวัตถุ

ไวแสง ผานอุปกรณรับแสงท่ีเรียกวากลองถายรูป หลังจากนั้น

จะสามารถเปลี่ยนสภาพแสงเหลานั้น กลับมาเปนภาพไดอีก

คร้ังหนึ่ง ผานกระบวนการลางอัดภาพ

3ขอมูลจาก http://th.wikipedia.org/wiki/การถายภาพ

Page 4: Image Digitization with Digital Photography

การถายภาพคืออะไร (ตอ)

ในภาษาอังกฤษคําวา การถายภาพ คือ Photography (อานวา

โฟโตกราฟฟ) มาจากการผสมคํากรีกสองคํา คือ

• คําวา φως - phos ซึ่งแปลวา แสง

• คําวา γραφις - graphis หรือ γραφη - graphê

ซึ่งแปลวา การเขียน

เม่ือรวมกันแลว จึงมีความหมายตรงตัววา การวาดภาพดวยแสง

4ขอมูลจาก http://th.wikipedia.org/wiki/การถายภาพ

Page 5: Image Digitization with Digital Photography

การถายภาพดิจิทัลคืออะไร?

การถายภาพดิจิทัล (Digital Photography) คือ กระบวนการ

ถายภาพท่ีไมใชฟลม โดยเปนการใชกลองถายภาพดิจิทัล ในการรับ

และแปลงสัญญาณภาพ ใหอยูในรูปแบบดิจิทัล ท่ีจะถูกบันทึกใน

สื่อเก็บขอมูลของกลอง ท่ีสามารถถายโอน ปรับแตง และบันทึก

ลงในสื่อบนัทึกของเคร่ืองคอมพิวเตอร

5

Page 6: Image Digitization with Digital Photography

กลองถายภาพดิจิทลัคืออะไร?

กลองถายภาพดิจิทัล (Digital Camera)

คือ กลองถายภาพ ท่ีใชสื่อเก็บขอมูล

อิเล็กทรอนิกสในการจัดเก็บภาพ

โดยขอมูลภาพท่ีถูกจัดเก็บนั้นจะอยู

ในรูปแบบไฟลดิจิทัล

6

Page 7: Image Digitization with Digital Photography

7

Data from http://202.44.14.13/krugong/teachPhoto/DigitalPhoto/กลองดิจิตอล.ppt

Page 8: Image Digitization with Digital Photography

ประเภทของกลองถายภาพดิจทิัล

กลองถายภาพดิจิทัล แบงออกเปน 2 ประเภท คือ

8

กลองถายภาพแบบ

Point and Shoot

กลองถายภาพแบบ

Digital SLR

Page 9: Image Digitization with Digital Photography

Point and Shoot Digitial Camera

เปนกลองที่ไมสามารถเปล่ียนเลนสได

การออกแบบของกลองเปนแบบเรียบงาย

น้ําหนักเบา ราคาถูก บางรุนอาจมี

คุณสมบัติพิเศษ เชน ระบบปองกันการส่ัน

ไหว ชองมองภาพ และจอ LCD แยกออก

จากตัวกลอง

9

Page 10: Image Digitization with Digital Photography

Data from Peter Liu – Digital Photography http://www.slideshare.net/peterliu47/digital-photography-i

10

Point-and-shoot Anatomy

Viewfinder separate from lens (better to use LCD on digital)

Actual image (as exposed) is not quite the same as in the viewfinder

Much simpler design than SLRs.

Light Path

Lens

Camera Body

Viewfinder

(front)

Shutter

Sensor or Film

Viewfinder

Focal Length

LCD Screen

(Digital)

Page 11: Image Digitization with Digital Photography

Digital Single-Lens-Reflex Camera

11

เปนกลองที่สามารถถอดเปล่ียนเลนสได

มีชองมองภาพ ที่สามารถมองภาพผาน

เลนสไดเหมือนกับภาพที่ตกกระทบบน

อุปกรณรับแสง (Camera Sensor) ของ

กลองถายภาพ ในปจจุบัน กลองบางรุนมี

ระบบ Live View ที่ชวยใหสามารถมอง

ภาพผานจอ LCD ที่ติดมากับกลองได

Page 12: Image Digitization with Digital Photography

12

SLR Anatomy

Through-the-lens (TTL) viewing (works like a periscope)

Actual image (as exposed) is shown in the viewfinder

Mirror flips up when the shutter release is pressed, exposing the sensor (and blacking out the

viewfinder)

“Reflex” comes from the use of the mirrors in the viewfinder system

Light Path

Lens

Camera Body

Focusing Screen

Mirror (Pentaprism)

Mirror

(flips up)Shutter

Sensor or Film

Viewfinder

Focal Length

LCD Screen

(Digital)

Data from Peter Liu – Digital Photography http://www.slideshare.net/peterliu47/digital-photography-i

Page 13: Image Digitization with Digital Photography

อุปกรณรับแสงในกลองถายภาพดิจิทัล

อุปกรณรับแสงในกลองถายภาพดิจิทัล (Image Sensor) คือ อุปกรณที่

ทําหนาที่ในการแปลงคาของแสงใหเปนประจุไฟฟา จากนั้นประจุไฟฟาที่

อยูในรูปแบบแอนะล็อกจะไดรับการแปลงใหเปนคาดิจิทัล หรือภาพดิจิทัล

อุปกรณรับแสงที่ใชกันทั่วไปในกลองดิจิทัลมี 2 ชนดิ คือ

1. CCD (Charge Couple Device)

2. CMOS (Complementary Metal Oxide Semiconductor)

13

Page 14: Image Digitization with Digital Photography

14

การทํางานของอุปกรณรับแสงในกลองถายภาพดิจิทัล

Data from http://202.44.14.13/krugong/teachPhoto/DigitalPhoto/กลองดิจิตอล.ppt

Page 15: Image Digitization with Digital Photography

CCD (Charge Couple Device)

15

CCD เปน Sensor ที่ทํางานโดยสวนที่

เปน Sensor แตละพิกเซล จะทําหนาที่

รับแสงและเปล่ียนคาแสงเปนสัญญาณ

อนาล็อก สงเขาสูวงจรเปล่ียนคาอนาล็อก

เปนสัญญาณดิจิตอลอีกที

Page 16: Image Digitization with Digital Photography

CMOS (Complementary Metal Oxide Semiconductor)

16

CMOS เปนเปน Sensor ที่มีลักษณะการ

ทํางานโดยแตละพิกเซลจะมีวงจรยอยๆ

เปล่ียนคาแสงที่เขามาเปน สัญญาณ

ดิจิตอลในทันที ไมตองสงออกไปแปลง

เหมือน CCD

Page 17: Image Digitization with Digital Photography

17

ขนาดของ Image Sensor

Source - Memorial University, Introduction to Digital Photography

Page 18: Image Digitization with Digital Photography

18

About The CardsPick One

Compact Flash SD MiniSD xD

MultiMediaCard RS-MMC (Reduced-Size MultiMediaCard)

SmartMedia Memory Stick

Page 19: Image Digitization with Digital Photography

ระบบชดเชยการสั่นไหว เปนคุณสมบัติของกลองรุนใหม ท่ีมี

ความสามารถในการแกไขปญหาการเบลอของภาพ อัน

เนื่องมาจากการสั่นไหวเล็กนอยในขณะถายภาพ ซึ่งระบบนี้

จะมีประโยชนมากตอการถายภาพในสถานการณท่ีมีแสง

นอย หรือการถายภาพโดยใชเลนสเทเล

ระบบชดเชยการส่ันไหว

19

Page 20: Image Digitization with Digital Photography

ระบบชดเชยการสั่นไหวจะมีชื่อเรียกแตกตางกันไปตามแตละยี่หอ

ของกลอง ดังตอไปนี้

• Nikon – VR – Vibration Reduction

• Canon – IS – Image Stabilization

• Pentax – SR – Shake Reduction

• Sony – SSS – Super Steady-Shot

ระบบชดเชยการส่ันไหว (ตอ)

20

Page 21: Image Digitization with Digital Photography

21

Exposure

Exposure หมายถึง ปริมาณแสงท่ีฟลมหรือเซ็นเซอรไดรับ โดย

จะมีคาเปน EV (Exposure Value) ซึ่งปจจัยในการกําหนด

ปริมาณของแสงมี 3 ปจจัย คือ

1. ขนาดของรูรับแสง (Aperture)

2. ความเร็วของการเปด/ปดชัตเตอร (Shutter Speed)

3. ความไวแสงของเซ็นเซอรรับภาพ (ISO)

Page 22: Image Digitization with Digital Photography

22

Exposure

Source - ALEXANDRA COPLEY, DIGITAL PHOTOGRAPHY FUNDAMENTALS

Page 23: Image Digitization with Digital Photography

Aperture

Source - Memorial University, Introduction to Digital PhotographySource - Memorial University Introduction to Digital Photography

Page 24: Image Digitization with Digital Photography

24

Type of camera shot

1. ระยะ (Distance)

Extreme long shot, Very long shot, Long shot,

Medium long shot, Medium shot, Medium close

up, Close up shot, Big close up

2. มุมกลอง (Angle)

Eye level angle, High angle, Low angle

3. มุมมองภาพ (Point of view)

Objective shot, Subjective shot

Page 25: Image Digitization with Digital Photography

25

Extreme Long Shot (ELS, XLS) เปนช็อตระยะไกลที่จะแสดง

ใหเห็นภาพรวมของทั้งภาพ บอกผูดูวาบุคคลหลักของภาพนั้นอยูที่

ไหน มีขนาดและมีความสัมพันธกับส่ิงแวดลอมในภาพอยางไร

Distance: Extreme long shot

Page 26: Image Digitization with Digital Photography

26

Very Long Shot (VLS) เปนชอ็ตที่บุคคลหลักในภาพ จะมีขนาด

ประมาณ 3/4 - 1/3 ของความสูงของภาพ ซ่ึงภาพในลักษณะนี้ จะ

แสดงทั้งสภาพแวดลอม และรายละเอียดของบุคคลคนนั้นมากข้ึน

Distance: Very long shot

Page 27: Image Digitization with Digital Photography

27

Long Shot (LS) หรือ Full Shot เปนช็อตที่จะแสดงใหเห็นรายละเอียดของ

บุคคลหลักของภาพมากขึ้นกวา Very Long Shot โดยจะแสดงรูปรางทั้งหมด

ของบุคคลคนน้ัน และจะตองมีพ้ืนที่วางเหนือและใตบุคคลน้ันดวย

Distance: Long shot

Page 28: Image Digitization with Digital Photography

28

Medium Long Shot (MLS) หรือ Knee Shot เปนช็อตที่จะมีขนาดของบุคคล

หลักเปน 3/4 สวนของขนาดจริง ซึ่งจะเปนการถายภาพตัดจากใตหัวเขาของบุคคล

ไปจนถึงศรีษะโดยจะตองมีชองวางเหนือศรีษะของคนๆ น้ันดวย

Distance: Medium long shot

Page 29: Image Digitization with Digital Photography

29

Medium Shot (MS) เปนช็อตที่ถายต้ังแตใตเอวของบุคคลหลักของภาพน้ัน ขึ้น

ไปจนถึงศรีษะ และยังคงตองมีพ้ืนที่วางเหนือศรีษะของบุคคลน้ันเชนเดิม

Distance: Medium shot

Page 30: Image Digitization with Digital Photography

30

Medium Close Up (MCU) หรือ Bust Shot เปนช็อตที่ถายต้ังแตใต

รักแรของบุคคลหลักของภาพนั้น ข้ึนไปจนถึงศรีษะ และยังคงตองมีพื้นที่

วางเหนือศรษีะเชนเดิม

Distance: Medium close up shot

Page 31: Image Digitization with Digital Photography

31

Close Up (CU) เปนช็อตที่ถายต้ังแตบริเวณใตลําคอ หรอืถาเปน

ผูชายก็คือใตปมเนคไทของบุคคลหลักของภาพน้ัน ขึ้นไปจนถึงศรีษะ

Distance: Close up shot

Page 32: Image Digitization with Digital Photography

32

Big Close Up (BCU) เปนช็อตที่ถายบริเวณบางสวนของใบหนาของ

บุคคลหลักในภาพ สวนใหญจะเริ่มต้ังแตบริเวณกลางหนาผากลงมา

จนถึงเหนือคาง

Distance: Big close up shot

Page 33: Image Digitization with Digital Photography

33

ความสงูระดับสายตา (Eye level angle) เปนการวางระดับความ

สูงของกลองในระดับสายตาของบคุคลทีเ่ปนจุดสนใจ ภาพที่ไดจะ

เปนธรรมชาติ เหมือนจริง

Angle: Eye level angle

Page 34: Image Digitization with Digital Photography

34

ความสงูระดับเหนือศรีษะ (High angle) เปนการวางระดับความสูงของกลอง

ในระดับเหนือศรีษะของบคุคลทีเ่ปนจุดสนใจ ภาพที่ไดจะแตกตางจากภาพ

จริง คือ จะมีศรีษะใหญกวาเทา ตัวสั้น ดูออนแอ ไมมีพลัง

Angle: High angle

Page 35: Image Digitization with Digital Photography

35

ความสงูระดับตํ่ากวาศรีษะ (Low angle) เปนการวางระดับความสูงของ

กลอง ในระดับตํ่ากวาศรีษะของบุคคลที่สนใจ หรือถายยอนขึ้นไปทางดานบน

ภาพที่ได จะไมเปนธรรมชาติ บุคคลในภาพจะดูมีพลังมากขึ้น

Angle: Low angle

Page 36: Image Digitization with Digital Photography

36

มุมมองของบคุคลที่สาม (Objective Shot) เปนมุมกลองของการมองจาก

บุคคลภายนอกไปยังบุคคลหลักในภาพ

Point of view: Objective shot

Page 37: Image Digitization with Digital Photography

37

มุมมองของบคุคลเปาหมาย (Subjective shot) เปนมุมกลองของการมอง

จากบุคคลเปาหมายในภาพ เปนการบอกกับผูดูวาคนๆ น้ันกําลังมองอะไรอยู

Point of view: Subjective shot

Page 38: Image Digitization with Digital Photography

38

การจัดองคประกอบภาพ (Photo Composition) คือ เทคนิคใน

การจัดวางจุดสนใจ (Subject) และสวนประกอบอืน่ๆ ในภาพเพื่อให

ภาพนั้นนาสนใจ และสามารถส่ือความหมายตามที่ผูถายภาพตองการ

นอกจากนั้น การจัดองคประกอบภาพยังหมายรวมถึง การเลือก

มุมมองภาพ (Point of View) ที่เหมาะสม

การจัดองคประกอบภาพ

Page 39: Image Digitization with Digital Photography

39

• ในภาพจะตองมีจุดสนใจหลักอยู

หน่ึงจุดเสมอ

• อาจจะมีจุดสนใจอ่ืนประกอบ

อยู แตจะตองไมเดนไปกวา จุด

สนใจหลัก

กฎขอที่ 1 กําหนดจดุสนใจหลักในภาพ

Page 40: Image Digitization with Digital Photography

40

กฎขอท่ี 2 หลีกเลี่ยงการวางตําแหนงของจุดสนใจหลักไวกลางภาพ

- ถาจุดสนใจอยูกลางภาพจะทําให

รูสึกน่ิง ไมนาสนใจ

- ใชกฎ Rule of Third ชวยใน

การกําหนดตําแหนงในการวาง

จุดสนใจ

Page 41: Image Digitization with Digital Photography

41

หลังจากที่กําหนดจุดสนใจในภาพ

แลวใหเดินรอบๆ จุดสนใจนั้น เพื่อหา

มุมมองที่นาสนใจสําหรับการ

ถายภาพ

กฎขอที่ 3 เลือกมุมกลองที่เหมาะสม

Page 42: Image Digitization with Digital Photography

42

การถายภาพแบบ Close-up จะทํา

ใหเกิดความรูสกึใกลชิด เหมอืนกับ

วาผูดูอยูในเหตุการณขณะน้ัน เปน

การเนนจุดสนใจ และขจัดสวน

อ่ืนๆ ทีไ่มตองการออกจากภาพ

กฎขอที่ 4: ถายภาพ Close Up เพื่อเนนจุดสนใจ

Page 43: Image Digitization with Digital Photography

43

ใชองคประกอบที่มีลักษณะเปนเสน ทั้ง

เสนตรง และเสนโคง เชน ถนน ลําของ

แสงแดด ชวยนําสายตาผูชมไปที่จุดสนใจ ทํา

ใหเราสามารถเนนจุดสนใจของภาพได

กฎขอที่ 5 ใชเสนนําสายตาเพือ่ดึงความสนใจ

Page 44: Image Digitization with Digital Photography

44

พยายามหลีกเล่ียงการถายภาพที่มพีื้นหลัง

ที่มีลักษณะยุงเหยิงซับซอน มีลวดลาย

เยอะจนเปนการรบกวนจดุสนใจ ซ่ึงการ

หลีกเล่ียงสามารถทําไดโดยการเปล่ียนมุม

กลอง หรือการใชเทคนิคการควบคุม

ความชัดลึก (Depth of Field) ของภาพ

กฎขอที่ 6: หลีกเล่ียงฉากหลังที่ยุงเหยิง

Page 45: Image Digitization with Digital Photography

45

ใชองคประกอบแวดลอม เชน กรอบ

ประตู, หนาตาง, ตนไม หรือกิ่งไม ใน

การสรางกรอบภาพธรรมชาติ เพื่อ

กําหนดกรอบการมองไปยังจุดสนใจใน

ภาพ และสรางมิติใหเกิดความลึกใน

ภาพ

กฎขอท่ี 7: ใชเฟรมกําหนดกรอบความสนใจและสรางความลึกของภาพ

Page 46: Image Digitization with Digital Photography

46

ในการถายภาพที่มีการเคล่ือนไหว

เชน รถวิ่ง, ภาพกีฬา จะตองจับ

จังหวะที่เหมาะสมของภาพการ

เคล่ือนที่นั้นๆ

กฎขอท่ี 8: ถายภาพเคลือ่นไหวในจังหวะท่ีเหมาะสม

Page 47: Image Digitization with Digital Photography

47

ขอบคณุครับ