28
โรงเรียนพิชัยรัตนาคาร ตำาบลบางริ้น โรงเรียนพิชัยรัตนาคาร ตำาบลบางริ้น อำาเภอเมือง จังหวัดระนอง อำาเภอเมือง จังหวัดระนอง สังกัดสำานักงานเขตพื้นที่การศึกษาระนอง สังกัดสำานักงานเขตพื้นที่การศึกษาระนอง โดย โดย 1. 1. นายพุฒิวัชร์ นายพุฒิวัชร์ สังวรกาญจน์ สังวรกาญจน์ 2. 2. . . . . จิรนันท์ จิรนันท์ จิระตระการวงศ์ จิระตระการวงศ์ 3. 3. . . . . พิชญ์สินี พิชญ์สินี เควด เควด 4. 4. . . . . ภัสสร ภัสสร ธรรมธาดาตระกูล ธรรมธาดาตระกูล 5. 5. . . . . วัณณิตา วัณณิตา วิภาดาพิสุทธิวิภาดาพิสุทธิ6. 6. . . . . นิชนันท์ นิชนันท์ กาญจนสุภัค กาญจนสุภัค 7. 7. . . . . กานต์ธิดา กานต์ธิดา รายงานผลการศึกษา รายงานผลการศึกษา ผักเหลียง ผักเหลียง

Pakleang Resize

Embed Size (px)

Citation preview

Page 1: Pakleang Resize

โรงเรียนพิชยัรัตนาคาร ตำาบลบางริ้น โรงเรียนพิชยัรัตนาคาร ตำาบลบางริ้น อำาเภอเมือง จังหวัดระนองอำาเภอเมือง จังหวัดระนอง

สังกัดสำานักงานเขตพื้นที่การศึกษาระนองสังกัดสำานักงานเขตพื้นที่การศึกษาระนอง

โดยโดย

1.1. นายพุฒิวัชร์นายพุฒิวัชร์สังวรกาญจน์สังวรกาญจน์

2.2. นน..สส..จิรนนัท์จิรนนัท์จิระตระการวงศ์จิระตระการวงศ์

3.3. นน..สส..พิชญส์ินีพิชญส์ินี เควดเควด

4.4. นน..สส..ภัสสรภัสสร ธรรมธาดาตระกูลธรรมธาดาตระกูล

5.5. นน..สส..วัณณิตาวัณณิตาวิภาดาพิสุทธิ์วิภาดาพิสุทธิ์

6.6. นน..สส..นชินันท์นชินันท์กาญจนสุภัคกาญจนสุภัค

7.7. นน..สส..กานต์ธิดากานต์ธิดาตันประเสริฐตันประเสริฐ

รายงานผลการศึกษา รายงานผลการศึกษา ผกัเหลียงผกัเหลียง

Page 2: Pakleang Resize

หัวข้อต่างๆ บทนำา วัตถุประสงค์ วิธีการศึกษา ชื่อต่างๆ ลักษณะทางพฤกษศาสตร์ ระบบนิเวศวิทยา การขยายพนัธุ์ ประโยชน์ ภูมิปญัญาท้องถิ่น การบูรณาการกบัวิชาต่าง ความประทับใจของพืชที่ศึกษา จบการทำางาน

Page 3: Pakleang Resize

บทนำา

ผักเหลียง เป็นพืชพื้นเมืองของจังหวัดระนอง นิยมปลูกในสวนร่วมกับพืชชนิดอื่นๆ ลักษณะเปน็ไม้พุม่ เนือ้ไมค้่อนข้างอ่อนผิวเปลือกเมื่ออ่อนมีสีเขียว เมื่อแก่มีสีนำ้าตาล ดอกและผลมีลักษณะเป็นช่อ ใบมีรูปร่างคล้ายหอก จากการที่นักเรียนโรงเรียนพชิัยรัตนาคารได้ทำาการศึกษาพืชชนิดนี้ในบริเวณโรงเรียนพชิัยรัตนาคาร และนำามาศึกษาในห้องปฏิบัติการ ทำาให้นักเรียนมีความรู้เกี่ยวกับผักเหลียงเพิ่มมากขึ้น ซึ่งเปน็การนำาเอาทรัพยากรในท้องถิ่นมาศึกษา ทำาให้นักเรียนไดต้ระหนักถึงความสำาคัญและรู้สึกหวนแหนทรัพยากรดังกล่าวให้คงอยู่คู่กับจังหวัดระนอง ตราบนานเท่านาน

กลับสู่หน้าหลัก

Page 4: Pakleang Resize

วัตถุประสงค์

การศึกษาพรรณพืชในท้องถิ่นตามโครงการอนุรักษ์พันธุกรรมพืชอันเนื่องมาจากพระราชดำาริสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯสยามบรมราชกุมาร ีเรื่อง ผักเหลยีง ได้จัดทำาขึ้นเพื่อเปิดโอกาสใหน้ักเรียนซึ่งเป็นเยาวชนในท้องถิ่นจังหวัดระนองได้ร่วมกันศึกษาข้อมูลพรรณพืชในท้องถิ่นที่มีคุณค่า และอยู่คู่กับวิถีชีวิต ความเป็นอยู่ของชาวระนอง โดยมีวัตถุประสงค์หลักดังนี้

ใหน้ักเรียนได้ศึกษาข้อมูลพรรณไม้ในทอ้งถิ่นของตัวเอง ใหน้ักเรียนได้เกิดความตระหนักและเห็นคุณค่าของพรรณไม้

ทอ้งถิ่น ใหน้ักเรียนรู้จักใช้กระบวนการกลุ่มฝกึให้รู้จักความเสียสละ

ความเอื้ออาทรต่อผู้อืน่ ใหน้ักเรียนได้พัฒนาทักษะการใช้เครื่องมือทางวิทยาศาสตร์ ใหน้ักเรียนได้พัฒนากระบวนการทางวิทยาศาสตร์ ใหน้ักเรียนได้ฝึกการใช้ภาษาโดยการรวบรวม

เรียบเรียงผลการศึกษาของตนเอง ใหน้ักเรียนมีความเชื่อมั่นในตนเอง กล้าคดิ

กลา้แสดงออกในสิ่งที่ถูกต้อง ดีงาม

กลับสู่หน้าหลัก

Page 5: Pakleang Resize

วิธกีารศึกษา

ทางคณะผู้จัดทำาการศกึษาต้นผกัเหลียงได้นดักันมาเพื่อเดนิทางมายังโรงเรียน ซึ่งมีตน้ผกัเหลยีงปลูกอยู่ภายในโรงเรียน คณะผู้จัดทำาการศึกษาได้นำาอปุกรณ์ดงักลา่วข้างตน้ไปด้วย เพื่อสำารวจ,ศกึษาลักษณะภายนอกของต้นผักเหลียง โดยคณะได้แบ่งกลุ่มเพื่อศึกษาส่วนประกอบของต้นผกัเหลียงดงันี้

กลุม่ที่1 ศกึษาเรื่องราก กลุม่ที่2 ศกึษาเรื่องลำาต้น กลุม่ที่3 ศกึษาเรื่องใบ กลุม่ที่4 ศกึษาเรื่องดอกและผล กลุม่ที่5 ศกึษาด้านนิเวศวิทยา กลุม่ที่6 ศกึษาด้านประโยชน์

การศึกษาลักษณะโครงสร้างภายในไดศ้ึกษาโดยใช้วิธีการตามเนื้อหาวิชาชีววิทยาใน ม.5 ที่ได้เรียนมา

กลับสู่หน้าหลัก

Page 6: Pakleang Resize

ชื่อต่างๆ ชื่อพื้นเมือง: เหลยีง (ชุมพร ระนอง ประจวบครีีขันธ-์

ใต)้ เหมียง(พังงา ภูเก็ต กระบี่-ใต)้ เขลยีง เรียนแก(่นครศรีธรรมราช) เหรียง(สุราษฎร์ธาน)ี ผกักะเหรี่ยง(ชุมพร) ผกัเมี่ยง(พังงา)

ชื่อวิทยาศาสตร์: Gnetum gnemon Linn.var.tenerum Markgr.

ชื่อวงศ:์ GNETACEAE ชื่อสามัญ: Bago tree

กลับสู่หน้าหลัก

Page 7: Pakleang Resize

ลักษณะทางพฤกษศาสตร์

ราก ลำาต้น ใบ ดอก ผล

กลับสู่หน้าหลัก

Page 8: Pakleang Resize

ราก

รากแก้วของเหลียงมีขนาดใหญ ่หยั่งลึกลงไปในดินประมาณ 45-50 เซนติเมตร จึงทำาให้สามารถทนแล้งไดด้ี รากแขนงของตน้เหลียงจะมีเพียงไม่กี่ราก แตล่ะรากจะมีความแข็งแรงและยาว ชอนไชลึกลงไปใต้ผิวดิน ลึกประมาณ 2-5 เซนติเมตร รากเหล่านีส้ามารถเจริญเปน็ตน้ใหม่ได้ง่าย รากแขนงที่เจริญเต็มที่จะมีความยาวมาก และมีรากฝอยมากมาย รูปรากของผักเหลียงโครงสร้างภายในของรากเลือกลักษณะอื่นๆ

Page 9: Pakleang Resize

รากของผักเหลียง

กลับสู่หน้าที่แล้ว

Page 10: Pakleang Resize

โครงสร้างภายในของราก

โครงสร้างภายในลำาตน้ ซึ่งตดัตามขวาง

กลับสู่หน้าที่แล้ว

Page 11: Pakleang Resize

ใบ

ใบ มรีูปร่างคล้ายหอก แตกจากปลายยอดของต้นและกิ่งออกมาเป็นคู่ๆ เรียงตัวในแนวตรงข้ามกัน ปลายใบเรียวแหลม โคนใบเปน็รูปลิ่ม กว้าง 4-10 เซนตเิมตร ยาว 10-12 เซนติเมตร มันวาว ยอดอ่อนมีสีนำ้าตาล ใบอ่อนมีสีเขียวอ่อน ใบแก่มีสีเขียวแก่ หลังใบมีสีเข้มกว่าท้องใบ เสน้ใบเรียงตัวแบบร่างแหขนนก ขอบใบเรียบ สขีองใบจะสดใสเมื่ออยู่ในร่มเงา ถ้าอยู่ในที่โล่งรับแสงแดดใบจะมีสีซีดจาง หรืออาจขาวหมดทั้งใบ นำามาศึกษาในห้องปฏิบัติการมีดังนี้

เลือกลักษณะอื่นๆรูปใบของผักเหลียงโครงสร้างภายในของใบ

Page 12: Pakleang Resize

ใบของผักเหลียง

กลับสู่หน้าที่แล้ว

Page 13: Pakleang Resize

โครงสร้างภายในของใบ

Cross-section ใบ

Long – section ใบ

เซลล์คมุและปากใบ

กลับสู่หน้าที่แล้ว

Page 14: Pakleang Resize

ลำาต้น

ผกัเหลียงเป็นไม้พุ่ม มีความสูงประมาณ 3-4 เมตร ลำาต้นเป็นทรงกระบอกและตั้งตรงได้เอง เนือ้ไม้ค่อนข้างอ่อน ลำาต้นแสดงใหเ้หน็เป็นข้อๆ ระยะหา่งระหว่างข้อประมาณ 5-8 เซนติเมตร ผวิเปลือกเมื่ออ่อนจะเรียบและเป็นสีเขียว เมื่อแก่จะเป็นสำานำ้าตาลและขรุขระ

เลือกลักษณะอื่นๆดูรูปลำาต้นของผักเหลียงดูรูปโครงสร้างภายในของลำาต้น

Page 15: Pakleang Resize

ลำาต้นของผักเหลียง

กลับสู่หน้าที่แล้ว

Page 16: Pakleang Resize

โครงสร้างภายในของลำาต้น

ลำาต้นบริเวณโคนจะมผีิวขรุขระลักษณะโครงสร้างภายในลำาต้น (ตดัตามขวาง)

ลักษณะโครงสร้างภายในของลำาตน้ (ตัดตามยาว)

กลับสู่หน้าที่แล้ว

Page 17: Pakleang Resize

ดอก

ต้นผักเหลียงจะติดดอกเมื่ออายุประมาณ 5 – 6 ปี ดอกมีลักษณะเป็นช่อ ซึ่งออกมาเป็นช่อตามข้อกิง่ แต่ละช่อยาว 5 – 7 เซนติเมตร ดอกเริ่มออกในเดือนพฤศจิกายน – ธันวาคม มีสขีาว ขนาดเล็ก คล้ายดอกพริกไทย คือ รปูร่างเหมือนถ้วยตะไลเล็กๆ เรียงซ้อนกัน มีปุ่มหุ้มโคน

รูปดอกของผักเหลียง

Page 18: Pakleang Resize

ดอกของผักเหลียง

เลือกลักษณะอื่นๆ

Page 19: Pakleang Resize

ผล

ผลมีลักษณะเป็นชอ่ มีประมาณ 10-20 ผล เรียงตัวกันหนาแน่น ผลมีลักษณะกลมรี คล้ายรูปไข่ ผลกวา้ง 1-1.5 ซม. ยาว 1.5-2 ซม. ผลอ่อนมีสีเขียว เมื่อแก่จัดมีสีเหลือง ผลจะแก่จัดในช่วงเดือนมีนาคม-เมษายน ภายในผลมีเมล็ดสขีาว หนาและแข็งเฉพาะสว่นหัว และมีเปลือกหุ้มเมล็ดค่อนขา้งบาง เมล็ดกวา้งประมาณ 0.7-1 ซม. ยาว 1-1.5 ซม.

ดูรูปผลของผักเหลียง

Page 20: Pakleang Resize

ผลของผักเหลียง

เลือกลักษณะอื่นๆ

Page 21: Pakleang Resize

การขยายพันธุข์องผักเหลียง

การไหลราก คือ การแตกต้นใหม่จากรากแขนง บนผิวดินโดยเกษตรกรนิยมใชว้ธิีนี้เนื่องจากให้ผลผลิตรวดเร็ว

การตอนกิ่ง คือ การตัดกิ่งมาควัน่กิ่งชิดกับข้อและตอนกิ่งเช่นเดียวกับพืชทั่วไป โดยใชก้ิ่งที่ไม่อ่อนไม่แก่เกินไป

การเพาะเมล็ด มีระยะฟักตัวนานประมาณ 1-2 ป ีจึงไม่เปน็ที่นิยม แต่ต้นที่ได้จะทนทานกวา่วธิีอื่น เนื่องจากมีรากแก้ว

การปักชำา สามารถทำาได้แต่มีเปอร์เซ็นต์การตายสูง จึงไม่เปน็ที่นิยม

กลับสู่หน้าหลัก

Page 22: Pakleang Resize

ระบบนิเวศวิทยา

ต้นผักเหลียงชอบขึ้นใต้ร่มเงาของต้นไม้ใหญ่ต่างๆ

ซึ่งการที่ผักเหลียงมีต้นอ่อนขึ้นอยู่บริเวณรากทำาให้ทรงพุม่ของผักเหลียงหนาแน่น

จึงสามารถช่วยปอ้งกันการชะล้างหน้าดนิได้เปน็อย่างดี

เมื่อปลูกร่วมกับต้นไมใ้หญ่ต่างๆจะช่วยปอ้งกันการโค่นล้มของต้นไม้ใหญ่นัน้ไปในตัวสิ่งมีชีวิตที่พบมีทั้งผู้ที่กินซากพชืซากสัตว์

ซึ่งชว่ยให้ดนิเกิดความร่วนซุย และผู้ที่ย่อยสลายชว่ยให้มีธาตุอาหารที่พืชสามารถนำาไปใช้ประโยชน์ได้เกิดขึ้นอยู่ตลอดเ

วลา ทำาให้ตน้เหลียงสามารถเจริญเติบโตไดด้ีตาม

ธรรมชาติ

กลับสู่หน้าหลัก

Page 23: Pakleang Resize

ประโยชน์

นำาไปประกอบอาหาร เช่น ผัดผักเหลียง แกงเลียงผักเหลียง

ลวกทานกับขนมจีนเรียกวา่ ผักเหนาะ มีกากและใยอาหารสูง มีเบต้าแครอทีนสงู

ช่วยบำารุงสายตาและป้องกันโรคต้อกระจกตา

กลับสู่หน้าหลัก

Page 24: Pakleang Resize

ภูมิปัญญาท้องถิ่นผกัเหลียง สามารถประกอบอาหารได้หลายชนิด

และเป็นอาหารที่เป็นเอกลักษณ์ของจังหวัดพังงา จังหวัดระนอง สามารถนำาไปผัดนำ้ามันเพื่อบริโภค หรือนำาไปแกงกะทิ หรือแกงเลียง สำาหรับร้านขายขนมจีนนิยมนำาไปลวก ราดกะทิใช้เป็นผักรับประทานกับขนมจีนหรือขา้วแกง นอกจากนี้ยังสามารถนำาไปแกงส้ม แกงพริกกับหมู ปลา ไก่ ใชร้องหอ่หมก แกงจืดหมูสับ และใช้ลวกจิ้มนำ้าพริก เมล็ดที่แก่จัดนำามาคั่วไปหรอืต้มสุกใช้รับประทานเช่นเดียวกับถั่วต่างๆ

ผกัเหลียงเป็นผกัพื้นเมืองที่มีรสชาติอร่อย เป็นที่ตอ้งการของผู้บริโภค ซึง่ปัจจุบันตลาดมีความตอ้งการเป็นจำานวนมาก

กลับสู่หน้าหลักรูปอาหารต่างๆ

Page 25: Pakleang Resize

ภูมิปัญญาท้องถิ่น

ผักเผลียงผัดไข่ใส่วุ้นเสน้

แกงเลียงผักเหลียง

Page 26: Pakleang Resize

การบูรณาการกบัวิชาต่างๆ วทิยาศาสตร์:

สกัดสีและนำาไปทำากระดาษอินดิเคเตอร์ คณิตศาสตร:์

หาความสูงและระยะหา่งของต้นไม้โดยใช้ตรีโกณมิติ

ภาษาไทย: แต่งกลอน เขียนบรรยายและเรียงความ ภาษาองักฤษ:

นำาข้อมูลของต้นไม้มาแปลและนำาเสนอเป็นภาษาอังกฤษ

สังคมศกึษา: นำาเสนอภูมิปัญญาท้องถิ่นเกี่ยวกับพืชท้องถิน่

ศลิปะ: แต่งเพลงพฤกษศาสตร์ คอมพิวเตอร์: นำาเสนอผลการศกึษาโดยโปรแกรม

power point การงาน: ทำาเครื่องประดับ ของตกแตง่บ้าน

และทำาอาหารจากพืชท้องถิน่

กลับสู่หน้าหลัก

Page 27: Pakleang Resize

ความประทับใจของพืชที่ศึกษา

ผักเหลียง เปน็พืชท้องถิ่นที่พวกเราพบเห็นมานาน แตไ่ม่เคยทราบถึงความสำาคัญของผักเหลียง จากการศึกษาพรรณไม้ชนิดนี้ตามพระราชดำาริของสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี ทำาให้พวกเราไดค้วามรู้เพิ่มขึ้น ซึ่งพวกเราไม่เคยทราบมาก่อนเลยว่า ผักเหลียงที่รับประทานกันอยู่เป็นประจำานี ้จะชว่ยบำารุงสายตาและยังชว่ยป้องกันโรคต้อกระจกไดอ้ีกด้วย

กลับสู่หน้าหลัก

Page 28: Pakleang Resize

ขอบคุณครับ