11
"สารสนเทศ" สินคายุคมิลเลเนียม สุรพล ศรีบุญทรง บทความกอนยุคป ค.ศ. 2000 โลกสมัยใหม คือโลกแหงความรูและขาวสารขอมูล ดังนั้นจึงมีแตประเทศที่สามารถปรับระบบเศรษฐกิจ ของตนเขาสูภาวะเศรษฐกิจเชิงสารสนเทศ (Information economics) ไดกอนคนอื่น อยางกลุมประเทศ G7 (สหรัฐอเมริกา ญี่ปุน และยุโรป) เทานั้น ที่จะดํารงสถานะความมั่งคงทางเศรษฐกิจของตนเองไวได แตลําพังแค ความสามารถในการปรับตัวปรับทิศทางของประเทศเขาสูภาวะเศรษฐกิจสารสนเทศไดเร็วเพียงอยางเดียวนั้นไมพอ ประเทศที่จะกาวหนาภายใตระบบเศรษฐกิจยุคใหมไดจะตองมีพื้นฐานความรูที่มั่นคงแนนหนาประกอบดวย ยกตัวอยางเชนประเทศไทยเรานั้น แมจะไดชื่อวาเปนประเทศที่ปรับตัวเกงขนาดสามารถเอาตัวรอดมา ไดโดยตลอดตั้งแตยุคประเทศราช ผานยุคลาอาณานิคม จนแมกระทั่งยุคที่ประเทศเพื่อนบานถูกเปลี่ยนเปนคอมมิวนิสต และสังคมนิยมไปหมดตามทฤษฏีโดมิโน ไทยเราก็ยังผานพนไปภัยคุกคามเหลานั้น มาได แตสุดทายประเทศไทยตองมาเสียทาวอดวายเอาในยุคนักเศรษฐกิจการเมือง ที่อุดมไปทั้งความโลภและความดอยปญญามาบริหารบานเมือง มีการพยายาม ปรับประเทศใหทันสมัยดวยการรับเอาเทคโนโลยีสมัยใหมอยาง บีไอบีเอฟ เขามา ใชโดยไมใสใจศึกษาเรียนรูทําความเขาใจกับมันอยางลึกซึ้ง (หลวงพอประยุตตทาน วา "ทันสมัยแตไมพัฒนา) สุดทายจึงทําใหประเทศชาติตองตกอยูในสภาวะหนี้สินลนพนตัว ทางออกที่ดีที่สุดคือ การดําเนินตามพระราชดําริแหงพระบาทสมเด็จพระเจาอยูหัว ที่ลวนถูกตองดีงาม ทั้งนั้น ไมวาจะเปนเรื่อง เศรษฐกิจพอเพียง หรือการไมปลอยใหคนชั่วไดมีโอกาสปกครองประเทศ ที่สําคัญ พวกเราชาว ไทยควรจะศึกษาและดําเนินตามรอยพระราชจริยาวัตรในแงความอุตสาหะ และใฝรูใฝศึกษา เพื่อแสดงความสํานึกในพระ มหากรุณาธิคุณ และดํารงตนในฐานะของพลเมืองที่มีคุณภาพ ไมเปนพวกทันสมัยแตไมพัฒนาเชนที่แลวๆ มา เพื่อวา หลังจากผานพนวิกฤติเศรษฐกิจครั้งนี้แลว ประเทศไทยจะไดพัฒนาไปอยางกาวหนาและมั่นคงเสียที โดยความรูระดับ แรกๆ ที่คนไทยควรจะทําความรูจักและเขาใจใหดีก็คงหนีไมพนเรื่องราวเกี่ยวกับคอมพิวเตอรและสารสนเทศ ซึ่งมี บทบาทสําคัญอยางมากในการกําหนดทิศทางเศรษฐกิจของโลกยุคมิล เลนเนี่ยม โลกที่ "ความรู" และ "ขอมูล" มีราคาแพงกวาทอง วิชาเหมือนสินคา ความจริงบรรพบุรุษไทยเรานั้นไดตระหนักถึง ความสําคัญของ "ความรู" หรือ "สารสนเทศ" กันมานานนมแลว ดังจะ เห็นไดจากบทอาขยานที่ทองกันมาตั้งแตสมัยผูเขียนยังเด็กวา "วิชา เหมือนสินคาอันมีคาอยูเมืองไกล ตองยากลําบากไปจึงจะไดสินคามา .... " อยางไรก็ตาม มาในระยะหลังๆ นี้สิ่งที่ปลูกฝง กันมาแตโบร่ําโบราณนั้นเริ่มจะเลือนๆ เปลี่ยนความหมายไป กลายเปนวา "ปริญญาเหมือนสินคา แมนมีคาอยูเมืองไกล ก็ ตองดั้นดนไปซื้อมา ..." สวนจะไดความรูติดปริญญามาดวยมากนอยแคไหนนั้น ดูเหมือนกุลบุตรกุลธิดาไทยรุนใหมจะไม คอยใสใจกันสักเทาใดนัก ปจจุบัน เราจึงมีเด็กฝกงานหอยปริญญาโกหรูกันอยูเต็มบานเต็มเมือง พูดเรื่องการศึกษาของไทยแลวเศรา ขอยอนกลับมาพูดเรื่อง "สารสนเทศในแงของสินคา (Information goods) " 1 กันดีกวา คิดวาคงไมมีใครเถียงวาขอมูลขาวสารที่ตรงความตองการ และทันเวลานั้นมีคามากกวาทองคําเสียอีก

สารสนเทศ สินค้ายุคมิลเลเนียม

Embed Size (px)

Citation preview

Page 1: สารสนเทศ   สินค้ายุคมิลเลเนียม

"สารสนเทศ" สินคายุคมิลเลเนียม สุรพล ศรีบุญทรง

บทความกอนยุคป ค.ศ. 2000

โลกสมัยใหม คือโลกแหงความรูและขาวสารขอมูล ดังนั้นจึงมีแตประเทศที่สามารถปรับระบบเศรษฐกิจ

ของตนเขาสูภาวะเศรษฐกิจเชิงสารสนเทศ (Information economics) ไดกอนคนอื่น อยางกลุมประเทศ G7

(สหรัฐอเมริกา ญี่ปุน และยุโรป) เทาน้ัน ที่จะดํารงสถานะความม่ังคงทางเศรษฐกิจของตนเองไวได แตลําพังแค

ความสามารถในการปรับตัวปรับทิศทางของประเทศเขาสูภาวะเศรษฐกิจสารสนเทศไดเร็วเพียงอยางเดียวน้ันไมพอ

ประเทศที่จะกาวหนาภายใตระบบเศรษฐกิจยุคใหมไดจะตองมีพ้ืนฐานความรูที่ม่ันคงแนนหนาประกอบดวย

ยกตัวอยางเชนประเทศไทยเราน้ัน แมจะไดช่ือวาเปนประเทศที่ปรับตัวเกงขนาดสามารถเอาตัวรอดมา

ไดโดยตลอดต้ังแตยุคประเทศราช ผานยุคลาอาณานิคม จนแมกระทั่งยุคที่ประเทศเพ่ือนบานถูกเปลี่ยนเปนคอมมิวนิสต

และสังคมนิยมไปหมดตามทฤษฏีโดมิโน ไทยเราก็ยังผานพนไปภัยคุกคามเหลานั้น

มาได แตสุดทายประเทศไทยตองมาเสียทาวอดวายเอาในยุคนักเศรษฐกิจการเมือง

ที่อุดมไปทั้งความโลภและความดอยปญญามาบริหารบานเมือง มีการพยายาม

ปรับประเทศใหทันสมัยดวยการรับเอาเทคโนโลยีสมัยใหมอยาง บีไอบีเอฟ เขามา

ใชโดยไมใสใจศึกษาเรียนรูทําความเขาใจกับมันอยางลึกซึ้ง (หลวงพอประยุตตทาน

วา "ทันสมัยแตไมพัฒนา) สุดทายจึงทําใหประเทศชาติตองตกอยูในสภาวะหน้ีสินลนพนตัว

ทางออกที่ดีที่สุดคือ การดําเนินตามพระราชดําริแหงพระบาทสมเด็จพระเจาอยูหัว ที่ลวนถูกตองดีงาม

ทั้งนั้น ไมวาจะเปนเรื่อง เศรษฐกิจพอเพียง หรือการไมปลอยใหคนช่ัวไดมีโอกาสปกครองประเทศ ที่สําคัญ พวกเราชาว

ไทยควรจะศึกษาและดําเนินตามรอยพระราชจริยาวัตรในแงความอุตสาหะ และใฝรูใฝศึกษา เพ่ือแสดงความสํานึกในพระ

มหากรุณาธิคุณ และดํารงตนในฐานะของพลเมืองที่มีคุณภาพ ไมเปนพวกทันสมัยแตไมพัฒนาเชนที่แลวๆ มา เพ่ือวา

หลังจากผานพนวิกฤติเศรษฐกิจครั้งน้ีแลว ประเทศไทยจะไดพัฒนาไปอยางกาวหนาและม่ันคงเสียที โดยความรูระดับ

แรกๆ ที่คนไทยควรจะทําความรูจักและเขาใจใหดีก็คงหนีไมพนเรื่องราวเกี่ยวกับคอมพิวเตอรและสารสนเทศ ซึ่งมี

บทบาทสําคัญอยางมากในการกําหนดทิศทางเศรษฐกิจของโลกยุคมิล

เลนเนี่ยม โลกที่ "ความรู" และ "ขอมูล" มีราคาแพงกวาทอง

วิชาเหมือนสินคา

ความจริงบรรพบุรุษไทยเราน้ันไดตระหนักถึง

ความสําคัญของ "ความรู" หรือ "สารสนเทศ" กันมานานนมแลว ดังจะ

เห็นไดจากบทอาขยานที่ทองกันมาต้ังแตสมัยผูเขียนยังเด็กวา "วิชา

เหมือนสินคาอันมีคาอยูเมืองไกล ตองยากลําบากไปจึงจะไดสินคามา ...." อยางไรก็ตาม มาในระยะหลังๆ น้ีสิ่งที่ปลูกฝง

กันมาแตโบร่ําโบราณนั้นเริ่มจะเลือนๆ เปลี่ยนความหมายไป กลายเปนวา "ปริญญาเหมือนสินคา แมนมีคาอยูเมืองไกล ก็

ตองด้ันดนไปซ้ือมา ..." สวนจะไดความรูติดปริญญามาดวยมากนอยแคไหนนั้น ดูเหมือนกุลบุตรกุลธิดาไทยรุนใหมจะไม

คอยใสใจกันสักเทาใดนัก ปจจุบัน เราจึงมีเด็กฝกงานหอยปริญญาโกหรูกันอยูเต็มบานเต็มเมือง

พูดเรื่องการศึกษาของไทยแลวเศรา ขอยอนกลับมาพูดเรื่อง "สารสนเทศในแงของสินคา (Information

goods) " 1กันดีกวา คิดวาคงไมมีใครเถียงวาขอมูลขาวสารที่ตรงความตองการ และทันเวลาน้ันมีคามากกวาทองคําเสียอีก

Page 2: สารสนเทศ   สินค้ายุคมิลเลเนียม

ยกตัวอยางเชน ขาวสารเรื่องอุทกภัยที่จะเกิดข้ึนบริเวณที่พักอาศัยซึ่งจะชวยใหเราสามารถปกปองชีวิตและทรัพยสินของ

ตนเองไดทันเวลาน้ันยอมมีคากวาทองแนนอน สวนความรูและขอมูลที่ร่ําเรียนกันในมหาวิทยาลัยน้ันก็จะชวยเตรียมตัว

บัณฑิตใหพรอมสําหรับการประกอบวิชาชีพของตนไดอยางถูกตองดีงามมีประสิทธิภาพ ในขณะที่ สารสนเทศเพื่อการ

บันเทิงอยางภาพยนต หนังสือ หรือดนตรีน้ันก็เปนสิ่งที่แลกเปลี่ยนซื้อขายกันดวยเงินทองอยางชัดเจนมาแตไหนแตไร

อยางไรก็ตาม การบริหารสารสนเทศอันเปนสื่งมีคานั้นดูเหมือนจะยุงยากและซับซอนขึ้นไปเร่ือยๆ ตาม

การพัฒนาดานเทคโนโลยีของโลก การเติบโตของเครือขายการสื่อสารโดยเฉพาะเครือขายอินเทอรเน็ตทําใหผูใช

สารสนเทศสามารถสืบหาขอมูลที่ตนตองการผานอินเทอรเน็ตมาไดภายในพริบตา เรียกไดวาเปนสินคาที่แทบจะไมมีคา

ขนสง แคลงทุนสรางเครือขายการสื่อสารที่เปรียบเปนทั้งตลาด (marketplace) และระบบขนสงสินคา (goods

distribution) คร้ังเดียวก็สามารถใชงานไดตลอด สงผลใหบรรดาผูประกอบการดานโทรทัศพมือถือ หรือผูเผยแพรขอมูล

ขาวสารผานโทรทัศนวิทยุร่ํารวยจนไดรับการจัดอันดับเปนมหาเศรษฐีระดับตนๆ ของโลก (โดยเฉพาะพวกที่สามารถ

ทําสัปทานผูกขาดสิทธิ) ในขณะที่บรรดานักลงทุนรายยอยตางก็หันมาใหความสนใจในธุรกิจอี-คอมเมิรซกันขนานใหญ

และเมื่อมองตัวสารสนเทศเปนสินคา

มันก็เปนสินคาที่แตกตางไปจากสินคาประเภทอ่ืนๆ ที่

มนุษยคุนเคยกันมาทั้งหมด เพราะมันเปนสินคาที่

บริโภค (consume) ไดไมมีวันหมด ไมเหมือนกับสินคา

ประเภทขาวปลา อาหาร นํ้ามัน หรือกระทั่งสินคาในรูป

บริการ สารสนเทศเปนสินคาที่สามารถผลิตซํ้าไดอยาง

ไมจํากัด (reproduce) โดยแทบไมมีคาใชจายใดๆ สงผลใหผลผลิตที่จําหนายเกินระดับจุดคุมทุนไปเปนสินคาที่มีแตกําไร

ลวนๆ อยางไรก็ดี การที่มันถูกผลิตซ้ําไดในราคาถูกและไมจํากัดกเ็ปนผลเสียกับตัวเจาของสารสนเทศเหมือนกัน เพราะ

ไมมีขอจํากัดวาผูซ้ือสินคาจะนําตัวสินคาไปผลิตซํ้าเองไมได เผลอๆ ผูซ้ือสารสนเทศอาจจะนําสิ่งที่ตนเองผลิตซํ้ามาขาย

แขงกับเจาของสิทธิเดิมไดอีกดวย (จะขายตัดราคาก็ยังได เพราะแทบไมตองลงทุนอะไรเลย เน่ืองจากตนทุนของ

สารสนเทศอยูที่ข้ันตอนการออกแบบและประดิษฐคิดคนจนสมองแทบแตก ไมไดอยูที่ขั้งตอนการผลิตซํ้า) จนสงผลให

จําเปนตองมีการจดลิขสิทธิ สิทธิบัตรกันใหวุนวาย

อยางไรก็ตาม การจดสิทธิบัตรก็ใชวาจะเปนหลักประกันความปลอดภัยของสินคาสารสนเทศได เพราะ

บางคร้ังกฏหมายลิขสิทธิ์/สิทธิบัตรก็ไมสามารถปกปองสิทธิของผูผลิตสารสนเทศไดอยางสมบูรณ ความแตกตางระหวาง

กฏหมายลิขสิทธิในประเทศตางๆ ยังคงเปดชองใหผูจองละเมิดลิขสิทธิสามารถดําเนินการไดอยางสะดวกในบางพื้นที่ของ

โลก อีกทั้งการลอกเลียนแบบสินคาโดยดัดแปลงรูปแบบบางสวนของผลงานก็ยังอยูนอกขอบเขตที่กฏหมายลิขสิทธิจะเอา

ผิดได ตัวอยางคลาสสิคมากๆ ของการลอกเลียนแบบสินคา คือ โปรแกรมไมโครซอฟทวินโดวสที่ใชกันเกรอทั่วโลกเด๋ียวน้ี

ความจริงแลวก็เปนรุปแบบหน่ึงของการลอกเลียนโปรแกรมระบบปฏิบัติการแมคอินทอช แตความที่ไมโครซอฟทมีฐาน

ตลาดที่กวางกวาและเปนที่รูจักมากกวา จึงทําใหคนสวนใหญไมทันไดคิดถึง

แงมุมนี้ แถมบางคนยังหลงเขาใจผิดๆ ไปเลยวาไมโครซอฟทวินโดวสน้ันคือ

ตนแบบของวิธีการติดตอกับผูใชแบบ GUI (Graphic User Interface)

นอกจากตัวอยางเรื่องโปรแกรมซอฟทแวรแลว การลอก

เลียนลิขสิทธิ์ของสินคาสารสนเทศดานบันเทิงก็เปนสิ่งที่ปรากฏใหเห็นกันอยู

เปนประจํา ไมวาจะเปนการลอกเลียนหนังฝร่ังเศสของผูสรางฮอลลีวูด หรือ

Page 3: สารสนเทศ   สินค้ายุคมิลเลเนียม

การที่ผูสรางภาพยนตฮองกงลอกเลียนโครงเรื่องจากภาพยนตดังๆ ของฮอลลีวูดไปอีกตอหนึ่ง เชนเรื่อง "Nikita" และ

"Three men and a cradle" หรือการลอกเลียนทํานองเพลงฮิตๆ ดวยการนํามาเปลี่ยนเนื้อรองเสียใหม อยางบานเราก็

คือ พวกเพลงลูกทุงรอยเนื้อทํานองเดียว หรือเพลงตระกูลเมกกะฮิต ที่โหมโฆษณากันอยางบาคลั่งแบบตีหัวเขาบานอยูใน

ระยะหน่ึง

ดังน้ัน บรรดาผูผลิตสินคาสารสนเทศที่มีตนทุนแพงๆ และมีฐานตลาดกวางจึงตองปกปดสวนที่เปน

จุดสําคัญที่ถือเปนไมตายในสินคาของตนไวอยางมิดชิดไมใหมีขอมูลหลุดรอดไปถึงบริษัทคูแขง แตน่ันก็นับเปนเรื่องยาก

มาก เพราะกอนสินคาแตละช้ินจะวางตลาดผูผลิตสินคาสารสนเทศจะตองทําการประชาสัมพันธใหกลุมลูกคาเปาหมาย

ของตนไดทราบคราวๆ วาจะมีสินคาใหมน้ันจะมีอะไรเปนจุดเดนบาง พูดงายๆ คือจะตองประชาสัมพันธใหกับ

สาธารณชนไดรับรูวาสินคาใหมของตนน้ันจะมีคุณลักษณะและความสามารถพิเศษอะไรบาง ในขณะเดียวกันก็ตองไมหลุด

ปากออกไปเลยวาความสามารถที่วานั้นเปนผลมาจากกลไกอยางไร เพ่ือมิใหคูแขงนําเอาความรูน้ันไปผลิตสินคามาแขงกับ

ตน

การมีสินคาใหเลือกมากอาจจะไมใชของดี !!

เม่ือสินคาสารสนเทศถูกเผยแพรออกสูตลาดแลว มันก็จัดเปนสินคาที่มีอายุสั้นที่สุด (short life) ใน

บรรดาสนิคาทั้งปวง เพราะขอมูลบางอยางน้ันเปลี่ยนแปลงตลอดเวลา (เชนขาวโทรทัศน ขาวหนังสือพิมพ และราคา

หลักทรัพย) ในขณะที่ สารสนเทศบางอยางก็อาจจะถูกคูแขงพัฒนาสินคาเลียนแบบขึ้นมาไดในระยะเวลาสั้นๆ จนทําให

ผูคาสารสนเทศเปนพวกที่หยุดน่ิงไมได ตองพัฒนาทั้งสินคาและตัวเองอยูตลอดเวลา เรียกวาถาสินคาน้ันเปนโปรแกรม

คอมพิวเตอร ผูผลิตก็จะตองวางแผนโปรแกรมเวอรช่ันตอไปทันทีที่สินคาเริ่มวางตลาด นอกเหนือไปจากการวางแผนยึด

ครองใจ /ดึงดูดใจผูบริโภคกลุมเปาหมายของตน

ที่ตองเนนเริ่องการยึดครองใจผูบริโภคก็ดวยเหตุผลสําคัญวา สินคาสารสนเทศน้ันมีใหเลือกใชไดอยาง

มากมายมหาศาลเพราะถูกผลิตขึ้นมาในอัตราเร็วแบบยกกําลัง (เอ็กซโปเนนเชี่ยล) ใครที่พอมีเงินซ้ือหาคอมพิวเตอรหรือ

เทคโนโลยีผลิตสื่อมาใชก็อาจจะปอนสารสนเทศออกมาในตลาดไดตลอดเวลา ในขณะที่สมองของมนุษยที่เปนผูบริโภคนั้น

ถูกจํากัดความเร็วในการรับสื่อไวในระดับคอนขางจะคงที่นับต้ังแตยุคพุทธกาล เปรียบงายๆ เหมือนการชมภาพยนต

โทรทัศนนั้น ตอใหมีชองสถานีใหเลือกถึง 200 ชอง ผูชมโทรทัศนก็คงจะเลือกชมไดเพียงไมเกิน 20 ชองในแตละวัน

อยางไรก็ดี ปญหาเร่ืองการยึดครองใจผูบริโภคนั้นเปนการพูดในมุมมองของผูผลิตและจําหนายสารสนเทศ หากเปลี่ยน

มุมมองมาทางฝายผูบริโภคบาง ก็จะพบวาเปนอีกปญหาหน่ึง กลายเปนวาจะคนหาขอมูลขาวสารที่ตนเองตองการได

อยางไรจากกองขอมูลปริมาณมหาศาลที่ถาโถมเขามาในแตละวัน

โดยปรกติ ตามหลักเศรษฐศาสตรที่วาดวย

อุปสงค/อุปทาน (demand/supply) นั้น นักเศรษฐศาสตร

มักจะเช่ือกันวาการมีอุปทานหรือจํานวนสินคาใหเลือก

มากๆ น้ันเปนผลดีแกผูบริโภค เพราะทําใหมีโอกาสเลือก

ของดี และสินคามีราคาถูก แตหลักอุปสงค/อุปทานที่วาน้ี

คงนํามาใชกับสินคาสารสนเทศที่มีกระบวนการผลิต

Page 4: สารสนเทศ   สินค้ายุคมิลเลเนียม

แตกตางออกไปไมได เพราะสินคาสารสนเทศที่มีมากน้ันมักจะหมายถึงจํานวนขอมูลขยะที่เพ่ิมเติมข้ึนตามไปดวย

เผลอๆ จะเปนการเพ่ิมขึ้นในสัดสวนที่มากกวาขอมูลดีๆ เสียดวยซํ้า เพราะแคมีเงินสักไมก่ีพันบวกกับเครื่องคอมพิวเตอร

สักชุด ใครก็สามารถแปลงตัวเองเปนผูผลิตสินคาสารสนเทศปอนใหกับเครือขายอินเทอรเน็ตไดแลว

ฉน้ัน การมีจํานวนสินคาสารสนเทศใหเลือกมากจึงไมใชโอกาสดีของผูบริโภค แตกลับจะเปนภาระที่

เพิ่มขึ้นในการคนหาขอมูลที่ตองการจากกองขอมูลปริมาณมหาศาล เพราะมีทั้งขอมูลขยะ ขอมูลโฆษณาแอบแฝง และ

ขอมูลที่ไมตรงความตองการ โดยเหตุผลสําคัญที่สงผลใหมีขยะสารสนเทศอยูลนโลกในขณะน้ี นอกจากจะเปนเพราะมัน

ถูกผลิตไดงายแลว ยังเปนเพราะคุณสมบัติที่ไมมีขอจํากัดเรื่องพ้ืนที่จัดเก็บ (storage space) อีกดวย อยางพวกขยะ

กายภาพ หรือสินคาที่จําหนายไมออกตามปรกติน้ัน หากมีปญหาเรื่องสถานที่จัดเก็บก็จะถูกหยุดหรือลดการผลิตทันที แต

สารสนเทศเปนซอฟทแวรที่ไมเปลืองเน้ือที่จัดเก็บจึงไมคอยมีใครมาใสใจเก็บกําจัดสิ่งไรประโยชนเหลาน้ีออกไปจากตลาด

อยางผูเขียนเองเมื่อลองหันกลับมาสํารวจฮารดดิสกของตนดู ก็ปรากฏวามีขอมูลหรือโปรแกรมที่ใช

ประโชนจริงๆแคไมกี่เปอรเซนต ที่เหลือสวนใหญนั้นแมจะเรียกวาขยะรกฮารดดิสกไมไดเต็มปาก แตโดยมากก็ควรถูก

จัดเก็บทําลาย หรืออัพเกรดไปเปนเวอรชั่นที่ทันสมัยกวาเดิมบาง ทีน้ี เม่ือลองคิดเทียบกลับไปที่เครือขายสาธารณะอยาง

อินเทอรเน็ตบาง ก็นาสนใจวาขนาดฮารดดิสกที่เปนสมบัติสวนตัว ผูใชคอมพิวเตอรสวนใหญยังไมคอยไดใสใจเก็บกวาด

ทําความสะอาดเลย ถาเปนสมบัติสาธารณะอยางอินเทอรเน็ตจะมีใครมาคอยดูแลเรื่องขอมูลไรคาไรประโยชน อีกอยาง

เรื่องการประเมินคุณคาของสารสนเทศนั้นก็เปนเรื่องตางจิตตางใจ ของที่บางคนเห็นวาเปนขยะรก บางคนอาจจะเห็นเปน

ของทรงคุณคาก็ได ไมงั้นเราคงไมไดเห็นเว็บภาพโปกันเต็มๆ ตาเปนแน ทางออกงายๆ สําหรับผูรับสารสนเทศที่ตอง

ตัดสินใจเลือกบริโภคจากจํานวนที่มีอยูมหาศาล จึงมักจะเปนการเลือกจากช่ือหรือย่ีหอที่ติดตลาด อันเปนการกลั่นกรอง

ปริมาณขอมูลที่ไมไดคุณภาพหรือขอมูลที่ไมตรงความตองการไปในระดับหน่ึง

ลักษณะพิเศษของสินคาสารสนเทศ

กลาวโดยสรุป สารสนเทศนับวาเปนสินคาที่มีคุณลักษณะพิเศษที่แตกตางไปจากสินคาประเภทอ่ืนๆ ดวย

เหตุผลดังตอไปนี้1,2,3,4

1. สารสนเทศเปนสินคาที่ผูบริโภคจะตองไดมีประสบการณการใชสอยสินคากอน จึงจะรูไดวาเปนสิ่งที่ตน

ตองการหรือไม ผิดกับสินคาประเภทกับอาหาร หรือเคร่ืองใชไมสอยที่แคมองดูจากรูปลักษณภายนอกก็

บอกไดแลววาจะตรงกับประโยชนใชสอยหรือเปลา เพราะสินคาสารสนเทศอยางดนตรี เกมส โปรแกรม

หรือนวนิยายน้ัน ผูบริโภคจะตองไดฟง ไดใช หรือไดอานกอนถึงจะบอกได (มองแคประเด็นน้ี อาจมีผูต้ัง

ขอสงสัยไดวา ในบรรดาโปรแกรมซอฟทแวรเถื่อนที่ลักลอบเผยแพรกันอยูทั่วไปขณะนี้ อาจเปนเจตนา

สรางประสบการณใหกับกลุมลูกคา

เปาหมายของเจาของผลงานเองก็

ได)

2. สารสนเทศเปนสินคาที่มีการจําแนก

แยกยอย (differentiate) ออกไปได

มากกวาสินคาประเภทอื่น แค

บทความในนิตยสารฉบับเดียวกัน พูดเรื่องเดียวกันก็ยังแตกตางกันไปในแตละบท หรือบทเพลงที่ขับรอง

โดยนักรองแตละคน บรรเลงดนตรีโดยแตละวงดนตรี ตางก็มีความแตกตางกันออกไป จนบางครั้งแมวา

Page 5: สารสนเทศ   สินค้ายุคมิลเลเนียม

สินคาสารสนเทศสองช้ินจะดูคลายคลึงกัน แตก็อาจจะนํามาใชทดแทนกันไมไดในสายตาของผูบริโภค

เชน จะเอางานเขียนของเสกสรรค ประเสริฐกุล มาใหแฟนนิยายของทมยันตีอานก็คงไมได ถึงแมจะเปน

การพูดถึงเรื่องราวแนวเดียวกัน

3. ตนทุนการผลิตของสินคาสารสนเทศนั้นอยูที่การออกแบบคิดคนและการลงทุนคร้ังแรกเทาน้ัน หลังจาก

สินคาตนแบบถูกผลิตข้ึนมาหน่ึงช้ินแลว มันอาจจะถูกผลิตซํ้า (copy) ออกมาเปนสินคาปริมาณมากโดย

แทบจะไมมีคาใชจายเลย (โดยเฉพาะในกรณีที่เผยแพรสินคาผานไปทางเครือขายอินเทอรเน็ต) ฉนั้น

หากผลงานตนแบบถูกเผยแพรออกไปกอนกําหนดโดยขาดการควบคุม เจาของผลงานก็คงจะตอง

ประสบภาวะขาดทุน

4. สารสนเทศเปนสินคาที่สามารถผลิตซํ้าไปไดเรื่อยๆ โดยไมจํากัด มันจึงเปนสินคาที่ไมมีการขาดตลาด

สามารถถายทอดและสงตอไปไดเรื่อยๆ โดยที่ตัวผูใหก็ยังคงครอบครองตัวสินคาอยูเชนเดิมไมไดสูญ

หายไปไหน อยางเวลาที่เราใหเงินทองสิ่งของแกผูอ่ืน เรามักจะเรียกวาสินคาเกิดการเปลี่ยนมือ แต

ความรูและสารสนเทศนั้นไมมีการเปลี่ยนมือเลย มีแตการเผยแพร (อยางมากที่สุดก็เปนการขายสิทธิ)

ดังน้ัน มันจึงเปนเรื่องยากที่จะนําเอากฏอุปสงค/อุปทานมาใชวางแผนการตลาดใหกับสินคาสารสนเทศ

5. สารสนเทศเปนสิ่งที่สามารถเคลื่อนยายผานเครือขายการสื่อสารและโทรคมนาคมไดอยางสะดวกรวดเร็ว

และสิ้นเปลืองคาใชจายนอยมาก จนอาจจะเรียกไดวาเปนสินคาประเภทเดียวที่แทบจะไมมีคาใชจาย

ดานการขนสงและการกระจายสินคา

6. เม่ือมีตนทุนการผลิตซ้ํา และตนทุนการเผยแพรต่ํา สินคาสารสนเทศจึงเปนสินคาที่อาจจะถูกเสนอตัด

ราคากันไดอยางสุดๆ ระหวางคูแขง ดังนั้น อาจจะตองมีการกําหนดมาตรการปกปองตลาดจากการ

แขงขันอยางเอาเปนเอาตายเชนน้ัน ดวยการใชมาตรการผูกขาดสัมปทานบางอยาง และ วิธีการที่ถือวา

เปนมาตรฐานสากลก็คือการจดทะเบียนลิขสิทธิ/สิทธิบัตรเพ่ือคุมครองใหเจาของผลงานสามารถเก็บ

เก่ียวผลประโยชนจากผลผลิตของตนไดอยางเต็มเม็ดเต็มหนวย แทนที่จะใหปลอยใหมีการผลิตซ้ําหรือ

เผยแพรออกไปโดยที่ตัวเจาของผลงานไมไดอะไรเลย

กฏหมายลิขสิทธิวาดวยสินคาสารสนเทศ

เร่ืองของกฏหมายลิขสิทธินี้ก็ยังตองอาศัยระยะเวลายาวนานกวาที่จะสามารถนําไปบังคับใชไดทั่วโลก ไม

ทันกับเครือขายการสื่อสารที่สามารถกระจายตัวสินคาสารสนเทศออกไปทั่วโลกในชั่วพริบตา จึงถือเปนปญหาที่บรรดา

ผูผลิตสินคาสารสนเทศจะตระหนักถึงคอนขางมาก เพราะในอดีตน้ัน แมจะมีการละเมิดลิขสิทธิและผลิตซํ้าของสินคาใน

ตางประเทศกันอยางเอิกเกริก แตดวยขอจํากัดของเครือขายการสื่อสารโทรคมนาคมก็สงผลใหกวาจะมีสินคาเถ่ือน

(pirate copies) ปรากฏใหเห็นในตางประเทศ มันก็มักจะลาชาออกไปจนพอมีเวลาใหเจาของความคิดพอเก็บเกี่ยวกําไร

ไดอยางเต็มกอบเต็มกําบาง

แตสําหรับการเผยแพรสินคาสารสนเทศผานเครือขายอินเทอรเน็ต หรีอชองทางสื่อสารทันสมัยใหมอ่ืนๆ

ผูละเมิดหรือลอกเลียนแบบสินคาสามารถจะผลิตซํ้างานช้ินเดียวกันแลวเผยแพรผานเว็บไซทของตนเองไดแทบจะพรอมๆ

ไปกับผูผลิตสินคาสารสนเทศตัวจริงไดทันที แถมอาจจะแอบอางสิทธิความเปนเจาของเสียดวยซํ้า โดยเฉพาะในกรณีที่

เจาของเว็บไซทที่ละเมิดลิขสิทธิ์มีนิวาสถานอยูนอกอาณาเขตที่กฏหมายลิขสิทธิ์จะครอบคลุมไปถึง ซึ่งตรงน้ีมีขอสังเกตุวา

ในขณะที่กฏหมายครอบคลุมไมทั่วอินเทอรเน็ต แตอาณาเขตการตลาดของสินคาเถื่อนกลับครอบคลุมไปทั่วทั้ง

Page 6: สารสนเทศ   สินค้ายุคมิลเลเนียม

อินเทอรเน็ต จึงนับเปนเรื่องประหลาดที่สินคาของจริงและของเถ่ือนสามารถจําหนายในตลาดเดียวกัน และใชชองทาง

เผยแพรเดียวกันได ผิดกับสินคาเถ่ือนทั่วไปที่ตองหลบๆ ซอนๆ จําหนาย เพราะมีความผิดทั้งผูซ้ือและผูขายของเถื่อน

สวนการจะเอาผิดผูซ้ือสารสนเทศเถื่อนบนอินเทอรเน็ตน้ันออกจะเปนเรื่องละเอียดออนมากในเชิง

กฏหมายอาญา ซึ่งตองพิจารณาควบคูกันไปทั้งการกระทํา และเจตนา ในแงการกระทําก็ออกจะเปนเรื่องยากที่จะ

ติดตามตรวจสอบวามีใครดาวนโหลดสารสนเทศเถื่อนมายังเครื่องคอมพิวเตอรของตนบาง (ถึงพอจะทําไดก็เสี่ยงกับการ

ละเมิดสิทธิข้ันพื้นฐานของประชาชน) ในขณะที่การพิจารณาระดับความผิดจากเจตนาก็ย่ิงยากข้ึนไปอีก เพราะสมาชิก

อินเทอรเน็ตที่ดาวนโหลดสารสนเทศเถ่ือนมาบริโภคก็ยอมจะอางเหตุผลไดสารพัดในเรื่องเจตนา (ปญหาเรื่องของเถ่ือน

บนอินเทอรเน็ตน้ีอาจจะชัดเจนขึ้น หากมีการฟองรองของบริษัทเจาของเพลงฮิตที่ถูกนําไปเผยแพรผานอินเทอรเน็ตในรูป

ของไฟลล MP3 และกรณีการตัดสินคดีความผิดฐานครอบครองสื่อลามกเด็กในสหรัฐอเมริกา เปนบรรทัดฐาน)

กระนั้น สําหรับเร่ืองการละเมิดลิขสิทธิน้ี

ผูเขียนอยากจะเตือนผูคนที่เก่ียวของกับการบังคับใชกฏหมาย

ไวสักหนอยวา อยาหลงตามกนฝรั่งไปเสียทุกเร่ืองทุกอยาง

เพราะถาจะวากันตามจริงแลว ตัวประเทศสหรัฐอเมริกาที่เปน

ตัวต้ังตัวตีเร่ืองกฏหมายลิขสิทธิเอง ก็ยังเคยละเมิดสิทธิของ

คนอื่นมาแลวนับไมถวนชวงที่ตนเองยังไมมีความกาวหนาในเชิง

เทคโนโลยีมากเทาขณะน้ี อยางในชวงคริสตศตวรรษที่ 19 ในสมัยที่กฏหมายลิขสิทธิยังไมครอบคลุมถึงสิทธิใน

ตางประเทศ สํานักพิมพของอเมริกาเคยละเมิดสิทธิของสิ่งพิมพอังกฤษเปนวาเลน มีการตีพิมพหนังสือ A Cristmas

Carol ของชารล ดิกเกนส ออกมาขายในราคาแคหกสลึง ในขณะที่ฉบับจริงในอังกฤษมีราคาถึงหาสิบบาท1 (ถือวาแพง

มาก สําหรับเม่ือกวาหนึ่งรอยหาสิบปที่แลว)

พูดในอีกแงหน่ึง ก็ตองบอกวาบรรดาประเทศที่กําลังเรียกรองเรื่องความชอบธรรมหรือการปกปองสิทธิ

อันพึงมีพึงไดของผูประดิษฐคิดคนผลงานนั้น สวนใหญตางลวนเคยละเมิดสิทธิของผูอื่นมาแลวทั้งสิ้น แตเม่ือเวลาที่

ประเทศของตนเองกาวหนาในเชิงเทคโนโลยีมากๆ เขา ก็มักจะหันกลับมากีดกันและโจมตีลักษณะการกระทําเดิมๆ ของ

ตนเอง เหมือนอยางอเมริกาที่พัฒนาอาวุธนิวเคลียรไปจนถึงระดับที่ตนเองมั่นใจแลวก็เร่ิมหันมาตําหนิและดาทอประเทศ

ที่ยังคงพัฒนาอาวุธนิวเคลียรอยู และที่เห็นลาสุดน้ีก็คือ การเลนแงเรื่องกีดกันสินคาดัดแปลงพันธุ (GMOs) ที่ฝายยุโรปงัด

ขึ้นมาปกปองตลาดการเกษตรของตนจากสินคาของของอเมริกา ดวยเหตุผลงายๆ วายังไมมีผลการศึกษาที่ชัดเจนเรื่อง

ผลกระทบตอสิ่งแวดลอมและสุขภาพ ซ่ึงฟงดูเปนเหตุเปนผลดี แตก็อดคิดไมไดวาเปนเพราะยุโรปยังตามอเมริกาไมทัน

เรื่องเทคโนโลยีเร่ืองตัดตอพันธุกรรมในสินคาเกษตรหรืออยางไร ถึงตองหามาตรการบางอยางมาเบรกสินคาเกษตรจาก

อเมริกาไวสักระยะ

การปกปองผลประโยชนของผูผลิต

เม่ือสินคาสารสนเทศน้ันมีลักษณะงายตอการละเมิด และยากตอการเอาผิดผูละเมิด ปญหาจึงตกอยูที่วา

เจาของผลงานตนฉบับของสินคาสารสนเทศควรจะทําอยางไรถึงจะปกปองผลประโยชนที่ตนเองควรจะไดรับไวใหไดมาก

ที่สุด ทางออกที่ถูกเลือกในขณะน้ีสวนใหญดูเหมือนวาจะเปนการพยายามหนวงเวลา (delay tactics) ชวงกอนที่สินคา

ถูกละเมิดจะมีโอกาสเผยแพรออกไปอยางกวางขวางใหนานที่สุดเทาที่จะนานได วิธีการงายที่สุดอยางแรกก็คือ การสราง

Page 7: สารสนเทศ   สินค้ายุคมิลเลเนียม

ภาพลักษณของผลิตภัณฑและบริษัทผูผลิตใหติดตรึงอยูในใจผูบริโภค (Brand reputation & Brand royalty) เพ่ือใหทุก

คร้ังที่นึกถึงสินคาประเภทน้ี ผูบริโภคก็จะตองเลือกมาที่ชื่อยี่หอหรือที่เว็บไซทของตนเปนอันดับแรก

ยกตัวอยางเชน การเลือกใชโปรแกรมออฟฟซของไมโครซอฟทนั้น ผูใชโปรแกรมสวนใหญแทบจะไมไดมี

การศึกษาเปรียบเทียบกันอยางจริงๆ จังๆ เลยวาโปรแกรมแตละตัวในไมโครซอฟทออฟฟซนั้นโดดเดนเหนือกวาสินคา

คูแขงตรงไหน หรือมีผลิตภัณฑอื่นที่เหมาะกับงานของตนเองมากกวาหรือเปลา ทุกคนเลือกไมโครซอฟทออฟฟซเพียง

เพราะเปนชื่อผลิตภัณฑที่ติดตลาด และ รับประกันไดในแงคุณภาพ หรืออยางกรณีของการคนหาขอมูลบนอินเทอรเน็ตก็

เชนกัน หากผูใชคอมพิวเตอรรายไหนเคยใชบริการสืบคนขอมูลอะไรอยูเปนประจําก็มักจะติดตอไปที่เว็บไซทเดิมอยูเสมอ

ไมวาจะเปน อินโฟซีค ฮ็อทบ็อท ยาฮู หรือไลคอส ฯลฯ

วิธีปกปองผลประโยชนเจาของผลงานสารสนเทศผานอินเทอรเน็ตอีกอยาง คือการคิดคาสมาชิกจากผู

เขาใชบริการ ซึ่งมีอยูสองรูปแบบ แบบแรกเปนการเก็บคาสมาชิกแรกเขากอนเดียวแลวใชสิทธิไดตลอด (fixed entry-

fee) แบบที่สอง คือการคิดคาบริการตามจํานวนสินคาสารสนเทศที่ผูใชบริการติดตอเขาไปเรียกคน (pay-per-view

model) ซ่ึงอางเหตุผลวาทําใหเจาของผลงานไดรับประโยชนอยางเต็มเม็ดเต็มหนวย และผูบริโภคเสียคาใชจายนอยลง

เพราะเปนการจายตามความเปนจริง แตการคิดคาบริการสารสนเทศตามจริงจะประหยัดคุมคาได เฉพาะกรณีที่

ผูบริโภครูดีวาเว็บไซทที่ตนเองติดตอเขาไปน้ันมีสิ่งที่ตนเอง

ตองการจริงๆ

ขอเสียของวิธีการคิดคาบริการสารสนเทศตาม

จํานวนการใชจริง อยูตรงที่อาจสงผลใหผูบริโภคสื่อบน

อินเทอรเน็ตเลือกติดตอเขาชมเฉพาะเว็บไซทที่ตนรูจักคุนเคย

ไมยอมติดตอไปยังเว็บไซทเกิดใหม ซ่ึงเทากับเปดโอกาสใหมีการ

ผูกขาดตลาดแบบกลายๆ ข้ึนมา อีกทั้ง ยังอาจจะทําใหมีการ

ตัดราคาสินคาสารสนเทศกันอยางมโหฬารเพ่ือดึงดูดลูกคาใหเขาไปเย่ียมชมเว็บไซทของตน สุดทาย แนวความคิดใหเก็บ

คาบริการจากผูบริโภคสื่อบนอินเทอรเน็ตตามจริงจึงไมไดรับการตอบรับจากสมาชิกของอินเทอรเน็ตเทาใดนัก เพราะ

สะดวกสูวิธีการเสียคาสมัครแรกเขาครั้งเดียวไมได (อยางฺการคิดคาบริการชมโทรทัศนแบบ pay-per-view ซ่ึงเปนสื่อ

สารสนเทศแบบงายๆ ไมซับซอน ก็ยังไมไดรับการตอบสนองเทาที่ควรเม่ือเทียบกับการสมัครสมาชิกเคเบิ้ลทีวีทั่วไป)

อันนี้สามารถอธิบายไดโดยหลักจิตวิทยาผูบริโภคงายๆ สามขอ ขอแรก ผูบริโภคสวนใหญมักจะรูสึกวา

การจายเงินกอนไมมากนักในอัตราตายตัวน้ันปลอดภัย (insurance) กวาการจายตามจํานวนการใชซ่ึงอาจจะถูกชารจ

คาใชจายพรวดพราดข้ึนไปโดยไมรูตัว ขอสอง ผุบริโภคสวนใหญมักจะประเมินขีดความสามารถในการบริโภคของตนไวสูง

กวาความเปนจริง (overestimate) เหมือนพวกสมัครสมาชิกเคเบิ้ลทีวีไวเพราะคิดวาคุมกวาเชาวิดีโอมาชมมากนัก แต

ถึงเวลาจริงๆ กลับไมคอยจะมีเวลาหรืออารมณดู หรือพวกที่สมัครสมาชิกสถานที่พักตากอากาศทิ้งไวดวยเหตุผลวาแค

เที่ยวสี่/หาคร้ังตอปก็คุมแลว แตถึงเวลาจริงๆ กลับไมมีเวลาไปใชบริการเลย และขอที่สาม คือ ผูบริโภคเบื่อที่จะตองมา

นั่งตัดสินใจเร่ืองความคุมคาทุกครั้งที่จะตองมีการดาวนโหลดขอมูล

ในทางกลับกัน การกําหนดมูลคาสินคาสารสนเทศรวมๆ บนอินเทอรเน็ตไวเปนคาสมาชิกแรกเขาตายตัว

ไปเลยน้ันก็ดูจะเปนที่ปรารถนาของผูผลิต/จําหนายสินคาสารสนเทศดวยเชนกัน เพราะมันทําใหมีรายไดจากคาสมาชิก

แนนอนทั้งยังมักจะใหตัวเงินโดยรวมมากกวา จึงเหมาะกับการบริหารในเชิงธุรกิจ และการตลาด สะดวกกับการกําหนด

แผนโปรโมช่ันในลักษณะของสินคาของแถม หรือการจําหนายสินคารวมกันไปเปนชุดเพ่ือเพ่ิมมูลคา (value-added) ดัง

Page 8: สารสนเทศ   สินค้ายุคมิลเลเนียม

จะเห็นไดจากการจําหนายโปรแกรมสําเร็จรูปที่มักจะรวมกันมาเปนชุด (package) ซึ่งลอใจผูซ้ือในแงวาสามารถจะซ้ือ

โปรแกรมแตละตัวไดถูกลง (ทั้งที่อาจจะไมมีความจําเปนตองใชตัวโปรแกรมที่ถูกแถมมาเทาไร) ในขณะที่ผูจําหนาย

โปรแกรมก็มีกําไรมากข้ึน (อยาลืมวา สินคาสารสนเทศนั้นไมมีตนทุนในการผลิตซํ้า ฉนั้นย่ิงขายโปรแกรมไปเปนชุดไดมาก

เทาไรเงินรายไดที่เพ่ิมข้ึนมาจากการขายโปรแกรมเดี่ยวๆ ก็ยอมจะหมายถึงผลกําไรลวนๆ) 5

วิธีการรักษาผลประโยชนแบบที่สามของผูผลิต/จําหนายสินคาสารสนเทศ คือ การจําแนกแจกแจงสินคา

(differentiate) ของตนใหเหมาะกับกลุมลูกคาปาหมายที่แตกตางกันไป เชน อาจจะแจกแจงสินคาสารสนเทศออกไป

เปนหลายเวอรช่ัน มีเวอรช่ันสําหรับมืออาชีพ สําหรับผูใชสารสนเทศทั่วไป และสําหรับมือใหม ทํานองเดียวกับหนังสือนว

นิยายที่มักจะพิมพออกมาสองรุน รุนแรกปกหนัง พิมพนอยและมีราคาแพงเหมาะสําหรับนักอานประเภทตัวจริงและนัก

สะสม โดยมีเหตุผลรองรับอีกอยางคือการไดอานกอนผูอานทั่วไป ซ่ึง

อานผลงานรุนเวอรชั่นสอง ที่ใชปกกระดาษออนราคาถูก และพิมพเปน

จํานวนมาก

แตสินคาสารสนเทศนั้นสามารถแจกแจงประเภท

ออกไปไดละเอียดกวาแฟนนิยาย แถมยังมีขอที่เหนือกวาตรงที่หนังสือ

นิยายน้ันลูกคาซ้ือไปแลวมักจะไมซ้ือซํ้า ในขณะที่สินคาสารสนเทศนั้น

สามารถขายลูกคารายเดิมซ้ําไดอีกในรูปของเวอรช่ันอัพเกรด ซึ่งในการ

ทําสินคาเวอรชั่นอัพเกรดนั้น ผูผลิต/จําหนายสินคาสารสนเทศก็ยังมีทางเลือกสําหรับการอัพเกรดผลิตภัณฑไดสารพัด

ไมวาจะเปนเรื่องของสวนติดตอกับผูใช (user interface) รูปแบบการทํางานใหมๆ (new features) สวนอํานวยความ

สะดวก (Customizable utilities) การปรับปรุงรูปแบบการทํางานใหม่ันคงเช่ือถือไดมากข้ึน (security & integrity)

หรือการรับรองมาตรฐานสารสนเทศใหมๆ (support) ฯลฯ 6

Page 9: สารสนเทศ   สินค้ายุคมิลเลเนียม

ปญหาในการเลือกบริโภคสินคาสารสนเทศ

ปญหาสําคัญที่กําลังเผชิญหนามนุษยทั่วโลกขณะนี้คือ ขีดความสามารถที่จํากัดของมนุษยในการบริโภค

สินคาสารสนเทศ เพราะในขณะที่ปริมาณของสารสนเทศบนโลกทบทวีมากข้ึนไปทุกวันในอัตรายกกําลังหรือที่เรียกกันวา

เพิ่มขึ้นแบบเอ็กซโปเนเชี่ยลตามกฏของมาลธัส (Malthus's Law) สมรรถนะในการบริโภคสารสนเทศของมนุษยยังคงที่

ในระดับเดิม หรือถาจะเพิ่มข้ึนบางก็นอยมากแถมความเร็วในการบริโภคสารสนเทศที่เร็วขึ้นของมนุษย ยังเปนการเนน

ปริมาณมากกวาคุณภาพ ซึ่งดูจะเปนผลเสียมากกวาผลดี ดังที่เฮอรเบิรต ไซมอน เคยพูดไวอยางนาคิดวาขณะที่สินคา

ประเภทอ่ืนถูกบริโภค สินคาสารสนเทศกลับเปนตัวบริโภคเสียเอง มันบริโภคความใสใจ ความสนใจ (attention) ของ

ผูรับสื่อ ย่ิงมีปริมาณสารสนเทศมากเหลือเฟอเทาใด ก็จะสงผลใหเกิดความยากจนในเร่ืองความใสใจมากขึ้นเทานั้น

(wealth information, poverty attention) 4

ซ่ึงถาเราเปรียบสารสนเทศเปนเหมือนอาหาร มันก็เทากับวาปริมาณอาหารบนโลกน้ันถูกผลิตมากขึ้นทั้ง

ในแงปริมาณและความหลากหลายเปนรอยๆ เทาในแตละวัน ในขณะที่ขนาดกระเพาะของมนุษยยังคงที่เทาเดิม สิ่งที่

ตามมาก็คือมนุษยบางคนอาจจะบริโภคมากขึ้น ถี่ข้ึน แตในขณะที่ปากบริโภคจิตใจอาจจะเกิดภาวะเบื่ออาหารไมคิดจะ

อยากกินอะไรหรือสนใจในสิ่งที่ตนกินเลย (ความอยากอาหารของสมองก็คือ ความสนใจ/ใฝรู) หรืออาจจะตองพยายาม

แสวงหาอาหารที่ถูกปาก ถูกใจ และมีคุณภาพ ออกจากบรรดาอาหารขยะ (junk food) ที่มีอยูมากมาย ทําใหตองพ่ึงพา

บริการของหนวยงานแนะนําอาหาร อยางเชลลชวนชิม แมชอยนางรํา หมึกแดงแผลงรส หรือหลักการบริโภคแบบชีวจิต

ฯลฯ

เม่ือความอยากบริโภค หรือความใสใจ (attention) คือสิ่งที่นับวันจะขาดแคลนมากข้ึนในโลกยุค

สารสนเทศ บรรดาผูผลิต/จําหนายสินคาสารสนเทศจึงจําตองหามาตรการตางๆ มาใชแยงชิงความสนใจจากผูบริโภคให

Page 10: สารสนเทศ   สินค้ายุคมิลเลเนียม

ไดมากที่สุด จนในที่สุด มันไมเพียงแตจะแยงความสนใจจากสารสนเทศดวยกันเองเทาน้ัน แตมันยังแยงชิงความสนใจใน

การดําเนินกิจกรรมอื่นๆ ของมนุษยไปดวย ดังจะเห็นไดจากการที่มนุษยสมัยใหมใชเวลากับการบริโภคสารสนเทศมากขึ้น

ในแตละวัน ทั้งการอานหนังสือพิมพ การฟงวิทยุ การดูโทรทัศน การเลนเกมสคอมพิวเตอร และการเลนอินเทอรเน็ต ฯลฯ

สงผลใหมนุษยบางคนถูกลอ ถูกดึงดูดความสนใจเสียจนแทบจะไมไดออกจากโตะคอมพิวเตอรไปไหนเลย จะกินอาหารก็ใช

วิธีสั่งอาหารขยะผานทางอินเทอรเน็ต ฯลฯ

ปญหาเรื่องสารสนเทศลนโลกไมไดกอใหเกิดผลกระทบกับบรรดามนุษยดิจิตัลที่ทุมเทความสนใจใหกับ

คอมพิวเตอรและสารสนเทศจนหมดความสนใจในกิจกรรมอ่ืนในชีวิตเทาน้ัน แตยังสรางผลกระทบโดยกวางออกไปในทุก

สวนของสังคม แมแตผูที่มีวิถีชีวิตปรกติแตตองเก่ียวของอยูกับสารสนเทศก็ยังประสบกับปญหาในแงที่ตองใชเวลาและเงิน

ทองไปกับการคนหาขอมูลที่ตนตองการจริงๆ มากข้ึน เพราะย่ิงปริมาณสารสนเทศเพ่ิมขึ้นมากเทาใด การคนหาก็จะย่ิง

ยากข้ึนเทาน้ัน เปรียบเหมือนการคนหาเข็มจากกองเสนฟางที่มีลักษณะลีบๆ ยาวๆ เหมือนกัน ย่ิงกองฟาง (ปริมาณ

สารสนเทศโดยรวม) มีขนาดใหญเทาไร การจะหาเข็ม (ขอมูลที่ตองการ) ใหเจอไดก็ยิ่งยากขึ้นเทานั้น

อยางไรก็ตาม นับวายังดีที่เปนแคการเปรียบเทียบไมใชการคนหาเข็มในกองฟางจริงๆ เพราะการคนหา

ขอมูลน้ันสามารถนําเอามาตรการและกลไกทางตรรกะตางๆ ดาน

คอมพิวเตอรมาใชไดอยางสะดวกเพียงแตอาจจะเปลืองเวลาและเงิน

ทองในการคนหาขอมูลมากขึ้น ทําใหผูบริโภคตองมีคาใชจายในการ

รับบริการขอมูล (transaction cost) เพ่ิมขึ้นโดยไมจําเปน ทั้งในแง

ของการสืบคน (searching) การประเมินคุณคา (evaluating) และ

การจัดหาสินคาสารสนเทศมาบริโภค (purchasing) จนอาจจะกลาว

ไดวา ราคาของสินคาสารสนเทศบนอินเทอรเน็ตที่ทุกอยางอาจไดมา

ฟรีๆ นั้นอยูที่คาใชจายในการรับบริการน่ันเอง (information is free,

transaction is expensive) สมดังที่เคยมีผูกลาวกันอยูเสมอวา "โลกนี้ไมมีอะไรที่จะไดมาฟรีๆ"

กระบวนการที่จะไดมาซึ่งสินคาสารสนเทศที่ตองการน้ันแมวาจะดูเหมือนเปนเร่ืองยุงยาก แตเมื่อลอง

พิจารณาลงไปใหลึก มันก็ดูจะไมแตกตางไปจากวิธีการที่เราซื้อหาสินคาประเภทที่สามารถจับตองสัมผัสไดสักเทาใดนัก

คือเวลาที่ตองการซ้ือหาสินคาสักช้ิน ผูซ้ือสินคาสวนใหญก็นิยมใชวิธีไปติดตอกับผูคาที่คุนเคย มีช่ือเสียงอันเปนที่ยอมรับได

วานาจะจัดหาสินคาคุณภาพมาสงใหเราไดในราคาที่ไมแพง ซ่ึงผูคาลักษณะที่วาน้ันไดแกบรรดากิจการหางสรรพสินคาชื่อ

ดังทั้งหลายน่ันเอง เพราะการซื้อสินคาจากหางดีๆ ยอมจะทําใหผูซื้ออุนใจวามีการรับประกันคุณภาพในระดับหน่ึง อยาง

นอยก็สามารถเปลี่ยน/คืนสินคาที่มีปญหาได ไมเหมือนกับการซ้ือหาสินคาตามแผงลอยขางถนน

การซื้อขายสินคาสารสนเทศผานอินเทอรเน็ตน้ันก็มีลักษณะเชนเดียวกัน คือ สมาชิกอินเทอรเน็ตสวน

ใหญมักจะติดตอเขาไปยังเว็บไซทที่มีช่ือเสียงและคุนเคยเปนอันดับตนๆ โดยเว็บไซทประเภทน้ีก็จะทําตัวเสมือนหน่ึงเปน

หางสรรพสินคาสารสนเทศที่คอยจัดหาสินคาที่คิดวาจะถูกใจผูบริโภคมานําเสนอ ตลอดจนกระทั่งมีการโปรโมชั่นเพื่อผล

ในการชวงชิงลูกคา ไมตางไปจากหางสรรพสินคาจริงๆ เลย (มีศัพทเฉพาะสําหรับเรียกเว็บไซทประเภทน้ี วา Portal

websites เพราะทําตัวเหมือนเปนทางผาน หรือ port ไปยังเว็บไซทอื่นๆ ที่เกี่ยวของ) 7

เอกสารอางอิง

1. Varian HR., Markets for Information goods (http://www.sims.berkeley.edu/~hal/people/hal/papers.html)

Page 11: สารสนเทศ   สินค้ายุคมิลเลเนียม

2. Morris-Suzuki T., Capitalism in the Computer age and afterward., Cutting Edge : Technology, Information Capitalism

and Social Revolution, London. UK : Verso, 1997

3. David J,. Stack M., The Digital Advantage Cutting Edge : Technology, Information Capitalism and Social Revolution,

London. UK : Verso, 1997

4. Kelly K., New Rules for the New Economy London, UK : Fourth Estate 1998

5. Fishburn P., Oklyzko AM., Siders RC., Fixed fee versus unit pricing for information goods : compettition,

equilibria and price wars, First Monday 1997; 2(7) (http://www.firstmonday.dk/issues/issue2_7/odlyzko/)

6. Shapiro C., Varian HR., Information rules : a strategic guide for the network economy. Cambridge, Mass: Harvard

Business School Presss, 1998

7. Enrico Coiera, Information Economics and the Internet. JAMIA 7 : 215 –221 (http://www.jamia.org/cgi/content/full/7/3/215)