1. แผนปฏิบัติการดิจิทัล...

Preview:

Citation preview

1

การประเมินผลการดําเนินงานทุนหมุนเวียน ประจําปีบัญชี 2563 กลุ่มดิจิทัล

1. แผนปฏิบัติการดิจิทัล และแผนปฏิบัติการประจําปี

ตัวชี้วัด 1.1 มีการจัดทํา/ทบทวนแผนปฏิบัติการดิจิทัล (ระยะยาว) ที่มีความสอดคล้องกับแผนยุทธศาสตร์ทั้ง

วิสัยทัศน์ พันธกิจ และยุทธศาสตร์ที่สําคัญ

เกณฑ์การประเมิน

ระดับคะแนน เกณฑ์การให้คะแนน 1 ไม่มีการจัดทํา/ทบทวนแผนปฏบิัติการดจิิทัล 2 มีการจัดทํา/ทบทวนแผนฯ แต่ไม่สอดคล้อง ตามแผนดิจิทัลเพื่อเศรษฐกิจและสงัคมของประเทศไทยและไม่ตอบสนองและสนับสนุน

ต่อแผนยุทธศาสตร์ทั้งวิสยัทัศน์ ภารกิจ รวมทั้งกลยุทธ์ของทุนหมุนเวียน

3 มีการจัดทํา/ทบทวนแผนฯ ที่สอดคล้อง ตามแผนดิจิทัลเพื่อเศรษฐกิจและสังคมของประเทศไทยและตอบสนองและสนบัสนุนต่อแผนยุทธศาสตร์ทั้งวิสัยทัศน์ ภารกจิ รวมทั้งกลยุทธ์ของทุนหมุนเวียน

4 มีการจัดทํา/ทบทวนแผนฯ ที่สอดคล้อง ตามแผนดิจิทัลเพื่อเศรษฐกิจและสังคมของประเทศไทยและตอบสนองและสนบัสนุนต่อแผนยุทธศาสตร์ทั้งวิสัยทัศน์ ภารกจิ รวมทั้งกลยุทธ์ของทุนหมุนเวียนและมีการระบโุครงการที่เกี่ยวขอ้ง1 2 ประเด็น*

5 มีการจัดทํา/ทบทวนแผนฯ ที่สอดคล้อง ตามแผนดิจิทัลเพื่อเศรษฐกิจและสังคมของประเทศไทยและตอบสนองและสนบัสนุนต่อแผนยุทธศาสตร์ทั้งวิสัยทัศน์ ภารกจิ รวมทั้งกลยุทธ์ของทุนหมุนเวียนและมีการระบโุครงการที่เกี่ยวขอ้ง1 4 ประเด็น*

หมายเหต ุ*

1 โครงการที่เกี่ยวข้อง ได้แก่ 1. โครงการเพิ่มประสิทธิภาพ และ/หรือ ลดขั้นตอนการปฏิบัติงาน 2. โครงการสําหรับประชาชน/ผู้ใช้บริการได้รับ ความสะดวกและได้รับการตอบสนองความตอ้งการ 3. โครงการการจัดให้มีระบบสารสนเทศและ/หรือระบบดิจิทัล ที่สนับสนุนการบริหารจัดการ ทุนหมุนเวียน 4. โครงการจัดให้มีระบบสารสนเทศและ/หรือระบบดิจิทัล เพื่อชว่ยการสื่อสารทั้งภายในและภายนอกที่เหมาะสมกับทุนหมุนเวยีน

ผลการดําเนินงานที่ผ่านมา

1) นําเสนอ ‘ร่าง’ แผนแม่บทฯ ฉบับที่ 3 ผ่านคณะอนุกรรมการพัฒนาระบบ ฯ (5/62) วันที่ 3 พ.ค. 62

2) นําฉบับ ‘ร่าง’ แผนแม่บทฯ ฉบับที่ 3 ที่ปรับปรุงเสนอต่อ กพฉ. วันที่ 15 พ.ค. 62

3) รายงานความก้าว หน้า คณะอนุกรรมการฯ (6/62) วันที่ 10 มิ.ย. 62

4) รายงานความก้าวหน้า คณะอนุกรรมการพัฒนาระบบฯ วันที่ 5 ส.ค. 62

5) รายงานความก้าวหน้า คณะอนุกรรมการพัฒนาระบบฯ วันที่ 2 ธ.ค. 62

6) รายงานความก้าวหน้า คณะอนุกรรมการยุทธศาสตร์ วันที่ 14 ม.ค. 63

7) ดําเนินการรับฟังความคิดเห็น หน่วยงานภายนอกตามมติอนุฯ ยุทธศาสตร์ วันที่ 13 ก.พ. 63

8) รายงานความก้าวหน้า คณะอนุกรรมการพัฒนาระบบฯ วันที่ 2 มี.ค. 63

9) เพ่ิมเติมประเด็น สรุปเสนอต่อ กพฉ. วันที่ 10 มี.ค. 63

เอกสารแนบท้ายรายงานการประชุม ๔

2

สรุปผลการดําเนินงาน

ปัจจุบันดําเนินการปรับปรุงเนื้อหาและรายละเอียด ตามมติคณะอนุกรรมการพัฒนาระบบฯ เมื่อวันที่ 2 มี.ค. 63 เมื่อพิจารณาร่างแผนตามเกณฑ์การให้คะแนนตามที่กรมบัญชีกลางกําหนด สามารถดําเนินการได้ในระดับ 3 “มีการจัดทํา/ทบทวนแผนฯ ที่สอดคล้อง ตามแผนดิจิทัลเพ่ือเศรษฐกิจและสังคมของประเทศไทยและตอบสนองและสนับสนุนต่อแผนยุทธศาสตร์ทั้งวิสัยทัศน์ ภารกิจ รวมทั้งกลยุทธ์ของทุนหมุนเวียน” และอยู่ระหว่างการดําเนินการเพ่ิมเติมตามเกณฑ์ระดับที่ 4 และระดับ 5

ตัวช้ีวัด 1.2 แผนปฏิบัติการประจําปี 2563 มีองค์ประกอบหลักที่ดีครบถ้วน

ระดับคะแนน เกณฑ์การให้คะแนน 1 ไม่มีการจัดทําแผนปฏิบัติการประจําปี 2 มีการจัดทําแผนปฏิบัตกิารประจาํที่มีองค์ประกอบหลัก2ที่ด ีแต่ไม่ครบถ้วนตามที่กําหนด

3 มีการจัดทําแผนปฏิบัตกิารประจาํที่มีองค์ประกอบหลัก2ที่ด ีครบถ้วนตามทีก่ําหนด 4 มีการจัดทําแผนปฏิบัตกิารประจาํที่มีองค์ประกอบหลัก2ที่ด ีครบถ้วนตามทีก่ําหนด และมีองค์ประกอบเพิ่มเติม3 1 ประเด็น 5 มีการจัดทําแผนปฏิบัตกิารประจาํที่มีองค์ประกอบหลัก2ที่ด ีครบถ้วนตามทีก่ําหนด และมีองค์ประกอบเพิ่มเติม3 2 ประเด็น

หมายเหต ุ2 องค์ประกอบหลัก ได้แก่ 1.แผนงาน/โครงการ 2. เป้าหมาย 3. ข้ันตอนการดําเนินงาน 4. ระยะเวลา 5. งบประมาณ และ 6. ผู้รบัผิดชอบ 3 องค์ประกอบเพิ่มเติม ได้แก่ 1. การจัดกลุม่และลําดับความสําคัญของแผนงาน/โครงการ และ 2. ตัวช้ีวัดที่แสดงความสําเร็จและผลลัพธ์ที่ คาดหวังครบทุกแผนงาน/โครงการที่ดําเนินการ 4 กรณีทุนหมุนเวียนไม่ได้มี มีการทบทวน/จัดทํา แผนปฏิบัตกิารดิจทิัล (ที่ครอบคลุมปีบัญชี 2563) และแผนปฏิบัติการประจําปบีัญชี 2563 โดยได้รับความเห็นชอบจาก คณะกรรมการทุนหมุนเวียน ได้ทันภายในปีบัญชี 2562 ให้ดําเนินการปรบัลดคะแนน หัวช้อ 1 แผนปฏิบัติการ ดิจทิัล และแผนปฏิบัติการประจําปีลง ร้อยละ 20 ของคะแนนที่ได้ เช่น ถ้าเดิม ทุนหมุนเวียนได้รับคะแนนในหัวข้อ 1 ที่ 3.5000 จะถูกปรบั ลดคะแนนลง ร้อยละ 20 เหลือ ได้รับคะแนน 2.8000

สรุปผลการดําเนินงาน

การดําเนินการจัดทําแผนปฏิบัติการประจําปี 63 อยู่ระหว่างการดําเนินการ เนื่องจากอยู่ระหว่างการนํา

ร่าง แผนแม่บทฯ เสนอ กพฉ. ในวันที่ 10 มี.ค. 63 เมื่อมีการประกาศใช้งาน จึงมาดําเนินการจัดทําแผนปฏิบัติการ

ประจําปี 63 ต่อไป เมื่อเทียบกับเกณฑ์การให้คะแนน อยู่ในระดับ 1

ความเพียงพอของระบบการบริหารจัดการสารสนเทศที่สนับสนุนการตัดสินใจของผู้บริหาร (EIS/MIS) หน้า 1

สรุปรายงานตัวช้ีวัดร่วมด้านที่ 4 การบริหารจัดการทุนหมุนเวียน ตัวช้ีวัดที่ 4.3 การบริหารจัดการสารสนเทศและดิจิทัล

การบริหารจัดการสารสนเทศและดิจิทัล

ระบบการบริหารจัดการสารสนเทศ ที่สนับสนุนการตัดสินใจของผู้บริหาร (EIS/MIS) (กรณีที่ 1 ทุนมีระบบแล้ว) ประเด็นย่อยที่ใช้พิจารณา

น้้าหนัก (%)

ระดับคะแนน 1 2 3 4 5

1. ความเพียงพอของระบบการบริหารจัดการสารสนเทศที่สนับสนุนการตัดสินใจของผู้บริหาร (EIS/MIS)

35 มีระบบที่มีการรายงานผลการด าเนินงาน แต่ข้อมูลไม่มีความทันกาล และไม่มีการเทียบกับเป้าหมายในระดับทุนหมุนเวียน

มีระบบที่มีการรายงานผลการด าเนินงาน ซึ่งข้อมูลมีความทันกาล แต่ไม่มีการเทียบกับเป้าหมายในระดับทุนหมุนเวียน

มีระบบที่มีการรายงานผลการด าเนินงาน ซึ่งข้อมลูมีความทันกาล และมีการเทียบกับเป้าหมายในระดับทุนหมุนเวียน

มีระบบที่มีการรายงานผลการด าเนินงานข้อมูลมีความทันกาล และมีการเทียบกับเป้าหมายในระดับทุนหมุนเวียน และรับอื่นที่ถ่ายทอดจากเป้าหมายของทุนหมุนเวียน (ฝ่าย/บุคคล)

ระบบดังกล่าวมีการประเมินผลลัพธ์ และผลลัพธ์แสดงว่าผู้บริหารมีการใช้งานผ่านระบบอย่างเต็มศักยภาพ

หมายเหตุ : 1. ระบบการบริหารจัดการสารสนเทศที่สนับสนุนการตัดสินใจของผู้บริหาร (EIS/MIS) ที่มีการนาเสนอในรูปแบบของสารสนเทศ (Information มิใช่ Data) ที่ง่ายต่อการตัดสินใจ โดยมีนาเสนอในรูปแบบของอินโฟกราฟฟิก (Info graphic) เช่น รูปภาพ กราฟ ฯลฯ ทั้งท่ีอยู่บนระบบ IT และ/หรือ บนเอกสาร 2. ตัวอย่างตัวชี้วัดใช้ประเมินผลลัพธ์ที่แสดงว่าผู้บริหารมีการใช้งานผ่านระบบอย่างเต็มศักยภาพ เช่น จานวนครั้งเฉลี่ยการเข้าใช้ระบบของผู้บริหารเทียบกับเป้าหมาย ร้อยละ/ระดับความพึงพอใจของผู้บริหารต่อการใช้งานระบบ เป็นต้น

ผลการด้าเนินงาน

อยู่ในเกณฑ์ระดับ 3 มีระบบที่มีการรายงานผลการด าเนินงาน ซึ่งข้อมูลมีความทันกาล และมีการเทียบกับเป้าหมายในระดับทุนหมุนเวียน

ความเพียงพอของระบบการบริหารจัดการสารสนเทศที่สนับสนุนการตัดสินใจของผู้บริหาร (EIS/MIS) หน้า 2

ระบบในการบริหารจัดการสารสนเทศที่สนับสนุนการตัดสินใจของผู้บริหาร (EIS/MIS) คือ ระบบคลังข้อมูลการแพทย์ฉุกเฉิน (Data Warehouse) ซึ่งเป็นศูนย์กลางการให้บริการข้อมูลสารสนเทศที่ส าคัญเกี่ยวกับระบบการแพทย์ฉุกเฉินเพ่ือสนับสนุนการตัดสินใจของผู้บริหาร อาทิเช่น ข้อมูลทรัพยากรพ้ืนฐานที่ขึ้นทะเบียนในระบบสารสนเทศการแพทย์ฉุกเฉิน (ITEMS) ข้อมูลการปฏิบัติการการแพทย์ฉุกเฉิน (ITEMS) ข้อมูลผู้ป่วยฉุกเฉินวิกฤต มีสิทธิทุกที่ (UCEP) ข้อมูลการบริหารจัดการกองทุน (E-Budget) และข้อมูลการตรวจประเมินและรับรองคุณภาพระบบบริการการแพทย์ฉุกเฉินแห่งประเทศไทย (TEMSA) เป็นต้น

ตัวอย่างสารสนเทศที่สนับสนุนการตัดสินใจของผู้บริหาร ข้อมูลสนับสนุนตัวชี้วัดการแพทย์ฉุกเฉิน เรื่อง ร้อยละของการคัดแยกท่ีบ่งว่าเป็นผู้ป่วยฉุกเฉินวิกฤตทาง

โทรศัพท์เทียบกับที่โรงพยาบาล (Under & Over Triage)

ตารางรายงานผลการด าเนินงานตามเกณฑ์การให้คะแนน ปีงบ 2563 ท าให้ทราบจ านวนจังหวัดที่ผ่านเกณฑ์ว่ามีจ านวนกี่จังหวัด และทราบถึงระดับคะแนนเป็นไปตามเป้าหมายที่วางไว้หรือไม่

ความเพียงพอของระบบการบริหารจัดการสารสนเทศที่สนับสนุนการตัดสินใจของผู้บริหาร (EIS/MIS) หน้า 3

แผนภูมิแสดงร้อยละการคัดแยกความรุนแรงรายปีงบประมาณ สามารถเลือกดูจังหวัดที่ต้องการได้เพ่ือประกอบการตัดสินใจในการวางแผนพัฒนาในด้านที่เกี่ยวข้องต่อไป

แผนภูมิแสดงร้อยละการคัดแยกความรุนแรงรายเดือน ท าให้เห็นถึงแนวโน้ม ประสิทธิภาพการประเมินความรุนแรงผู้ป่วยฉุกเฉินในแต่ละเดือน

รายงานจ านวนครั้งการเข้าใช้งานระบบคลังข้อมูลการแพทย์ฉุกเฉิน (Data Warehouse) ไตรมาสที่ 1 จ าแนกตามระดับต าแหน่งของพนักงาน

ระบบสารสนเทศที่สนับสนุนผู้ใช้บริการภายในทุนหมุนเวียน หน้า 1

ตัวช้ีวัดที่ 4.3.2.2 ระบบสารสนเทศที่สนับสนุนผู้ใช้บริการภายในทุนหมุนเวียน

(กรณีที่ 1 – ทุนมีระบบแล้ว) (1) ระบบสารสนเทศที่สนับสนุนผู้ใช้บริการภายในทุนหมุนเวียน

ระดับเกณฑ์วัดผล

เกณฑ์วัดผลการด าเนินงาน ค่าเกณฑ์วัด

มีระบบทีส่นับสนุนการเพิ่มประสทิธิภาพการปฏิบตัิงานและ/หรือสนับสนุนการอ านวยความ

สะดวกต่อผู้ใช้บริการแต่ระบบดังกล่าวไมม่ีการใช้งาน

เท่ากับ 1 คะแนน

มีระบบทีส่นับสนุนการเพิ่มประสทิธิภาพการปฏิบตัิงานและ/หรือสนับสนุนการอ านวยความ

สะดวกต่อผู้ใช้บริการแต่ไม่ใช่การสนับสนุนภารกิจหลักของทุนหมุนเวียน

เท่ากับ 2 คะแนน

มีระบบทีส่นับสนุนการเพิ่มประสทิธิภาพการปฏิบตัิงานและ/หรือสนับสนุนการอ านวยความ

สะดวกต่อผู้ใช้บริการ และเป็นการสนับสนุนภารกิจหลักของทุนหมนุเวียน

เท่ากับ 3 คะแนน

มีระบบทีส่นับสนุนการเพิ่มประสทิธิภาพการปฏิบตัิงานและ/หรือสนับสนุนการอ านวยความ

สะดวกต่อผู้ใช้บริการ และเป็นการสนับสนุนภารกิจหลักของทุนหมนุเวียนมีการประเมินผล

ลัพธ์ และผลลัพธ์แสดงว่ามผีลการด าเนินงานท่ีดีกว่าเป้าหมาย

เท่ากับ 4 คะแนน

มีระบบทีส่นับสนุนการเพิ่มประสทิธิภาพการปฏิบตัิงานและ/หรือสนับสนุนการอ านวยความ

สะดวกต่อผู้ใช้บริการ และเป็นการสนับสนุนภารกิจหลักของทุนหมนุเวียน มีการประเมินผล

ลัพธ์ และผลลัพธ์แสดงว่ามผีลการด าเนินงานในระดับดีอย่างต่อเนื่อง

เท่ากับ 5 คะแนน

ผลการด าเนินการ อยู่ในระดับ 3

สถาบันการแพทย์ฉุกเฉินแห่งชาติ ได้จัดตั้ง “กองทุนการแพทย์ฉุกเฉิน” ตามมาตรา ๓๓ แห่งพระราชบัญญัติการแพทย์ฉุกเฉิน พ.ศ. ๒๕๕๑ โดยมีวัตถุประสงค์เพ่ือสนับสนุนการปฎิบัติงานด้านการแพทย์ฉุกเฉิน รวมทั้งอุดหนุนหรือเป็นค่าชดเชยให้กับผู้ปฎิบัติการ หน่วยปฎิบัติการหรือ สถานพยาบาลที่ด าเนินการเกี่ยวกับการแพทย์ฉุกเฉิน ทั้งนี้โดยค านึงถึงการปฎิบัติการในเขตพ้ืนที่หรือภูมิประเทศที่ไม่มีผู้ปฎิบัติการ หน่วยปฎิบัติการ หรือสถานพยาบาลเพียงพอ รวมถึงส่งเสริมการมีบทบาทตามความพร้อม ความเหมาะสม และความจ าเป็นของประชาชนในท้องถิ่น

เพ่ือให้การจ่ายเงินสนับสนุนการปฎิบัติการฉุกเฉินอย่างมีประสิทธิภาพ สถาบันการแพทย์

ฉุกเฉินแห่งชาติจึงเป็นต้องมีการพัฒนาระบบสารสนเทศบริหารกองทุนซึ่งเป็นระบบสนับสนุนภารกิจหลักของ

หน่วยงาน ให้มีความสมบูรณ์และพร้อมใช้งานตามนโยบายของผู้บริหาร และสนับสนุนเครื่องมือในการท างาน

ของเจ้าหน้าที่ และเพ่ิมประสิทธิภาพของระบบ ความถูกต้องของข้อมูล ให้สอดคล้องกับการด าเนินงานของ

กองทุนการแพทย์ฉุกเฉินต่อไป โดยมีระบบสารสนเทศที่สนับสนุนการด าเนินงานของสถาบันการแพทย์ฉุกเฉิน

แห่งชาติ ดังนี้

ระบบสารสนเทศที่สนับสนุนผู้ใช้บริการภายในทุนหมุนเวียน หน้า 2

1. มีระบบการท าจ่ายส าหรับหน่วยงานภายใน เพื่อการพิจารณาการจ่ายเงินให้กับหน่วยงานที่ขอตั้งเบิก

เพ่ือสนับสนุนการด าเนินงานภายในส าหรับพนักงานของสถาบันการแพทย์ฉุกเฉินแห่งชาติ ในการ

อนุมัติจ่าย/ไม่จ่าย ค่าชดเชยปฏิบัติการของหน่วยงานที่ตั้งเบิกทั่วประเทศ

2. มีระบบรายงาน การออกปฏิบัติการและการจ่ายชดเชยค่าปฏิบัติการ รายหน่วยงาน/จังหวัด เพ่ือให้

ส าหรับพนักงานของสถาบันการแพทย์ฉุกเฉินแห่งชาติ ตรวจสอบรายการปฏิบัติการที่ขอเบิก

3. ระบบรายงานแจ้งโอนเงิน เพื่อให้พนักงานของสถาบันการแพทย์ฉุกเฉินแห่งชาติสามารถตรวจสอบ

ยอดเงิน/ชื่อบัญชี/เลขบัญชี ของหน่วยงานที่รับโอน สามารถตรวจสอบเพื่อความถูกต้องเป็นราย

หน่วยงานได้

ระบบสารสนเทศที่สนับสนุนผู้ใช้บริการภายในทุนหมุนเวียน หน้า 3

4. ระบบหนังสือแจ้งโอนอิเลคทรอนิกส์ส าหรับพนักงานภายใน และหน่วยงานภายนอกเพ่ือเป็นหลักฐาน

ตัวอย่าง หนังสือแจ้งการโอนเงินระบบอิเล็กทรอนิกส์

ระบบสารสนเทศที่สนับสนุนผู้ใช้บริการภายในทุนหมุนเวียน หน้า 4

ระบบสารสนเทศที่สนับสนุนผู้ใช้บริการภายนอกทุนหมุนเวียน หน้า 1

สรุปรายงานตัวช้ีวัดร่วมด้านที่ 4 การบริหารจัดการทุนหมุนเวียน ตัวช้ีวัดที่ 4.3 การบริหารจัดการสารสนเทศและดิจิทัล

การบริหารจัดการสารสนเทศและดิจิทัล

ระบบสารสนเทศที่สนับสนุนผู้ใช้บริการภายนอกทุนหมุนเวียน และตอบสนองต่อนโยบายด้านดิจิทัล รวมทั้งนโยบายต่าง ๆ ที่ส าคัญของภาครัฐ (กรณีที่ 1 ทุนมีระบบแล้ว)

ประเด็นย่อยที่ใช้พิจารณา

น้้าหนัก (%)

ระดับคะแนน 1 2 3 4 5

ระบบสารสนเทศที่สนับสนุนผู้ใช้บริการภายนอกทุนหมุนเวียน

25 มีระบบที่สนับสนุนการเพ่ิม

ประสิทธิภาพการ

ปฏิบัติงานและ/หรือสนับสนุนการอ านวย

ความสะดวกต่อ

ผู้ใช้บริการแต่ระบบ

ดังกล่าวไม่มีการใช้งาน

มีระบบที่สนับสนุนการเพ่ิม

ประสิทธิภาพการ

ปฏิบัติงานและ/หรือสนับสนุนการอ านวย

ความสะดวกต่อ

ผู้ใช้บริการแต่ไม่ใช่การสนับสนุน

ภารกิจหลักของทุน

หมุนเวียน

มีระบบที่สนับสนุนการ

เพ่ิมประสิทธิภาพ

การปฏิบัติงานและ/หรือ

สนับสนุนการอ านวยความสะดวกต่อผู้ใช้บริการ และเป็นการสนับสนุน

ภารกิจหลักของทุน

หมุนเวียน

มีระบบที่สนับสนุนการ

เพ่ิมประสิทธิภาพ

การปฏิบัติงานและ/หรือ

สนับสนุนการอ านวยความสะดวกต่อผู้ใช้บริการ และเป็นการสนับสนุน

ภารกิจหลักของทุน

หมุนเวียนมีการ

ประเมินผลลัพธ์ และ

ผลลัพธ์แสดงว่ามีผลการด าเนินงานที่

ดีกว่าเป้าหมาย

มีระบบที่สนับสนุนการ

เพ่ิมประสิทธิภาพการปฏิบัติงาน

และ/หรือสนับสนุนการอ านวยความสะดวกต่อผู้ใช้บริการ และเป็นการสนับสนุน

ภารกิจหลักของทุน

หมุนเวียน มีการ

ประเมินผลลัพธ์ และ

ผลลัพธ์แสดงว่ามีผลการ

ด าเนินงานในระดับดีอย่าง

ต่อเนื่อง

ระบบสารสนเทศที่สนับสนุนผู้ใช้บริการภายนอกทุนหมุนเวียน หน้า 2

หมายเหตุ การประเมินผลในระดับ 4 และ 5 หากมีการกาหนดน้าหนักความส าคัญของแผนงาน/โครงการ จะพิจารณาถ่วงน้าหนักตามความส าคัญของแผนงาน/โครงการ หากไม่มีการกาหนดน้าหนักความส าคัญของแผนงาน/โครงการ จะพิจารณาโดยให้ความส าคัญของแผนงาน/โครงการเท่ากัน

ผลการด้าเนินงาน ระดับ 3 มีระบบที่สนับสนุนการเพ่ิมประสิทธิภาพการปฏิบัติงานและ/หรือสนับสนุนการอ านวยความสะดวกต่อผู้ใช้บริการ และเป็นการสนับสนุนภารกิจหลักของทุนหมุนเวียน

ระบบที่ใช้ในการสนับสนุนการเพ่ิมประสิทธิภารการปฏิบัติงานและสนับสนุนการอ านวยความสะดวกต่อผู้ใช้บริการนั้น คือ ระบบคลังข้อมูลการแพทย์ฉุกเฉิน (Data Warehouse) เป็นศูนย์กลางในการให้บริการข้อมูลสารสนเทศที่ส าคัญเกี่ยวกับระบบการแพทย์ฉุกเฉินเพ่ือสนับสนุนการตัดสินใจของผู้บริหาร สนับสนุนผู้ใช้งานทั้งภายในและภายนอกองค์กร สามารถน าข้อมูลสารสนเทศที่ให้บริการเพ่ือไปบูรณาการระบบการแพทย์ฉุกเฉินระดับพ้ืนที่ต่อไปได้ อาทิเช่น ข้อมูลทรัพยากรพ้ืนฐานที่ขึ้นทะเบียนในระบบสารสนเทศการแพทย์ฉุกเฉิน (ITEMS) ข้อมูลการปฏิบัติการการแพทย์ฉุกเฉิน (ITEMS) ข้อมูลผู้ป่วยฉุกเฉินวิกฤต มีสิทธิทุกที่ (UCEP) ข้อมูลการบริหารจัดการกองทุน (E-Budget) ข้อมูลการตรวจประเมินและรับรองคุณภาพระบบบริการการแพทย์ฉุกเฉินแห่งประเทศไทย (TEMSA) และข้อมูลสนับสนุนตัวชี้วัดการแพทย์ฉุกเฉิน เป็นต้น

ตัวอย่างระบบท่ีสนับสนุนการเพิ่มประสิทธิภาพการปฏิบัติงานและ/

หรือสนับสนุนการอ้านวยความสะดวกต่อผู้ใช้บริการ

ระบบสารสนเทศที่สนับสนุนผู้ใช้บริการภายนอกทุนหมุนเวียน หน้า 3

ข้อมูลผลการด้าเนินงานด้านการแพทย์ฉุกเฉิน (ITEMS) รายงานผลการด าเนินงานด้านการแพทย์ฉุกเฉิน จ าแนกปีงบ เป็นการรายงานจ านวนการปฏิบัติการ

ฉุกเฉิน ท าให้ทราบถึงจ านวนการปฏิบัติการที่เพ่ิมขึ้นหรือลดลงในแต่ละปี

ตาราง 1 จ านวนปฏิบัติการฉุกเฉิน และจ านวนผู้ป่วยฉุกเฉิน เป็นการรายงานจ านวนเพื่อให้ทราบจ านวนที่เพ่ิมข้ึนในแต่ละปี

ตาราง 2 จ านวนการแจ้งเหตุฉุกเฉินผ่านช่องทางต่าง ๆ ท าให้ทราบถึงสัดส่วนการแจ้งเหตุผ่านหมายฉุกเฉิน 1669 ซึ่งเป็นหมายเลขฉุกเฉินหลักของประเทศไทย โดยมีการรายงานทั้งจ านวนและร้อยละ

ระบบสารสนเทศที่สนับสนุนผู้ใช้บริการภายนอกทุนหมุนเวียน หน้า 4

ตาราง 3 จ านวนผู้ป่วยฉุกเฉิน จ าแนกตามกลุ่มอาการน าส าคัญ (CBD code) เพ่ือให้ทราบถึงจ านวนผู้ป่วยฉุกเฉินตามกลุ่มอาการน าส าคัญที่มาด้วยระบบการแพทย์ฉุกเฉินมีสัดส่วนเท่าไหร

ตาราง 4 จ านวนผู้ป่วยฉุกเฉิน จ าแนกประเภทผู้ป่วยตามกลุ่มผู้ป่วย Non-Trauma และ Trauma

ตาราง 5 ผลการประเมินความรุนแรงผู้ป่วยฉุกเฉิน ณ ศูนย์สั่งการ (Phone Triage) เพ่ือให้ทราบถึงจ านวนผู้ป่วยที่มีความฉุกเฉินวิกฤต(แดง) ฉุกเฉินเร่วด่วน(เหลือง) ฯ มีจ านวนเท่าใด

ระบบสารสนเทศที่สนับสนุนผู้ใช้บริการภายนอกทุนหมุนเวียน หน้า 5

ตาราง 6 จ านวนผู้ป่วยฉุกเฉิน จ าแนกตามประเภทการปฏิบัติการ บก น้ า และอากาศยาน มีจ านวนเท่าใด

ตาราง 7 จ านวนผู้ป่วยฉุกเฉิน จ าแนกตามระดับชุดปฏิบัติการฉุกเฉิน ALS ILS BLS และ FR

ตาราง 8 จ านวนผู้ป่วยฉุกเฉินวิกฤต (แดง) ที่ได้รับปฏิบัติการฉุกเฉินอย่างทันท่วงที (Response Time)

ตาราง 9 ผลการประเมินความรุนแรงผู้ป่วยฉุกเฉิน ณ จุดเกิดเหตุ (Scene Triage) ว่ามีจ านวนผู้ป่วยฉุกเฉิน แดง เหลือง เขียว มีจ านวนเท่าใด

ระบบสารสนเทศที่สนับสนุนผู้ใช้บริการภายนอกทุนหมุนเวียน หน้า 6

ตาราง 10 รายงานผลการปฏิบัติการ ณ จุดเกิดเหตุ เพ่ือให้ทราบอาการผู้ป่วยฉุกเฉินที่ได้รับช่วยเหลือขั้นพ้ืนฐานจากชุดปฏิบัติการฉุกเฉิน ณ จุดเกิดเหตุ ทราบจ านวนการเสียชีวิต/รอดชีวิต

ตาราง 11 รายงานผลการประเมินความรุนแรงผู้ป่วยฉุกเฉิน ณ ห้องฉุกเฉิน (ER Triage) เพ่ือให้ทราบถึงระดับความรุนแรงของผู้ป่วยฉุกเฉินที่มีการรักษา น าส่ง รพ. โดยชุดปฏิบัติการ

ตาราง 12 รายงานผลการรักษาผู้ป่วยฉุกเฉินในโรงพยาบาล เพ่ือทราบถึงจ านวนผู้ป่วยที่มีการรักษา น าส่ง รพ.มีอาการทุเลา รักษาต่อ หรือเสียชีวิตใน รพ. มีจ านวนเท่าใด

Recommended