เรื่อง ประเพณี อุ มพระดําน้ํา ......1. หน...

Preview:

Citation preview

บทที่ 3  

วิธีดําเนินการศึกษาคนควา  การศึกษาคนควาครั้งนี้ดําเนินการตามลักษณะของกระบวนการวิจัยและพัฒนา (Research and Development) ซึ่งมีขั้นตอนการดําเนินงานตามกระบวนการการออกแบบ เชิงระบบ Generic ID Model ของ ซีล (Seel, 1990) ดังผังการทํางานและวัตถุประสงคการวิจัยที่แสดงในภาพประกอบที่ 5

Start

วิเคราะหและสังเคราะห เอกสารและงานวิจัย

ออกแบบและพัฒนา

e-book

ประเมินความเหมาะสม และ

หาประสิทธิภาพ

ทดลองใช หนังสืออิเล็กทรอนิกส

ประเมิน

หนังสืออิเล็กทรอนิกส

End ภาพประกอบที่  5 ขั้นตอนของการดําเนินงานศึกษาคนควาและพัฒนาหนังสืออิเล็กทรอนิกสเรื่อง ประเพณีอุมพระดําน้ํา แบบบูรณาการสําหรับนักเรียนชั้นประถมศึกษาปที่ 4จังหวัดเพชรบูรณ  

   

พัฒนา หนังสือ

อิเล็กทรอนิกส 

ทดลองใช/ วิจัยเชิงทดลอง 

ประเมินสรุปผล/ วิจัยเชิงประเมิน 

No Yes 

ขั้นตอนการดําเนินงาน  วัตถุประสงคการวิจัย 

เพื่อสรางและ หาประสิทธิภาพ ของหนังสืออิเล็กทรอนิกส

เพื่อทดลองใชหนังสืออิเล็กทรอนิกส

เพื่อประเมินหนังสืออิเล็กทรอนิกส

แกไข/ปรับปรุง

64

ประชากรและกลุมตัวอยาง  

ในการสรางและหาประสิทธิภาพของหนังสืออิเล็กทรอนิกส คณะผูศึกษาคนควาไดสรางหนังสืออิเล็กทรอนิกส เรื่อง ประเพณีอุมพระดําน้ําแบบบูรณาการ สําหรับนักเรียนชั้นประถมศึกษาปที่ 4 จังหวัดเพชรบูรณ โดยมีประชากรและกลุมตัวอยางดังนี้

ประชากร ไดแก นักเรียนชั้นประถมศึกษาปที่ 4 ที่ศึกษาในภาคเรียนที่ 2 ปการศึกษา 2550 โรงเรียนอนุบาลเพชรบูรณ จํานวน 300 คน โดยการเลือกโรงเรียนแบบเจาะจง

กลุมตัวอยาง ไดแกนักเรียนชั้นประถมศึกษาปที่ 4 ที่ศึกษาในภาคเรียนที่ 2 ปการศึกษา 2550 โรงเรียนอนุบาลเพชรบูรณ จํานวน 30 คน ไดจากการสุมอยางงายแบบเปนหองเรียน เครื่องมือที่ใชในการศึกษาคนควา  

1. หนังสืออิเล็กทรอนิกสเรื่อง ประเพณีอุมพระดําน้ํา แบบบูรณาการ สําหรับนักเรียนชั้น ประถมศึกษาปที่ 4 จังหวัดเพชรบูรณ 2. แบบฝกหัดทายบทเรียนเรื่อง ประเพณีอุมพระดําน้ํา แบบบูรณาการสําหรับนักเรียนชั้นประถมศึกษาปที่ 4 จังหวัดเพชรบูรณ

3. แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนเรื่อง ประเพณีอุมพระดําน้ํา แบบบูรณาการ สําหรับนักเรียนชั้นประถมศึกษาปที่ 4 จังหวัดเพชรบูรณ

4. แบบสอบถามความคิดเห็นของผูเชี่ยวชาญดานเนื้อหา ดานการบูรณาการและดานเทคนิคการผลิต

5. แบบสอบถามความคิดเห็นของนกัเรียน

การเก็บรวบรวมขอมูล  

1. ขั้นตอนการดําเนินการศึกษาคนควา  การดําเนินการศึกษาคนควานี้คณะผูศึกษาคนควาไดยึดระบบ Generic ID Model

ของ ซีล (Seel, 1990) ในการดําเนินงานทุกขั้นตอน เพื่อใหการดําเนินงานเปนไปอยางเปนระบบ มี 3 ขั้นตอน ดังนี้

65

      1.1 ขั้นตอนที่  1  การสรางและหาประสิทธิภาพหนังสืออิเล็กทรอนิกสเรื่อง ประเพณีอุมพระดําน้ํา แบบบูรณาการสําหรับนักเรียนชั้นประถมศึกษาปที่ 4  ขั้นตอนนีม้ีวัตถุประสงคเพื่อสรางและหาประสิทธิภาพหนังสืออิเล็กทรอนิกส เรื่อง ประเพณีอุมพระดําน้ําแบบบูรณาการ สําหรับนักเรียนชั้นประถมศึกษาปที่ 4 จังหวัดเพชรบูรณ

  1.1.1  การสรางหนังสืออิเล็กทรอนิกสเรื่อง ประเพณีอุมพระดําน้ํา  แบบบูรณาการสําหรับนักเรียนชั้นประถมศึกษาปที่ 4  การดําเนินการสรางหนังสืออิเล็กทรอนิกสเรื่อง ประเพณีอุมพระดําน้ํา แบบบูรณาการสําหรับนักเรียนชั้นประถมศึกษาปที่ 4 ตามลําดับขั้นตอไปนี้ 1. ศึกษาเอกสารหลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐานปพุทธศักราช 2544 โดยศึกษาจากผลการเรียนรูที่คาดหวัง และมาตรฐานการเรียนรูรายวิชาแบงสาระการเรียนรูแบบบูรณาการเปน 8 สาระการเรียนรู 1) ภาษาไทย 2) คณิตศาสตร 3) วิทยาศาสตร 4) สังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม 5) ศิลปะ 6)การงานอาชีพและเทคโนโลยี 7) สุขศึกษา/ พลศึกษา 8) ภาษาตางประเทศ การจัดกิจกรรมการเรียนรูแบบบูรณาการ และงานวิจัยนํามาสังเคราะหเปนขอสรุปของหลักการ รูปแบบ วิธีการ แนวทางและกระบวนการบูรณาการการเรียนรู เพื่อกําหนดขอบเขตของเนื้อหาในแตละกลุมสาระการเรียนรูเพื่อนํามาพัฒนา 2. กําหนดจุดประสงคการเรียนรู เพื่อกําหนดขอบเขตของเนื้อหาในแตละกลุมสาระการเรียนรูเพื่อนํามาพัฒนา ตาราง 1 แสดงการวิเคราะหเนื้อหาและผลการเรียนรูที่คาดหวังสําหรับการบูรณาการประเพณีอุมพระดําน้ํา

สาระการเรียนรู เนื้อหา ผลการเรียนรูที่คาดหวัง ภาษาไทย คําราชาศัพท 1.นักเรียนสามารถบอกความหมายของคํา

ราชาศัพทและคําสุภาพได 2.นักเรียนสามารถใชคําราชาศัพทไดถูกตองตามสถานการณ

คณิตศาสตร เวลา 1.เมื่อกําหนดเวลาบนหนาปดนาฬิกาให นักเรียนสามารถบอกเวลา เขียนบอกเวลาโดยใชจุดและอานได 2.เมื่อกําหนดกิจกรรมหรือเหตุการณตางๆ ที่ระบุเวลาให นักเรียนสามารถอานและบันทึกได

66

สาระการเรียนรู เนื้อหา ผลการเรียนรูที่คาดหวัง

คณิตศาสตร เวลา 3. เมื่อกําหนดชวงเวลาเปนนาที ชั่วโมงวัน สัปดาห เดือน ป ใหสามารถบอกความ สัมพันธระหวางหนวยเวลาได

วิทยาศาสตร -อาหารและสารอาหาร

1. สามารถแยกประเภทของสารอาหารแตละประเภทได 2. อธิบายประโยชนของสารอาหารแตละชนิดได 3. บอกประโยชนและโทษของการมีสุขนิสัยไมถูกตองในการรับประทานอาหาร

สังคมศึกษาศาสนาและวัฒนธรรม

-ประเพณีอุมพระดําน้ํา -จังหวัดเพชรบูรณ - การอนุรักษสิ่งแวดลอม

1. บอกประวัติความเปนมาเกี่ยวกับประเพณีอุมพระดําน้ําได 2. สามารถบอกวัตถุประสงคของการจัดงานประเพณีอุมพระดําน้ําได 3. อธิบายถึงพิธีกรรมในงานประเพณีอุมพระดําน้ําได 4. นักเรียนสามารถบอกลักษณะทําเลที่ตั้งของจังหวัดเพชรบูรณได 5. นักเรียนสามารถบอกสาเหตุที่ทําใหเกิดปญหาสิ่งแวดลอมและแนวทางในการอนุรักษสิ่งแวดลอมในไดทองถิ่น

สุขศึกษา/พลศึกษา -โรคติดตอ -โรคไมติดตอ

1. สามารถบอกความหมายและความแตกตางของโรคติดตอและโรคไมติดตอได 2. บอกผลกระทบของพฤติกรรมสุขภาพตอการสงเสริมสุขภาพและการปองกันโรคได 3. อธิบายสาเหตุอาการ วิธีปองกันโรคติดตอที่เปนปญหาสําคัญของประเทศและโรคติดตอของทองถิ่นได

67

สาระการเรียนรู เนื้อหา ผลการเรียนรูที่คาดหวัง

ศิลปะ ทัศนธาตุ

1. นักเรียนสามารถบอกหลักในการจัดองคประกอบศิลปไดอยางถูกตอง 2. นักเรียนสามารถปฏิบัติงานจัดวาง ทัศนธาตุไดอยางสวยงามลงตัว

การงานอาชีพและเทคโนโลยี

การเลือกซื้ออาหาร 1. นักเรียนสามารถบอกวิธีเลือกซื้ออาหารและเลือกรับประทานอาหารได 2. สามารถอธิบายขั้นตอนการประกอบอาหารอยางงายๆได

ภาษาตางประเทศ -Food -คําศัพทที่เกี่ยวกับอาหาร -การใชประโยคสนทนาสั้นๆ เกี่ยวกับอาหาร -การสนทนาในการซื้อขายอาหาร

1. นักเรียนสามารถบอกคําศัพทเกี่ยวกับอาหาร เครื่องดื่ม และขนมหวานตางๆได 2. นักเรียนสามารถเลือกใชประโยคสั้นๆ เกี่ยวกับอาหารและเครื่องดื่มได 3. นักเรียนสามารถใชบทสนทนา ถามและตอบคําถามเกี่ยวกับผักและผลไมได 4. นักเรียนสามารถเขาใจบทสนทนาและปฏิบัติตนไดถูกตองเกี่ยวกับการซื้อขาย

3. ออกแบบเนื้อหาประเพณีอุมพระดําน้ําแบบบูรณาการ โดยแบงเนื้อหาเปน 4 บทคือ

3.1 จิตวิญญาณแหงประเพณีอุมพระดําน้ํา 3.2 เลาขานตํานานอุมพระดําน้ํา 3.3 สืบสานพิธีกรรมอุมพระดําน้ํา 3.4 กิจกรรมล้ําคานาสืบสาน

4. แลวนําเสนอตออาจารยที่ปรึกษา เพื่อขอคําแนะนําในสวนที่ยังบกพรอง นําเนื้อหาประเพณีอุมพระดําน้ําแบบบูรณาการมาปรับปรุงแกไขสวนที่บกพรอง 5. ศึกษาเอกสารและงานวิจัยแลวนํามาสังเคราะหเปนขอสรุปของลักษณะของหนังสืออิเล็กทรอนิกสเรื่อง ประเพณีอุมพระดําน้ํา แบบบูรณาการ สําหรับนักเรียนชั้นประถมศึกษาปที่ 4 จังหวัดเพชรบูรณ ที่เหมาะสมกับการใชกับนักเรียนระดับชั้นประถมศึกษา และเอกสารที่เกี่ยวของ

68

กับเทคนิคและวิธีการในการสรางบทเรียนหนังสืออิเล็กทรอนิกสเรื่อง ประเพณีอุมพระดําน้ํา แบบบูรณาการสําหรับนักเรียนชั้นประถมศึกษาปที่ 4 จังหวัดเพชรบูรณ 6. ออกแบบบทเรียน คณะผูศึกษาคนควานําขอมูลทั้งหมดที่ไดมาออกแบบเปนหนังสืออิเล็กทรอนิกสเรื่อง ประเพณีอุมพระดําน้ําแบบบูรณาการ ซึ่งมีขั้นตอนการออกแบบดังนี้ 6.1 กําหนดวิธีการนําเสนอ ไดกําหนดการนําเสนอบทเรียนโดยอาศัยหลัก จิตวิทยาการเรียนรู ซึ่งคณะผูวิจัยไดใชหลักการเรียนการสอนของ โรเบิรต กาเย 6.2 กําหนดรูปแบบของโปรแกรม คณะผูศึกษาคนควาไดกําหนดรูปแบบของหนังสืออิเล็กทรอนิกสใหมีลักษณะเปนโปรแกรมแบบแตกกิ่ง ซึ่งเปนบทเรียนที่เชื่อมโยงระหวางหนวยถึงกันไดตามความตองการ ตามความสนใจของผูเรียน และยังมีสวนประกอบในการทํางานของหนังสืออิเล็กทรอนิกสคือสวนนํา สวนการเสนอเนื้อหา สวนของการทดสอบ และสวนของการจบบทเรียน

6.3 กําหนดขั้นการสอน โดยกําหนดขั้นการสอน หรือการเสนอเนื้อหามีรายละเอียดสรุปเปนแผนภาพไดดังนี้

69

ภาพประกอบที่ 6  แสดงโครงสรางหนังสืออิเล็กทรอนิกสเรื่อง ประเพณีอุมพระดําน้ํา

แบบบูรณาการ สําหรับนักเรียนชั้นประถมศึกษาปที่ 4 จังหวัดเพชรบูรณ

หนาปก(ประเพณีอุมพระดําน้ํา)

คําแนะนําเกี่ยวกับสัญลักษณ

เมนูหลัก(สารบัญ) ออก

บทที่ 1 บทที่ 2 บทที่ 4 บทที่ 3

สาระการเรียนรู สังคมศึกษา

สาระการเรียนรู ภาษาไทย

สาระการเรียนรู วิทยาศาสตร

สาระการเรียนรู ภาษาตางประเทศ

สาระการเรียนรู สังคมศึกษา

สาระการเรียนรู สังคมศึกษา

สาระการเรียนรู คณิตศาสตร

สาระการเรียนรู สุขศึกษา

สาระการเรียนรู ศิลปะ

สาระการเรียนรู การงานอาชีพ

แบบทดสอบ แบบทดสอบ แบบทดสอบ แบบทดสอบ

70

6.4 กําหนดผังงานบทเรียน (Flowchart) คณะผูศึกษาคนควาไดกําหนดผังงาน หนังสืออิเล็กทรอนิกส เรื่องประเพณีอุมพระดําน้ําแบบบูรณาการสําหรับรักเรียนชั้นประถมศึกษาปที่ 4 จังหวัดเพชรบูรณในแตละบทมีเรื่องดังตอไปนี้

อหา

ภาพประกอบที ่ 7 แสดงลําดับการนําเสนอหนังสืออิเล็กทรอนิกสเรื่องประเพณีอุมพระดําน้ํา แบบบูรณาการ บทที่ 1 เลาขานตํานานอุมพระดําน้ํา

ภาพประกอบที ่8  แสดงลําดับการนําเสนอหนังสืออิเล็กทรอนิกสเรื่องประเพณีอุมพระดําน้ํา

แบบบูรณาการ บทที่ 2 สืบสานพิธีกรรมอุมพระดําน้ํา

แจงผลการเรียนรูที่คาดหวัง

ประวัติการอุมพระดําน้ํา บทที่ 1

เลาขานตํานานอุมพระดําน้ํา

ภูมิประเทศจังหวัดเพชรบูรณ

การอนุรักษสิ่งแวดลอม

คําราชาศัพท

แจงผลการเรียนรูที่คาดหวัง

พิธีอุมพระดําน้ํา

ทัศนธาตุ

บทที 2 สืบสานพิธีกรรมอุม

พระดําน้ํา แบบทดสอบทายบทเรียน

แบบทดสอบทายบทเรียน

วีดิทัศน

ภาพ

เนื้อหา

ภาพ

เนื้อหา

วีดิทัศน

71

ภาพประกอบที ่9 แสดงลําดับการนําเสนอหนังสืออิเล็กทรอนิกสเรื่องประเพณีอุมพระดําน้ํา แบบบูรณาการ บทที่ 3 จิตวิญาณแหงประเพณีอุมพระดําน้ํา

ภาพประกอบที ่10  แสดงลําดับการนําเสนอหนังสืออิเล็กทรอนิกสเรื่องประเพณีอุมพระดําน้ํา แบบบูรณาการ บทที่ 4 กิจกรรมล้ําคานาสืบสาน

แจงผลการเรียนรูที่คาดหวัง

กําหนดการจัดกิจกรรม

เวลา(การเขียน-การอานกําหนดการ) บทที่ 4

กิจกรรมล้ําคา นาสืบสาน

อาหารและสารอาหาร

การเลือกซื้ออาหาร คําศัพทเกี่ยวกับอาหารและการเลือกซื้ออาหาร

แจงผลการเรียนรูที่คาดหวัง

ความสําคัญของประเพณี

โรคติดตอและโรคไมติดตอ

บทที 3 จิตวิญญาณแหง

ประเพณีอุมพระดําน้ํา

แบบทดสอบทายบทเรียน

ภาพ

เนื้อหา

วีดิทัศน

แบบทดสอบทายบทเรียน

72

7. ดําเนินการสรางหนังสืออิเล็กทรอนิกสเรื่อง ประเพณีอุมพระดําน้ํา แบบบูรณาการสําหรับนักเรียนชั้นประถมศึกษาปที่ 4 จังหวัดเพชรบูรณ 8. ศึกษาเอกสารที่เกี่ยวกับเทคนิคและวิธีการในการสรางคูมือการใชหนังสืออิเล็กทรอนิกสเรื่อง ประเพณีอุมพระดําน้ํา แบบบูรณาการ สําหรับนักเรียนชั้นประถมศึกษาปที่ 4 จังหวัดเพชรบูรณ

9. จัดทําคูมือประกอบการใชงานหนังสืออิเล็กทรอนิกสเรื่อง ประเพณีอุมพระดําน้ํา แบบบูรณาการ สําหรับนักเรียนชั้นประถมศึกษาปที่ 4 จังหวัดเพชรบูรณ โดยในคูมือจะมีเนื้อหาประกอบไปดวยขอมูลสําหรับการติดตั้งและคุณสมบัติของเครื่องคอมพิวเตอรที่จะใชงานสําหรับ ผูควบคุมหรือครูผูสอนที่ทําหนาที่ในการดูแลระบบของคอมพิวเตอร ขอมูลในการใชหนังสืออิเล็กทรอนิกสเรื่อง ประเพณี อุมพระดําน้ํา แบบบูรณาการ สําหรับนักเรียนชั้นประถมศึกษาปที่ 4 จังหวัดเพชรบูรณ เพื่อเปนแนวทางในการใชหนังสืออิเล็กทรอนิกสเรื่อง ประเพณีอุมพระดําน้ํา แบบบูรณาการ สําหรับนักเรียนชั้นประถมศึกษา ปที่ 4 จังหวัดเพชรบูรณ

10. นําหนังสืออิเล็กทรอนิกสเรื่อง ประเพณีอุมพระดําน้ํา แบบบูรณาการ สําหรับนักเรียนชั้นประถมศึกษาปที่ 4 จังหวัดเพชรบูรณ และคูมือการใชหนังสืออิเล็กทรอนิกสเรื่อง ประเพณีอุมพระดําน้ํา แบบบูรณาการ สําหรับนักเรียนชั้นประถมศึกษาปที่ 4 จังหวัดเพชรบูรณ ที่สรางขึ้นเสนอตออาจารยที่ปรึกษาเพื่อขอคําแนะนําแกไขในสวนที่บกพรอง 11. นําหนังสืออิเล็กทรอนิกสเรื่อง ประเพณีอุมพระดําน้ํา แบบบูรณาการ สําหรับนักเรียนชั้นประถมศึกษาปที่ 4 จังหวัดเพชรบูรณ มาปรับปรุงแกไขสวนที่ยังบกพรอง   1.1.2  ขั้นตอนการหาประสิทธิภาพหนังสืออิเล็กทรอนิกสเรื่อง ประเพณีอุมพระดําน้ํา แบบบูรณาการ  สําหรับนักเรียนชั้นประถมศึกษาปที่ 4  จังหวัดเพชรบูรณ 

1. นําหนังสืออิเล็กทรอนิกสเรื่อง ประเพณีอุมพระดําน้ํา แบบบูรณาการ สําหรับ นักเรียนชั้นประถมศึกษาปที่ 4 จังหวัดเพชรบูรณ และคูมือการใชงาน พรอมทั้งแบบสอบถาม ความเหมาะสมของหนังสืออิเล็กทรอนิกสเรื่อง ประเพณีอุมพระดําน้ํา แบบบูรณาการ สําหรับนักเรียนชั้นประถมศึกษาปที่ 4 จังหวัดเพชรบูรณ และคูมือการใชงานหนังสืออิเล็กทรอนิกสเรื่อง ประเพณีอุมพระดําน้ํา แบบบูรณาการ สําหรับนักเรียนชั้นประถมศึกษาปที่ 4 จังหวัดเพชรบูรณ ทีค่ณะผูศึกษาคนควาสรางขึ้น เสนอผูเชี่ยวชาญดานเนื้อหา ดานการสอนบูรณาการ และดานเทคนิคการผลิต จํานวน 5 ทานไดแก

1) ดร.ทิพรัตน สิทธิวงศ 2) นายไพฑูรย นพกาศ

73

3) นางรสริน ทองเชื้อ 4) นางเพลินพิศ แยมสันต 5) นางกัลยานี ประสิทธิ์วุฒิเวชช

เพื่อทําการประเมินความเหมาะสมของหนังสืออิเล็กทรอนิกส โดยการหาดัชนี ความเหมาะสมระหวางเนื้อหากับจุดประสงคเชิงพฤติกรรม และดัชนีความเหมาะสมของหนังสืออิเล็กทรอนิกสเรื่อง ประเพณีอุมพระดําน้ํา แบบบูรณาการ สําหรับนักเรียนชั้นประถมศึกษาปที่ 4 จังหวัดเพชรบูรณ วามีเทคนิค กระบวนการ การนําเสนอเนื้อหาเหมาะสมหรือไม และคูมือ การใชงานวามีความถูกตองและชัดเจนของขอความในลําดับขั้นตอนการปฏิบัติการใชหนังสืออิเล็กทรอนิกสเรื่อง ประเพณีอุมพระดําน้ํา แบบบูรณาการสําหรับนักเรียนชั้นประถมศึกษาปที่ 4 จังหวัดเพชรบูรณ หรือไม โดยพิจารณานําความคิดเห็นของผูเชี่ยวชาญมาหาคาเฉลี่ย( x ) และสวนเบี่ยงเบนมาตรฐาน ( S.D.) โดยคัดเลือกขอคําถามที่มีคาเฉลี่ยตั้งแต 3.50 ขึ้นไป และมีคาสวนเบี่ยงเบนมาตรฐานไมเกิน 1.00 ไว ขอใดที่ไมเปนไปตามเกณฑใหนําไปปรับปรุงแกไขตามขอเสนอแนะของผูเชี่ยวชาญ 2. นําหนังสืออิเล็กทรอนิกสเรื่อง ประเพณีอุมพระดําน้ํา แบบบูรณาการ สําหรับนักเรียนชั้นประถมศึกษาปที่ 4 จังหวัดเพชรบูรณ และคูมือการใชงานมาแกไขในสวนที่ยังบกพรองตามขอเสนอแนะของผูเชี่ยวชาญ 3. นําหนังสืออิเล็กทรอนิกสเรื่อง ประเพณีอุมพระดําน้ํา แบบบูรณาการ สําหรับนักเรียนชั้นประถมศึกษาปที่ 4 จังหวัดเพชรบูรณ และคูมือการใชงานที่ไดปรับปรุงแกไขตามขอเสนอแนะของผูเชี่ยวชาญแลวไปใชประเมินหาประสิทธิภาพดวยเทคนิคการประเมินแบบหนึ่งตอหนึ่ง (One – To – One – Evaluation) กับนักเรียนชั้นประถมศึกษาปที่ 4 ที่ไมใชกลุมตัวอยาง จํานวน 3 คน ในโรงเรียนอนุบาลเพชรบูรณ เพื่อหาขอบกพรองในดานการสื่อความหมาย รูปแบบของหนังสืออิเล็กทรอนิกสในเรื่อง ภาพ สี ขนาดตัวอักษร ความเหมาะสมในการใชภาษา การใชปุมตางๆ โดยการสอบถามและสังเกตพฤติกรรมในการใชหนังสืออิเล็กทรอนิกสเรื่อง ประเพณีอุมพระดําน้ํา แบบบูรณาการ สําหรับนักเรียนชั้นประถมศกึษา ปที่ 4 จังหวัดเพชรบูรณ โดยผูศึกษาคนควาจะทําการบันทึกขอบกพรองแลวนํามาปรับปรุงแกไข 4. นําหนังสืออิเล็กทรอนิกสเรื่อง ประเพณีอุมพระดําน้ํา แบบบูรณาการ สําหรับนักเรียนชั้นประถมศึกษาปที่ 4 จังหวัดเพชรบูรณ และคูมือการใชงานหนังสืออิเล็กทรอนิกสเรื่อง ประเพณีอุมพระดําน้ํา แบบบูรณาการ สําหรับนักเรียนชั้นประถมศึกษาปที่ 4 จังหวัดเพชรบูรณ ที่ไดปรับปรุงแลวไปหาประสิทธิภาพ ดวยเทคนิคการประเมินโดยกลุมขนาดเล็ก (Small Group

74

Evaluation) กับนักเรียนชั้นประถมศึกษาปที่ 4 ที่ไมใชกลุมตัวอยาง จํานวน 9 คน นักเรียนเกง ปานกลางและออนอยางละ 3 คน เพื่อหาขอบกพรองในดานการสื่อความหมายรูปแบบของหนังสืออิเล็กทรอนิกสเรื่อง ประเพณีอุมพระดําน้ํา แบบบูรณาการ สําหรับนักเรียนชั้นประถมศึกษาปที่ 4 จังหวัดเพชรบูรณ ภาพ สี ขนาด ตัวอักษร ความเหมาะสมในการใชภาษา การใชปุมตางๆ ของหนังสืออิเล็กทรอนิกสเรื่อง ประเพณีอุมพระดําน้ํา แบบบูรณาการสําหรับนักเรียนชั้นประถมศึกษา ปที่ 4 และคูมือการใชงาน รวมทั้งขอบกพรองดานปญหาในการใชหนังสืออิเล็กทรอนิกสเรื่อง ประเพณีอุมพระดําน้ํา แบบบูรณาการสําหรับนักเรียนชั้นประถมศึกษาปที่ 4 จังหวัดเพชรบูรณ ระดับการผลการเรียนแตกตางกัน โดยการสังเกตความเขาใจและกระบวนการในการดําเนินการในการใชหนังสืออิเล็กทรอนิกสเรื่อง ประเพณีอุมพระดําน้ํา แบบบูรณาการ สําหรับนักเรียนชั้นประถมศึกษาปที่ 4 และการสอบถามนักเรียนเพิ่มเติมเกี่ยวกับความเขาใจในการใชหนังสืออิเล็กทรอนิกส เรื่อง ประเพณีอุมพระดําน้ํา แบบบูรณาการ สําหรับนักเรียนชั้นประถมศึกษาปที่ 4 แลวนําขอบกพรองมาแกไขปรับปรุงหนังสืออิเล็กทรอนิกสเรื่อง ประเพณีอุมพระดําน้ํา แบบบูรณาการ สําหรับนักเรียนชั้นประถมศึกษาปที่ 4 จังหวัดเพชรบูรณ

5. นําหนังสืออิเล็กทรอนิกสเรื่อง ประเพณีอุมพระดําน้ํา แบบบูรณาการ สําหรับนักเรียนชั้นประถมศึกษาปที่ 4 จังหวัดเพชรบูรณ และคูมือการใชงานสําหรับนักเรียนที่ไดทําการปรับปรุงตามขอพรองที่ไดพบในขั้นตอนการประเมินโดยกลุมขนาดเล็ก และคูมือสําหรับครู – อาจารยไปหาประสิทธิภาพของหนังสืออิเล็กทรอนิกสเรื่อง ประเพณีอุมพระดําน้ํา แบบบูรณาการ สําหรับนักเรียนชั้นประถมศึกษา ปที่ 4 โดยใชเทคนิคการประเมินในสถานการณจริง (Real Situation Evaluation) กับนักเรียนชั้นประถมศึกษาปที่ 4 เพื่อหาประสิทธิภาพหนังสืออิเล็กทรอนิกสเรื่อง ประเพณีอุมพระดําน้ํา แบบบูรณาการ สําหรับนักเรียนชั้นประถมศึกษาปที่ 4 จังหวัดเพชรบูรณ ตามเกณฑประสิทธิภาพ 80/80  

1.2  ขั้นตอนที่  2  การทดลองใชหนังสืออิเล็กทรอนิกสเรื่อง ประเพณีอุมพระดําน้ํา แบบบูรณาการสําหรับนักเรียนชั้นประถมศึกษาปที่ 4  จุดมุงหมายของการดําเนินการศึกษาคนควาในขั้นตอนนี้ คือ เพื่อทดลองใชหนังสืออิเล็กทรอนิกสเรื่อง ประเพณีอุมพระดําน้ํา แบบบูรณาการ สําหรับนักเรียนชั้นประถมศึกษาปที่ 4 จังหวัดเพชรบูรณ

        1.2.1  ประชากรและกลุมตัวอยาง  นักเรียนชั้นประถมศึกษาปที่ 4 ที่ศึกษาในภาคเรียนที่ 2 ปการศึกษา 2550 โรงเรียนอนุบาลเพชรบูรณ จํานวน 300 คน โดยการเลือกโรงเรียนแบบเจาะจง

75

กลุมตัวอยางที่ศึกษาคนควาในครั้งนี้ไดแกนักเรียนชั้นประถมศึกษาปที่ 4 ที่ศึกษาในภาคเรียนที่ 2 ปการศึกษา 2550 โรงเรียนอนุบาลเพชรบูรณ จํานวน 30 คน ไดจากการสุมอยางงายแบบเปนหอง   1.2.2 แบบแผนการศึกษาคนควา  คณะผูศึกษาคนควาจะทําการทดลองโดยใชกลุมทดลองกลุมเดียวทดสอบ กอน – หลัง (One Group Pretest – Posttest Only) O1 T O2 O1 คือ ทดสอบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนกอนการใชหนังสืออิเล็กทรอนิกสเรื่อง ประเพณีอุมพระดําน้ํา แบบบูรณาการ สําหรับนักเรียนชั้นประถมศึกษาปที่ 4 จังหวัดเพชรบูรณ T คือ การใชหนังสืออิเล็กทรอนิกสเรื่อง ประเพณีอุมพระดําน้ํา แบบบูรณาการสําหรับนักเรียนชั้นประถมศึกษาปที่ 4 จังหวัดเพชรบูรณ O2 คือ ทดสอบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนหลังการใชหนังสืออิเล็กทรอนิกสเรื่อง ประเพณีอุมพระดําน้ํา แบบบูรณาการ สําหรับนักเรียนชั้นประถมศึกษาปที่ 4 จังหวัดเพชรบูรณ

         1.2.3  เครื่องมือที่ใชในการทดลอง  หนังสืออิเล็กทรอนิกสเรื่อง ประเพณีอุมพระดําน้ํา แบบบูรณาการสําหรับ

นักเรียนชั้นประถมศึกษาปที่ 4 จังหวัดเพชรบูรณ                   1.2.4  เครื่องมือที่ใชในการเก็บรวบรวมขอมูล 

แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนกอนและหลังเรียนดวยหนังสืออิเล็กทรอนิกสเรื่อง ประเพณีอุมพระดําน้ํา แบบบูรณาการ สําหรับนักเรียนชั้นประถมศึกษาปที่ 4 จังหวัดเพชรบูรณ

1.3   ขั้นตอนที่  3 การประเมินการใชหนังสืออิเล็กทรอนิกสเรื่อง ประเพณีอุมพระดําน้ํา แบบบูรณาการสําหรับนักเรียนชั้นประถมศึกษาปที่ 4

จุดมุงหมายของการดําเนินการศึกษาคนควาในขั้นตอนนี้ คือ เพื่อประเมินการใชหนังสืออิเล็กทรอนิกสเรื่อง ประเพณีอุมพระดําน้ํา แบบบูรณาการ สําหรับนักเรียนชั้นประถมศึกษาปที่ 4 จังหวัดเพชรบูรณ

76

1.3.1 แหลงขอมูล  กลุมตัวอยางที่ใชในการประเมินหนังสืออิเล็กทรอนิกสเรื่อง ประเพณีอุมพระดํา

น้ํา แบบบูรณาการ สําหรับนักเรียนชั้นประถมศึกษาปที่ 4 จังหวัดเพชรบูรณ ไดแก นักเรียนที่ไดใชหนังสืออิเล็กทรอนิกส เรื่อง ประเพณีอุมพระดําน้ํา แบบบูรณาการ สําหรับนักเรียนชั้นประถมศึกษาปที่ 4 จังหวัดเพชรบูรณ จํานวน 30 คน

                   1.3.2  เครื่องมือที่ใชในการเก็บรวบรวมขอมูล  แบบประเมินการใชหนังสืออิเล็กทรอนิกสเรื่อง ประเพณีอุมพระดําน้ํา

แบบบูรณาการ สําหรับนักเรียนชั้นประถมศึกษาปที่ 4 จังหวัดเพชรบูรณ    2. การสรางและตรวจสอบคุณภาพเครื่องมือที่ใชในการเก็บรวบรวมขอมูล  

2.1 การสรางแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนกอนและหลังเรียนดวยหนังสืออิเล็กทรอนิกสเรื่อง ประเพณีอุมพระดําน้ํา แบบบูรณาการ สําหรับนักเรียนชั้นประถมศึกษาปที่ 4 จังหวัดเพชรบูรณ ดําเนินตามลําดับขั้น ดังนี้

2.1.1 ศึกษาเอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวของแลวทําการสังเคราะหเพื่อหาขอสรุปที่เกี่ยวกับการทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนโดยทําตารางการวิเคราะหหลักสูตร

2.1.2 ดําเนินการกําหนดชนิดของแบบฝกหัดทายบทเรียนและแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน กําหนดจํานวนขอสอบใหสอดคลองกับจุดประสงค เนื้อหาและกิจกรรมที่กําหนด โดยแบงเปนแบบฝกหัดทายบทเรียนชนิดเติมคํากับแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน ชนิดเลือกตอบ จํานวน 4 ตัวเลือก

2.1.3 ดําเนินการสรางแบบฝกหัดทายบทเรียนและแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนโดยแบงออกเปนแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนกอนและหลังใชหนังสืออิเล็กทรอนิกสเรื่อง ประเพณีอุมพระดําน้ํา แบบบูรณาการ สําหรับนักเรียนชั้นประถมศึกษาปที่ 4 จังหวัดเพชรบูรณ ตามที่กําหนดไวในตารางการวิเคราะหหลักสูตร

2.1.4 นําแบบฝกหัดทายบทเรียนและแบบทดสอบที่สรางขึ้นเสนอใหผูเชี่ยวชาญดานการสอนชั้นประถมศึกษาปที่ 4 และผูเชี่ยวชาญดานการสอนบูรณาการจํานวน 3 คน พิจารณาเกี่ยวกับ ความสอดคลองระหวางจุดประสงคการเชิงพฤติกรรมกับแบบทดสอบ

77

แลวนําความคิดเห็น มาหาคาดัชนีความสอดคลอง (IOC) และพิจารณาขอสอบที่มีคา IOC ตั้งแต 0.50 ขึ้นไป เปนแบบทดสอบที่มีความตรงในการวัดตามจุดประสงคการเรียนรู

2.1.5 นําแบบฝกหัดทายบทเรียนและแบบทดสอบไปทดลองใชกับนักเรียนที่กําลังศึกษาอยูในระดับชั้นประถมศึกษาปที่ 5 โรงเรียนอนุบาลเพชรบูรณ จังหวัดเพชรบูรณ จํานวน 18 คน เพื่อหาระดับความยาก (P) และคาอํานาจจําแนก (D) ของแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน โดยพิจารณาขอสอบที่มีระดับความยาก (P) อยูระหวาง 0.20 ถึง 0.80 และคาอํานาจําแนก (D) ตั้งแต 0.20 ขึ้นไป ถึง 1.00

ภาพประกอบที่ 11 แสดงขัน้ตอนการสรางแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน

การวิเคราะห (Analysis)

- ศึกษา วิเคราะห เอกสาร ตํารา งานวิจัยตางๆ เกี่ยวกับการสรางแบบทดสอบ

รวบรวม/จัดระบบสารสนเทศ

การออกแบบ (Design)

- กําหนดชนิดของแบบฝกหัดทายบทเรียนและแบบทดสอบ กําหนดจํานวนขอสอบใหสอดคลองกับจุดประสงค เนื้อหาและกิจกรรม

- นําไปใหอาจารยที่ปรึกษา ตรวจแกไข

การพัฒนา (Development)

- สรางแบบฝกหัดทายบทเรียน - สรางแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน - ปรับปรุง แกไข ตามคําแนะนําของผูเชี่ยวชาญ

การนําไปทดลองใช

(Implementation)

- นําไปทดลองใชกับนักเรียนชั้นประถมศึกษาปที ่4 โรงเรียนอนุบาลเพชรบูรณ จํานวน 18 คน - วิเคราะหเพื่อหาระดับความยาก คาอํานาจจําแนก และความเชื่อมั่น

- ปรับปรุงแกไขแบบฝกหัดทายบทเรียนและแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน

การประเมินผล (Evaluation)

- ประเมินตามเกณฑคุณภาพของแบบทดสอบ

- เลือกและปรับปรุงแบบฝกหัดทายบทเรียนและแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน

- นําไปใหอาจารยที่ปรึกษาตรวจแกไข - นําไปใหผูเชี่ยวชาญดานการสอนชั้นประถมศึกษาปที่ 4 และผูเชี่ยวชาญดานการสอนบูรณาการจํานวน 3 คน ตรวจพิจารณาความสอดคลองกับจุดประสงคการเรียนรู

78

2.2 การสรางแบบประเมินหนังสืออิเล็กทรอนิกสเรื่อง ประเพณีอุมพระดําน้ํา แบบบูรณาการ สําหรับนักเรียนชั้นประถมศึกษาปที่ 4 จังหวัดเพชรบูรณ ดําเนินตามลําดับขั้น ดังนี้ 2.2.1 ศึกษาวิเคราะหเอกสารตํารางานวิจัยตางๆ ที่เกี่ยวของกับแบบสอบถามในการประเมินหนังสืออิเล็กทรอนิกสเรื่อง ประเพณีอุมพระดําน้ํา แบบบูรณาการ สําหรับนักเรียนชั้นประถมศึกษาปที่ 4 จังหวัดเพชรบูรณ

2.2.2 กําหนดรูปแบบของแบบประเมินหนังสืออิเล็กทรอนิกสเรื่อง ประเพณีอุมพระดําน้ํา แบบบูรณาการ สําหรับนักเรียนชั้นประถมศึกษาปที่ 4 จังหวัดเพชรบูรณ โดยเลือกใชการประเมินสื่อมัลติมีเดียของกรมวิชาการ (2544, 198-202)

2.2.3 ดําเนินการสรางและพัฒนาแบบประเมินหนังสืออิเล็กทรอนิกสเรื่อง ประเพณีอุมพระดําน้ํา แบบบูรณาการ สําหรับนักเรียนชั้นประถมศึกษาปที่ 4 จังหวัดเพชรบูรณ แบบปลายปดประมาณคา (Rating Scale) 4 ระดับ จํานวน 6 ดาน รวม 18 ขอ 2.2.4 นําแบบประเมินที่สรางขึ้นเสนอตออาจารยที่ปรึกษาเพื่อตรวจสอบแกไขภาษา สํานวนที่ใชและขอบเขตของเนื้อหาวาเที่ยงตรงและครอบคลุมเรื่องที่จะศึกษาหรือไม

2.2.5 นําแบบประเมินที่ผานการพิจารณาจากอาจารยที่ปรึกษามาปรับปรุงแกไข

2.2.6 นําแบบประเมินที่ผานการปรับปรุงแกไข ไปใชเปนเครื่องมือในการเก็บรวบรวมขอมูล

79

ภาพประกอบที ่12     ขั้นตอนการสรางแบบประเมินของหนังสืออเิล็กทรอนิกสเรื่อง ประเพณีอุมพระดําน้ํา แบบบูรณาการ สําหรับนักเรียนชั้นประถมศึกษาปที่ 4 จังหวัดเพชรบูรณ

การวิเคราะห (Analysis)

- ศึกษา วิเคราะห เอกสาร ตํารา งานวิจัยตางๆ ที่เกี่ยวของ

รวบรวม/จัดระบบสารสนเทศ

การออกแบบ (Design)

- กําหนดรูปแบบของแบบประเมินความคิดเห็นของผูเชี่ยวชาญ

- นําไปใหอาจารยที่ปรึกษา ตรวจแกไข

การนําไปทดลองใช (Implementation)

- นําแบบประเมินไปใหผูเชี่ยวชาญประเมินคุณภาพหนังสืออิเล็กทรอนิกส

- ปรับปรุงแกไข

การประเมินผล (Evaluation)

- ประเมินตามเกณฑคุณภาพของแบบlประเมิน

- เลือกและจัดระบบ

การพัฒนา (Development)

- สราง พัฒนา ปรับปรุงแบบประเมิน

- นําไปใหอาจารยที่ปรึกษาตรวจแกไข

80

2.3 การสรางแบบสอบถามความคิดเห็นของนักเรียน มีขั้นตอนดังนี้

2.3.1 ศึกษาแบบสอบถามความคิดเห็นจากเอกสาร และงานวิจัยตางๆ ที่เกี่ยวของ

2.3.2 กําหนดรูปแบบของแบบสอบถามความคิดเห็นของผูเรียนที่มีตอหนังสืออิเล็กทรอนิกส เรื่องประเพณีอุมพระดําน้ําแบบบูรณาการ สําหรับนักเรียนชั้นประถมศึกษาปที่ 4 จังหวัดเพชรบูรณ โดยปรับปรุงและพัฒนาจากงานวิจัยพัฒนาสารานุกรมอิเล็กทรอนิกส เรื่องจังหวัดสวรรคโลกที่เลือนหายไป (บุญญรัตน เจียมกลิ่น, ผกาพร วิเชียร, ภาวินี สิงคราช, มนตรา เจียมกลิ่น และอัจฉราพร ศิริสวัสดิ์, 2549, หนา 274-277 )

2.3.3 ดําเนินการสรางและพัฒนาแบบสอบถามความคิดเห็นของผูเรียนที่มีตอหนังสืออิเล็กทรอนิกส เรื่องประเพณีอุมพระดําน้ําแบบบูรณาการ สําหรับนักเรียนชั้นประถมศึกษาปที่ 4 จังหวัดเพชรบูรณ โดยแบงแบบสอบถามออกเปน 2 ตอน คือ ตอนที่ 1 เปนความคิดเห็นเกี่ยวกับหนังสืออิเล็กทรอนิกส เรื่องประเพณีอุมพระดําน้ําแบบบูรณาการ สําหรับนักเรียนชั้นประถมศึกษาปที่ 4 จังหวัดเพชรบูรณ มาตรสวนประมาณคา 5 ระดับ (Rating Scale) ตอนที่ 2 เปนความเห็น และขอเสนอแนะเพิ่มเติมเปนแบบสอบถามปลายเปด

2.3.4 นําแบบสอบถามความคิดเห็นของนักเรียนไปใหอาจารยที่ปรึกษา ตรวจสอบความถูกตอง 2.3.5 นําแบบสอบถามที่ผานการพิจารณาจากอาจารยที่ปรึกษามาปรับปรุงแกไข

2.3.6 นําแบบสอบถามที่ผานการปรับปรุงแกไข ไปใชเปนเครื่องมือในการเก็บรวบรวมขอมูล

2.3.7 นําแบบสอบถามไปใชวัดความคิดเห็นของนักเรียนในการใชหนังสือ อิเล็กทรอนิกส เรื่องประเพณีอุมพระดําน้ําแบบบูรณาการ ของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปที่ 4 จังหวัดเพชรบูรณ

81

ภาพประกอบที ่13 ขั้นตอนการสรางแบบประเมินความคิดเห็นของนักเรียนที่ใชหนังสืออิเล็กทรอนิกสเรื่อง ประเพณีอุมพระดําน้ํา แบบบูรณาการ สําหรับนักเรียนชั้นประถมศึกษาปที่ 4 จังหวัดเพชรบูรณ

การวิเคราะห (Analysis)

- ศึกษา วิเคราะห เอกสาร ตํารา งานวิจัยตางๆ ที่เกี่ยวของ

รวบรวม/จัดระบบสารสนเทศ

การออกแบบ (Design)

- กําหนดรูปแบบสอบถามความคิดเห็นของนักเรียน

- นําไปใหอาจารยที่ปรึกษา ตรวจแกไข

การนําไปทดลองใช (Implementation)

- นําแบบสอบถามไปใหนักเรียนประเมินคุณภาพหนังสืออิเล็กทรอนิกส

การประเมินผล (Evaluation)

- ประเมินตามเกณฑคุณภาพของหนังสืออิเล็กทรอนิกส

- เลือกและจัดระบบ

การพัฒนา (Development)

- สรางพัฒนาปรับปรุงแบบสอบถาม

- นําไปใหอาจารยที่ปรึกษาตรวจแกไข

82

  3.  การเก็บรวบรวมขอมูล  

3.1 การเก็บรวบรวมขอมูลเพื่อหาประสิทธิภาพหนังสืออิเล็กทรอนิกสเรื่อง ประเพณีอุมพระดําน้ํา แบบบูรณาการ สําหรับนักเรียนชั้นประถมศึกษาปที่ 4 จังหวัดเพชรบูรณ มีขั้นตอนดังนี้

3.1.1 ดําเนินการใชหนังสืออิเล็กทรอนิกสเรื่อง ประเพณีอุมพระดําน้ํา แบบบูรณาการ สําหรับนักเรียนชั้นประถมศึกษาปที่ 4 จังหวัดเพชรบูรณ

3.1.2 หลังจากที่นักเรียนใชหนังสืออิเล็กทรอนิกสเรื่อง ประเพณีอุมพระดําน้ํา แบบบูรณาการ สําหรับนักเรียนชั้นประถมศึกษาปที่ 4 จังหวัดเพชรบูรณ แลวในแตละครั้ง ทําการทดสอบยอย นําคะแนนที่ไดจากการทดสอบยอยในแตละครั้งของนักเรียนทุกคนมาคํานวณหาประสิทธิภาพของหนังสืออิเล็กทรอนิกสเรื่อง ประเพณีอุมพระดําน้ํา แบบบูรณาการ สําหรับนักเรียนชั้นประถมศึกษาปที่ 4 จังหวัดเพชรบูรณ

3.1.3 เมื่อสิ้นสุดการใชหนังสืออิเล็กทรอนิกสเรื่อง ประเพณีอุมพระดําน้ํา แบบบูรณาการ สําหรับนักเรียนชั้นประถมศึกษาปที่ 4 จังหวัดเพชรบูรณแลว ทําการทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน โดยใชแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนที่คณะผูศึกษาคนควา สรางขึ้น แลวนําแบบทดสอบมาตรวจ แลวนําผลสอบไปวิเคราะหหาประสิทธิภาพของหนังสืออิเล็กทรอนิกสเรื่อง ประเพณีอุมพระดําน้ํา แบบบูรณาการ สําหรับนักเรียนชั้นประถมศึกษาปที่ 4 จังหวัดเพชรบูรณ ตามเกณฑประสิทธิภาพ 80/80

3.2 การเก็บรวบรวมขอมูลในขั้นการทดลองใชหนังสืออิเล็กทรอนิกสเรื่อง ประเพณีอุมพระดําน้ํา แบบบูรณาการ สําหรับนักเรียนชั้นประถมศึกษาปที่ 4 จังหวัดเพชรบูรณ มีขั้นตอนดังนี้

3.2.1 ทําการทดสอบกอนเรียน (Pre-test) โดยใชแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนกอนเรียน

3.2.2 ดําเนินการทดลองใชหนังสืออิเล็กทรอนิกสเรื่อง ประเพณีอุมพระดําน้ํา แบบบูรณาการ สําหรับนักเรียนชั้นประถมศึกษาปที่ 4 จังหวัดเพชรบูรณ โดยครผููสอนคอยใหคําแนะนําและควบคุมดูแล การใชหนังสืออิเล็กทรอนิกสเรื่อง ประเพณีอุมพระดําน้ํา

83

แบบบูรณาการ สําหรับนักเรียนชั้นประถมศึกษาปที่ 4 จังหวัดเพชรบูรณ ซึ่งผูศึกษาคนควาจะเปนผูชวย

3.2.3 เมื่อจบการทดลองใชหนังสืออิเล็กทรอนิกสเรื่อง ประเพณีอุมพระดําน้ํา แบบบูรณาการสําหรับนักเรียนชั้นประถมศึกษาปที่ 4 จังหวัดเพชรบูรณ แลวทําการทดสอบหลังเรียน (Post-test) โดยใชแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน 3.2.4 นําแบบทดสอบมาตรวจ แลวนําผลสอบไปวิเคราะหเพื่อเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนที่ไดใชหนังสืออิเล็กทรอนิกสเรื่อง ประเพณีอุมพระดําน้ํา แบบบูรณาการสําหรับนักเรียนชั้นประถมศึกษาปที่ 4

3.3. การเก็บรวบรวมขอมูลในดานการสอบถามความคิดเห็นการใชหนังสืออิเล็กทรอนิกสเรื่อง ประเพณีอุมพระดําน้ํา แบบบูรณาการ สําหรับนักเรียนชั้นประถมศึกษาปที่ 4 จังหวัดเพชรบูรณ

3.3.1 หลังเสร็จสิ้นการทดลอง คณะผูศึกษาคนควาแจกแบบสอบถามความคิดเห็นใหกับนักเรียน

3.3.2 ตรวจนับคะแนนเพื่อวิเคราะหขอมูล และเทียบเกณฑเพื่อตัดสินเปนรายดานตามที่กําหนดไว การวิเคราะหขอมูล  

1. การหาประสิทธิภาพของหนังสืออิเล็กทรอนิกสเรื่อง ประเพณีอุมพระดําน้ํา แบบบูรณาการ สําหรับนักเรียนชั้นประถมศึกษาปที่ 4 จังหวัดเพชรบูรณ นั้น คณะผูศึกษาคนควาจะดําเนินการดังนี้

1.1 หาคารอยละของคะแนนเฉลี่ย ของนักเรียนที่ไดจากการสอบยอยขณะใชหนังสืออิเล็กทรอนิกสเรื่อง ประเพณีอุมพระดําน้ํา แบบบูรณาการ สําหรับนักเรียนชั้นประถมศึกษาปที่ 4 จังหวัดเพชรบูรณ (E1)

1.2 หาคารอยละของคะแนนเฉลี่ย ของนักเรียนในการทดสอบดวยแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนหลังจากใชหนังสืออิเล็กทรอนิกสเรื่อง ประเพณีอุมพระดําน้ํา แบบบูรณาการ สําหรับนักเรียนชั้นประถมศึกษาปที่ 4 จังหวัดเพชรบูรณ (E2)

84

สูตรการหาประสิทธิภาพของหนังสืออิเล็กทรอนิกสเรื่อง ประเพณีอุมพระดําน้ํา แบบบูรณาการ สําหรับนักเรียนชั้นประถมศึกษาปที่ 4 จังหวัดเพชรบูรณ (E1/E2) สามารถคํานวณไดจากสูตรดังตอไปนี้ (อรพรรณ พรสีมา, 2533, หนา 130 – 131)

E1 = A

x X100 โดยที่ E1 หมายถึง คะแนนเฉลี่ยของนักเรียนที่ไดจากการสอบยอย ขณะใช

หนังสืออิเล็กทรอนิกส คิดเปนรอยละ x หมายถึง คะแนนเฉลี่ยของนักเรียนทั้งหมดในแตละจุดประสงค

A  หมายถึง คะแนนเต็มในการสอบแตละจุดประสงค

E2 = P

F X 100

โดยที่ E1 หมายถึง คะแนนเฉลี่ยของนักเรียนในการทดสอบหลังจากใช หนังสืออิเล็กทรอนิกสคิดเปนรอยละ

F หมายถึง คะแนนเฉลี่ยในการทําแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ หลังเรียนดวยหนังสืออิเล็กทรอนิกส

P หมายถึง คะแนนเต็มของการทดสอบหลังเรียน

2. การตรวจสอบขอสอบรายขอ ในดานความยากงาย และอํานาจจําแนก โดยใชเทคนิค 27 % เพื่อแบงกลุมตัวอยางออกเปนกลุมสูงและกลุมต่ํา(บุญชม ศรีสะอาด, 2545, หนา 84)

2.1 คาความยากงายของขอสอบรายขอ คํานวณจากสูตร คาความยากงาย(P) =

N

R เมื่อ P แทน ระดับความยาก R แทน จํานวนผูตอบถูกทั้งหมด N แทน จํานวนคนในกลุมสูงและกลุมต่ํา

85

เกณฑที่ใชประกอบการพิจารณาความยากงายของขอสอบมีดังนี้ (บุญชม ศรีสะอาด, 2545, หนา 82) ตาราง   2 แสดงเกณฑที่ใชประกอบการพิจารณาความยากงายของขอสอบ

คา P (ระบบ รอยละ)

คา P (ระบบสัดสวน) แปลความหมาย ตีความหมาย ผลการพิจารณา

100 1.00 ผูสอบตอบถูก 100 % หรือทุกคนตอบถูกหมด

เปนขอที่งายมาก เปนขอที่ไมควรนํามาใชวัด

0 .00 ผูสอบตอบถูก 0% หรือตอบผิดหมด

เปนขอที่ยากมาก เปนขอที่ไมควรนํามาใชวัด

50 .50 ผูสอบตอบถูก 50% หรือมีผูตอบถูกครึ่งหนึ่งตอบผิดครึ่งหนึ่ง

เปนขอที่ยากปานกลางหรือพอเหมาะ

เปนขอที่มีคุณภาพดีมาก

80 .80 ผูสอบตอบถูก 80 % เปนขอที่คอนขางงาย

เปนขอที่มรีะดับความยากเขาเกณฑ ถาคา P มากกวา 80) ก็ไมควรนํามาใชวัด

20 .20 ผูสอบตอบถูก 20% เปนขอที่คอนขางยาก

เปนขอที่มีระดับความยากเขาเกณฑ ถายากกวานี้ (คา P นอยกวา 20)ก็ไมควรนํามาใชวัด

จากการวิเคราะหหาคาความยากงายของขอสอบ ที่นํามาบรรจุไวในหนังสืออิเล็กทรอนิกสเรื่องประเพณีอุมพระดําน้ําแบบบูรณาการ สําหรับนักเรียนชั้นประถมศึกษาปที่ 4 จังหวัดเพชรบูรณ ไดคาความยากงายของขอสอบ ซึ่งอยูระหวาง 0.20-0.80

86

2.2 คาอํานาจจําแนกของขอสอบรายขอ คํานวณจากสูตร คาดัชนีอํานาจจําแนก (r) =

f

RlRu

เมื่อ r แทน อํานาจจําแนก Ru แทน จํานวนคนกลุมสูงที่ตอบถูก Rl แทน จํานวนคนกลุมต่ําที่ตอบถูก f แทน จํานวนคนในกลุมสูงหรือกลุมต่ําซึ่งเทากัน

ตาราง  3 แสดงเกณฑการพิจาณาคาอํานาจจําแนกมีดังนี้ (บุญชม ศรีสะอาด, 2545, หนา 83)

คา r แปลความหมาย ตีความหมาย ผลการพิจารณา 1.00 กลุมสูงตอบถูกหมดและกลุม

ต่ําตอบผิดหมด จําแนกกลุมสูงต่ํา ไดอยางสมบูรณ ผูตอบถูกเปนกลุมสูง ผูตอบผิดเปนกลุมต่ํา

เปนขอที่มีคุณภาพดีที่สุด

-1.00 กลุมต่ําตอบถูกหมดและกลุมสูงตอบผิดหมด

จําแนกทางตรงขามไดอยางสมบูรณ

เปนขอที่แยที่สุดไมควรนํามาใชวัด

.00 กลุมสูงและกลุมตอบถูกเทากันและตอบผิดเทากัน

จําแนกกลุมสูง ต่ําไมได เปนขอที่ไมควรนํามาวัด

.50 กลุมสูงตอบถูกมากกวากลุมต่ํา

จําแนกไดคอนขางสูง เปนขอที่มีคุณภาพดี

.20 กลุมสูงตอบถูกมากกวากลุมต่ําเล็กนอย

จําแนกใชได (จําแนกได 4%)

เปนขอทีม่ีอํานาจจําแนกเขาเกณฑถาต่ํากวานี้จะไมนํามาใชวัด

จากผลการวิเคราะหหาคาอํานาจจําแนกของขอสอบ ที่นํามาบรรจุไวในหนังสืออิเล็กทรอนิกส เรื่อง ประเพณีอุมพระดําน้ําแบบบูรณาการ สําหรับนักเรียนชั้นประถมศึกษาปที่ 4 จังหวัดเพชรบูรณ ซึ่งอยูระหวาง 0.20-0.80

87

2.3 การตรวจสอบความตรง (Validity) โดยใหผูเชี่ยวชาญพิจารณาเชิงเหตุผลแลวนําผลการตัดสินของผูเชี่ยวชาญมาหาดัชนีความสอดคลองระหวางขอสอบกับจุดประสงค หรือเรียกวา คา lOC โดยใชวิธีการของเรวิเนลลีและแฮมเบิลตัน (อางถึงใน บุญชม ศรีสะอาด, 2545. หนา 63) คํานวณจากสูตร

N

RIOC

เมื่อ IOC แทน ดัชนีความสอดคลองระหวางขอสอบกับจุดประสงค R แทน ผลรวมคะแนนผูเชี่ยวชาญที่มีความคิดเห็นวาวัดไดตรง N แทน จํานวนผูเชี่ยวชาญ หลังจากผูเชี่ยวชาญพิจารณาเสร็จแลว นํามาหาคาเฉลี่ยแลวเทียบกับเกณฑดังนี้

ตาราง  4 แสดงเกณฑที่แปลผลความสอดคลองระหวางขอสอบกับจุดประสงค

คาเฉลี่ย ความหมาย มากกวาหรือเทากับ 0.5 เปนขอสอบที่มีความเที่ยงตรงตามเนื้อหา เพราะวัดตามจุดประสงค

เชิงพฤติกรรมที่ตองการจริง นอยกวา 0.5 เปนขอสอบที่ตองตัดทิ้งหรือแกไข เพราะไมไดวัดตามจุดประสงคเชิง

พฤติกรรมที่ตองการ 3. การวิเคราะหขอมูลในการทดลองใชหนังสืออิเล็กทรอนิกสเรื่อง ประเพณีอุมพระดําน้ํา แบบบูรณาการ สําหรับนักเรียนชั้นประถมศึกษาปที่ 4 จังหวัดเพชรบูรณ คณะผูศึกษาคนควาจะดําเนินการดังนี้

3.1 นํากระดาษคําตอบของนักเรียนที่ทําแบบทดสอบทั้งกอนและหลังใชหนังสืออิเล็กทรอนิกสเรื่อง ประเพณีอุมพระดําน้ํา แบบบูรณาการสําหรับนักเรียนชั้นประถมศึกษาปที่ 4 จังหวัดเพชรบูรณ มาตรวจใหคะแนน โดยใหคะแนน 1 คะแนนสําหรับขอที่ตอบถูกและให 0 คะแนนสําหรับขอที่ตอบผิดหรือตอบมากกวา 1 คําตอบหรือไมตอบ

88

3.2 นําคะแนนของนักเรียนทั้งหมดมาทําการวิเคราะหโดยหาคาสถิติพื้นฐาน

3.2.1 คาเฉลี่ย จากสูตรดังนี้

x = N

x x = คาเฉลี่ย x = ผลรวมของคะแนนทั้งหมด N = จํานวนคะแนนทั้งหมด

3.2.2 คาความเบี่ยงเบนมาตรฐาน จากสูตรดังนี้

S.D. = 1

22

nn

xxn

S.D. = ความเบี่ยงเบนมาตรฐาน 2x = ผลรวมคะแนนแตละตัวยกกําลังสอง 2 x = ผลรวมของคะแนนทั้งหมดยกกําลังสอง N = จํานวนคะแนน / ขอมูลทั้งหมด

การแปลความหมายของสวนเบี่ยงเบนมาตรฐาน (อางถึง นิภา ศรีไพโรจน, 2533) 1.51 หมายถึง สอดคลองกันต่ํา 1.01- 1.50 หมายถึง สอดคลองกันปานกลาง 0.00- 1.00 หมายถึง สอดคลองกันสูง

3.3 เปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนกอนและหลังการใชหนังสืออิเล็กทรอนิกสเรื่อง ประเพณีอุมพระดําน้ํา แบบบูรณาการ สําหรับนักเรียนชั้นประถมศึกษาปที่ 4 จังหวัดเพชรบูรณ ทําการวิเคราะหขอมูล t – test (dependent) จากสูตรดังนี้

t =

1

22

n

DDn

D

เมื่อ t แทน คาสถิติที่ใชเปรียบเทียบกับคาวิกฤต เพื่อทราบความมีนัยสําคัญ D แทน คาผลตางระหวางคูคะแนน

89

n แทน จํานวนกลุมตัวอยางหรือจํานวนคูคะแนน เมื่อคํานวณคา t แลวจะนําคา t ที่คํานวณนี้ไดเปรียบเทียบ คาวิกฤตของ t ที่ระดับนัยสําคัญที่กําหนดไว โดยการเปดตารางคาวิกฤตของ t โดยนําคา df ซึ่ง = n-1 และระดับนัยสําคัญไปเปดตาราง(บุญชม ศรีสะอาด, 2545, หนา 110)

4. การวิเคราะหขอมูลเพื่อประเมินหนังสืออิเล็กทรอนิกสเรื่อง ประเพณีอุมพระดําน้ํา แบบบูรณาการ สําหรับนักเรียนชั้นประถมศึกษาปที่ 4 จังหวัดเพชรบูรณ โดยหาคาเฉลี่ยและความเบี่ยงเบนมาตรฐานมีขั้นตอนดังตอไปนี้

4.1 นําแบบประเมินมาตรวจใหคะแนน โดยมีการใหคะแนนดังนี้ ระดับความเหมาะสมมากที่สุด ใหคะแนน 5 คะแนน ระดับความเหมาะสมมาก ใหคะแนน 4 คะแนน ระดับความเหมาะสมปานกลาง ใหคะแนน 3 คะแนน ระดับความเหมาะสมนอย ใหคะแนน 2 คะแนน ระดับความเหมาะสมนอยที่สุด ใหคะแนน 1 คะแนน

4.2 การวิเคราะหขอมูลเปนรายดาน โดยการหาคาเฉลี่ย ( x ) และหาคาความเบี่ยงเบนมาตรฐาน (S.D.) โดยกําหนดคาเฉลี่ยไว 5 ระดับ ในการแปลความหมายของคาเฉลี่ยกําหนดเกณฑ (ไชยยศ เรืองสุวรรณ, 2534, หนา 138) ดังนี ้ คาเฉลี่ยระหวาง 4.50 – 5.00 หมายถึง มีระดับความเหมาะสมมากที่สุด คาเฉลี่ยระหวาง 3.50 – 4.49 หมายถึง มีระดับความเหมาะสมมาก คาเฉลี่ยระหวาง 2.50 – 3.49 หมายถึง มีระดับความเหมาะสมปานกลาง คาเฉลี่ยระหวาง 1.50 – 2.49 หมายถึง มีระดับความเหมาะสมนอย คาเฉลี่ยระหวาง 1.00 – 1.49 หมายถึง มีระดับความเหมาะสมนอยที่สุด โดยเกณฑขั้นต่ําในการพิจารณาวาหนังสืออิเล็กทรอนิกสเรื่อง ประเพณีอุมพระดําน้ํา แบบบูรณาการ สําหรับนักเรียนชั้นประถมศึกษาปที่ 4 จังหวัดเพชรบูรณ มีความเหมาะสมคือ ความคิดเห็นของนักเรียนคาเฉลี่ยตั้งแต 3.50 ขึ้นไป และมีคาความเบี่ยงเบนมาตรฐานไมเกิน 1.00

Recommended