Evaluationagri.eco.ku.ac.th/CASAF/files/การออกแบบ...

Preview:

Citation preview

Evaluation

Centre for Project and Programme Evaluation,Office of Agricultural Economics

Anuwat Pue-on, Ph.D.

Outline1. Overview2. Criterion and Indicators3. Evaluation Design

2

การประเมินผล

หมายถึง

.......................................................................

.......................................................................

กระบวนการที่ใชในการอธิบายและตัดสินคุณคา

ของส่ิงใดส่ิงหน่ึงอยางมีหลักเกณฑ

1. Overview

3

จุดมุงหมายของการประเมินผล

เปนขอมูลสารสนเทศประกอบการตดัสนิใจ1

เพือ่ใหการบริหารโครงการเปนไปอยางมีประสทิธภิาพ2

เพือ่ตรวจสอบผลการดาํเนนิโครงการวาประสบผลสาํเร็จหรือไม

3

เพือ่นาํไปใชในการปรับปรุงโครงการทีค่ลายกัน4

4

แนวคิดการประเมินผล

Cronbach’s

Tyler’s

Alkin’s

Stake’s

Provus’s

Stufflebeam’s

5

Tyler’sOutput ⇌ Objective

Provus’sStandard

ActualGap

Stufflebeam’sCIPP

Cronbach’sObjective + Process

Stake’sDesire

ActualGap

แนวคิด: ประเมินทั้งระบบสภาวะแวดลอมContext Evaluation

ปจจัยเบื้องตนInput Evaluation

กระบวนการProcess Evaluation

ผลผลิตที่เกิดขึ้นProduct Evaluation

Stufflebeam’s

--> What needs to be done?

--> How should it be done?

--> Is it being done?

--> Did the project succeed?

Offer a way to describe and share an understanding of relationships among elements necessary to operate a program or change effort

Describe a bounded project or initiative: both what is planned (the doing) and what results are expected (the getting)

Likened to a picture map of how the programtheoretically works to achieve benefits for participants - often expressed as brief diagrams or flow charts

Logic Model8

Logic Models provide a clear roadmap to a specified end.

Knowlton & Phillips (2012) The Logic Model Guidebook – Better Strategies for Great Results, Treasury Board of Canada (2001)

Input Process Output Outcome Impact

9

10

ประเภทการประเมินผล

•การประเมินผลกอนเริ่มโครงการ

•การประเมินผลระหวางโครงการ

•การประเมินผลเม่ือเสร็จส้ินโครงการ

11

จุดมุงหมายของการประเมินผล

ศึกษาความเหมาะสมของโครงการ

(เศรษฐกิจ สังคม สภาพแวดลอม เทคนิค)

ศึกษาความพรอมของปจจัย/ทรัพยากรนาํเขา

การประเมินผลกอนเริ่มโครงการ

ศึกษาการตอบสนองนโยบาย/ความตองการ

12

จุดมุงหมายของการประเมินผล

การประเมินผลระหวางโครงการ

ตรวจสอบความกาวหนา

วเิคราะหความนาจะเปนทีท่าํใหโครงการประสบ

ผลสาํเร็จ

แกไข ปรับปรุงโครงการ

วเิคราะหหาปจจัยทั้งดานบวกและลบที่มีตอผลสาํเร็จ

ของโครงการ

13

• ตัดสินวาโครงการประสบผลสําเร็จ/

บรรลุวัตถุประสงคของโครงการหรือไม

• ศึกษาผลกระทบตางๆ

การประเมินผลเมื่อเสร็จสิ้นโครงการ

จุดมุงหมายของการประเมินผล

14

แผนแบบการประเมินผล

1. แผนแบบทดลอง (เปรียบเทียบ)

- กลุมทดลอง/ในโครงการ VS

- กลุมควบคุม/กลุมนอกโครงการ

(control group)

1.1 Pre test-Post test Design (No control group)

1.2 Pre test-Post test Design (With control group)

1.3 Post test only Design (With control group)

15

แผนแบบการประเมินผล

2. ไมใชแผนแบบทดลอง

- เปรียบเทยีบผลของโครงการ กับโครงการอ่ืนทีม่ี

ลักษณะคลายกัน

16

กระบวนการของการประเมินผล

1. ศึกษาความตองการใชของผูใชขอมูลการประเมินผล

- มหาวทิยาลัย ผูใหทุนวจิยั หนวยงานราชการ

2. ศึกษารายละเอียดของโครงการ

17

3. กําหนดวัตถปุระสงคและขอบเขตทีจ่ะประเมิน

กระบวนการของการประเมินผล

4. กําหนดตัวช้ีวัดและเกณฑการประเมินผล

5. กําหนดวิธกีารรวบรวมขอมูล และการวเิคราะหขอมูล

18

กระบวนการของการประเมินผล

6. การเก็บรวบรวมขอมูล

7. ประมวลผล วเิคราะหขอมูล แปลผล

8. เขียนรายงาน

19

ซื่อสัตยตอวิชาชีพ

มคีวามรบัผิดชอบ

รักษาความลับอยางเครงครัด

ไมละเมิดสทิธิเสรีภาพของผูอืน่

มีคุณธรรม

จรรยาบรรณของนักประเมินผล

20

2. Criterion and Indicators

ถาทานจะเลือกซื้อ

ผลิตภณัฑ “นํ้าสม”

ทานจะพิจารณาอะไรบาง

21

Indicators

เครื่องมือบอกทิศทางวาการพัฒนาหรือการดําเนินงาน บรรลุวัตถุประสงคและเปาหมายเพียงใด (เมธี, 2540)

เวลา + สถานที่

นําไปตีคา เปรียบเทียบกับเกณฑ หรือมาตรฐาน

ความหมายภายใตเงือ่นไข

สิ่งที่บงบอกคุณลักษณะของสิ่งที่ทําการวัดวามี

ปริมาณหรือคุณลักษณะเชนไร

22

ลักษณะที่ดีของตัวช้ีวัด

Specific เฉพาะเจาะจง และชัดเจน

Measurable สามารถวัดได

Achievable (Attainable) สามารถบรรลุได

Realistic (Relevant) สอดคลองกบัความเปนจริง

Timely วัดไดในชวงเวลาที่กําหนด

S M A R T

23

ประเภทตัวชีว้ัดตามประเภทตัวชีว้ัด

1. ตัวชี้วัดปจจัยนําเขา (Input Indicators)

2. ตัวชี้วัดกระบวนการ (Process Indicators)

3. ตัวชี้วัดผลผลิตหรือผลการดําเนินงาน (Output Indicators)

4. ตัวชี้วัดผลลัพธ (Outcome Indicators)

5. ตัวชี้วัดผลกระทบ (Impact Indicators)

24

คาของตัวช้ีวดั

จํานวน (Number)

รอยละ (Percentage)

อัตราสวน (Ratio)

สัดสวน (Proportion)

อัตรา (Rate)

คาเฉลี่ย (Average or Mean)

25

เกณฑ (Criterion)

ระดับท่ีกําหนดไว หรือ มาตรฐานท่ีควรจะเปน

เพ่ือใชในการตัดสินโครงการ

1. ระดบัของเกณฑการประเมินผล

2. ประเภทของเกณฑการประเมินผล

26

2 ระดับ

คือ การกําหนดคาใหนอยกวาหรอืมากกวา เกณฑทีต่ั้งไว เชน

ผานหรอืไมผาน ไดหรือตก

ระดบัของเกณฑการประเมินผล

มากกวา 2 ระดบั

คือ การกําหนดคาเปนตวัเลขตามลาํดบั ซึง่มากกวา 2 ระดับข้ึนไป

เชน 3 ระดับ 5 ระดับ หรือ 10 ระดับ ฯลฯ

27

ประเภทของเกณฑการประเมินผล

1. เกณฑสัมบรูณ (Absolute Criteria)

2. เกณฑสัมพัทธหรือเกณฑมาตรฐานเชิงนโยบาย

(Relative Criteria or Policy Criteria)

3. เกณฑมาตรฐานหรือเกณฑเชิงวทิยาศาสตร

(Standard Criteria or Scientific Criteria)

4. เกณฑความเคล่ือนไหวเชิงพัฒนา (Growth Criteria)

28

ประเภทของขอมูล

ขอมูลปฐมภูมิ

ขอมูลทตุิยภูมิ

ตามที่มาของขอมูล ตามลกัษณะขอมูล

ขอมูลเชงิปริมาณ

ขอมูลเชงิคณุภาพ

ตามมาตรวดั

นามบัญญัติ

เรียงอันดับ

อันตรภาคชั้น

อัตราสวน

3. Evaluation Design29

ขอมูลตามท่ีมาของขอมูล

ขอมูลปฐมภูม ิ เปนขอมูลทีเ่ก็บรวบรวมเองโดยหนวยงาน

ผูประเมิน จากการสาํรวจขอมูลดวยการสุมตวัอยาง หรือ

ประชากร

ขอมูลทุติยภูมิ เปนขอมูลที่มีการรวบรวมไวแลวทั้งหนวยงาน

ของผูประเมินและหนวยงานอ่ืนๆ เชนเอกสาร

ประกอบการรายงานตางๆ เอกสารวชิาการ วทิยานพินธ

30

31

ขอมลูตามลักษณะขอมลู

ขอมูลเชิงปริมาณ ระบุคาเปนตัวเลขได

แบบไมตอเน่ือง เชน เลขจํานวนเต็ม (0 1 2)

แบบตอเนื่อง เชน เลขท่ีมีจุดทศนิยม (9.08)

ขอมูลเชิงคุณภาพ ไมสามารถระบุคาได เชน ความพึง

พอใจ ความกินดีอยูด ีความม่ันคงในชีวติ ความ

ปลอดภัย

ขอมลูตามมาตรวัด

1. ขอมูลนามบัญญัติ (Nominal data)เปนมาตรวัดที่สามารถแบงคาของกลุมตัวแปรที่แตกตางกัน

ไดเปนสวนๆ แตไมทราบวาคาตวัแปรใดมากกวากัน

ตัวอยางเชน เพศชาย และเพศหญิง

สาขาวชิา การเงนิ เศรษฐศาสตร

หยาบ→ ละเอียด

32

2. ขอมูลเรียงอันดับ (Ordinal data)

เปนมาตรวัดที่สามารถแบงคาของกลุมตัวแปรที่แตกตาง

กันไดเปนสวนๆ และทราบวาคาตัวแปรใดมากกวากัน แต

ไมทราบวามากกวากันเทาใด

ตัวอยางเชน เกรด A B C D

ระดบัการศึกษา ช้ันประถมปที ่1 2 3 4 5 และ 6

ขอมลูตามมาตรวัด

33

3. ขอมูลอันตรภาค (Interval data)

เปนระดบัการวดัที่สามารถบอกปริมาณของความแตกตาง

มากนอยทีแ่นนอนได และความแตกตางมีคาเทากันในแตละ

ชวง คาศูนยของขอมูลประเภทนี้เปนการสมมตขิึน้ “ไมใชศูนย

แท” (non absolute zero)

ตัวอยางเชน ปปฏิทนิ คะแนนสอบ อุณหภูมิองศาฟาเรนไฮท

หรือเซลเซียส

ขอมลูตามมาตรวัด

34

4. ขอมูลอัตราสวน (Ratio data)

เปนมาตรวัดที่สามารถแบงคาของตัวแปรที่แตกตางกันไดเปน

สวนๆ และทราบวาคาตวัแปรใดมากกวากันเทาใด และแตกตาง

กันเปนจํานวนเทาไร คาเริ่มตนคือ “ศูนย”

ตัวอยางเชน อาย ุน้าํหนกั ระยะทาง รายได รายจาย

ขอมลูตามมาตรวัด

35

การเก็บรวบรวมขอมูล

ประชากร: กลุมสมาชิกทัง้หมดทีต่องการศึกษา

กลุมตวัอยาง: สวนหนึ่งของประชากรที่ถกูเลือกมาศึกษาแทน

ประชากรทั้งหมด

36

การสาํมะโน: เก็บขอมูลจากประชากรเปาหมายทัง้หมดที่

ตองการศึกษา

การสุมตวัอยาง: เก็บขอมูลจากประชากรบางสวน จากประชากร

เปาหมายทัง้หมดทีต่องการศึกษา

การเก็บรวบรวมขอมูล

37

การกําหนดขนาดตัวอยาง

ไมมีกฎเกณฑตายตัว แตส่ิงที่ตองพิจารณา:

ขนาดของประชากร – ใหญมากตองสุม

ลักษณะความแตกตางของประชากร – ตต. มากสุมมาก

งบประมาณ และบุคลากร

เคร่ืองมือทีใ่ชในการวเิคราะห – ไปรษณีย ตอบกลับนอย

แผนแบบการสุมตัวอยาง – อยางงาย แบงช้ันภูมิ ...

ระดบัความคลาดเคล่ือนจากการประมาณการ – ความคลาดเคล่ือนนอย ใชขนาดตวัอยาง มาก

ระดบัความเช่ือม่ัน – เช่ือม่ันสงู ขนาดตวัอยางมาก

38

39

ขนาดตัวอยาง

เกณฑ ตาราง

Yamane Krejcie & Morgan

สูตร

Yamane Krejcie & Morgan

การกําหนดขนาดตัวอยางโดยเกณฑ

A. ประชากรหลักรอย ใชตัวอยาง 15 – 30%

B. ประชากรหลักพัน ใชตัวอยาง 10 – 15%

C. ประชากรหลักหม่ืน ใชตัวอยาง 5 – 10%

40

Taro Yamane

N n สําหรับ e5% 10%

500 222 831000 286 91

… … …∞ 400 100

N n(e=5%)

500 2171000 278

... ...∞ 384

Krejcie & Morgan

การกําหนดขนาดตัวอยางโดยใชตาราง

หมายเหต:ุใชในการประมาณคาสัดสวนเทาน้ัน

41

กรณีทราบจํานวนประชากร (N)

21 NeNn

+=Yamane

n = ขนาดตวัอยาง

N = ขนาดของประชากร

e = คาเปอรเซ็นตความคลาดเคลื่อนที่ยอมรับไดจากการ

ประมาณการ เชน 5% หรอื 0.05

การกําหนดขนาดตัวอยางโดยใชสูตรคํานวณ

*ใชในการประมาณคาสดัสวน และระดับความเชือ่ม่ันรอยละ 95 เทาน้ัน

42

กรณีทราบจํานวนประชากร

n = ขนาดตัวอยาง

P = สัดสวนของลักษณะที่สนใจ

e = คาความคลาดเคลือ่นจากการสุมตัวอยางเชน 5% หรอื .05

Z = คาคะแนนมาตรฐานจากการแจกแจงปกติ เชน 95% หรือ คิดเปน 1.96

ถาไมทราบคา P จะกําหนดให = 0.5

Krejcie & Morgan)1()()1(

))(1(22

2

PPZNeNpZPPn−+−

−=

การกาํหนดขนาดตัวอยางโดยใชสูตรคํานวณ

43

กรณีไมทราบจํานวนประชากร

n = ขนาดของกลุมตัวอยาง

P =สัดสวนของลักษณะท่ีสนใจในประชากร

e = คาความคลาดเคล่ือนจากการสุมตัวอยางเชน 5% หรือ .05

Z =คาคะแนนมาตรฐานจากการแจกแจงปกติ เชน 95% เทากับ 1.96

ถาไมทราบคา P จะกําหนดให = 0.5

Krejcie & Morgan 2

2))(1(e

Zppn −=

การกาํหนดขนาดตัวอยางโดยใชสูตรคํานวณ

44

กรณีทราบจํานวนประชากร

n = ขนาดตัวอยาง

N = ขนาดประชากร

e = คาความคลาดเคลือ่นจากการสุมตัวอยางเชน 5% หรอื .05

= คาความแปรปรวนของประชาการ

Z = คาคะแนนมาตรฐานจากการแจกแจงปกติ เชน ความเชื่อมั่น 95% หรือ คิดเปน 1.96

222

22

)( σσZNe

NZn+

=

การกาํหนดขนาดตัวอยางโดยใชสูตรคํานวณ

สาํหรับประมาณคาเฉลี่ย

45

กรณีไมทราบจํานวนประชากร

n = ขนาดตัวอยาง

e = คาความคลาดเคลือ่นจากการสุมตัวอยางเชน 5% หรอื .05

= คาความแปรปรวนของประชาการ

Z = คาคะแนนมาตรฐานจากการแจกแจงปกติ เชน ความเชื่อมั่น 95% หรือ คิดเปน 1.96

2

22

eZn σ

=

การกาํหนดขนาดตัวอยางโดยใชสูตรคํานวณ

สาํหรับประมาณคาเฉลี่ย

46

แผนแบบการสุมตัวอยาง

อาศัยความนาจะเปน ไมอาศัยความนาจะเปน

- สุมตัวอยางอยางงาย- สุมตัวอยางแบบมีระบบ- สุมตัวอยางแบบแบงช้ันภูมิ- สุมตัวอยางแบบกลุม- สุมตัวอยางแบบหลายขั้นตอน

- สุมตัวอยางแบบเฉพาะเจาะจง- สุมตัวอยางแบบโดยบังเอิญ- สุมตัวอยางแบบกําหนดโควตา- สุมตัวอยางแบบ Snowball

47

แผนแบบการสุมตัวอยางอยางงาย

- กลุมประชากรมีโอกาสไดรับคัดเลือกเทาๆกัน

- เหมาะกับประชากรท่ีมีลักษณะคลายคลึงกัน

วิธีสุม

จับฉลาก

ตารางเลขสุม (แถว,หลัก)

48

แผนแบบการสุมตัวอยางอยางงาย

ขอดี ขอเสยี1. สุมงาย เขาใจงาย 1. ตองมีกรอบตัวอยาง2. วิเคราะหงาย 2. คาใชจายสูง ถาหนวย

ตัวอยางอยูกระจัดกระจาย3. อาจไมพบหนวยตัวอยาง

YnY =

∑=

=n

iiy

nY

1

1

49

แผนแบบการสุมตวัอยางอยางเปนระบบ

สุมหนวยแรก และเลือกตัวอยางตอไปทุกๆ k หนวย

ตัวอยาง: การศึกษามีประชากรทั้งหมด 600 คน ขนาดของตัวอยาง 200 คน

2. สุมหาตัวเลขตั้งตนโดยจับฉลาก สมมติได 2

1. กําหนดชวงของการสุม =

k = 600200

= 3

ขนาดประชากร ขนาดของตัวอยาง

1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 11 12 13 14 15 16 17 18 19 20 21 22 23 24 25 26 27 ... ... 600

50

แผนแบบการสุมตัวอยางอยางมีระบบ

ขอดี ขอเสีย1. สุมงาย เขาใจงาย 1. ตองทราบ N2. วิเคราะหงาย เหมือนสุมอยางงาย

2. อาจเกิดความเอนเอียงถาจัดเรียงตัวอยางไมดี

3. ตัวอยางกระจาย

51

ลักษณะของประชากรที่ตองการศึกษามีความแตกตางกัน

จึงตองจัดแบงประชากรออกเปนกลุมๆ แตละกลุมมีลกัษณะ

ใกลเคียงกนั แตระหวางกลุมมีลกัษณะตางกัน

ขอดีของการสุมตัวอยางแบบแบงช้ันภูมิ คือ จะไดตัวอยาง

จากกลุมตางๆ ของประชากรครบทุกกลุม

A B Cประชากรที่

ใชประเมินผล

52

แผนแบบการสุมตัวอยางแบบแบงชั้นภูมิ

สุมแบบไมเปนสัดสวน

A B C

53

สุมแบบเปนสัดสวนCBA

54

แผนแบบการสุมตัวอยางแบบแบงช้ันภมูิ

ขอดี ขอเสยี1. ลดความแปรปรวน 1. ยุงยาก ซบัซอน ใน

การสุม2. ตัวอยางมีทุกลกัษณะท่ีตองการ

2. การคํานวณคาผลรวมและคาเฉลี่ย ตางกบัสุมอยางงาย

...332211 YnYnYnY ++=

321 nnnYY++

=

55

ตรงขามกับแบบแบงช้ันภูมิ – ลักษณะของประชากรในกลุมแตกตางกัน (เสมือนประชากรยอสวน)

ประชากรแตละกลุมมีลักษณะคลายคลึงกันจึงเลือกสุม

ตัวอยางจากเพียงบางกลุมก็พอแลว

A CB

แผนแบบการสุมตัวอยางแบบแบงกลุม

56

-เตรียมรายช่ือไมไหว-สุมแบบงาย/แบงช้ันภูมิส้ินเปลือง

แผนแบบการสุมตัวอยางแบบแบงกลุม

ขอดี ขอเสีย1. สะดวกไมตองมีกรอบ 1. จํานวนหนวยตัวอยาง

ขึ้นกับกลุมที่สุมได2. คาใชจายนอย 2. การคํานวณคาผลรวมและ

คาเฉลี่ย ยุงยาก

57

แผนแบบการสุมตัวอยางแบบแบงกลุม G1 G2 G3 G4

2 14 14 28

4 5 33 9

3 14 8 9

10 8 33 8

5 18 21 27

24 59 109 81 273

25.684

273==Y 365,125.68*20 === YGY

สุม 4 กลุม

จาก G 20

กลุม

58

กรณีประชากรมีขนาดใหญ และสามารถแบงประชากรออกเปน

กลุมๆ ได แตละกลุมยังสามารถแบงออกเปนกลุมยอยๆ ไดอีก

ใชแผนแบบการสุมตัวอยางผสมผสานกัน

แผนแบบการสุมตัวอยางแบบหลายขั้นตอน

ขอดี ขอเสีย1. ไมตองมีกรอบตัวอยาง 1. หนวยตัวอยางแตละขั้น

ตางกัน2. ขอดีขึ้นกับวิธีการเลือกแตละขั้น

2. การคํานวณคาผลรวมและคาเฉลี่ย ยุงยาก3. คาใชจายเดินทางสูง

59

5 ภาค

ภาคละ 2 จังหวัด = 10 จังหวัด

หมูบานละ 2 ครัวเรือน = 160 ครัวเรือน

เลือกจังหวัดละ 1 อาํเภอ = 10 อําเภอ

อําเภอละ 2 ตําบล = 40 ตําบล

ตําบลละ 2 หมูบาน = 80 หมูบาน

สุมแบบแบงชัน้ภูมิ

สุมแบบแบงกลุม

เน่ืองจากผูประเมินผล

พบวาเกษตรกรแตละ

อําเภอคลายคลึงกัน

สุมอยางงาย

60

การสุมตวัอยางแบบไมอาศยัความนาจะปน

การเลือกตัวอยางตามความสะดวก เชน การสุมตัวอยางในการประเมินนิทรรศการ

การเลือกตัวอยางโดยใชวิจารณญาณ ใชกลุมเปาหมายที่ใหขอมูลได เชน ผูบริหาร

การเลือกตัวอยางแบบโควตา คํานวณสัดสวนตอจํานวนประชากร เชน เกษตรกร : สหกรณ (60 : 40)

การเลือกตัวอยางแบบ Snowball หรือ Chain ใชในกรณีที่ประชากรที่เปนตัวอยางหายาก เชน คนพเนจร

61

1. แบบสังเกต2. แบบตรวจสอบรายการ3. แบบสัมภาษณ4. แบบใชแบบสอบถาม5. แบบมาตรประเมิน6. แบบทดสอบ

เคร่ืองมือท่ีใชในการเก็บรวบรวมขอมูล

เครื่องมอืที่ดีตองวัดได

ตรงกับตัวชีว้ัด

62

แบบมีสวนรวม แบบไมมสีวนรวม

- ไดขอมลูที่เปนจริง

- กรณีใชเครื่องมอือืน่ไมได

- ใชเวลานาน

- ไดขอมลูตัวอยางครั้งละไมมาก

- ตองเชี่ยวชาญและฝกฝน

แบบสังเกต

- เปนสวนหนึ่งของกลุม

- ฝงตัวสงัเกตการณ

- ผูสังเกตไมไดเขารวมกิจกรรม

- ทําตนเปนบุคคลภายนอก

63

• กําหนดส่ิงท่ีจะทําการตรวจสอบใหชัดเจน• กําหนดกิจกรรมตามวัถุประสงคใหครบถวน• เรยีงขอความตามกิจกรรมแรกไปหากิจกรรม

สุดทายตามวัตถุประสงค• เขยีนคําช้ีแจงอธิบายวิธีการตรวจสอบรายการให

ชัดเจน

แบบตรวจสอบรายการ

64

ไมมีโครงสราง

• ไมต้ังคําถามไวลวงหนา

• ไมตองใชคําถามเดียวกัน

• ผูสมัภาษณควรมีประสบการณ

มีโครงสราง

• ต้ังคําถามไวลวงหนา

• ใชคําถามเหมือนกันหมด

• เหมาะกับผูสัมภาษณประสบการณนอย

แบบสัมภาษณ

สนทนา

สวนที่ 1 คําช้ีแจง

สวนที่ 2 ขอมูลพื้นฐาน

สวนที่ 3 เน้ือหา

แบบปลายเปด

แบบปลายปด

แบบผสม

ลักษณะแบบสอบถามสวนประกอบ

แบบสอบถาม

อานเอง

66

ใชประเมินคา/คุณลักษณะตางๆ ที่ไมสามารถวัดเปนตัวเลข

โดยตรงได แบงเปน 2 ประเภท คือ

1. มาตรวัดแบบบรรยาย เชน พึงพอใจมาก ปานกลาง นอย

2. มาตรวัดแบบตัวเลข เชน ระดับ 3 ระดับ 2 ระดับ 1

แบบมาตรประเมินคา

67

1. มาตรประเมินคาแบบ Likert

คือ มาตรประเมินคาแบบบรรยายและตัวเลข

เชน ระดับ 3 = เห็นดวยมาก ระดับ 2 = ปานกลาง และระดับ 1 = นอย

2. มาตรประเมินคาแบบ Rubric

คือ มาตรประเมินคาแบบตัวเลข และตองกําหนดเกณฑที่ใช

ประกอบกับคะแนนแตละระดับ เชน เกณฑ กพร.

เชน ระดับ 5 ปรากฎคุณลักษณะเดน มีผลงานครบ/เขาใจ

ระดบั 1 ไมปรากฎคุณลักษณะเดน ไมมีผลงานครบ/เขาใจ P150

แบบมาตรประเมินคาท่ีนิยม

68

แบบอัตนัย

แบบปรนยั

แบบเติมคําแบบจับคู

แบบเลือกตอบ

แบบทดสอบ

69

1. เก็บขอมูลไดตรงตามวัตถุประสงค

2. เนื้อหา ถอยคํา ลําดับคําถาม ความเขาใจงาย?3. รวบรวมคําตอบที่เปนไปได

4. ระยะเวลาการเก็บขอมูล

5. คําถามที่ผูใหขอมูลไมตอบ ไมทราบ หรือไมเขาใจ

6. มีตัวเลือกที่ถูกมากกวา 1 ตัวเลือก

การตรวจสอบคุณภาพเครื่องมือ (Pre-testing)

70

เพ่ือทดสองคุณภาพเครื่องมอืโดยการทดสอบความตรงและความเที่ยง

กอนนําเครื่องมือตางๆเหลานี้ไปใช

1. แบบสอบถาม

2. แบบสัมภาษณ

3. แบบสังเกต

4. แบบทดสอบ

การตรวจสอบคุณภาพเครื่องมือ (Pre-testing)

71

1. แบบสอบถาม (ทดสอบความตรงตามเนื้อหา)

- ใหผูเชี่ยวชาญอยางนอย 3 คน เปนผูประเมิน

ถาขอคําถามวัดไดตรงจุดประสงคได +1 คะแนน

ถาไมแนใจวาขอคาํถามนัน้วดัตรงจุดประสงคหรอืไม ได 0 คะแนน

ถาขอคาํถามวดัไดไมตรงจุดประสงค ได -1 คะแนน

- ทดสอบกับกลุมตวัอยาง โดยใชสตูร

เกณฑการคัดเลือก

1) คา IOC ตั้งแต 0.5 – 1.00 คัดเลอืกไวใชได

2) คา IOC ต่ํากวา 0.5 ควรพิจารณาปรับปรุงใหมหรือตัดทิ้ง

การตรวจสอบคุณภาพเครื่องมือ

---P155

ความตรง (Validity) ตรงตามเนื้อหาขอมูลที่ตองการจะเก็บ?

R=คะแนนความเห็น ผชช. N=จาํนวนผชช.

72

1. แบบสอบถาม (ทดสอบความเที่ยง)

ถามกี่ครั้งกบัคนเดิม ก็ไดผลเหมือนเดิม

−= ∑

2

2

11 t

i

SS

nnα

=n=2

iS=2

tS

จาํนวนคาํถาม

ความแปรปรวนของคะแนนแตละขอ

ความแปรปรวนของคะแนนทัง้หมด

การตรวจสอบคุณภาพเครื่องมือ

ความเที่ยง (Reliability) เมื่อเพ่ิม n ผลทีไ่ด/ขอมูลที่ได ไมเปลี่ยนมากนัก

---P158

ยอมรับที่ 0.16.0 −=α

73

2. แบบสัมภาษณ

วิธีการทดสอบความตรงและความเท่ียงใชวิธีเดียวกับ แบบสอบถาม

การตรวจสอบคุณภาพเครื่องมือ

74

3. แบบสังเกต

1. ทดสอบความตรง โดยใหผูเชี่ยวชาญทดสอบความถูกตองของ

เน้ือหา

2. ทดสอบความเที่ยง โดย

- ใหผูสังเกตคนหน่ึงสังเกตพฤตกิรรมหน่ึงๆในเวลาทีต่างกัน หรือ

- ใหผูสังเกตหลายคนสงัเกตพฤตกิรรมเดียวกันของคนเดียวกัน

แลวนําขอมูลมาทดสอบคาสัมประสิทธ์ิสหสัมพันธ

การตรวจสอบคุณภาพเครื่องมือ

ความเที่ยง (Reliability) เมื่อเพ่ิม n ผลทีไ่ด/ขอมูลที่ได ไมเปลี่ยนมากนัก

ความตรง (Validity) ตรงตามเนื้อหาขอมูลที่ตองการจะเก็บ?

---P160 75

4. แบบทดสอบ (ทดสอบความตรง)

ไดแก เนื้อหา เชิงโครงสราง สภาพปจจุบัน เชิงพยากรณ

แบบทดสอบ (ทดสอบความเทีย่ง) เชน

4.1 วิธีสอบซ้าํ เพื่อหาคาสัมประสิทธิส์หสัมพนัธโดยใชสูตรของ

Pearson Product Moment Correlation (ยอมรับ เมื่อ rxy >0.7)

4.2 วิธีแบงคร่ึงขอสอบ (เชนครึ่งบน-ลาง หรือ เลขคู-คี่)

4.3 วิธีของคูเดอร – ริชารดสนั วดัในระดับอันตรภาคเทานั้น

ใชสูตร

การตรวจสอบคุณภาพเครื่องมือ

---P163

---P165

---P168

76

4. แบบทดสอบ (การวิเคราะหขอสอบรายขอ)

- วิเคราะหความยากงาย

คาที่ยอมรับไดอยูระหวาง 0.2 – 0.8

- วิเคราะหอํานาจจาํแนก (r) คาที่บอกวาขอสอบนั้นแยกคนเกงกับไมเกงไดแคไหน มีเกณฑในการตัดสินใจ คือ

r > 0.4 ดีมาก

r ระหวาง 0.30 – 0.39 ดี

r ระหวาง 0.20 – 0.29 ควรปรับปรุงใหม

r < 0.20 ตัดขอสอบทิ้ง

ความยากงายของแบบทดสอบ =จํานวนคนที่ตอบถูกตองทั้งหมดจํานวนคนทีเ่ขาสอบทั้งหมด

การตรวจสอบคุณภาพเครื่องมือ

---P170

77

สถิติพรรณนา (Descriptive Statistics)

สถิติอนมุาน หรือ สถิติอางอิง

(Inferential Statistics)

การเลือกใชสถิติที่เหมาะสมกับมาตรวัด

78

สถิติพรรณนา (Descriptive Statistics)

สถิติท่ีใชพรรณนาหรือบรรยายใหเหน็ภาพ

ลักษณะ หรือคุณสมบัติของส่ิงท่ีติดตาม

หรือประเมินผลส่ิงนั้นอาจเปนประชากร

หรือกลุมตัวอยางก็ได

เชน การแจกแจงความถี่ รอยละ

การวัดความกระจาย

79

สถิติอนมุาน (Inferential Statistics)

รวบรวมขอมูลจากกลุมตัวอยาง วิเคราะหขอมูลจาก

กลุมตัวอยางน้ัน แลวสรุปผลการวิเคราะหไปสูกลุม

ประชากรเปาหมาย เพ่ือดูความแตกตางหรอื

ความสัมพันธกับเกณฑที่กําหนดไว

เชน Chi-square t–test Z-test F-test ANOVA การ

ประมาณคาพารามิเตอรตางๆ

กลุมตัวอยางอางอิง

ประชากร

80

กลุมประชากร Population

คาพารามิเตอร Parameter

คาสถติิ

Statistic

กลุมตัวอยางSample

สุมตัวอยาง

สถิติพรรณา

Descriptive statistics

สถิติอางอิง

Inferential statistics

81

มาตรวัด นามบญัญัติ

เรียงอันดับ

อันตรภาคช้ัน

อัตราสวน

สถิติพรรณนา

สถิติอางอิง สถิติ

82

มาตรวัดที่ใชกบัสถิติพรรณนา

ความถี่ รอยละ

ฐานนิยม

พิสัย ฐานนิยม

มัธยฐาน คาเฉลี่ยคาเบี่ยงเบนมาตรฐาน

ขอมูลนามบัญญตั ิ(Nominal)

ขอมูลเรียงอันดับ (Ordinal) }ขอมูลอันตรภาค (Interval)

ขอมูลอัตราสวน (Ratio) }

83

มาตรวัดที่ใชกบัสถิติอนุมาน

Chi-square test ( χ2 )(Non-Parametric)

t–test z–test F–test ANOVA

(Parametric)

ขอมูลนามบัญญัติ (Nominal)

ขอมูลเรียงอันดับ (Ordinal) }ขอมูลอันตรภาค (Interval)

ขอมูลอัตราสวน (Ratio) }

84

เพศ =

ระดับการศึกษา =

อายุ =

อาชีพ =

รายได =

ระดับความคิดเห็น =

เม่ือไรถึงจะใชการแจกแจงแบบไหน !

Nominal

Ordinal

Ratio

Nominal

Ratio

Ordinal

Chi-square test ( χ2 )

Chi-square test ( χ2 )t-test, Z-test

Chi-square test ( χ2 )t-test, Z-test

Chi-square test ( χ2 )

85

การแจกแจงความถี่รอยละ

วดัการกระจายพิสัย สวนเบีย่งเบน

มาตรฐาน

วัดแนวโนมเขาสูสวนกลางฐานนิยม มัธยฐาน คาเฉลี่ย

สถิติพรรณนา สถิติอางอิง

การทดสอบสมมตฐิาน

Chi-square test

Z-test, t-test

Logit Model

Structural Equation Model

สถิติที่ใชในการวิเคราะหขอมูล

Regression Analysis

86

วตัถปุระสงค\

ผลได\ผลกระทบประเด็น

ที่จะประเมิน กําหนดตัวช้ีวัดในแตละประเดน็

สรางเคร่ืองมือ\สถิติที่จะวิเคราะห

เก็บรวบรวมวิเคราะหขอมูล

เทียบเกณฑ

สรุป\ตัดสิน

87

อนุวัฒน ผิวออน (ศูนยประเมินผล สศก.)

โทร. 025795512 หรือ 0876764441

Email: anuwat.pueon@gmail.com

88

Recommended