การสื่อสารทางการเมืองเรื่องพลังงานในอ...

Preview:

Citation preview

การสื่อสารทางการเมืองเร่ืองพลังงานในอาวไทย :

กรณีศึกษาในชวงป พ.ศ. 2524-2553

โดย

นายอดิเทพ บุญสุข

ดุษฎีนิพนธนี้เปนสวนหนึ่งของการศึกษาตามหลักสูตร ปรัชญาดุษฎีบัณฑิต (สื่อสารการเมือง)

วิทยาลัยสื่อสารการเมือง มหาวิทยาลัยเกริก พ.ศ. 2555

การสื่อสารทางการเมืองเร่ืองพลังงานในอาวไทย : กรณีศึกษาในชวงป พ.ศ. 2524-2553

โดย

นายอดิเทพ บุญสุข

ดุษฎีนิพนธนี้เปนสวนหนึ่งของการศึกษาตามหลักสูตร ปรัชญาดุษฎีบัณฑิต (สื่อสารการเมือง)

วิทยาลัยสื่อสารการเมือง มหาวิทยาลัยเกริก พ.ศ. 2555

Political Communication on Energy Resources in the Gulf of Thailand : A Case Study between B.E. 2524 – 2553

By

Mr. Adithep Boonsuk

A Dissertation Submitted in Partial Fulfillment of the Requirements for the Degree of Philosophy in Political Communication

Political Communication College Krirk University 2012

(1)

บทคัดยอ

ดุษฎีนิพนธเร่ือง “การส่ือสารทางการเมืองเร่ืองพลังงานในอาวไทย : กรณีศึกษาในชวงป พ.ศ. 2524-2553” เปนการวิเคราะหกระบวนการส่ือสารทางการเมืองตามแนวคิดของเดวิด เค เบอรโล (David K. Berlo) ผสมกับแนวคิดของ ฮารโรล ลาสเวลล (Harold Lasswell) การวิจัยคร้ังนี้เปนการวิจัยเชิงคุณภาพ (Qualitative Research) โดยการศึกษาเอกสารและ การสัมภาษณเจาะลึก (In-depth Interview) หนวยงานภาครัฐ พลังงานจังหวัด ผูวาราชการจังหวัด ตัวแทนการปโตรเลียมแหงประเทศไทย การนิคมอุตสาหกรรม ประชาชน และ กลุมองคการพัฒนาเอกชน มีวัตถุประสงค 2 ประการ คือ 1) เพื่อศึกษาบริบททางการเมืองและเศรษฐกิจที่สงผลตอการส่ือสารทางการเมืองเร่ืองพลังงานในอาวไทย และ 2) เพื่อศึกษากระบวนการส่ือสารทางการเมืองเร่ืองพลังงานในอาวไทย

ผลการวิจัยพบวา การส่ือสารทางการเมืองเร่ืองพลังงานในอาวไทย ในชวงป พ.ศ. 2524-2553 ไดรับอิทธิพลจากบริบททางการเมืองและเศรษฐกิจ เพราะในชวงระยะเวลาเกือบ 3 ทศวรรษ มีการเปล่ียนแปลงทั้งการเมืองและสภาพทางเศรษฐกิจ ลวนแลวแตเปนปจจัยที่สงผลตอการส่ือสารทางการเมืองเร่ืองพลังงานทั้งส้ิน สวนกระบวนการส่ือสารทางการเมืองเร่ืองพลังงานในอาวไทย ประกอบดวย ผูสงสาร (Sender) คือ รัฐบาล ซึ่งเปนผูที่มีบทบาทในการกําหนดนโยบาย หนวยงานพลังงาน ที่อยูภายใตกํากับของรัฐ เนื้อหาสาร (Message) เนื้อหาสวนใหญจะเกี่ยวของกับนโยบายรัฐบาล ซึ่งเนื้อหาของสารจะแปรเปล่ียนไปตามสถานการณทางการเมืองและเศรษฐกิจ เชน การใชประโยชนจากพลังงานในอาวไทยเพื่อความ “โชติชวงชัชวาล” การแสวงหาแหลงพลังงานจากประเทศเพื่อนบาน โครงการรวมไทย-มาเลเชีย ปญหามลภาวะดานส่ิงแวดลอมจะปรากฏเนื้อหาเกี่ยวกับการอนุรักษพลังงาน หรือพลังงานทดแทน เปนตน ชองทางการส่ือสาร (Channel) ประกอบดวย ส่ือโทรทัศน ส่ือส่ิงพิมพ ส่ืออินเตอรเน็ต ที่หนวยงานดานพลังงานเปนผูใชในชองทางส่ือสาร ผูรับสาร (Receiver) ประกอบดวย ผูประกอบการอุตสาหกรรมพลังงาน ผูรับสารกลุมนี้จะสนใจนโยบายและโครงการเกี่ยวกับอุตสาหกรรมพลังงาน เพื่อที่จะไดขอมูลเพื่อดําเนินการลงทุนตามโครงการของรัฐบาลที่ตองใชทุนจํานวนมาก ประชาชนที่อยูในพื้นที่ดําเนินการ ผูรับสารกลุมนี้สนใจสารเกี่ยวกับผลกระทบที่จะเกิดข้ึนจากการดําเนินโครงการ และประชาชนทั่วไป ผลกระทบจากการส่ือสาร (Effect) การส่ือสารเร่ืองพลังงานสวนใหญจะเปนการส่ือสารทางเดียวโดยเฉพาะในอดีตที่รัฐเปนผูสงสารในลักษณะจากสวนบนลงลาง (Top-down) จึงเกิดผลกระทบจากการส่ือสารทางการเมืองเร่ืองพลังงานดานส่ิงแวดลอมเพราะอุตสาหกรรม ปโตรเคมีทําใหเกิดมลพิษทางอากาศ ดิน น้ํา ดานสุขภาพสารเคมีที่สะสมในรางกายทําใหสุขภาพ

(2)

ประชาชนมีภาวะของการเปนโรคมะเร็ง โรงทางเดินหายใจ เพิ่มข้ึน ดานความขัดแยง การขยายโครงการอุตสาหกรรมของรัฐบาลที่เพิ่มข้ึนและผลกระทบจากพื้นที่ที่เปนเขตอุตสาหกรรมทําใหประชาชนที่อยูในพื้นที่โครงการออกมาตอตาน และความขัดแยงเชิงนโยบายระหวางอุตสาหกรรมพลังงานกับอุตสาหกรรมทองเที่ยวที่ผลประโยชนทั้งสองนโยบายตอบสนองประชาชนในระดับที่ตางกัน อีกทั้งผลกระทบดานการทําประชาพิจารณเพราะการทําประชาพิจารณที่ไมไดเกิดจาก การมีสวนรวมของผูมีสวนไดเสียอยางแทจริง กลายเปนเพียงข้ันตอนการดําเนินโครงการของผูประกอบการเทานั้น นอกจากนี้ยังมีขอคนพบจากงานวิจัยดังนี้

1. การส่ือสารทางการเมืองจะมีประสิทธิภาพนั้นจําเปนตองมีการวิเคราะหผูรับสารในแตละกลุมวามีความตองการสารในเร่ืองใดบาง

2. การส่ือสารทางการเมืองเร่ืองพลังงานในอาวไทยมีการส่ือสารที่ไมสอดคลองกับความเปนจริง กลาวคือในดานของการส่ือสารใหเห็นแตประโยชนจากการขุดเจาะพลังงาน แตขอมูลดานผลกระทบที่เกิดจากโครงการไมมีการส่ือสารแตอยางใด

3. การส่ือสารทางการเมืองเ ร่ืองพลังงานสงผลตอวัฒนธรรมทางการเมือง ภาคประชาชน ทําใหเกิดการมีสวนรวมในการพิทักษรักษารักษาสภาพแวดลอมของชุมชนรวมทั้งการเรียกรองใหมีการแบงปนผลประโยชนอยางเปนธรรม

(3)

Abstract

Dissertation “Political Communication on Energy Resources in the gulf of Thailand : A case study between B.E. 2524 – 2553” was the political communication process analysis based on David K Berlo and Harold Lasswell’s concept. This study used qualitative research approach using information from documents and in-depth interview with government bodies, provincial energy offices, the governor, Petroleum Authority of Thailand’s representatives, industrial estate’s representatives, the public, and private development organization groups. The research objectives were: 1) to study the political and economic context affecting to the political communication on energy resources in the gulf of Thailand, and 2) to study the political communication process regarding energy resources in the gulf of Thailand.

The study found that the political communication on energy resources in the Gulf of Thailand : A case study between B.E. 2524 – 2553 was influenced from political and economic contexts because there were changes to both politics and economic for almost three decades which were major factors that allowed political communication with regards to energy the political communication process on energy resources in the gulf of Thailand, as made up of the sender, which was the government who took roles in determining the policy of energy bodies under government control. The message, which was related to government policy, that always changed depending on politic and economic situation, For example, the use of energy in the Gulf of Thailand for the nation's prosperity, the venture search of energy resources in the Thai-Malay joint venture, and the resolution of pollution problems pertaining the matters of energy preservation a renewable energy etc. the channel, which were television, printed matter, and the Internet were used by the energy bodies. And the receiver, which were consisted of energy industrial entrepreneurs interested in the energy Industries policies and projects for the information to invest on government megaprojects, operation specialists who were interested in the effects of project operation, and the general public. Consideration the effect of communication, most of the communication was a one way communication from the government in the form of a top-down process. This

(4)

causes a change in political communication on energy about the environment because the petrochemical industry caused the air, soil, and water pollution. The pollution causes health problems, for chemicals which were accumulated in the body trus increasing the risks of cancer and respiratory diseases. In terms of conflicts, the expansion of governmental energy industry and the effects from industry area made the people who lived in the project area came out for opposition. Also, the conflict of policy between energy and tourism industry on giving benefit to people was different. Moreover, the public hearing did not taken with the people who got the effects from the projects, but it was just the completing of public hearing process done by entrepreneurs. In addition, there were interesting findings as follow:

1. In order for political communication to be effective, the receivers demands must be analyzed.

2. Energy authority's political communication scenes do not correspond with the truth in shout a multitrack of facts were omitted. For example, were the information on the benefit of energy in the Gulf of Thailand, but there were no indications of its fall outs.

3. The political communication on energy resulted in the creation of a political culture that fosters the responsibility for conserving the community environment and the equitable distribution of benefits for all

(5)

กิตติกรรมประกาศ

ดุษฎีนิพนธเร่ือง “กระบวนการส่ือสารทางการเมืองเร่ืองพลังงานในอาวไทย : กรณีศึกษาในชวงป พ.ศ. 2524-2553” สําเร็จลงไดดวยความกรุณาจากบุคคลสําคัญหลายฝาย ซึ่งผูมีพระคุณทานแรกที่ผูวิจัยขอกราบขอบพระคุณเปนอยางยิ่ง คือทาน ดร.นันทนา นันทวโรภาส อาจารยที่ปรึกษาดุษฎีนิพนธที่คอยใหคําชี้แนะแนวคิด ติดตามทวงถาม ตลอดจนแกไขขอบกพรองตาง ๆ จนดุษฎีนิพนธเลมนี้สําเสร็จลงไดอยางสมบูรณ

ขอกราบขอบพระคุณทาน ศาสตราจารย ดร.ลิขิต ธีรเวคิน รองศาสตราจารย ดร.โคริน เฟองเกษม ดร. ขจร ฝายเทศ และ ดร. มาลินี สมภพเจริญ คณะกรรมการที่ใหขอเสนอแนะขัดเกลาเติมเต็มเพื่อใหดุษฎีนิพนธเลมนี้มีความสมบูรณตามหลักวิชาการมากยิ่งข้ึน

ขอบคุณหนวยงานภาครัฐ อาทิ กระทรวงพลังงาน กรมเชื้อเพลิงพลังงาน การปโตรเลียมแหงประเทศไทย ซึ่งเปนหนวยงานที่เกี่ยวของกับการดําเนินงานดานพลังงานของชาติ ที่ใหการสนับสนุนขอมูล ขอบคุณนายเสนีย จิตเกษม ผูวาราชการจังหวัดระยอง นายกฤษฎา บุญราช ผูวาราชการจังหวัดสงขลา นายประทีป เองฉวน ผูอํานวยการนิคมอุตสาหกรรมมาบตาพุด และประชาชน ผูมีสวนไดสวนเสียจากโครงการดานพลังงานของรัฐบาลทุกทาน ที่ไดใหขอมูล อันเปนคุณคาตอดุษฎีนิพนธ ซึ่งมิอาจกลาวถึงไดทั้งหมด

และที่ขาดไมไดขอกราบขอบพระคุณ นางเขียว บุญสุข นายพิน บุญสุข มารดา บิดา ผูใหการอบรมบมเพาะปลูกฝงรากฐานแนวความคิดการดําเนินชีวิตใหเกิดความมุงม่ัน มุมานะ ที่เปนพลังเสมอมา ขอบคุณ ภรรยาและบุตร ที่คอยเปนขวัญและกําลังใจในการศึกษาหลักสูตรปรัชญาดุษฎีบัณฑิตดวยดีตลอดเวลา บุญกุศลใดๆ อันเกิดจากประโยชนแหงดุษฎีนิพนธนี้ ขอมอบใหกับบรรพบุรุษ บิดา มารดา ครูบาอาจารย และผูมีพระคุณที่ใหความกรุณาทุกทาน

อดิเทพ บญุสุข มหาวิทยาลัยเกริก

พ.ศ. 2556

(6)

สารบญั

หนา บทคัดยอ .................................................................................................................... (1) กิตติกรรมประกาศ ....................................................................................................... (5) สารบัญตาราง ............................................................................................................. (9) สารบัญภาพประกอบ .................................................................................................. (10) บทที่

1. บทนํา ............................................................................................................ 1

ความเปนมาและความสําคญัของปญหา ................................................... 1 ปญหานําการวิจัย .................................................................................... 9 วัตถุประสงคของการวิจยั .......................................................................... 9 นิยามศัพทที่เกี่ยวของ ............................................................................... 10 ขอบเขตการวิจยั ....................................................................................... 11 ประโยชนที่คาดวาจะไดรับ ........................................................................ 11

2. แนวคิด ทฤษฎี และงานวิจัยที่เกี่ยวของ ............................................................ 12

แนวคิด ทฤษฎีการส่ือสาร และการส่ือสารทางการเมือง ............................... 12 แนวคิดเกี่ยวกับพลังงานน้ํามัน .................................................................. 27 งานวิจัยที่เกีย่วของ .................................................................................. 42 กรอบแนวคิดการวิจยั ................................................................................ 56

(7)

3. ระเบียบวิธีวิจัย ............................................................................................... 59

แนวทางการศึกษาวิจัย .............................................................................. 59 เคร่ืองมือที่ใชในการศึกษา ......................................................................... 60 กลุมผูใหขอมูล ......................................................................................... 62 การจัดกระทําขอมูล .................................................................................. 63 การตรวจสอบขอมูล.................................................................................. 64 การวิเคราะหขอมูล ................................................................................... 65 ขอจํากัดงานวิจยั ..................................................................................... 66

4. บริบททางการเมือง และเศรษฐกิจที่สงผลตอการส่ือสารทางการเมืองเร่ือง

พลังงานในอาวไทยในชวงป พ.ศ. 2524 – 2553 ................................................ 67

บริบททางการเมืองป พ.ศ. 2524 – 2553.................................................... 67 รัฐบาลพลเอกเปรม ตณิสูลานนท (2523-2531) .................................... 67 รัฐบาลพลเอกชาตชิาย ชุณหะวัณ (2531-2534) ................................. 71 รัฐบาลนายอานนัท ปนยารชนุ ............................................................ 75 รัฐบาลนายชวน หลีกภัย 1 (2535-2538) ............................................. 75 รัฐบาล พ.ต.ท.ทกัษิณ ชนิวัตร (2544-2549) ....................................... 81

บริบททางเศรษฐกจิป พ.ศ. 2524 – 2553................................................... 90

5. กระบวนส่ือสารทางการเมืองเร่ืองพลังงานในอาวไทยในชวงป พ.ศ. 2524-2553 . 99

ผูสงสาร (Sender) .................................................................................... 99 เนื้อหาสาร (Message) ............................................................................ 133 ชองทางการส่ือสารนโยบายพลังงาน (Channel) ......................................... 156 ผูรับสาร (Receiver) ................................................................................ 176 ผลกระทบ (Effect) .................................................................................. 179

(8)

6. สรุป อภิปรายผล และขอเสนอแนะ ................................................................... 231

สรุปผลการวิจัย ....................................................................................... 231 การอภิปรายผล ........................................................................................ 247 ขอคนพบจากการวิจัย .............................................................................. 257 ขอเสนอแนะ ............................................................................................. 261

บรรณานุกรม .............................................................................................................. 263

ภาคผนวก

ก. รายการผูรับสัมปทานและพื้นที่สัมปทานในทะเลอาวไทย พ.ศ. 2514-พ.ศ. 2555... 277 ข. ภาพการสัมภาษณผูใหขอมูล และการทําประชาพิจารณ ....................................... 282

ประวัติการศึกษา ......................................................................................................... 319

(9)

สารบญัตาราง ตารางที่ หนา

4.1 โครงการทอสงกาซ ....................................................................................... 78 5.1 ประเภทโครงการที่จะดําเนนิการจัดทําการรับฟงความคิดเห็น ......................... 164

(10)

สารบญัภาพประกอบ ภาพที ่ หนา

2.1 ตัวแบบพื้นฐานของการส่ือสาร SMCR Model ของ เดวิด เค. เบอรโล (David K. Berlo) ........................................................................................ 15

2.2 แบบจําลองการส่ือสารของเบอรโล ................................................................ 16 2.3 องคประกอบการส่ือสารทางการเมือง ............................................................ 20 2.4 แบบจําลองการส่ือสารทางการเมืองประยุกตของ นันทนา นันทวโรภาส.......... 22 2.5 แบบจําลองในการส่ือสารของ แชนนอน และ วีเวอร (Shannon and Weaver) . 24 2.6 แบบจําลองของ ฮารโรลด ลาสเวล (Harold Lasswell) .................................. 25 2.7 การส่ือสารทางการเมืองตามแนวคดิของ คารล ดับเบิ้ลย.ู ดอยทซ

(Karl W. Deutsch) ...................................................................................... 26 2.8 กรอบแนวคิดการวิจยั การส่ือสารทางการเมืองเร่ืองพลังงานในอาวไทย ........... 58 4.1 โครงสรางคณะกรรมการนโยบายพลังงานแหงชาติ (กพช.) ............................. 72 4.2 โครงสรางของ สพช. ที่ไดรับยกฐานะเปนหนวยงานถาวรระดับกรม

สังกัดสํานักนายกรัฐมนตรี ............................................................................ 73 4.3 โครงสรางกระทรวงพลังงาน ......................................................................... 82 4.4 เครือขายการดําเนินงานภายใต พ.ร.บ.สุขภาพแหงชาติ พ.ศ. 2550 ................. 89 5.1 ข้ันตอนการขอสัมปทาน ............................................................................... 143

1

บทท่ี 1

บทนํา

ความเปนมาและความสาํคัญของปญหา

พลังงานนับเปนปจจัยสําคัญที่จะสนับสนุนการพัฒนาใหมีประสิทธิภาพยิ่งข้ึนและจําเปนที่จะตองเสาะแสวงหาแหลงพลังงานใหไดอยูในระดับที่เพียงพอกับความตองการ วิกฤตน้ํามันในปจจุบันไดกอใหเกิดปญหาและความเดือดรอนโดยเฉพาะประเทศที่ดอยพัฒนาและไมมีทรัพยากรน้ํามันเปนของตัวเอง ประเทศไทยก็ยังมีพลังงานไมพอตอความตองการที่เพิ่มข้ึนอยางรวดเร็ว รัฐบาลและหนวยงานที่รับผิดชอบจึงไดเรงรัดที่จะหาแหลงพลังงานสํารองหรือทดแทนข้ึน เพื่อเพิ่มขีดความสามารถในการตอบสนองความตองการพลังงานที่เพิ่มข้ึนทุกขณะ ดังนั้นทรัพยากรในทะเลไมวาจะเปนน้ํามัน และกาซธรรมชาติมีความสําคัญข้ึนเปนลําดับ การสํารวจและขุดเจาะพลังงานในอาวไทยจึงมีความสําคัญและเรงดําเนินการ เพื่อใหเพียงพอตอ ความตองการ

ปญหาทาทายประการหนึ่งของประเทศกําลังพัฒนาภายใตการปกครองโดยระบอบประชาธิปไตยในหลายประเทศ คือการจัดสรรทรัพยากรเพื่อใหตอบสนองความตองการของคนในชาติ เม่ือเกิดความไมเทาเทียมในสังคม ทําใหเกิดกระแสการตอตานเรียกรอง และประชาชนไมนิ่งเฉยไมยอมตกเปนเหยื่อใหกับกลุมอํานาจตาง ๆ ที่หลอกลวงตบตาดังนั้นการสรางความสามัคคีและการหลีกเล่ียงความขัดแยงจึงเปนคานิยมสําคัญและเปนส่ิงที่ทาทายวาทําอยางไรรัฐหรือผูมีอํานาจจึงจะยอมรับการวิพากษวิจารณโดยถือวาทั้งหมดนี้เปนสวนหนึ่งของการพัฒนาและการจัดสรรทรัพยากรเปนไปพรอมกับการเติบใหญของกระบวนการประชาธิปไตยในภาคประชาชน1

เนือ่งจากปจจุบันประชาธิปไตยแบบมีสวนรวมใหความสําคัญอยางยิ่งตอการมีสวนรวมของประชาชนผูซึ่งมีสวนไดสวนเสียไดมีโอกาสแสดงทัศนะ และเขารวมในกิจกรรมตาง ๆ ที่มีผลตอชีวิตความเปนอยูของประชาชนอันควรที่จะนําความคิดเห็นดังกลาวไปประกอบการพิจารณาเปนนโยบายและการตัดสินใจของรัฐ

1อานันท ปนยารชุน, “ประชาธิปไตยที่ยั่งยืน,” ใน ประชาธิปไตยในระยะเปล่ียนผาน,

(กรุงเทพฯ: โอเพนบุคส, 2552).

2

การมีสวนรวมของประชาชนเปนกระบวนการส่ือสารในระบบเปด กลาวคือเปนการส่ือสารสองทางทั้งอยางเปนทางการและไมเปนทางการ ซึ่งประกอบไปดวยการแบงสรรขอมูลรวมกันระหวางผูมีสวนไดสวนเสียและเปนการเสริมสรางความสามัคคีในสังคมทั้งนี้ เนื่องจากการมีสวนรวมของประชาชนเปนการเพิ่มคุณภาพการตัดสินใจการลดคาใชจายและการสูญเสียเวลา เปนการสรางฉันทามติและทําใหงายตอการนําไปปฏิบัติ อีกทั้งชวยหลีกเล่ียงความขัดแยงชวยใหเกิดความนาเชื่อถือและความชอบและยังสงเสริมคานิยมและความคิดสรางสรรคของสาธารณชนซึ่งสอดคลองกับรัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักรไทย พ.ศ. 2550 ที่ไดบัญญัติ ไวในหมวด 3 สิทธิและเสรีภาพของปวงชนชาวไทย ในสวนที่ 10 สิทธิในขอมูลขาวสารและการรองเรียนในมาตรา 56-62 เชน ในมาตรา 56 บุคคลยอมมีสิทธิไดรับทราบและเขาถึงขอมูลขาวสารสาธารณะในครอบครองของหนวยงานราชการหนวยงานของรัฐ รัฐวิสาหกิจ หรือราชการสวนทองถิ่นเวนแตการเปดเผยขอมูลหรือขาวสารนั้นจะกระทบตอความม่ันคงของรัฐความปลอดภัยของประชาชน หรือเปนขอมูลสวนบุคคล ทั้งนี้ตามที่กฎหมายบัญญัติสวนประกอบที่สําคัญของการมีสวนรวมคือ สาธารณชนมีสวนรวมในการตัดสินใจคานิยมและความหวงกังวลของสาธารณชนไดนําไปเปนสวนประกอบของการตัดสินใจขององคกรมีสวนรวมในการตัดสินใจ “เชิงการบริหาร” มีการส่ือสารสองทาง มีปฏิสัมพันธมีการสานเสวนา (Dialogue) มีการประสานความรวมมือ

ปจจุบันประเทศไทยไดเปล่ียนแปลงไปอยางมากทั้งทางดานเศรษฐกิจ สังคม การเมือง วัฒนธรรมและวิถีชีวิต หลังจากที่ประเทศไทยไดเร่ิมใชแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติ เปนกรอบและแนวทางในการพัฒนาประเทศ โดยไดเร่ิมจัดทําแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติ ฉบับที่ 1 ข้ึนเปนคร้ังแรก พ.ศ. 2504 หลังจากนั้น ไดวางแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติ ติดตอมารวมทั้งหมด 10 แผน ปจจุบันอยูในระหวางการใชแผนพัฒนาฯ 10 ซึ่งไดเร่ิมใชตั้งแตป 2550 และจะไปส้ินสุดในป 2554 แผนพัฒนาแตละแผนมีวัตถุประสงค เปาหมาย แนวนโยบาย และมาตรการที่ถูกปรับเปล่ียน เพื่อใหสอดคลองและเหมาะสมกับภาวะเศรษฐกิจและสังคมอยางตอเนื่อง โดยแผนพัฒนาฯ ฉบับที่ 1-3 จะเนนการลงทุนในโครงสรางพื้นฐาน แผนพัฒนาฯ ฉบับที่ 4-6 เนนการฟนฟูเศรษฐกิจ ขยายการผลิต สงเสริมการสงออก แผนพัฒนา ฯ ฉบับที่ 7 เนนสมดุลระหวางการพัฒนาเชิงปริมาณ คุณภาพ และความเปนธรรมในสังคม ทั้ง 3 มิติควบคูกันไป แผนพัฒนาฯ ฉบับที่ 8-9 เนนการพัฒนาที่ยั่งยืนและความอยูดีมีสุขของคนไทย โดยใหความสําคัญกับการพัฒนาแบบองครวมที่ยึดคนเปนศูนยกลางในการพัฒนา และการพัฒนาอยางดุลยภาพ ทั้งทางดานเศรษฐกิจ สังคม การเมือง และส่ิงแวดลอม ซึ่งผลของการพัฒนาดังกลาวมีผลกระทบทั้งทางดานบวกและลบของทุกพื้นที่ของประเทศ

3

แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติ ฉบับที่ 10 รัฐบาลไดแถลงนโยบายตอ สภานิติบัญญัติแหงชาติ2 ในสวนของนโยบายดานพลังงานวา "จะสงเสริมประสิทธิภาพและประหยัดการใชพลังงาน จะพัฒนาและใชประโยชนพลังงานทดแทนการสํารวจและพัฒนาแหลงพลังงานทั้งภายในประเทศและนอกประเทศรวมถึงเขตพัฒนารวมกันกับประเทศเพื่อนบาน การสงเสริมการใชพลังงานสะอาดการกําหนดโครงสรางราคาพลังงานที่เหมาะสม และการกําหนดโครงสรางบริหารกิจการพลังงาน โดยแยกงานนโยบายและการกํากับดูแลใหมีความชัดเจน รวมทั้งสงเสริมการแขงขันในธุรกิจพลังงานในระยะยาวและการศึกษาวิจัย “พลังงานทางเลือก" เพื่อใหเกิดความชัดเจนในการดําเนินงานกระทรวงพลังงานจึงไดจัดทํานโยบายและแผนพัฒนาพลังงานของประเทศโดยแบงนโยบายพลังงานออกเปน 2 ระยะคือ มาตรการที่ตองดําเนินการทันทีซึ่งเปนนโยบายเรงดวนเพื่อแกปญหาพลังงานของประเทศและมาตรการที่ตองดําเนินการในระยะตอไปเปนนโยบายเพื่อการวางพื้นฐานการพัฒนาพลังงานของประเทศใหมีความม่ันคงและยั่งยืนสอดคลองกับ หลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง

จากการประเมินผลการพัฒนาในชวง 5 ทศวรรษที่ผานมา ชี้ใหเห็นอยางชัดเจนถึงการพัฒนาของประเทศที่ผานมาวาประสบผลสําเร็จเฉพาะในเชิงปริมาณ แตขาดดานคุณภาพ กลาวคือการพัฒนาทําใหเกิดความเจริญเติบโตและการพัฒนาเศรษฐกิจในทางที่ดี ข้ึน แตขณะเดียวกันก็กอใหเกิดปญหา ที่ยากตอการแกไขในหลายดาน อาทิเชน ความเหล่ือมลํ้าของการกระจายรายได ความยากจน การเปล่ียนแปลงวิถีชีวิต และพฤติกรรมของสังคมไทยที่ตกอยูในกระแสการบริโภคนิยมและวัตถุนิยมมากข้ึน การสูญเสียวัฒนธรรม คานิยมและวิถีชีวิตที่ดีงามของชุมชน การลมสลายของสถาบันครอบครัว กอใหเกิดปญหาทางศีลธรรมและปญหาสังคมมากข้ึน ตลอดจนความเส่ือมโทรมของ “ทรัพยากรธรรมชาติและส่ิงแวดลอมที่รุนแรง” จากปญหาที่เกิดข้ึนสะทอนใหเห็นถึงทิศทางการพัฒนาที่ผานมาที่ขาดสมดุล ในหลาย ๆ ดาน ขาดสมดุลในการกําหนดเปาหมายในการพัฒนา ขาดสมดุลในการกําหนดภาคของการพัฒนา ขาดสมดุลของการมีสวนรวมในการกําหนดนโยบายการพัฒนา ขาดสมดุลในแงการนํา “ทฤษฎี” มาใชกับสภาพเปนจริง หรือวิถีชีวิตและศักยภาพที่แทจริงของประเทศ มองขามมติของชุมชน ภูมิปญญาทองถิ่น วิถีชีวิต จึงทําใหปญหาเกิดข้ึนตามมามากมาย

2มติคณะกรรมการนโยบายพลังงานแหงชาติ คร้ังที่ 4/2549 (คร้ังที่ 107), วันจันทรที่

6 พฤศจิกายน พ.ศ. 2549.

4

การคนหาน้ํามันและความตองการน้ํามันอยางไมรูพอของมนุษยเปนการทําลายธรรมชาติแวดลอมหรือไม เปนองคความรูใหมที่ตองศึกษาไมอาจคาดเดาวาอาจจะเปนประเด็นหนึ่งที่ทําใหธรรมชาติเปล่ียนแปลงกลายเปนภาวะวิกฤติของโลก

แตคงไมอาจปฏิเสธไดวา น้ํามันคือทรัพยากรธรรมชาติที่สําคัญมากของโลกปจจุบัน เพราะมันเปนเชื้อเพลิงที่มีประสิทธิภาพสําหรับเคร่ืองยนต เคร่ืองจักรกล ยวดยานพาหนะ การผลิตไฟฟา และกระบวนการผลิตในระบบอุตสาหกรรม บรรดาสินคาสําเร็จรูปหรือวัสดุอุปกรณตาง ๆ ไมวาเคร่ืองนุงหม เคร่ืองใชไฟฟา คอมพิวเตอร ยารักษาโรค เคมีภัณฑ อาวุธยุทโธปกรณ แมกระทั่งอาหารหรือสินคาเกษตร เม่ือสาวไปถึงตนตอจะพบวามีน้ํามันเปนปจจัยสําคัญในการผลิตทั้งส้ิน เม่ือเกิดวิกฤตการณน้ํามันขาดแคลนหรือข้ึนราคาอยางรุนแรงแตละคร้ัง ส่ิงที่ตามมาคือความโกลาหลวุนวายทั่วโลก สินคาข้ึนราคา เศรษฐกิจตกต่ํา เงินเฟอ การวางงาน บางประเทศผูคนเดือดรอนถึงข้ันกอเหตุจลาจล ยิ่งประเทศอุตสาหกรรมยิ่งตองการบริโภคน้ํามันจํานวนมหาศาล จึงไมแปลกที่ประเทศมหาอํานาจ จะพยายามแผอิทธิพล เขาครอบงําประเทศเจาของทรัพยากรน้ํามัน สงครามระหวางประเทศ หรือความวุนวายในประเทศตาง ๆ ที่ผานมา หลายคร้ัง โดยเฉพาะพื้นที่แถบตะวันออกกลาง แทจริงมีเบื้องหลังอยูที่การแกงแยงผลประโยชนของแหลงน้ํามัน

มีการวิเคราะหวาแหลงพลังงานหลักของโลก โดยเฉพาะแหลงน้ํามันตะวันออก กลางจะหมดไปในระยะเวลาประมาณ 50 ป3 (แตนักวิทยาศาสตรเชื่อวามีน้ํามันสํารองที่ยังสํารวจไมพบอีกมาก) นับวาเวลาส้ันมากเม่ือเปรียบเทียบกับกระบวนการธรรมชาติที่กอรางสรางตัวใหเกิดน้ํามันและกาซธรรมชาติซึ่งตองใชเวลานับลานป

ประเทศตะวันออกกลางดําเนินการปรับราคาและกระบวนการผลิตน้ํามัน ใหเกิด กําไรสูงสุดกอนที่รายไดของพวกเขาจะหมดไป ในขณะที่ประเทศสหรัฐอเมริกาและประเทศ ยุโรปสะสมน้ํามันสํารองเต็มพิกัดเพื่อปองกันสภาวะขาดแคลนพลังงานในอนาคต กลยุทธทาง การเมืองระหวางประเทศเขมขนข้ึนจากการแสวงหาแหลงพลังงานของโลกเปรียบ เสมือนยุค การลาอาณานิคมใหมโดยมีพลังงานเปนเดิมพัน สําหรับประเทศไทยในอดีตเคยมีการสํารวจแหลงกาซธรรมชาติในอาวไทยที่มีมหาศาลเม่ือป พ.ศ. 2524 พลเอกเปรม ติณสูลานนท นายกรัฐมนตรีในสมัยนั้นไดกลาวถึงอนาคตของประเทศไทยวาจะ “โชติชวงชัชวาล” แตในปจจุบันก็พิสูจนแลววาประชาชนชาวไทยยังไมไดประโยชนเทาที่ควร ผลประโยชนมหาศาลกลับไปอยูที่บริษัทน้ํามัน

3สถาบันปโตรเลียมแหงประเทศไทย, รอบรูเร่ืองปโตรเลียม, (กรุงเทพฯ: มีเดียทรานส

เอเชีย, 2541).

5 ตางชาติหรือหนวยงานพลังงานบางแหงที่มีตางชาติ เปนผูดําเนินการอยู เทานั้น4 ผลจากปรากฏการณจริงตรงนี้ทําใหเห็นถึงปญหาของการส่ือสารทางการเมืองกับความจริงที่เกิดข้ึน ปจจุบันแหลงพลังงานอาวไทยเปนแหลงขนาดเล็ก มีความลึกเฉล่ียของชั้นหินทรายประมาณ 2.5-3.0 กิโลเมตร มีการผลิตน้ํามันดิบในอาวไทยเฉล่ียอัตราวันละ 128,000 บารเรลจาก 11 แหลง ซึ่งตองใชหลุมผลิตจํานวน 476 หลุม เทากับมีอัตราการไหลเฉล่ียเพียงหลุมละ 300-500 บารเรลตอวัน5

พื้นที่บริเวณอาวไทย เปนแหลงผลิตและประกอบการอุตสาหกรรมพลังงานมากที่สุด ซึ่งในการศึกษาคร้ังนี้ผูศึกษามุงเนนศึกษาพื้นที่อาวไทยโดยเฉพาะที่จังหวัดสงขลา จังหวัดสุราษฎรธานี และจังหวัดระยอง ซึ่งมีโครงการ และเหตุการณตาง ๆ เกิดข้ึนอยูบอยคร้ังไมวาจะเปนปญหาดานส่ิงแวดลอม ผลกระทบตอวิถีชีวิตของคนในพื้นที่ การชุมนุมประทวง ตลอดจนการขัดแยงทางความคิดระหวางอุตสาหกรรมการทองเที่ยวและอุตสาหกรรมพลังงาน เปนตน นอกจากนี้ ยังเกี่ยวของกับผลประโยชนที่จะตกอยูกับผูมีอํานาจ

รวมทั้งยังมีปญหาการแปลงสัมปทานที่ขออนุญาตขุดเจาะสํารวจใหมป 2553 ซึ่งอยูในบริเวณใกลกับแหลงทองเที่ยว สงผลกระทบตอส่ิงแวดลอมและธุรกิจการทองเที่ยวอยางมากจากปญหานี้หากหนวยงานที่เกี่ยวของไมมีนโยบายการแกไขปญหาหรือ มาตรการรองรับอยางจริงจังอาจเกิดปญหาสงผลตอวิถีชีวิตของชุมชนและภาคการทองเที่ยวได กระทรวงพลังงานควรใหความสําคัญตอการใชพลังงานทดแทนใหมากข้ึนจะ ไดไมตองผลิตพลังงานที่สรางผลกระทบตอประชาชนและปญหาที่อาจจะเกิดข้ึนดังเชนกรณีการร่ัวไหลของน้ํามันที่แทนขุดเจาะของบีพีใน อาวเม็กซิโก6 (เกิดเหตุระเบิดที่แทนขุดเจาะน้ํามัน Vermilion Oil หมายเลข 380 ของบริษัทมารินเนอร เอ็นเนอรจี สงผลใหเกิดน้ํามันร่ัวคร้ังใหญที่สุดในประวัติศาสตรของสหรัฐในอาวเม็กซิโก)

หากกระทรวงพลังงานไมเปดรับฟงความคิดเห็นของประชาชนอยางรอบดาน ผลกระทบที่อาจจะเกิดข้ึนโดยเฉพาะผลกระทบดานส่ิงแวดลอม สวนการหาพลังงานทดแทนกระทรวงพลังงานก็ไมไดมีการดําเนินการอยางตอเนื่องรอบดานเชนกันแมวาจะอนุมัติแผน

4ระหัตร โรจนประดิษฐ, “แหลงพลังงานในอาวไทย,” นาวิกศาสตร สํานักงาน

ราชนาวิกสภา ปที่ 91 เลมที่ 11 (พฤศจิกายน 2551). 5กระทรวงพลังงาน, “รัฐมนตรีวาการกระทรวงพลังงานยืนยันการเจาะหลุมน้ํามันใน

อาวไทยมีความปลอดภัยและเปนไปตามมาตรฐานสากล,” วารสารคนพลังงาน ฉบับที่ 2 ปที่ 5 (2553), น. 6.

6หนังสือพิมพสมิหลาไทมส ฉบับที่ 407 (13-19 มีนาคม 2553).

6 พลังงานทดแทน 15 ป (2551-2565) เพื่อลดสัดสวนการใชพลังงานที่ใชอยูในปจจุบันและจะเพิ่มสัดสวนการใช พลังงานทดแทนในอนาคตก็ตามเพราะยังไมมียุทธศาสตรแผนรองรับในดานวัตถุดิบที่จะมารองรับการผลิตพลังงานทดแทนพรอมทั้งความสัมพันธตอกันในแตละกระทรวงที่มีสวนเกี่ยวของและรับผิดชอบ

กรณีเกาะสมุยกอนหนานี้ไดถูกรับเลือกจากรัฐบาลใหเปนพื้นที่ศึกษา 1 ใน 5 ของพื้นที่นํารองเพื่อจัดตั้งการปกครองพิเศษที่เปนเมืองทองเที่ยวและนําเสนอ “องคกรปกครองสวนทองถิ่นรูปแบบพิเศษ” เมืองเกาะสมุยซึ่งบทสรุปจากทองถิ่นเบื้องตนไดเสนอทิศทางของเมืองเกาะสมุย ใหเปนศูนยกลางเชิงนิเวศนทางทะเลและการทองเที่ยวเชิงสุขภาพที่มี มาตรฐานสากล และมีการพัฒนาที่มีความสมดุล โดยมีทุกภาคสวนเปนหุนสวนในการพัฒนาเปนเกาะสีเขียว “นี่เปนการสงสัญญานของรัฐดวยการส่ือสารในรูปแบบที่มีนัยสําคัญ” สรางความหวังใหประชาชนแตในทางตรงกันขามกลับปลอยใหมีการสัมปทานการขุดเจาะน้ํามันและกาซธรรมชาติ7 (แปลงสัมปทานที่ไดรับอนุญาตกอนป 2553 ไดแก 1. แปลงสัมปทาน G4/50 ของบริษัทเชฟรอน หางจากเกาะพะงัน 65 กิโลเมตร และหางจากเกาะสมุย 68 กิโลเมตร 2. แปลงสัมปทาน G6/48 ของบริษัท เพิรลออย (อมตะ) หางจากเกาะพะงัน 113 กิโลเมตรและเกาะสมุย110 กิโลเมตร สวนแปลงสัมปทานที่ยื่นขออนุญาตขุดเจาะสํารวจใหมในป 2553 ที่อยูระหวางการศึกษาผลกระทบตอส่ิงแวดลอม (EIA) ไดแก 1. แปลงสัมปทาน B8/38 ของบริษัท Salamander หางจากเกาะเตาไปทางทิศตะวันออกเฉียงเหนือ 65 กิโลเมตร 2. แปลงสัมปทาน G5/50 ของบริษัท นิวคอสตอล หางจากเกาะสมุยไปทางทิศตะวันออกเฉียงใต 42 กิโลเมตร (สําหรับแปลงนี้กําลังเปนประเด็นสําคัญของการขุดเจาะหลุมน้ํามัน) อาจจะสงผลกระทบตอส่ิงแวดลอมในวงกวาง และมีผลกระทบตอจํานวนนักทองเที่ยวที่จะเขามา แมมูลคาที่จะไดรับจากการขุดเจาะน้ํามันและกาซธรรมชาติจะมากมายเพียงใด ก็คงไมคุมคาหากจะตองเสียทรัพยากรธรรมชาติที่สวยงามไป

อีกกรณีหนึ่ง คือกรณีโรงแยกกาซ อําเภอจะนะ จังหวัดสงขลาที่สรางข้ึนมาภายใตความขัดแยงอยางรุนแรงของคนในพื้นที่และไมมีแนวโนมวาจะสงบลงไดจนถึงปจจุบันกลายเปนสวนหนึ่งของปญหาสามจังหวัดชายแดนภาคใต ยังคงรวมไปถึงผลกระทบดานส่ิงแวดลอมมากมายโดยรัฐบาลส่ือใหประชาชนยอมรับวามีความจําเปนไมอาจที่จะหยุดยั้งการกอสรางกอนหนานี้เพราะประเทศมีความจําเปนอยางยิ่งที่จะตองใชพลังงาน ขณะในความเปนจริงจนถึงปจจุบันเราไมไดนํากาซจากแหลง JDA มาใชตามที่ไดกลาวตามวัตถุประสงค กลับสงไปให

7กรมเชื้อเพลิงธรรมชาติ, รายงานประจําป 2551, (กรุงเทพฯ: กระทรวงพลังงาน,

2555).

7 “ประเทศมาเลเซีย” ใชมาตลอดโดยวางทอสงกาซระยะทาง 88 กิโลเมตร คูขนานไปกับเสนทางขามฟากไปทางอําเภอสะเดา จังหวัดสงขลานั่นเอง รัฐบาลไมไดอธิบายใหประชาชนทราบ แตประการใดวามันเกิดอะไรข้ึน และคุมคาหรือไมกับความขัดแยงแตกแยกของคนในชาติและส่ิงแวดลอมที่ตองสูญเสียไป

ภายใตสภาวะวิกฤติการเมืองที่สังคมสวนใหญสนใจแตเ ร่ืองปากทองปญหาเศรษฐกิจในชีวิตประจําวันขณะอีกทางหนึ่งเปนไปไดวากลับถูกกลุมบุคคลผูมีอํานาจฉวยโอกาสแสวงหาประโยชนจากทรัพยากรของชาติโดยไมคํานึงถึงผลกระทบที่รายแรงตอสังคมและประชาชนในพื้นที่บริเวณดังกลาวรวมไปถึงสภาวะแวดลอมของชาติที่จะตามมาภายหลังอยางไมอาจจะประมาณไดทุกอยางนั้นข้ึนอยูกับวารัฐตองการจะเปดดานไหนใหสวางและตองการปดดานไหนใหมืดตอไปภายใตอํานาจของพลังงานและผลประโยชนมหาศาลในอาวไทย

ดังนั้น การส่ือสารของภาครัฐกับความเปนจริงที่เกิดข้ึนเกี่ยวกับพลังงานในอาวไทยตั้งแตอดีตจนถึงปจจุบันที่กลาวมาแลวขางตนไดเปดกวางใหประชาชนคนในชาติผูเปนเจาของทรัพยากรหากแตอาจจะขาดองคความรูในเร่ืองดังกลาวรัฐไดใหขอมูลขาวสารตรงกับความเปนจริงเพียงพอมากนอยเพียงใดซึ่งอาจจะตองมีผลกระทบโดยตรงกับประชาชนในบริเวณพื้นที่ใกลเคียงหรือแมกระทั่งสภาพแวดลอมโดยรวมส่ิงตาง ๆ เหลานี้อาจเปนปญหาที่เกิดจากแนวทางการบริหารจัดการการพัฒนาประเทศที่ผานมาไมมีนโยบายการแกไขปญหาหรือ มาตรการอ่ืน ๆ รองรับส่ิงที่อาจเกิดผลรายตอวิถีชีวิตของชุมชนโดยเฉพาะภาคการทองเที่ยว ซึ่งเปนรายไดหลักของประเทศ กระทรวงพลังงานควรใหความสําคัญตอการใชพลังงานทดแทนใหมากข้ึนอยางเปนรูปธรรมเพื่อจะไดมีทางเลือกในการลดพลังงานที่สรางผลกระทบตอประชาชนและธรรมชาติแวดลอมในอาวไทยและโดยเฉพาะบริเวณชายฝง ซึ่งมีผลกระทบทั้งทางดานเศรษฐกิจ สังคม การเมือง

การสรางความเขาใจถึงสถานการณพลังงานของไทย การส่ือสารจึงเปนปจจัยสําคัญที่จะทําใหสังคมรับรูความจริงเกี่ยวกับอุตสาหกรรมพลังงาน ซึ่งตางกลุมตางมีมุมมองที่แตกตางกัน ดังนั้นกลุมผูมีอํานาจโดยเฉพาะรัฐบาลนักการเมืองทองถิ่นตองการจะส่ือสารอยางไรใหครอบคลุมขอมูลรอบดาน ในกระแสของการตอตานอุตสาหกรรมพลังงานเพื่อจรรโลงโลกใหเปนโลกที่มีความบริสุทธิ์ทางอากาศ กับความจําเปนดานพลังงานตอการพัฒนาเศรษฐกิจของชาติจึงเปนส่ิงที่ขัดแยงกันโดยส้ินเชิง และการส่ือสารทางการเมืองก็ยังมีความจริงที่ยังไมสมบูรณ ซึ่งตองมีการเผยแพรใหรอบดาน การส่ือสารมีอิทธิพลในทางการเมืองเพราะการส่ือสารทางการเมืองเกี่ยวของกับผลประโยชน เพราะผูที่มีอํานาจในการกําหนดนโยบายคือรัฐบาล ประกอบกับอุตสาหกรรมพลังงานเปนอุตสาหกรรมที่เกี่ยวของกับผลประโยชนทางธุรกิจจํานวนมาก

8 การเมืองเปนเร่ืองของการจัดสรรแบงปนส่ิงที่มีคุณคาเพื่อสังคม ตามทรรศนะของอริสโตเติล (Aristotle) ที่เห็นความสัมพันธทางการเมืองเปนเร่ืองของความสัมพันธที่เกี่ยวกับอํานาจและผลประโยชน8

การส่ือสารทางการเมืองถูกนํามาใชเปนเคร่ืองมือในทางการเมือง ตั้งแตสมัยกรีกโบราณ ในรูปของวาทวิทยา ดังจะเห็นไดจากงานเขียนเร่ือง Apologia ของเพลโต (Plato) ไดแสดงใหเห็นถึงถอยคําของ โซเครตีส (Socrates) ที่กลาวตอบโตศาลแหงนครรัฐเอเธนสในการกลาวแกใหตนเองพนผิดจากขอกลาวหาวา กระทําการยุยงปลุกปนเยาวชนใหหลงผิดและสรางความคิด อันวิปริตข้ึนในสังคม (Irony) มีการใชถอยคําเพื่อตอบโตทางการเมือง ซึ่งอาจเปนการส่ือสารทางการเมืองในอดีตที่มีขอจํากัดจากเทคโนโลยีทางการส่ือสาร แตเปาหมายของการส่ือสารมิได ผิดแผกแตกตางไปจากเปาหมายของการส่ือสารในปจจุบัน9 กระแสความสนใจของประชาชนตออุตสาหกรรมพลังงานก็เปนอีกอยางหนึ่งที่จะที่ทําใหผูมีอํานาจในกระบวนการส่ือสารทางการเมืองเพื่อสรางความชอบธรรมและแสวงหาผลประโยชนทางการเมืองใหกับตนเองและพวกพอง

การส่ือสารเปนกระบวนการทางสังคมที่ เกี่ยวของกับการแลกเปล่ียนขอเท็จจริง ทัศนะและความคิดเห็น ตลอดจนประสบการการณตาง ๆ จากบุคคลหนึ่งไปสูอีกบุคคลหนึ่งนอกจากนั้นการส่ือสารยังเปนกระบวนการที่มีความสําคัญตอมนุษยทั้งในดานการดําเนินชีวิต สังคม วัฒนธรรม เศรษฐกิจ การเมือง และการศึกษา การส่ือสารจึงเปนกระบวนการพิเศษ หรือเปนฟนเฟองของเคร่ืองจักรกลทางสังคมที่กอใหเกิดปฏิกิริยาสัมพันธกันในระหวางมนุษยชาติ และทําใหมนุษยสามารถดํารงชีพอยูในสังคมได อีกทั้งทําใหสังคมดําเนินตอไปไดอยางไมหยุดยั้ง การส่ือสารยังไดรับการยอมรับอยางกวางขวางวา เปนพลังหลักสําคัญในการพัฒนาประเทศทั้งนี้เพราะการส่ือสารถูกนํามาใชเปนเคร่ืองมือ และวิธีการในการที่จะกอใหเกิดการพัฒนา เปล่ียนแปลง และความเจริญกาวหนาในดานตาง ๆ ทําใหประชาชนไดรับขอมูลขาวสารที่จําเปนแกการดํารงชีวิต มีความรู ความเขาใจในส่ิงตาง ๆ รวมทั้งสามารถเปล่ียนแปลงความคิดเห็นหรือทัศนคติของบุคคลตลอดจนอาจทําใหเกิดความเปล่ียนแปลงในวิถีชีวิตและแบบแผนแหงความเปนอยูทั้งในดานเศรษฐกิจ สังคม และการเมือง แหลงพลังงานในอาวไทยมีความสําคัญตอการพัฒนาประเทศที่ผานมากวา 3 ทศวรรษ จนทําใหประเทศไทยมีความกาวหนาทางเศรษฐกิจ และการขยายตัว

8จุมพล หนิมพานิช, กลุมผลประโยชนกับการเมืองไทยแนวเกาแนวใหมและ

กรณีศึกษา, (กรุงเทพฯ: จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย 2552), น. 70-71. 9สุรพงษ โสธนะเสถียร, การส่ือสารกับการเมือง, พิมพคร้ังที่ 6, (กรุงเทพฯ:

ประสิทธิ์ภัณฑ แอนดพร้ินติ้ง, 2545), น. 26-27.

9 ภาคอุตสาหกรรมนับตั้งแตอุตสาหกรรมตนน้ํา เชน การสํารวจขุดเจาะพลังงาน กลางน้ํา โรงแยกกาซ โรงกล่ัน โรงไฟฟา และปลายน้ํา อุตสาหกรรมปโตรเคมี อุตสาหกรรมเหล็ก อุตสาหกรรมรถยนต จนทําใหประเทศไทยกลายเปนฐานผลิตสําคัญสินคาสําคัญสําหรับสงออก ตางจากอดีตเม่ือคร้ังที่ประเทศไทยยังไมคนพบแหลงพลังงานในอาวไทยและยังไมสามารถนําพลังงานข้ึนมาใชประเทศไทยนําเขาเปนสวนใหญ เม่ือสามารถนําพลังงานจากอาวไทยมาใชประโยชนไดจึงเปน การลดภาระการนําเขาพลังงานและวัตถุดิบอุตสาหกรรมปโตรเคมี อยางไรก็ตามในขณะที่พลังงานมีผลตอเศรษฐกิจและสงผลตอการประเทศในดานความเจริญดานอุตสาหกรรม แตในอีกแงมุมหนึ่งเกิดกระแสการตอตานอุตสาหกรรมพลังงาน อันเนื่องมากจากผลกระทบในดานตาง ๆ ทั้งเร่ืองของส่ิงแวดลอม ความขัดแยงนโยบายระหวางนโยบายดานพลังงานและนโยบายดานการทองเที่ยว หรือผลกระทบจากการประชาพิจารณ เปนตน

จากความสําคัญขางตนทําใหผูวิจัยสนใจที่ศึกษาถึงกระบวนการส่ือสารทางการเมืองเร่ืองพลังงานในอาวไทย ในชวงป พ.ศ. 2524-2553 วามีกระบวนการส่ือสารทางการเมืองอยางไร และมีผลกระทบจากการส่ือสารอยางไรบาง ซึ่งผลของการศึกษาจะไดเปนองคความรูใหมดานการส่ือสารทางการเมืองตอไป

ปญหานําการวิจัย

1. บริบททางทางเศรษฐกิจการเมืองประการใดที่สงผลตอการส่ือสารทางการเมือง

เร่ืองพลังงานในอาวไทยในชวงป พ.ศ. 2524 - 2553 2. กระบวนการส่ือสารทางการเมืองเร่ืองพลังงานในอาวไทยในชวงป พ.ศ.2524 –

2553 เปนอยางไร

วัตถุประสงคของการวิจัย ในการศึกษา “กระบวนการส่ือสารทางการเมืองเร่ืองพลังงานในอาวไทย : กรณีศึกษา

ในชวงป พ.ศ. 2524-2553” ผูวิจัยมีวัตถุประสงค ดังนี้ 1. เพื่อศึกษาบริบททางการเมืองและเศรษฐกิจที่สงผลตอการส่ือสารทางการเมือง

เร่ืองพลังงานในอาวไทยในชวงป พ.ศ. 2524 - 2553 2. เพื่อศึกษากระบวนการส่ือสารทางการเมืองเร่ืองพลังงานในอาวไทย ในชวงป

พ.ศ. 2524 - 2553

10

นิยามศพัทท่ีเกี่ยวของ

การสื่อสารทางการเมือง หมายถึง กระบวนการส่ือสารเกี่ยวกับพลังงานในอาวไทยของหนวยงานภาครัฐผานส่ือมวลชนไปยังประชาชน ในชวงป พ.ศ. 2524-2553

กระบวนการสื่อสาร หมายถึง การสงสารจากผูสงสารไปยังผูรับดวยส่ือตาง ๆ และมีผลกระทบตอผูรับสาร ซึ่งในที่นี้หมายถึง ผลกระทบดานส่ิงแวดลอม ดานสุขภาวะ ดานการทองเที่ยว ดานความขัดแยง และดานประชาพิจารณ

ผูสงสาร หมายถึง ผูสงขอมูลขาวสารเร่ืองพลังงานในอาวไทยในชวงป พ.ศ. 2524 ถึง 2553 ซึ่งประกอบดวย รัฐบาล หนวยงานดานพลังงาน เชน กระทรวงพลังงาน การปโตรเลียมแหงประเทศไทย ผูวาราชการจังหวัดที่อยูในเขตชายฝงทะเลอาวไทย

เน้ือหาสาร หมายถึง ขอมูล ขาวสาร เร่ืองพลังงานในอาวไทยที่ผูสงสารส่ือสารออกไปยังผูรับสาร ไดแก นโยบายดานพลังงาน การสัมปทานสํารวจขุดเจาะ โครงการของรัฐบาลดานพลังงาน ผลประโยชน และการรณรงคการอนุรักษพลังงาน เปนตน

ชองทางการสื่อสาร หมายถึง ชองทางที่นําพาเนื้อหาสารดานพลังงานในอาวไทยไปสูผูรับสาร ซึ่งมีหลายชองทาง เชน ส่ือโทรทัศน ส่ือส่ิงพิมพ ส่ืออินเตอรเน็ต ทั้งนี้ตองเปนกลไกของส่ือมวลชน และของหนวยงานภาครัฐเปนผูจัดทําข้ึน

ผูรับสาร หมายถึง ผู รับขอมูลขาวสารเกี่ยวกับพลังงาน ไดแก ผูประกอบการอุตสาหกรรมพลังงานตองการรับขอมูลดานนโยบายเพื่อประโยชนทางธุรกิจ ประชาชนทั่วไปตองรับรูขาวสาร สถานการณดานพลังงาน และประชาชนที่อยูในพื้นที่ที่ดําเนินโครงการดานพลังงานที่รัฐบาลมีนโยบาย ส่ือมวลชน องคกรเอกชน เพื่อตองการทราบผลกระทบที่จะเกิดข้ึนเม่ือมีโครงการในพื้นที่ที่ตนอาศัยอยู

ผลกระทบ หมายถึง ปรากฏการณที่เกิดข้ึนอันเนื่องมาจากการส่ือสารทางการเมืองเร่ืองพลังงานในอาวไทย ชวงป พ.ศ. 2524-2553 ที่ประกอบดวย ผลกระทบดานส่ิงแวดลอม ผลกระทบดานสุขภาพของประชาชน ผลกระทบดานการทองเที่ยว ผลกระทบดานผลประโยชน และผลกระทบดานการทําประชาพิจารณ เปนตน

พลังงานในอาวไทย หมายถึง แหลงผลิตขุดเจาะพลังงานในอาวไทยที่อยูในความรับผิดชอบของประเทศไทย ประกอบดวยปโตรเลียม กาซธรรมชาติ

11

ขอบเขตการวิจัย

การศึกษาวิจัยคร้ังนี้อยูในขอบเขตของการส่ือสารทางการเมืองเร่ืองพลังงานใน อาวไทย ตัง้แตป พ.ศ. 2524 ถึงป พ.ศ. 2553 เปนการศึกษาเพื่ออธิบายการส่ือสารทางการเมือง โดยมุงเนนศึกษาถึงบริบททางการเมืองและเศรษฐกิจที่สงผลถึงกระบวนการส่ือสารทางการเมืองตามกรอบแนวคิดของเดวิด เค เบอรโล (David K. Berlo) และ ลาสเวลล (Harold Lasswell) มุงศึกษาไปที่กระบวนการส่ือสารทางการเมืองเร่ืองพลังงานในอาวไทย เทานั้น ประกอบดวยประเด็นดังตอไปนี้

ขอบเขตดานเนื้อหาไดแก 1) ผูสงสาร (Sender) ดานพลังงานของรัฐบาล ในชวงป พ.ศ. 2524 – 2535 2) เนื้อหาสาร (Message) ดานพลังงาน 3) ชองทางการส่ือสาร (Channel) 4) ผูรับสารเร่ืองพลังงาน (Receiver) 5) ผลกระทบจากการส่ือสารเร่ืองพลังงาน (Effect) ขอบเขตดานระยะเวลา : ศึกษาในหวงเวลาป พ.ศ. 2524 - 2553

ประโยชนท่ีคาดวาจะไดรับ

1. ไดทราบถึงบริบทเศรษฐกิจ การเมือง ที่สงผลตอการส่ือสารทางการเมืองเร่ือง

พลังงานในอาวไทย 2. ไดทราบถึงกระบวนการส่ือสารทางการเมืองเร่ืองพลังงานในอาวไทย 3. ไดสรางองคความรูใหมในกระบวนการส่ือสารเร่ืองพลังงานในประเทศไทย

12

บทท่ี 2

แนวคิด ทฤษฎี และงานวิจัยท่ีเกี่ยวของ การศึกษาเร่ือง “กระบวน การส่ือสารทางการเมืองเร่ืองพลังงานในอาวไทย : ศึกษากรณีการส่ือสารกับความเปนจริงตั้งแตป พ.ศ. 2524 – 2553” ผูวิจัยไดนําแนวคิด ทฤษฎี และงานวิจัยที่เกี่ยวของมาเปนแนวทางในการศึกษา เพื่อที่จะนําไปสูการอธิบายขอคนพบในงานวิจัยใหชัดเจนอยางเปนรูปธรรมโดยมีรายละเอียดดังนี้ 1. แนวคิดทฤษฎีการส่ือสารและการส่ือสารทางการเมือง 2. แนวคิดเร่ืองพลังงาน 3. งานวิจัยทีเ่กี่ยวของ

แนวคิด ทฤษฎีการสื่อสาร และการสื่อสารทางการเมอืง (Political Communication)

ความหมายการสื่อสาร เพื่อสรางความเขาใจตอกระบวนการส่ือสาร ในเบื้องตนผูวิจัยขอนําเสนอถึงความหมายของการส่ือสารและการส่ือสารทางการเมือง ซึ่งมีนักวิชาการใหนิยามไวหลายทานดังนี้

เบอรโล (Berlo)1 ไดใหความหมายการส่ือสาร (communication) หมายถึง การสงผานขาวสารจากบุคคลหนึ่งหรือกลุมบุคคลหนึ่งไปยังอีกคนหนึ่งหรืออีกกลุมหนึ่ง โดยใชสัญลักษณการส่ือสารมีลักษณะเปนกระบวนการ (process) อยางหนึ่ง เชนเดียวกับการพัฒนาหรือการเปล่ียนแปลงทางสังคม กลาวคือ เปนกิจกรรมที่มีการเคล่ือนไหวอยูตลอดเวลา (dynamic) ไมอยูนิ่งและไมมีจุดเร่ิมตนหรือจุดจบที่เห็นเดนชัดกระบวนการของการถายทอดสารจากผูสงสารไปยังผูรับสารโดยผานชองส่ือซึ่งเปนตัวกลางและชองทางที่นําตัวสารไปสูเปาหมาย

1David K. Berlo, The Process of Communication: An Introduction to Theory

and Practice, (New York: Holt, Rinehart and Winston, 1960), p. 12.

13

ลาสเวลล (Lasswell)2 ไดใหความหมายตามองคประกอบของการส่ือสารในรูปของประโยคคําถามวา “ใครบอกอะไรแกใครโดยชองทางไหนและมีผลอยางไร” (Who Says What, in Which Channels, To Whom with What Effects) ตามแนวความคิดนี้ การส่ือสารจะมีองคประกอบที่สําคัญ คือ แหลงสาร (Source หรือ Who) สาร (Message หรือ What) และผลที่เกิดข้ึน (What Effects) ซึ่งนักวิชาการคนอ่ืน ๆ อีกหลายคนก็มีความคิดเห็นทํานองเดียวกับ Lasswell เชน Berlo เห็นวาองคประกอบของการส่ือสาร คือ แหลงสาร สาร ชองทาง (ส่ือ) และผูรับสาร เม่ือพิจารณาการส่ือสารในแงขององคประกอบการส่ือสารตามแนวคิดของ Lasswell แลวทําใหสามารถพิจารณาบทบาทและหนาที่ของการส่ือสารได 3 ประการ คือ 1) หนาที่ในการติดตามขาวสารและใหขาวสารเกี่ยวกับส่ิงที่เกิดข้ึนในสังคม 2) หนาที่ในการใหความเห็นตอบโตตอส่ิงที่เกิดข้ึน และ 3) หนาที่ในการใหการศึกษาและถายทอดคานิยมวัฒนธรรม

เดนตัน และ วูดเวิรด (Denton and Woodward)3 ใหนิยามวาการส่ือสารทางการเมืองเปนการอภิปราย หรือโตแยงเกี่ยวกับการจัดสรรทรัพยากรสาธารณะรวมทั้งวาทะทางการเมืองทั้งการเขียนและการพูดโดยผูสงสารมีเจตนาที่ใหการสงสารมีอิทธิพลตอสภาพแวดลอมทางการเมือง หรือกลาววา การอภิปรายหรือการโตแยงเกี่ยวกับการจัดสรรทรัพยากรสาธารณะที่จะเปนการส่ือสารทางการเมืองจะข้ึนอยูกับสาระสําคัญและวัตถุประสงค หรือเจตนาของการส่ือสารวาเปนสาระหรือวัตถุประสงคทางการเมืองหรือไมขณะที่ ดอริสเกรเบอร (Doris Graber) ไดใหความหมายที่กวางกวาของ เดนตัน และ วูดเวิรด (Denton and Woodward) โดยมองวาการส่ือสารทางการเมือง จะรวมถึงส่ิงที่วาภาษาทางการเมืองโดยไมใชแควาทะทางการมืองเทานั้น แตรวมถึงสัญลักษณกึ่งภาษาตาง ๆ เชน ภาษากาย การกระทําทางการเมือง เชน การควํ่าบาตรหรือการประทวงดวย4 สวน คลอด แชนนอน และ วอรเรน วีเวอร (Claude Shannon and Warren Weaver) เสนอแนวคิดเกี่ยวกับการส่ือสารในหนังสือ The Mathematical Theory of Communication โดยมองวาในการส่ือสารมักจะเกิดปญหาในการถายทอดความถูกตอง เนื่องจากสารถูกสงผานสัญญาณไมเทากันและสุดทายก็จะตีความหมายสารตางกัน

2Harold D. Lasswell, “The Structure and Function of Communication in Society,” In Public Opinion and Communication, (New York: Free Press, 1966), p. 178.

3R.E. Denton, Jr. and G.C. Woodward, Political Communication in America, (New York: Preager, 1990), p. 15.

4Doris A. Graber, A Mass Media & American Politicals, (Washington DC: CQ Press, 2006), p. 11.

14

สวน แมคแนร (Brian McNair)5 มองวากิจกรรมทางการเมืองทั้งหมด คือ การส่ือสารทางการเมือง ทุกอยางที่ปรากฏสูสายตาของประชาชน ไมเพียงแตการพูด การเขียนเทานั้น การแตงกาย ทรงผม ตราสัญลักษณ ลวนเปนองคประกอบของการส่ือสารทางการเมืองทั้งส้ิน สุรพงษ โสธนะเสถียร 6 ไดใหความหมายการส่ือสารทางการเมืองไววา การส่ือสารเปนเคร่ืองมือในการเชื่อมโยงความสัมพันธระหวางรัฐบาลกับประชาชน โดยผานแนวทางการชวนเชื่อหรือแนวทางของมติมหาชนเพื่อธํารงรักษาระบบการเมืองการปกครองไว ทั้งการส่ือสารดวยวัจนภาษาและอวัจนภาษา ทั้งในลักษณะของการเผชญิหนา หรืออาศัยชองทางการส่ือสารอ่ืน ๆ

นอกจากนี้ยังชี้ใหเห็นวา การส่ือสารทางการเมือง เปนกระบวนการในการชี้นํา และตรวจสอบพลังความพยายามของมนุษยเพื่อใหบรรลุเปาหมายทั้งปวง คํานึงถึงพลังของประชาชน การส่ือสารทางการเมืองจึงไมเชื่อในเร่ืองชะตากรรม แตเชื่อม่ันในความสามารถและการกระทําของมนุษยที่อาศัยผลประโยชนจากธรรมชาติของการเมือง การส่ือสารทางการเมืองจึงเปนเร่ืองของมนุษยที่แสวงหาประโยชน เสมือนเกษตรกรอาศัยความสามารถและความคิดริเร่ิมสรางสรรคของตนในการเพาะปลูกและการเก็บเกี่ยวขาวซึ่งเปนสวนหนึ่งของผลผลิตในธรรมชาติ

จากความหมายการส่ือสารทางการเมืองขางตน พอสรุปไดวา การส่ือสารทางการเมือง คือ เคร่ืองมือเชื่อมความสัมพันธระหวางรัฐบาลกับประชาชน ผานส่ือมวลชน ส่ือบุคคล ไปยังประชาชน เพื่อโนมนาวและสรางความนาเชื่อถือใหกับรัฐบาล ไมวาจะเปนนโยบายรัฐบาล แนวทางการแกไขปญหาสังคม เศรษฐกิจ และการเมือง เปนตน

แนวคิดทฤษฎีการสื่อสารของ David K. Berlo เดวิด เค เบอรโล (David K. Berlo)7 เนื่องจากกระบวนการส่ือสารนั้นตองใชกระบวนการคิดและการใชภาษา กระบวนการสงและรับ ตลอดจนกระบวนการของการแลกเปล่ียนขาวสารเพื่อความเขาใจรวมกัน เบอรโล (Berlo) ไดอธิบายพฤติกรรมของการส่ือสาร คือ

5Brian McNair, An Introduction to Political Communication, 2ndedition,

(New York: Routledge, 1999), p. 5. 6สุรพงษ โสธนะเสถียร, ส่ือสารกับการเมือง, พิมพคร้ังที่ 6, (กรุงเทพฯ: ประสิทธิภัณฑ

แอนดพร้ินติ้ง, 2545), น. 27. 7David K. Berlo, The Process of Communication: An Introduction to Theory

And Practice, pp. 30-39.

15

ความสัมพันธระหวางกันขององคประกอบทางการส่ือสารที่เรียกวา SMCR มาจากคําวา แหลงสาร (source) สาร (message) ชองทาง (channel) และผูรับสาร (receiver) ซึ่งไมสามารถแยกออกจากกันไดเปนสวน ๆ โดยอิสระได เขาเชื่อวากระบวนการส่ือสารจะประสบความสําเร็จไดไดข้ึนอยูกับปจจัยตาง ๆ ขององคประกอบทั้ง 5 ในกระบวนการส่ือสาร โดยเฉพาะผูสงสารและความสามารถในการรับสารของผูรับสารเชนเดียวกัน ไมวาสารเหลานั้นจะผานชองทางรูปหรือการมองเห็น (seeing) รส (tasting) กล่ิน (smelling) เสียง (hearing) หรือสัมผัส (touching) องคประกอบทั้ง 5 นี้จะมีอิทธิพลตอปฏิสัมพันธระหวางผูสงสารและผูรับสาร รูปแบบสารส่ือสารนี้แสดงใหเห็นวามีหลายองคประกอบ สารซึ่งบรรจุเนื้อหา (content) อาจจะถูกสงไปในลักษณะรหัสเฉพาะ (code) มีรูปแบบ (structure) และอาจจะไดรับการปฏิบัติ (treated) แตกตางกันไปโดยผูอ่ืน และสารสามารถสงไดหลายชองทางไมวาจะเปนสงผานบุคคล ผานวิทยุ ผานโทรทัศน หรือผานอินเทอรเน็ต ผลกระทบก็จะกลับมาในรูปแบบกระบวนการในทิศทางเดิมเชนกันสามารถอธิบายองคประกอบการส่ือสาร SMCR ไดดังนี้

ภาพที่ 2.1 ตัวแบบพื้นฐานของการส่ือสาร SMCR Model ของ

เดวิด เค. เบอรโล (David K. Berlo)

ตามความคิดเห็นของ เดวิด เค.เบอรโล (David K. Berlo) ผูสงสาร คือ ผูสรางสารที่มี

เจตนาที่จะส่ือสาร สวนตัวสาร คือ การแปลความหมายของความคิดเห็นของผูสงสารใหอยูในรูปของสัญลักษณ เชน ภาษาหรือการแสดงออก ขณะชองทาง คือ ส่ือที่ตัวสารจะถูกสงผาน และผูรับสาร คือ บุคคลหรือกลุมบุคคลที่เปนเปาหมายของการส่ือสาร ซึ่งในองคประกอบพื้นฐานของการส่ือสารทั้ง 4 ตัวจะมีรายละเอียดดังภาพ8 SMCR Model

8รจิตลักขณ แสงอุไร, การส่ือสารของมนุษย, (กรุงเทพฯ: จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย,

2548), น. 14.

ผูสงสาร สาร ผูรับสาร ชองทาง

16

ภาพที่ 2.2 แบบจําลองการส่ือสารของเบอรโล

S

SOURCE M

MESSAGE C

CHANNEL R

RECEIVER

1

1. แหลงของสารหรือผูสงสาร (S : source) ตองเปนผูที่มีทักษะความชํานาญในการส่ือสาร โดยมีความสามารถใน "การเขารหัส" (encode) เนื้อหาขาวสาร มีทัศนคติที่ดีตอผูรับเพื่อผลในการส่ือสารมีความรูอยางดีเกี่ยวกับขอมูลขาวสารที่จะสงและมีความสามารถในการปรับระดับของขอมูลนั้นใหเหมาะสมตลอดจนพื้นฐานทางสังคมและวัฒนธรรมที่สอดคลองกับผูรับซึ่งในการศึกษาคร้ังนี้แหลงสารจะเปนรัฐบาล ผูควบคุมนโยบายดานพลังงาน 2. ขอมูลขาวสาร (M : message) เกี่ยวของทางดานเนื้อหาที่เกี่ยวกับพลังงาน สัญลักษณและวิธีการสงขาวสารในที่นี้อาจหมายถึง ผลกระทบจาการขุดเจาะ ผลประโยชนจากพลังงาน และนโยบายดานพลังงาน เปนตน 3. ชองทางในการสงสาร (C: channel) หมายถึงการที่จะสงขาวสารโดยการใหผูรับไดรับขาวสารขอมูลโดยผานประสาทสัมผัสทั้ง 5 หรือเพียงสวนใดสวนหนึ่ง คือ การไดยิน การดู การสัมผัส การล้ิมรสหรือการไดกล่ิน ในการศึกษาคร้ังนี้ ไดแก ส่ือมวลชน วิทยุ โทรทัศน อินเตอรเน็ต เอกสารแนะตําตัวของนักการเมือง เปนตน 4. ผูรับ (R: receiver) ตองเปนผูมีทักษะความชํานาญในการส่ือสาร โดยมีความสามารถใน "การถอดรหัส" (decode) สาร เปนผูที่มีทัศนคติ ระดับความรูและพื้นฐานทางสังคมวัฒนธรรมเชนเดียวกันหรือคลายคลึงกันกับผูสง จึงจะทําใหการส่ือความหมาย หรือการ

COMM SKILLS

KNOWLEDGE

ATTITUDES

SOC. SYSTEM

CULTURE

COMM SKILLS

KNOWLEDGE

ATTITUDES

SOC. SYSTEM

CULTURE

SEEING

HEARING

TOUCHING

SMELLING

TASTING

ELEMENTS STRUCTURE C O N T E N T

C O D E

T T R N E E A M T

17

ส่ือสารนั้นไดผล ในการศึกษาคร้ังนี้ ผูรับสวนใหญคือผูที่ไดรับผลกระทบโดยตรงบริเวณอาวไทย หรือยานอุตสาหกรรมพลังงาน

สวนปจจัยที่สนับสนุนประสิทธิภาพของการส่ือสารทางการเมือง 5 ประการ ในกระบวนการส่ือสาร มีดังนี ้ 1. ทักษะในการส่ือสาร (communication skills) คือ ความสามารถในการถายทอดสารทั้งในดานการพูด การเขียน การแสดงสีหนาทาทางประกอบระหวางการส่ือสาร 2. ทัศนคติ (attitudes) เปนปจจัยที่สงผลตอการส่ือสารมาก เนื่องจากบุคคลจะประเมินส่ือตาง ๆ เขาขางตนเองและจะส่ือสารไดดีในเร่ืองที่มีทัศนคติตรงกัน 3. ความรู (knowledge) หมายถึงการมีความรูในขอมูลขาวสารที่ถูกตองแมนยํา จะสงผลใหการส่ือสารนั้นถูกตองและนาเชื่อถือ 4. ระบบสังคม (social system) ระบบสังคมเปนตัวกําหนดพฤติกรรมการส่ือสารของบุคคล หมายความวา หากผูสงสารอยูในสังคมระดับเดียวกันจะมีพฤติกรรมการส่ือสารคลอยตามกัน หากผูสงสารอยูในสังคมตางกันก็จะมีพฤติกรรมการส่ือสารที่ไมเหมือนกันหรือไมสอดคลองกัน 5. วัฒนธรรม (culture) ไดแก ความเชื่อ คานิยม ขนบธรรมเนียมประเพณีที่เหมือน หรือตางกันจะเปนตัวกําหนดความสําเร็จหรือความลมเหลวของการสอสารได

ทฤษฎีการส่ือสาร (Communication Theory) อธิบายวา การส่ือสารเปนกระบวนการสงสาร จากผูสงสาร (Sender) ไปยังผูรับสาร (Receiver) ใหผูรับสารเขาใจสาระของสารไดตามจุดมุงหมายของผูสงสารซึ่งมีหลายลักษณะ เชน การชักนํา การประสานงาน การสรางความบันเทิง การใหสารสนเทศ การสรางความสัมพันธระหวางบุคคล ซึ้งลวนแตมีประโยชนเชิงสรางสรรคแกผูรับสาร กระบวนการส่ือสารที่ใชกันมากที่สุด คือการชักนํา (Persuasion) ซึ่ง Dainton and Zelley9 ไดใหนิยามวา เปนการส่ือสารของมนุษยที่ผูสงสารพยายามใชอิทธิพลตอผูรับสารทําใหผูรับสารเปล่ียนความเชื่อ คานิยม และเจตคติ นอกจากนี้มีทฤษฎีการส่ือสารที่เกี่ยวของกับการส่ือสารเพื่อชักนําใหบุคคลเปล่ียนความเชื่อ คานิยมและเจตคติที่สําคัญไดแก ทฤษฎีการตัดสินใจทางสังคม (Social Judgment Theory) ทฤษฎี (Elaborative Likelihood Theory) ทฤษฎี (Theory of Cognitive Dissonance) ทฤษฎีกระบวนทัศนเชิงพรรณนา (Narrative Paradigm Theory) ซึ่ง

9Marianne Dainton and Elaine D. Zelley, Applying Communication Theory

for Professional life, (California: Sage, 2005), pp. 83-84.

18

ตางก็มีเปาหมายใหผูรับสารทําตามที่ผูสงสารเปล่ียนความเชื่อ คานิยม ทัศนคติตามจุดมุงหมายของผูสงสาร

การส่ือสารทางการเมืองมีลักษณะเปนการส่ือสารเพื่อสารธารณะชนที่เปดเผยไมจํากัดผูรับสาร เพื่อเสนอเร่ืองราวทางการเมือง หรือสนับสนุนเร่ืองราวทางการเมือง ดวยการพัฒนาเนื้อหาสาระของขอมูลขาวสารหรือประเด็นตาง ๆ และนําเสนอผานชองทางการส่ือสารไปสูกลุมเปาหมายที่พึงประสงค ซึ่งบทบาทหนาที่ของการส่ือสารทางการเมืองในฐานะเคร่ืองมือการส่ือสารทางการเมืองที่สําคัญ คือการถายทอดขาวสารและความรูทางการเมืองโดยผานส่ือตาง ๆ เชน ส่ือบุคคล ส่ือมวลชนเพื่อการเผยแพรปลูกฝงอุดมการณและทัศนคติทางการเมือง และการพัฒนาทางการเมืองไปสูทิศทางที่ประเทศไดตั้งเปาหมายและอุดมการณนั้นไว ตลอดเปนการดึงดูดใหประชาชนสนใจดวยเพราะหากส่ือมวลชนใหน้ําหนักความสําคัญแกเร่ืองใด ประชาชนก็มักใหความสําคัญกับเร่ืองนั้นมากข้ึนตามไปดวย และที่สําคัญยิ่งคือ บทบาทความสําคัญของการส่ือสารทางการเมืองเพื่อเปนการกลอมเกลาทางการเมือง (Political Socialization) และการเรียนรูทางการเมือง (Political Learning) ขณะเดียวกันการเมืองเปนศาสตรที่ศึกษาเกี่ยวกับใคร ไดอะไร เม่ือไร และอยางไร การส่ือสารจะทําให10 การส่ือสารทางการเมือง (Political Communication) จึงเปนแนวคิดที่นําเอาองคความรูเกี่ยวกับการส่ือสารและองคความรูเกี่ยวกับการเมืองมาศึกษารวมกัน เพื่อใชอธิบายความสัมพันธระหวางการส่ือสารกับการเมือง และอธิบายปรากฏการณทางการเมืองดวยการส่ือสารการส่ือสารทางการเมือง หมายถึง วาทะทางการเมืองในลักษณะคําพูด และขอเขียน การอภิปรายในที่สาธารณะในเร่ืองการจัดสรรทรัพยากรของปวงชน อํานาจอยางเปนทางการ เชน อํานาจในการออกกฎหมาย การปกครอง อํานาจในการใหคุณประโยชนหรือโทษ แตไมรวมไปถึงการส่ือสารเชิงสัญลักษณ หรือการส่ือสารทางการเมือง หมายถึง การส่ือสารที่มีวัตถุประสงคเพื่อการเมือง 11

10จุมพล หนิมพานิช, การวิจัยเชิงคุณภาพในทางรัฐศาสตรและรัฐประศาสนศาสตร.

(กรุงเทพฯ: จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย, 2550), น. 5. 11เสถียร เชยประทับ, การส่ือสารกับการเมือง : เนนสังคมประชาธิปไตย. (กรุงเทพฯ :

จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย, 2540).

19

แนวคิดการสื่อสารทางการเมืองของ แมคแนร (Brian McNair)

ไบรอัน แมคแนร (Brian McNair)12 กลาวถึงบทบาทหนาที่ของส่ือในดานการเมืองไว 5 ประการ ดังนี้

1. การแจงขาวสารแกประชาชน (Inform) คือ ส่ือตองทําหนาที่อธิบายถึงภาพแวดลอมรอบตัวในเชิงสังเกตการณแบบสํารวจและการเปนผูเฝาดู (Monitor) เหตุการณที่เกิดข้ึนใหกับประชาชน

2. การใหการศึกษาแกประชาชน (Educate) คือ ส่ือมีหนาที่ตองใหขอมูลขาวสารที่เปนประโยชน หรือขอเท็จจริง (Fact) แกประชาชน

3. การเปนเวที (Platform) คือ เพื่อหนาที่ส่ือกลางสาธารณะในการเปดกวางใหมีการสํารวจประชาชามติและความคิดเห็นของสาธารณะชนตอเร่ืองสําคัญหรือเร่ืองที่เปนวาทกรรมทางการเมือง

4. การรายงานขาวและการตรวจสอบการทํางานของรัฐบาลและสถาบันทางการเมืองแกประชาชนในลักษณะของการเฝายาม

5. การสนับสนุนใหมีการแสดงทัศนะทางการเมือง โดนส่ือมวลชนตองสามารถทําหนาที่เปนชองทางดังกลาวในวิถีประชาธิปไตย

12Brian McNair, An Introduction to Political Communication.

20

แบบจําลองการส่ือสารทางการเมืองของ ไบรอัน แมคแนร (Brian McNair) ปรากฏดังนี้

ภาพที่ 2.3

องคประกอบการส่ือสารทางการเมือง13

จากแบบจําลองกระบวนการส่ือสารทางการเมือง ประกอบดวย 3 สวน ไดแก กลุมการเมือง เชน พรรคการเมือง รัฐบาล องคการทางการเมือง กลุมอิทธิพล กลุมส่ือมวลชน ทําหนาที่ 2 อยาง คือ เปนตัวกลางในการสงผานขอมูลจากพรรคการเมือง และสงสารที่สรางข้ึน เชน รายงานขาว บทวิจารณ บทบรรณาธิการ เปนตน และกลุมประชาชน โดยขาวสารที่ส่ือถึงประชาชนจะเปนเร่ืองของการสรางภาพเชิงบวกใหเกิดข้ึนในใจ และสงผลตอพฤติกรรมทางการเมืองของผูเลือกตั้ง การสรางภาพในทางการเมืองประกอบดวย 3 ข้ันตอน คือ

1) นักการเมืองกําหนดวัตถุประสงคที่กอใหเกิดปรากฏการณทางการเมืองข้ึน 2) ส่ือมวลชนเปนผูกําหนด “ภาพ” ความจริงนั้น

13Brian McNair, An Introduction to Political Communication, p. 5.

พรรคการเมือง กลุมพลังทางการเมือง

องคกรสาธารณะ รัฐบาล

สื่อมวลชน

บทบรรณาธิการ บทวิเคราะห

องคกรทางการเมือง

ประชาชน บทบรรณาธิการ บทวิเคราะห

การรองเรียน การโฆษณา ประชาสัมพันธ

21

3) “ภาพ” ที่เกิดข้ึนจะถูกรับรูโดยอัตวิสัยของแตละกลุมบุคคล นอกจากนี้ นันทนา นันทวโรภาส14 ยังไดพัฒนากรอบแนวคิดของแมคแนรใหครบ

วงจรเพิ่มเติม ชองทางการส่ือสารตรง ระหวางองคกรทางการเมืองกับประชาชน แบบจําลองการส่ือสารทางการเมืองนี้ แบงผูเกี่ยวของออกเปน 3 กลุม ดังนี้

1. กลุมองคกรทางการเมือง ไดแก พรรคการเมือง รัฐบาล องคกรสาธารณะ กลุมพลังทางการเมือง กลุมกอการราย ฯลฯ ทั้งนี้ ในสวนของการส่ือสารของพรรคการเมืองนั้น มีฐานคติที่วา พรรคการเมือง คือ กลุมบุคคลที่ที่รวมกัน โดยมีอุดมการณเหมือนกัน ตกลงที่จะนําองคกรไปสูเปาหมายเดียวกันโดยนําเสนอแนวนโยบายสูประชาชน และหาวิธีที่จะสรางความเชื่อม่ันใหแกประชาชน เพื่อเปนแนวทางสูการนํานโยบายไปปฏิบัติภายหลังไดรับเลือกตั้ง

2. กลุมส่ือมวลชน ทําหนาที่ 2 อยาง คือ เปนตัวสงผานขอมูลจากพรรคการเมือง และสงสารที่สรางข้ึนเอง เชน บทบรรณาธิการ บทวิเคราะห วิจารณตาง ๆ ไปยังกลุมที่สาม คือ ประชาชน

3. กลุมประชาชน ไมวาธรรมชาติและจํานวนกลุมผูรับสารจะเปนอยางไร การส่ือสารทางการเมืองทุกประเภทก็มุงที่จะบรรลุผลสําเร็จจากการสงสารนั้น ๆ ไมวาจะเปนการรณรงคหาเสียงเลือกตั้งประธานาธิบดี สมาชิกวุฒิสภา สภาผูแทนราษฎร ตลอดจนนักการเมืองทองถิ่น บุคคลเหลานี้พยายามที่จะสรางภาพเชิงบวกใหเกิดข้ึนในใจ และสงผลตอพฤติกรรมทางการเมืองของผูเลือกตั้ง

ในแบบจําลองของไบรอัน แมคแนร (McNair) ไมไดกลาวถึงการส่ือสารโดยตรงระหวางพรรคการเมือง รัฐบาล กับประชาชน ซึ่งในภาพของความเปนจริงนั้น การส่ือสารทางการเมือง แมจะมีส่ือมวลชนเปนตัวกลางในกระบวนการส่ือสารเปนสวนใหญ แตในหวงเวลาบางเวลา เชน การรณรงคหาเสียงเลือกตั้ง หรือการรณรงคทางการเมือง ในบางประเด็นจะพบวาการส่ือสารโดยตรงระหวางพรรคการเมือง นักการเมืองกับประชาชน ก็เกิดข้ึนอยางเขมขนเชนกัน ซึ่งการส่ือสารระหวางพรรคการเมือง นักการเมืองกับประชาชนโดยตรงนั้น นอกจากจะเปนการส่ือสารเพื่อการหาเสียงเลือกตั้งแลว ยังเปนชองทางการรับรูปญหาตาง ๆ จากประชาชน ซึ่งทําใหพรรคการเมือง นักการเมือง นําไปศึกษาใหคุณคา และพัฒนาจนกลายเปนแนวนโยบายที่สามารถตอบสนองความตองการของประชาชนได นันทนา นันทวโรภาสไดพัฒนาแบบจําลองการส่ือสาร

14นันทนา นันทวโรภาส, การส่ือสารทางการเมือง : ศึกษากรณีการรณรงคหาเสียงเลือกตั้งทั่วไปของพรรคไทยรักไทย , (วิทยานิพนธปรัชญาดุษฎีบัณฑิต ( ส่ือสารมวลชน) คณะวารสารศาสตรและส่ือสารมวลชน มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร, 2548), น. 14-16.

22

ทางการเมืองของ ไบรอัน แมคแนร (Brian McNair) ใหครบวงจรยิ่งข้ึน โดยเพิ่มเติม “ชองทางการส่ือสารตรง” ระหวางพรรคการเมืองกับประชาชน ดังนี้

ภาพที่ 2.4

แบบจําลองการส่ือสารทางการเมืองประยุกตของ นันทนา นันทวโรภาส

นอกจากนี้ วิลเบอร ชแรมม15 (Wilbur Schramm) กลาวถึง ส่ิงที่ส่ือมวลชนจะทําได

ในการพัฒนาประเทศ โดยทําหนาที่ส่ือในฐานะยอมคอยเหตุ รายงานใหคนทราบเหตุการณที่อยูไกลเกินจะรับทราบเองโดยตรงได รวมทั้งชวยขยายความรูความเขาใจใหกวางข้ึน ตลอดจนมีบทบาทสําคัญในกระบวนการตัดสินใจ คือจะเขาไปชวยในทางออมในการเปล่ียนแปลงทัศนคติที่ฝงแนนหรือคานิยมที่คนเห็นวามีคุณคา ส่ือมวลชนจะทําหนาที่ปอนขาวสารใหแกชองทางระหวางบุคคลผูทรงอิทธิพลหรือผูนําความคิดมักจะเนนผูที่ใชพวกที่ใชส่ือมวลชนมากและนําส่ิงที่ไดรับจากส่ือมวลชนไปพูดคุยอภิปลายกับสมาชิกในกลุมอีกการอภิปลายมักจะนําไปสูการตัดสินใจและมีผลในเชิงพฤติกรรมการแสดงออกตอไป

15วิลเบอร ชแรมม, อางถึงใน ชม ภูมิภาค, หลักการประชาสัมพันธ, (กรุงเทพฯ:

โอเดียนสโตร, 2524).

ส่ือมวลชน

องคกรทางการเมือง

ประชาชน

23

ดังนั้น การส่ือสารมวลชนจะทําใหผูรับสารไดรับขอมูลขาวสารทางการเมือง ทําใหเปนคนมีความรู ความเขาใจในหลักสําคัญของระบบการเมือง และที่สําคัญคือปลุกใหเกิดความตื่นตัวทางการเมืองหรือสํานึกทางการเมืองที่ตระหนักรูถึงความสําคัญของการมีสวนรวมในรูปแบบตาง ๆ ตามครรลองของระบอบประชาธิปไตย เชน การไปใชสิทธิเลือกตั้ง การติดตอกับเจาหนาที่รัฐบาลในการแกปญหา ทั้งนี้เพื่อพัฒนาไปสูการเปนอาตมันทางการเมือง16 แบบประชาธิปไตยของบุคคลใหเขมขนยิ่งข้ึนไป

การส่ือสารทางการเมือง ไมใชแตเฉพาะการส่ือสารดวยการพูดและการเขียน แตยังรวมถึงภาพที่แสดงออกดวย เชน การแตงกาย การแตงหนา ทรงผม สัญลักษณอ่ืน ๆ ซึ่งเปนส่ิงที่แสดงถึงภาพลักษณทางการเมือง (political image) หรือเอกลักษณ (identity) รวมไปถึงการส่ือสารระหวางบุคคล (interpersonal political communication) ในส่ิงตาง ๆ ทั้งในที่ลับและในที่เปดเผย ในที่สาธารณะดังนั้น อาจกลาวไดวาการส่ือสารทางการเมือง เปนกระบวนการทางการเมืองที่เกี่ยวของกับการแลกเปล่ียนขอเท็จจริง ทัศนะ และความคิดเห็น ตลอดจนประสบการณตาง ๆ ในทางการเมืองระหวางบุคคล การส่ือสารทางการเมืองนับเปนกระบวนการพิเศษที่กอใหเกิด การปฏิสัมพันธระหวางสมาชิกของสังคมการเมือง และทําใหบุคคลสามารถดํารงชีวิตอยูไดในสังคมการเมือง

หากใชเกณฑจํานวนคนมาพิจารณา สามารถจําแนกรูปแบบของการส่ือสารไดเปน 5 รูปแบบ ดังนี้ 17

1. การส่ือสารภายในบุคคล เปนการส่ือสารภายในจิตใจบุคคลที่อาจไมมีการแสดงออกดวยถอยคําภาษาใด ๆ ออกมา หรืออาจจะเผลอรําพึงรําพันกับตัวเองในชั่วขณะ ตัวอยางการส่ือสารแบบนี้ เชน การหมกมุนครุนคิดในเร่ืองใดเร่ืองหนึ่ง การจินตนาการถึงส่ิงที่อยากมี อยากเปน

2. การส่ือสารระหวางบุคคล เปนการส่ือสารระหวางตัวผูสงสาร และตัวผูรับสารที่เปนปจเจกชน สวนใหญจะเปนการส่ือสารแบบซึ่งหนา แตปจจุบันมีเทคโนโลยีเขามาชวย เชน โทรศัพท หรือการแช็ทกันทางอินเตอรเน็ต

16ลิขิต ธีรเวคิน, การเมืองไทยและประชาธิปไตย, (กรุงเทพฯ: มิสตอรกอปป, 2552),

น. 32-33. 17สุรพงษ โสธนะเสถียร, หลักและทฤษฎีการวิจัยทางสังคมศาสตร, (กรุงเทพฯ:

ประสิทธิภัณทแอนดพร้ินติ้ง, 2545).

24

3. การส่ือสารกลุมเล็ก เปนการส่ือสารที่มีคนมากกวาสองคนไปจนถึงคนจํานวนหนึง่ตราบเทาที่จะสามารถส่ือสารกันไดแบบซึ่งหนา

4. การส่ือสารกลุมใหญ เปนการส่ือสารที่มีผูรวมส่ือสารจํานวนมาก และตองติดตอกันโดยมีชองทางการส่ือสารเปนตัวชวย แมวาผูส่ือสารจะไมรูจักกันทั้งหมดแตมีความรูสึกผูกพันกันภายใตบรรยากาศขององคการ เนื้อหาของสารไมใชประโยชนของสมาชิกคนใดคนหนึ่ง แตเปนผลประโยชนสวนรวมที่สมาชิกจะไดรับเม่ือรวมตัวกันเปนกลุม เชน สหภาพแรงงาน พันธมิตรประชาชนเพื่อประชาธิปไตย

5. การส่ือสารมวลชน เปนการส่ือสารที่สําคัญที่สุดสงผลกระทบตอสังคมในวงกวาง มีส่ือมวลชนเปนชองทางในการส่ือสารครอบคลุมคนทั้งสังคม และขามสังคม ในกรณีของ การส่ือสารมวลชน แมผูสงสารกับผูรับสารจะไมรูจักกันเปนการสวนตัว แตส่ือมวลชนก็สามารถปลุกจิตสํานึก หรือความรูสึกรวมของประชาชนจํานวนมากในสังคมได

ภาพที่ 2.5

แบบจําลองในการส่ือสารของ แชนนอน และ วีเวอร (Shannon and Weaver) สารสัญญาณ ไดรับสัญญาณสาร

เม่ือนําเอาการส่ือสารมาศึกษาทางการเมือง ทําใหนักวิชาการไดพัฒนาตัวแบบการ

ส่ือสารทางการเมือง โดยอาศัยตัวแบบการส่ือสารเปนพื้นฐาน เชน ฮารโรลด ลาสเวลล (Harold Lasswell) ไดเสนอแบบจําลองการส่ือสารทางการเมืองวาประกอบดวย ใคร พูดอะไร ผานชองทางใด ถึงใคร แลวทําใหเกิดผลอะไร หรือ who (says) what (to) whom (in) what channel (with) what effect ซึ่งสอดรับกับความหมายทางการเมืองของเขาที่บอกวา การเมืองหมายถึงใคร ไดอะไร เม่ือไหร และอยางไร (Politics is who gets what, when, where, and how) โดย ฮารโรลด ลาสเวลล (Harold Lasswell) มองวาผลกระทบของสารในทางการเมืองนี่เองเปนสวนสําคัญที่ทําใหการส่ือสารเปนการเมือง

แหลงขาว ผูสงสาร ผูรับสาร จุดหมาย

อุปสรรค

25

ภาพที่ 2.6 แบบจําลองของ ฮารโรลด ลาสเวล (Harold Lasswell)

กลาวคือ ในการส่ือสารทางการเมืองจะใหความสําคัญของผลของการส่ือสารอัน

หมายถึง ผลในทางการเมืองนั่นเอง หรือกลาวไดวาผูสงสารทางการเมืองยอมหวังผลในทางการเมืองเสมอ

ดังนั้น จะพบไดวานักการเมืองหรือพรรคการเมืองในฐานะผูสงสารเลือกที่จะใชส่ือใดนั้นก็ข้ึนอยูกับสารสนเทศ ที่จะส่ือสารรวมทั้งผลทางการเมืองที่จะเกิดข้ึนจากการส่ือสารทางการเมืองดวยตัวอยางที่เห็นชัดเจนก็คือ นักการเมืองหรือพรรคการเมืองในประเทศไทยสวนใหญยากจะส่ือสารผานวิทยุและโทรทัศน ทั้งนี้เพราะวิทยุและโทรทัศนในประเทศไทยจะเปนส่ือของรัฐบาลโดยเฉพาะโทรทัศนซึ่งมีฐานผูรับสารกวางและมีโอกาสในการบิดเบือนขาวสารไดยาก ขณะที่หนังสือพิมพจะเปนส่ือของเอกชนที่มักจะเปนส่ือที่มีโอกาสในการบิดเบือนขาวสารไดมากกวาส่ืออ่ืน ๆ เพราะเงื่อนไขในดานรูปแบบการนําเสนอขาวสารที่มีพื้นที่เวลาในการคงอยูของขาว18

สวน คารล ดับเบิ้ลย.ู ดอยทซ (Karl W. Deutsch)19 ไดนําเอาแนวคิดของกระบวนการส่ือสารมาศึกษารวมกับแนวคิดระบบการเมือง (Political System) ไดขอสรุปที่แตกตางไปจากการส่ือสารทางการเมืองของ ฮารโรลด ลาสเวล (Harold Lasswell) ตรงที่มองวาการส่ือสารทางการเมืองวาเปนเสมือนเสนประสาท (Nerves) ของระบบการเมืองที่มีเครือขาย (networks) ครอบคลุมและเชื่อมโยงทุก ๆ สวนของระบบการเมือง ลักษณะสําคัญของการส่ือสารตามแนวของคารล ดับเบิ้ลยู. ดอยทซ (Karl W. Deutsch) คือระบบเครือขาย (networks) ของการส่ือสารโดยบุคคลทั้งหลายในระบบถูกเชื่อมโยงเขาดวยกันในลักษณะของวงจรสามารถแลกเปล่ียนขาวสารและขอมูลกันแบบสองทาง (Two-way Communication) ลักษณะเชนนี้แสดงวามีการยอนกลับ

18เสถียร หอมขจร, การมีสวนรวมของมหาชนในการเมืองไทย, (กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยรามคําแหง, 2542), น. 24.

19Karl W. Deutsch, “The Nerves of Government: Model of Communication and Control,” In Contemporary Political Analysis, (New York: Free Press, 1966), p. 33.

ผูสงสาร สาร ชองทาง การสงสาร

ผูรับ สาร

ผลของ การส่ือสาร

26

(Feedback) ของขอมูลนอกจากนี้ คารล ดับเบิ้ลยู.ดอยทซ (Karl W. Deutsch) ยังพยายามที่จะเปรียบเทียบการส่ือสารวา เปนกลไกในการชี้นํา ควบคุมพฤติกรรมของมนุษย

โครงสรางการส่ือสารทางการเมืองนั้น จึงประกอบดวยองคประกอบสําคัญไดแกแหลงสารหรือผูสงสาร (Source/Sender) สารทางการเมือง (Political Messages) ชองทางหรือส่ือ (Channel/Media) ผูรับสารหรือประชาชน (Receiver) ขอมูลยอนกลับ (Feedback) กลาวคือเม่ือนําการส่ือสารมาศึกษาการส่ือสารทางการเมือง จะตองเปนกระบวนการทํางานรวมกันระหวางการส่ือสารกับกลไกทางการเมือง อันจะทําใหเกิดกลไกการส่ือสารทางการเมืองที่นําไปสูบทบาทของการส่ือสารทางการเมือง

ตามแนวคิดของคารล ดับเบิ้ลยู. ดอยทซ (Karl W. Deutsch) การส่ือสารทางการเมืองจะมีผลสัมฤทธิ์นั้นขาวสารจะตองมีลักษณะเปนเหมือนกับพลังงานในระบบวิศวกรรมนั่นคือจะตองมีขาวสารทางการเมืองในปริมาณที่เพียงพอ ที่จะทําใหเกิดการไหลเวียนของขาวสารจนนําไปสูผลในทางการเมือง

ภาพที่ 2.7

การส่ือสารทางการเมืองตามแนวคดิของ คารล ดับเบิ้ลย.ู ดอยทซ (Karl W. Deutsch)

กลไกการส่ือสารทางการเมือง

การส่ือสารทางการเมืองของประเทศไทยถูกนํามาใชตั้งแตในอดีตและในชวงสงครามเย็นรัฐบาลก็ใชการส่ือสารอยางหนักเพื่อผลในทางการเมืองไมวาจะเปนการโฆษณาชวนเชื่อใหคนไทยเกลียดและกลัวคอมมิวนิสต20

20กองบรรณาธิการ, “ขวาพิฆาตส่ือ มท.1 แหงยุคมืด หลัง “ตุลาเดือด”, วารสาร

ราชดําเนิน (กุมภาพันธ 2551).

การส่ือสาร การเมือง

บทบาทของการส่ือสารทางการเมือง

27

จากความหมายของการส่ือสารทางการเมืองดังกลาว สรุปไดวา การส่ือสารทางการเมือง ก็เพื่อผลประโยชนทางการเมืองนั่นเอง ในยุคสมัยใหมที่เทคโนโลยีทางการส่ือสารมีความกาวหนาประชาชนเร่ิมที่จะมีความรูความเขาใจทางการเมืองมากข้ึนเนื่องจากการเปดรับขอมูลขาวสารอยางกวางขวางหากแตวาประชาชนผูรับขาวสารนั้นจะสามารถวิเคราะหไดมากนอยเพียงใดวาขาวสารที่ไดรับนั้นตรงกับความเปนจริงยังเปนขอสงสัยเพราะขอมูลขาวสารสวนใหญมีนัยเพื่อประโยชนของผูสงสารเทานั้น พลังงานเปนเร่ืองที่เกี่ยวของกับผลประโยชนและเกี่ยวของกับความม่ันคงทางพลังงานของชาติ ขณะเดียวกับพลังงานจะสงผลใหเกิดอุตสาหกรรมอ่ืนตามมาที่สงผลตอภาคธุรกิจและยกระดับเศรษฐกิจของชาติใหไดรับการยอมรับ การส่ือสารทางการเมืองเร่ืองพลังงานจึงมีผลตอการเมืองของรัฐบาลในแตละยุคสมัย และแนวคิดเกี่ยวกับพลังงานจึงเปนอีกประเด็นที่ผูวิจัยใหความสําคัญและนําเสนอในลําดับตอไป

แนวคิดเกีย่วกบัพลังงานนํ้ามัน

น้ํามันคือวัตถุดิบในการสรางพลังงาน ซึ่งมีหลายประเภทและมีความแตกตางกัน ดังนี้21

น้ํามันดิบ คือ สารประกอบของไฮโดรคารบอน ลักษณะเปนของเหลวขุนขนสีน้ําตาลเขมหรือเขียวเขมเกือบดํา พบในชั้นหินบางพื้นที่บนเปลือกโลก การใชงานตองนําไปกล่ัน (refining) ไดน้ํามันเชื้อเพลงชนิดตาง ๆ ตั้งแตสารระเหยงายสีออนไปจนถึงน้ํามันดําขุนหนา

น้ํามันสําเร็จรูป หรือน้ํามันเชื้อเพลิง ความหมายตรงตามตัวอักษร คือ สําเร็จรูปพรอมใชเปนเชื้อเพลิง นําไปเติมใสถังใชงานไดทันที น้ํามันสําเร็จรูปเปนผลพวงจากการกล่ันน้ํามันดิบ ทําใหไดกาซ LPG น้ํามันเบนซิน ดีเซล น้ํามันกาด น้ํามันเคร่ืองบิน น้ํามันเตา

คนทั่วไปมักสับสนระหวางน้ํามันดิบกับน้ํามันสําเร็จรูป เนื่องจากมักถูกเรียกปนกันเพียงส้ัน ๆ วา “น้ํามัน” ทั้ง ๆ ที่เปนสินคาคนละชนิด ซื้อขายกันคนละตลาด ไมเกี่ยวของกันโดยตรง เพียงแตอาจมีผลตอกัน แตมีเงื่อนไขอ่ืนมากําหนด

ราคาขายปลีกน้ํามันสําเร็จรูปอาจจะปรับลงชากวาราคาน้ํามันดิบในตลาดโลก เนื่องมาจากกลไกดานราคา แนนอนวาราคาน้ํามันดิบมีผลโดยตรงตอตนทุนน้ํามันเชื้อเพลิง ขณะเดียวกันราคาน้ํามันสําเร็จรูปก็ข้ึนอยูกับปริมาณความตองการของตลาด

21บริษัท ปตท. จํากัด (มหาชน), “น้ํามันไมเหมือนกัน,” วารสารส่ือพลัง ปที่ 18 ฉบับที่ 3

(กรกฎาคม-กันยายน 2553), น. 60.

28

หลายคร้ังที่ราคาน้ํามันดิบลดลง แตราคาน้ํามันสําเร็จรูปกลับข้ึนสวนทาง เพราะความตองการมีสูงหรือราคาน้ํามันดิบปรับข้ึน แตราคาน้ํามันสําเร็จรูปกลับลงก็มี ทั้งนี้ราคาขายปลีกจะปรับข้ึนลงตามราคาน้ํามัน(สําเร็จรูป) ขายสงหนาโรงกล่ัน และการปรับราคาไมไดปรับกันเปนรายวัน ยกตัวอยางใกล ๆ ตัว น้ํามันดิบ อาจเปรียบไดกับขาวเปลือก ขาวเปลือกเปนวัตถุดิบที่นํามากินทันทีไมได ตองผานโรงสี ซึ่งเปรียบไดกับโรงกล่ัน กระบวนการสีไดเปนขาวกลอง ขาวสาร ปลายขาว รํา แกลบ ผลิตภัณฑที่ได เชน ขาวสาร ยังใชเปนวัตถุดิบในอุตสาหกรรมตอเนื่อง ที่มีมูลคาสูงอ่ืน ๆ ไดอีก เชน ขาวสาร นําไปปนเปนแปงขาวเจา เพื่อผลิตเปนแปงขนม เสนกวยเตี๋ยว ขนมจีน และมีวงจรซื้อขายก็ใกลเคียงกัน คือ ตองมีการอางอิงราคากลางจากแหลงซื้อใหญ ๆ เชน ทาขาวกํานันทรง ซึ่งถูกกําหนดมาจากผูสงออก ซึ่งกําหนดราคามาจากปริมาณความตองการในตลาดโลกอีกทอดหนึ่ง

ขาวเปลือกตองซื้อขายในปริมาณมาก มีกลไกราคาที่ผานมาจนถึงโรงสีหรือทาขาว ราคาเปนผลมาจากความตองการในตลาดโลก และอาจถูกแทรกแซงเพื่อชวยเหลือชาวนาโดยรัฐบาล

สวนขาวสารนั้นซื้อขายกันไดทั่วไปตามรานคา ในกรณีที่ขาวเปลือกมีราคาสูงข้ึน อาจทําใหขาวสารสต็อกใหมตองปรับราคา เพราะตนทุนเพิ่มข้ึน สวนราคาขาวสารที่แพงข้ึนเปนเพราะมีปริมาณความตองการในตลาดเพิ่มข้ึน แตจะเปนผลทําใหขาวเปลือกแพงข้ึนหรือไมก็ได ข้ึนอยูกับปริมาณขาวเปลือกที่ผลิตไดในฤดูนั้น ๆ ประกอบกับกลไกการตลาดอ่ืน ๆ

ขาวกับน้ํามันยังคลายกันในแงที่วา ปริมาณการบริโภคในประเทศคอนขางคงตัว และอัตราการขยายตัวเปนที่คาดหมายไดอยางแมนยํา แตมีความผันผวนของราคามาจากตลาดตางประเทศเปนหลัก และบางคร้ังราคาที่ปรับตัวสูงข้ึนเปนผลจากปจจัยทางจิตวิทยา สถานการณนํ้ามันโลก

หากจะประเมินสถานการณน้ํามันโลกน้ํามันโลก มีตัวแปรสําคัญที่มีอิทธิพลตอสถานการณน้ํามัน ดังนี้22

22บริษัท ปตท. จํากัด (มหาชน), “สถานการณน้ํามันโลกคร่ึงปแรก ป 2553 และ

แนวโนมป 2554,” ใน Trading Review 2010, (กรุงเทพฯ: บริษัท ปตท. จํากัด (มหาชน), 2010), น. 8-9.

29

1. ความตองการใชนํ้ามันโลก ชวงคร่ึงแรกของป 2553 อุปสงคน้ํามันปรับตัวเพิ่มข้ึนจากป 2552 เนื่องจาก

เศรษฐกิจฟนตัว ทั้งนี้ International Energy Agency (IEA) คาดการณความตองการใชน้ํามันของโลกในชวงคร่ึงแรกของป 2553 เฉล่ียอยูที่ระดับประมาณ 86.3 MMBD และเฉล่ียตลอดป 2553 อยูที่ระดับ 86.5 MMBD เพิ่มข้ึนจากปกอน 1.77 MMBD หรือ 2.1% และในป 2553 อุปสงคของประเทศในกลุมองคการเพื่อความรวมมือทางเศรษฐกิจและเพื่อการพัฒนา (Organization for Economic Co-operation and Development: OECD) จะมีอัตราการเติบโตเพิ่มข้ึนเพียงเล็กนอยประมาณ 0.06 MMBD โดยปริมาณการใชน้ํามันทรงตัวใกลเคียงกับป 2552 ที่ระดับ 45.5 MMBD ขณะที่กลุม Non-OECD อาทิ สาธารณรัฐประชาชนจีน ตะวันออกกลาง อเมริกาใต และอเมริกากลาง มีอัตราการเติบโตของอุปสงคน้ํามันเพิ่มข้ึนประมาณ 1.71 MMBD คิดเปนปริมาณความตองการใชน้ํามันที่ระดับ 41.0 MMBD

ทั้งนี้ สํานักงานสถิติแหงชาติของจีนรายงานปริมาณนําเขาน้ํามันดิบเฉล่ียในชวง 6 เดือนแรกของปนี้เพิ่มข้ึนจากชวงเดียวกันของปกอนประมาณ 30% อยูที่ระดับ 4.19 MMBD โดยเดือนมิถุนายน 2553 จีนนําเขาน้ํามันดิบสูงสุดเปนประวัติการณที่ระดับ 5.4 MMBD เพิ่มข้ึนจากชวงเดียวกันของปกอนประมาณ 36% และปจจุบันความตองการใชน้ํามันของจีนในเดือนมิถุนายน 2553 เฉล่ียอยูที่ 8.9 MMBD เพิ่มข้ึนจากชวงเดียวกันของปกอน 10.3% ขณะที่ความตองการใชน้ํามันของสหรัฐฯ ในเดือนเดียวกันอยูที่ระดับ 19.34 MMBD เพิ่มข้ึนจากชวงเดียวกันของปกอน 3.0%

สําหรับป 2554 นั้น IEA ประเมินความตองการใชน้ํามันโลกจะมีอัตราการเจริญเติบโตเพิ่มข้ึนจากป 2553 ประมาณ 1.35 MMBD หรือ 1.6% อยูที่ระดับ 87.8 MMBD โดยอุปสงคของกลุมประเทศในกลุมองคการเพื่อความรวมมือทางเศรษฐกิจและการพัฒนา ปรับตัวลดลงจากป 2553 ประมาณ 0.21 MMBD อยูที่ระดับ 45.3 MMBD ขณะที่อุปสงคของ Non-OECD ปรับตัวเพิ่มข้ึนจากป 2553 ประมาณ 1.6 MMBD หรือ 3.8% อยูที่ระดับ 42.6 MMBD โดยภูมิภาคเอเชีย และตะวันออกกลางยังคงมีบทบาทสําคัญในการขับเคล่ือนอุปสงคน้ํามันโลก

2. อุปทานนํ้ามันโลก สํานักงานพลังงานระหวางประเทศ(International Energy Agency : IEA)

รายงานอุปทานน้ํามันโลกในชวงคร่ึงแรกของป 2553 อยูที่ระดับ 86.4 MMBD เพิ่มข้ึน 1.4 MMBD จากป 2552 ซึ่งในสวนขององคกรผูสงออกน้ํามันรายใหญของโลก (Organization Of the Petroleum Exporting Countries : OPEC) คงการผลิตในระดับสูง และแสดงความพอใจกับราคาน้ํามันที่ระดับประมาณ 70 – 80 USD/BBL โดยการประชุมเม่ือวันที่ 17 มีนาคม 2553 ณ กรุง

30

เวียนนา ประเทศออสเตรีย กลุม OPEC ยังคงเปาหมายการผลิตที่ระดับ 24.845 MMBD (ไมรวมอิรัก) เนื่องจากเห็นวาราคาน้ํามันอยูมนระดับที่ยอมรับไดตอทั้งผูผลิตที่จะลงทุนพัฒนาแหลงปโตรเลียม และตอผูบริโภคที่กําลังฟนฟูเศรษฐกิจ ทั้งนี้การประชุมคร้ังตอไปกําหนดจะมีข้ึนในวันที่ 14 ตุลาคม 2553

ในสวนของกลุมประเทศ Non-OPEC รัสเซียเปนผูผลิตรายใหญและกาวข้ึนมาเปนผูผลิตน้ํามันอันดับ1 ของโลก โดยป 2553 ปริมาณการทําสถิติสูงสุดเปนประวิติการณอยางตอเนื่องจากปลายปกอนเฉล่ียอยูที่ระดับประมาณ 10.10 MMBD ทั้งนี้รัสเซียพยายามขยายตลาดในภูมิภาคเอเชียตะวันออกไกลโดยสรางทอขนสง ESPO (East Siberia-Pacific Ocean) ซึ่งคาดวาในปนี้จะมีน้ํามันดิบจากรัสเซียสงผานทอปริมาณ 250 – 300 KBD

เหตุน้ํามันดิบร่ัวไหลคร้ังใหญที่สุดในประวัติศาสตรสหรัฐฯ ที่แทนขุดเจาะแหลง Macondoในอาวเม็กซิโก ของ Bpบริษัทน้ํามันยักษใหญของโลก สงผลใหรัฐบาลสหรัฐฯ ออกคําส่ังระงับการขุดเจาะปโตรเลียมชั่วคราวจากแหลงผลิตในทะเลลึก และเพิ่มกฎระเบียบสําหรับมาตรฐานความปลอดภัยในการขุดเจาะอยางเขมงวด ซึ่งนักวิเคราะหคาดวาอาจสงผลกระทบในวงกวางตอการผลิตปโตรเลียมในทะเลลึกที่อ่ืน ๆ ทั่วโลก โดยเฉพาะบราซิล และแอฟริกาตะวันตก ทั้งนี้ IEA คาดวากฎระเบียบการขุดเจาะน้ํามันที่เขมงวดและตนทุนที่เพิ่มข้ึนในป 2553 อาจทําใหปริมาณการผลิตน้ํามันดิบของกลุม Non-OPEC ในอนาคตลดลงได

3. ภาวะเศรษฐกิจและการเงินของโลก หลังจากปญหาการเงินของสหรัฐ ฯ ในป 2551 ที่ลุกลามจนเกิดภาวะเศรษฐกิจ

ถดถอยทั่วโลก ซึ่งรัฐบาลประเทศตาง ๆ อาศัยนโยบายการคลังโดยการใชงบประมาณขาดดุลเพื่อกระตุนเศรษฐกิจดวยการใชจายภาครัฐประกอบกับใชนโยบายการเงินผอนคลายดวยการกําหนดอัตราดอกเบี้ยต่ํา สงผลใหความเชื่อม่ันในระบบเศรษฐกิจทั้งของผูผลิตและผูบริโภคปรับตัวสูงข้ึน ทั้งนี้ รัฐบาลเปนผูมีบทบาทหลักในการกระตุนเศรษฐกิจอยางตอเนื่องจนภาวะเศรษฐกิจฟนตัวและมีเสถียรภาพมากข้ึน ในชวงคร่ึงแรกของป 2553 ดัชนีผลผลิตอุตสาหกรรมของโลก (Industrial Production) ปรับเพิ่มข้ึน มาตรการใหสิทธิประโยชนทางภาษี (Home Buyer Tax Credit) ของสหรัฐฯ ชวยกระตุนยอดจําหนายบาน มาตรการคงอัตราดอกเบี้ ยที่ ระดับต่ําชวยเสริมความสามารถในการปลอยสินเชื่อของธนาคารพาณิชยรวมทั้งอุปสงคของภาคธุรกิจ เปนตน

4. ปริมาณสํารองนํ้ามัน ปริมาณสํารองน้ํามันของโลกในชวงคร่ึงแรกของป 2553 โดยรวมอยูในระดับ

คอนขางสูง ทั้งนี้ ปริมาณสํารองน้ํามันดิบและสําเร็จรูปเชิงพาณิชยใน 3 ตลาดหลักของประเทศ

31

กลุม OECD ไดแก สหรัฐฯ ยุโรป และญี่ปุน รวมกันอยูที่ระดับประมาณ 2,300 MMB ในสวนของปริมาณสํารองน้ํามันดิบเชิงพาณิชยใน 3 ตลาดหลักรวมกันอยูที่ระดับประมาณ 750 – 800 MMB

นอกจากนั้น ปริมาณสํารองน้ํามันดิบใน Floating Storage ทั่วโลกเพิ่มข้ึนจากชวงตนปที่ระดับ 30 – 40 MMB มาอยูที่ระดับประมาณ 60 -80 MMB ในชวงกลางป โดยอุปทานประมาณ 50% เก็บสํารองอยูบริเวณอาวเปอรเซียนักวิเคราะหประเมินวาอุปทานดังกลาวเปนผลจากการที่สหประชาชาติมีนโยบายควํ่าบาตรอิหรานซึ่งยังคงเดินหนาพัฒนานิวเคลียร ทําใหผูประเทศผูนําเขาน้ํามันดิบเร่ิมลดปริมาณการนําเขาจากอิหราน และจัดหาแหลงอ่ืนทดแทน นอกจากนั้นการปดซอมบํารุงโรงกล่ันน้ํามันตามแผนในชวงไตรมาสที่ 2 ที่ระดับประมาณ 2 – 3 MMBD เปนอีกปจจัยหนึ่งที่ทําใหความตองการใชน้ํามันดิบในชวงเวลาดังกลาวลดลง และระดับสํารองปรับตัวเพิ่มข้ึน

เปนที่นาสังเกตวาชวงตนป 2553 ที่ผานมา ราคาน้ํามันดิบ WTI ถูกกดดันจากปริมาณอุปทานที่อยูในระดับสูง โดยเฉพาะที่คลังสํารองบริเวณเมือง Cushing รัฐ Oklahoma ซึ่งจุดสงมอบน้ํามันดิบที่ซื้อขายกันในตลาดลวงหนา New York Mercantile Exchange หรือ NYMEX ทั้งนี้ ในชวงปลายเดือนเมษายน 2553 ปริมาณสํารองปรับตัวข้ึนสูระดับสูงสุดเปนประวัติการณที่ 37.8 MMB หรือประมาณ 95% ของความจุถัง เนื่องจากอัตราการกล่ันน้ํามันของสหรัฐฯ โดยเฉล่ียคอนขางคงที่อยูที่ระดับประมาณ 85% จากคาการกล่ันออนตัว ประกอบกับการปดซอมบํารุงโรงกล่ันทําใหอุปสงคน้ํามันดิบชะลอตัว สถานการณดังกลาวสงผลใหราคาน้ํามันดิบ WTI ปรับตัวลดลงอยางมาก หรือเรียกกันวา Cushing Syndrome

ทั้งนี้ แนวทางที่จะลดผลกระทบเม่ือส้ินสุดการตรึงราคา NGV และ LPG คือ การแบงโครงสรางราคา LPG ออกเปนสองสวน 1) ราคาครัวเรือน-ขนสง และ 2) ราคาอุตสาหกรรมปโตรเคมี โดยตรึงราคาในภาคครัวเรือน-ขนสง และปรับราคาในภาคอุตสาหกรรมปโตรเคมี เพื่อเปนการลดภาระของกองทุนน้ํามันเชื้อเพลิงโดยกระทบตอภาคประชาชนนอยที่สุด

ปริมาณนํ้ามันดบิในแหลงสํารองธรรมชาต ิ การคาดการณนี้ คํานวณจากปริมาณสํารองน้ํามันดิบของแหลงตาง ๆ ในโลกในชวงส้ินป 2552 ตอปริมาณการผลิตน้ํามันดิบในปจจุบัน รวมทั้งโลกมีทั้งส้ิน 1,258 พันลานบารเรล

32

โดยมีการสํารองในอเมริกาเหนือ 70.9 อเมริกากลางและอเมริกาใต 123.2 ยุโรปและยุโรปเอเชีย 142.2 ตะวันออกกลาง 754.1 แอฟริกา 125.6 เอเชีย 37.8 ออสเตรเลีย 4.223 ความจําเปนของบริษัทน้ํามันแหงชาติถึงแมประเทศไทยจะมีแหลงน้ํามันดิบทั้งบนบกและในทะเล แหลงที่พบก็มีขนาดเล็ก ดังนั้นน้ํามันดิบที่ปอนสูโรงกล่ันมากกวา 85% ตองส่ังซื้อจากตางประเทศ เปรียบไดกับการพึ่งพามูกคนอ่ืนหายใจตลอดเวลา ดวยเหตุนี้ จําเปนตองมีองคกรที่มีหนาที่ซื้อขาย จัดหา และจัดการปโตรเลียม ทั้งในยามสถานการณปกติ และชวยคล่ีคลายในยามเกิดวิกฤติการณ องคกรดังกลาวทําหนาที่เปนบริษัทน้ํามันแหงชาติ ทําธุรกิจดานปโตรเลียมโดยตรง ซึ่งภาคราชการในฐานะเปนผูกําหนดนโยบาย ออกกฎหมาย และกํากับดูแลมีขอจํากัดมากมาย จึงไมอาจดําเนินการเองได การตั้งบริษัทน้ํามันแหงชาติลักษณะนี้ เปนหลักการทั่วไปที่พบไดในนานาประเทศ เพียงแตรูปแบบอาจแตกตางกันในรายละเอียด เชน รัฐบาลถือหุนทั้งหมด ใชงบลงทุนมหาศาลเพื่อดําเนินการครบวงจร ทั้งสํารวจ ผลิต กล่ัน ขาย ขนสง สงออก ซื้อขายลวงหนา หรือรัฐลงทุนบางสวน หรือแมแตแปรรูปทั้ง 100% ในประเทศจีนมีบริษัท China National Petroleum Corp หรือบริษัทที่เพิ่งแปรรูป คือ The Great United Petroleum Holding Co., Ltd. (GUPC) สิงคโปรมี Singapore Petroleum Company มาเลเซียมีกลุมบริษัท Petronas หรืออินโดนีเซียมีบริษัท Pertamina หรือแมแตสหรัฐอเมริกามีบริษัทน้ํามันขนาดยักษ ทําธุรกิจทั่วโลก และแมจะเปนเอกชน 100% แตบริษัทเหลานี้ถือวาตนเองเปนบริษัทอเมริกัน ทําธุรกิจเพื่อผลประโยชนของประเทศ และคนอเมริกันก็อุดหนุน หากประเทศไทยจะมีบริษัทที่ทําหนาที่เชนนี้บางก็เปนเร่ืองที่ดีมิใชหรือ การมีบริษัทที่ดําเนินกิจการดานปโตรเลียมเปนของชาติไมเพียงสรางรายไดจากการทําธุรกิจ แตยังชวยใหเกิดความม่ันคงดานพลังงานงานจากการพัฒนาศักยภาพในการแขงขันไดในโลก เพราะธุรกิจน้ํามันเปนธุรกิจนานาชาติ ไมวาจะเปนแหลงน้ํามันเองหรือไม ก็ไมสามารถหลีกเล่ียงการติดตอซื้อขายในตลาดโลกและที่สําคัญยิ่งก็คือ การมีบริษัทดําเนินกิจการดานน้ํามันของชาติที่แข็งแกรง เปนการสรางความม่ันคงดานพลังงานใหกับประเทศ บทเรียนที่เคยเกิดข้ึนกับประเทศจากวิกฤติน้ํามันป 2517 และ 2521 ยืนยันถึงความจําเปนนี้ ในอดีตเคยเกิดวิกฤติน้ํามันเม่ือป 2516–2517 เม่ือกลุมโอเปกลดกําลังการผลิต เพื่อตอรองทางการเมือง ทําใหราคาน้ํามันดิบปรับข้ึนเกือบ 4 เทา ภายในปเดียว และขาดแคลนไปทั่ว

23บริษัท ปตท. จํากัด (มหาชน), “ปริมาณน้ํามันดินในแหลงสํารองธรรมชาติ,” ส่ือพลังงาน ปที่ 18 ฉบับที่ 3 (กรกฎาคม – กันยายน 2553), น. 58.

33

โลก วิกฤติคร้ังนี้ ทําใหรถยนตจอดตายเพราะไมมีน้ํามันเติม โรงไฟฟาตองใชมาตรการดับไฟเปนชวงเวลา จนมีการแตงเพลงลูกทุงสะทอนภาพในหวงเวลาเชน...น้ํามันขาดแคลน คุยกับแฟนก็ตองดับไฟ... ในฐานะประเทศนําเขาน้ํามันเชื้อเพลิง วิกฤติน้ํามันคร้ังนั้นทําใหเกิดนโยบายแสวงหาแหลงปโตรเลียมในประเทศ และเร่ิมสํารวจพบแหลงกาซธรรมชาติในอาวไทย ขณะเตรียมการในดานตาง ๆ ลงทุนโครงสรางพื้นฐาน จัดตั้งองคกรที่รับผิดชอบดานปโตรเลียมโดยตรงคือ ปตท. พรอมกับเรงออกกฎหมายรองรับ ก็เกิดวิกฤติน้ํามันโลกคร้ังที่ 2 ข้ึน ในชวงตนป 2522 จากการปฏิวัติอิสลามในอิหราน ทําใหขาดแคลนน้ํามันดิบ และปรับราคาสูงข้ึนจากบารเรลละ 20 เหรียญสหรัฐฯ เปน 30 เหรียญสหรัฐฯ และน้ํามันดีเซลปรับข้ึนเปนบารเรลละ 45 เหรียญสหรัฐอเมริกา และกวาที่วิกฤติการณจะคล่ีคลายลงในป 2524 ประเทศไทย ตองเจรจาซื้อน้ํามันดิบระหวางรัฐโดยตรง และทําใหมีการกําหนดนโยบายในการลงทุนโรงกล่ันเพื่อรองรับความตองการในประเทศ24 การเปล่ียนแปลงสภาพภูมิอากาศเนื่องมาจากปจจัยทางธรรมชาติและกิจกรรมของมนุษย โดยเฉพาะอยางยิ่งยุคปฏิวัติอุตสาหกรรม มนุษยไดมีการพัฒนาอยางมากมาย และมีการใชพลังงานโดยเฉพาะอยางยิ่งถานหินในปริมาณที่มาก นอกจากนี้การขยายพื้นที่เพื่อการเกษตร การขยายตัวของเมือง การพัฒนาในดานตาง ๆ เหลานี้ สงผลใหเกิดการปลดปลอยปริมาณกาซเรือนกระจก ไดแก กาซคารบอนไดออกไซด (CO2) กาซมีเทน (CH4) กาซไนตรัสออกไซด (N2O) กาซไฮโดรฟลูออโรคารบอน (HFC) กาซเพอรฟลูออโรคารบอน (PFC) และกาซซัวเฟอรเฮกซะฟลูออด (SF6) ทั้งนี้ ยังมีกาซเรือนกระจกที่เกิดจากภาคอุตสาหกรรมที่สําคัญอีกชนิดหนึ่ง คือ สารซีเอฟซี (CFC) หรือ Chlorofluorocarbon ผลกระทบของอุตสาหกรรมพลังงาน ผลกระทบดานสิ่งแวดลอม ผลกระทบจากการเปล่ียนแปลงสภาพภูมิอากาศมีหลายประเด็น ไดแก การเพิ่มข้ึนของอุณหภูมิ การที่ฝนไมตกตองตามฤดูกาล ความแหงแลง น้ําทวม สุขอนามัย ความหลากหลายทางชีวภาพ เปนตน จากการศึกษาของ IPCC (2001) พบวาผลกระทบจากการเปล่ียนแปลงสภาพภูมิอากาศ มีการเพิ่มข้ึนอยางรวดเร็ว ในปจจุบันนี้อุณหภูมิโลกสูงกวาที่เคย

24บริษัท ปตท. จํากัด (มหาชน), “ปริมาณน้ํามันดินในแหลงสํารองธรรมชาติ,”

ส่ือพลังงาน ปที่ 18 ฉบับที่ 3 (กรกฎาคม – กันยายน 2553), น. 59.

34

เปนเม่ือ พ.ศ.2543 ภูเขาน้ําแข็งทั่วโลกละลาย อัตราการละลายของภูเขาน้ําแข็งในแถบกรีนแลนดสูงข้ึน เปนผลใหระดับน้ําทะเลเพิ่มสูงข้ึน คล่ืนความรอนที่หนักที่สุดในชวงหนารอนป พ.ศ.2546 ไดคราชีวิตกวา 20,000 ชีวิตในทวีปยุโรป ภัยแลงและน้ําทวม กําลังทวีความรุนแรงมากข้ึน เนื่องจากภาวะที่โลกรอนข้ึนมีผลตอความสมดุลและวัฏจักรของน้ําของโลก ขอมูลจากคณะกรรมการระหวางรัฐบาลวาดวยการเปล่ียนแปลงสภาพภูมิอากาศขององคการสหประชาชาติ ชี้วาในศตวรรษที่ 21 นี้อุณหภูมิโดยเฉล่ียจะเพิ่มข้ึนระหวาง 1.4 – 5.8 องศาเซลเซียส และระดับน้ําทะเลจะเพิ่มข้ึนอยางนอย 0.09 เมตร และอาจสูงถึง 0.88 เมตร การเพิ่มข้ึนของอุณหภูมิและระดับน้ําทะเลนี้แมวาจะอยูในระดับที่ต่ําที่สุดของการคาดการณ ก็มีสวนทําใหเกิดน้ําทวมเกาะตาง ๆ สามารถทําลายแนวปะการัง และมีผลใหเกิดการละลายของภูเขาน้ําแข็งในแถบข้ัวโลกเหนือและใตได สวนการเพิ่มของอุณหภูมิ และระดับน้ําทะเลในระดับที่สูงข้ึนนั้น จะนํามาซึ่งหายนะทั้งตออารยธรรมมนุษย และความหลากหลายทางชีววิทยาตามธรรมชาต2ิ5 คณะกรรมการศึกษาปญหาระดับยุทธศาสตรและนโยบายกองทัพเรือ (2539-2540)26 ใหความสําคัญของทะเลวา ทะเลมีประโยชนมหาศาลแกมวลมนุษยตั้งแตมนุษยเร่ิมรูจักใชทะเล โดยในระยะแรกมนุษยไดใชทะเลในการจับสัตวน้ําสําหรับบริโภค ตอมาไดใชเปนเสนทางคมนาคมไปมาหาสูกันจากเมืองหนึ่งไปสูอีกเมืองหนึ่ง จากนั้นไดขยายไปเปนการคาระหวางกัน ประเทศใดที่รูจักใชทะเลทําการคา ก็จะกลายเปนประเทศที่ม่ังคั่ง รํ่ารวย มากกวาประเทศที่ไมมีทะเลหรือมีทะเลแตไมสามารถใชทะเลได จากการคาก็ขยายออกไปเปนการขยายอํานาจเพื่อลาอาณานิคม ในสงครามโลกคร้ังที่ 2 ทะเลไดแสดงประโยชนอยางชัดเจนในการเปนเสนทางคมนาคมขนสง ลําเลียงยุทโธปกรณ และสัมภาระที่มีประสิทธิภาพมากที่สุด เนื่องจาก สะดวก ประหยัด ปลอดภัย และสามารถขนสงไดในปริมาณมาก หลังสงครามโลกคร้ังที่ 2 เปนตนมา มนุษยไดคนพบวา ทะเลนอกจากเปนแหลงทรัพยากรธรรมชาติของสัตวน้ําที่นํามาบริโภคเปนอาหารไดแลว พื้นดินใตทะเลยังอุดมไปดวยแรธาตุตาง ๆ เชน กาซธรรมชาติและปโตรเลียมซึ่งนับวาเปนแหลงพลังงานที่มีความสําคัญตอมนุษย

25นาฏสุดา ภูมิจํานง, ผลกระทบของการเปล่ียนแปลงสภาพภูมิอากาศตอทรัพยากร

ธรรมชาตแิละส่ิงแวดลอม, (กรุงเทพฯ: คณะทรัพยากรและส่ิงแวดลอมศาสตร มหาวิทยาลัยมหิดล, 2551), น. 116.

26สถาบันวิชาการทหารเรือชั้นสูง, การศึกษาปญหาระดับยุทธศาสตรและนโยบายกองทัพเรือ พ.ศ.2539 – 2540, (นครปฐม: สถาบันวิชาการทหารเรือชั้นสูง, 2540), น. 96.

35

พืน้ที่และอาณาเขตทางทะเลที่กองทัพเรือมีหนาที่รับผิดชอบ ในการปองกันประเทศและดูแลความสงบเรียบรอย ตลอดจนคุมครองผลประโยชนของชาติทางทะเล และรักษากฎหมายทางทะเลตามที่รัฐบาลมอบหมายใหกองทัพเรือดําเนินการทั้งยามสงบ และยามสงคราม มี 2 พื้นที่ ไดแก พื้นที่ดานอาวไทย และพื้นที่ดานทะเลอันดามัน27 ในสวนของพื้นที่ดานอาวไทย เปนปากทางออกสูทะเลจีนใต โอบลอมโดยผืนแผนดินจากปลายแหลมญวน เขาสูชายฝงตะวันออกของไทย โอบโคงลงไปถึงเมืองโกตาบารูของมาเลเซียมีความกวางประมาณ 300 ไมลทะเล (วัดจากชายฝงดานตะวันตกของอาวไทยถึงปลายแหลมมาลาย)ู มีเนื้อที่ประมาณ 98,800 ตารางไมลทะเลโดยอาวไทยแบงเปนสองตอน คือ อาวไทยตอนบนและอาวไทยตอนลาง อาวไทยตอนบน เร่ิมนับจากเสนรุงที่ 12 องศา 30 ลิปดาเหนือจนถึงปากแมน้ําเจาพระยามีรูปรางคลาย ๆ ตัว “ก” มีความลึกของน้ําทะเลเฉล่ียประมาณ 50 ฟุต สวนอาวไทยตอนลางนับจากเสนรุงที่ 12 องศา 30 ลิปดาเหนือไปจนถึงเสนขวางระหวางแหลมคาเมาประเทศเวียดนาม กับปากแมน้ําโกตาบารูทางตอนใตสุดของจังหวัดนราธิวาส มีความลึกของน้ําทะเลเฉล่ีย 150 ฟุต จุดที่ลึกที่สุดอยูประมาณกลางอาวไทย และคอย ๆ ตื้นข้ึนมาตามความลาดชันของฝงทะเล อาวไทยเปนแหลงทรัพยากรธรรมชาติที่อุดมสมบูรณ และเปนเสนทางคมนาคมทางทะเลยที่สําคัญที่สุดของไทย นอกจากประเทศไทยแลวยังมีประเทศอ่ืนอีก 3 ประเทศ ที่มีอาณาเขตติดตอกับอาวไทย ไดแก มาเลเซีย กัมพูชา และเวียดนาม ทําใหไทยขยายเศรษฐกิจจําเพาะไดเพียง 120 ไมลทะเล ผลประโยชนทางทะเล เม่ือกลาวถึงผลประโยชนของชาติทางทะเล (National Maritime Interests) และมักหมายถึง ผลประโยชนที่ไดจากทะเล ในสวนของทรัพยากรธรรมชาติทั้งส่ิงมีชีวิตและไมมีชีวิต ซึ่งส่ิงมีชีวิตไดแก กุง หอย ปู ปลา เปนตน และส่ิงที่ไมมีชีวิต ไดแก แรธาตุ น้ํามัน กาซธรรมชาติ และแหงพลังงานธรรมชาติอ่ืน ๆ เปนตน กาขุดพบกาซธรรมชาติในอาวไทยไดเพิ่มความสําคัญของทะเลไทยใหสูงยิ่งข้ึน แตยังหมายรวมถึงการรักษาเอกราช และอธิปไตยตอนานน้ํา ชายฝง และหมูเกาะตาง ๆ ของประเทศอีกดวย ทั้งนี้เพื่อประโยชนในการใชเปนเสนทางคมนาคมขนสงทางทะเล การทองเที่ยว การอนุรักษทรัพยากรธรรมชาติและส่ิงแวดลอมทางทะเล

27กองทัพเรือ, หลักนิยมทางทะเลของกองทัพเรือ, (กรุงเทพฯ: กรมสารบรรณทหารเรือ,

2546), น. 1.

36

ยุทธศาสตรกองทัพเรือ ในป 2546-255528 ผลประโยชนสูงสุดของชาติถาวรและระยะยาวที่ทุกประเทศตองธํารงรักษาไวคือ อธิปไตย บูรณภาพแหงดินแดน เกียรติภูมิและศักดิ์ศรีของชาติ ผลประโยชนเฉพาะหนาและระยะปานกลางที่สําคัญของชาติ คือ ความม่ังคงเขมแข็งของสังคมไทย ชุมชนทองถิ่น และคนไทยคนในชาติทุกกลุมมีสิทธิเสรีภาพ ไดรับผลประโยชนความสุขอยางเหมาะสมและเปนธรรม มีความม่ังคงสงบเรียบรอยในสังคม รวมทั้งมีบทบาทและความสัมพันธที่ดีในประชาคมระหวางประเทศ ผลประโยชนของชาติ เปนปจจัยสําคัญของนักการทหารและนักการทูตที่ใชในการกําหนดยุทธศาสตรและการพัฒนากําลังอํานาจของชาติ นักยุทธศาสตรชาวสหรัฐ ฯ ไดเสนอแนวความคิดในเร่ืองผลประโยชนของชาติไวหลายทาน เชน Hans Morgenthau29 ไดแบงผลประโยชนของชาติออกเปน 2 ระดับ คือ “ผลประโยชนสําคัญของชาติ” (Vital Interests) ซึ่งเกี่ยวของกับความอยูรอดของประเทศที่ไมสามารถประนีประนอมได และไมรีรอที่จะใชกําลังอํานาจทางทหารเขาทําการแกไขปญหา และอีกระดับหนึ่งคือ “ผลประโยชนระดับรองของชาติ” (Secondary Interests)ซึ่งไมเกี่ยวของกับความอยูรอดของประเทศและสามารถประนีประนอมได สวน Donald E. Neuchterlein ไดแบงยอยผลประโยชนของชาติจากแนวคิดของ Hans Morgenthau ออกเปน 4 ระดับ คือ ผลประโยชนสําคัญของชาติ แบงเปน “ผลประโยชนเพื่อความอยูรอดของชาติ” และ “ผลประโยชนสําคัญของชาต”ิ (Vital Interests) และแบงผลประโยชนระดับรองของชาติ (Secondary Interests) เปน “ผลประโยชนหลักของชาต”ิ และ “ผลประโยชนรองของชาติ” ซึ่งโดยทั่วไปประเทศตาง ๆ มักตัดสินใจที่จะใชกําลังอํานาจทางทหารเขาทําการแกไขปญหาในกรณีที่ “ผลประโยชนสําคัญของชาต”ิ ตั้งแตหนึ่งอยางข้ึนไปถูกคุกคามผลประโยชนของชาติเปนปจจัยสําคัญที่ใชในการกําหนด “วัตถุประสงคแหงชาติ” และ “ยุทธศาสตรชาติ” การรักษาผลประโยชนของชาติทางทะเลตามมติ ครม . เมื่อวันท่ี 11 พฤษภาคม 253630 กําหนดใหกระทรวงกลาโหม โดยกองทัพเรือเปนสวนราชการรับผิดชอบตามยุทธศาสตรที่กําหนดไวดังนี้

28วิทยาลัยการทัพเรือ, ยุทธศาสตรกองทัพเรือ พ.ศ. 2546–2555, (นครปฐม:

กรมยุทธศึกษาทหารเรือ, 2546), น. 1. 29กองทัพเรือ, หลักนิยมทางทะเลของกองทัพเรือ, น. 25. 30วิทยาลัยการทัพเรือ, ยุทธศาสตรกองทัพเรือ พ.ศ. 2546–2555, น. 5.

37

1. เสริมสรางกําลังอํานาจของกองทัพเพื่อปกปองผลประโยชนดานตาง ๆ ของชาติในทะเลโดยสนับสนุนการเสริมกําลังอํานาจของกองทัพอยางเหมาะสม ตามหวงเวลาที่จําเปนและ ขีดความสามารถทาการเงินของประเทศ 2. วางแผนประสานงานระหวางสวนราชการตาง ๆ อยางใกลชิดรวมทั้งอาจจัดใหมีหนวยเฉพาะกิจตามความเหมาะสม เพื่อใหมีการปราบปรามการกระทําผิดบางอยางในทะเล การใหความชวยเหลือผูประสบภัย การใหความคุมครองความปลอดภัยและสวัสดิภาพของประชาชนและการควบคุมดูแลการเขามาบรรดาเรือทองเที่ยว ทั้งในเร่ืองบุคคล และการกระทําผิดตาง ๆ ที่แอบแฝงมากับการทองเที่ยว 3. จัดใหมีแผนปองกันอุบัติภัยและภัยธรรมชาติทั้ งบนบกและในทะเลที่อาจกอใหเกิดอันตรายแกสาธารณชนและทรัพยากรทางทะเลและแหลงชุมชนหนาแนนชายฝง รวมทั้งการรวมมือกับรัฐชายฝงอ่ืน ๆ ในการวางแผนและดําเนินการแกไขปญหาดานส่ิงแวดลอมและอุบัติภัยที่รัฐชายฝงกอข้ึนหรือไดรับผลกระทบรวมกัน 4. วางแผนการอนุรักษและฟนฟูทรัพยากรธรรมชาติและส่ิงแวดลอมทางทะเลอยางเปนระบบทุกระดับ โดยเนนการใหความรูความเขาใจที่ถูกตองแกประชาชน และสนับสนุนใหชุมชน องคกรประชาชน และองคกรพัฒนาเอกชนเขามามีสวนรวมมากที่สุด โดยรัฐจัดสรรงบประมาณอยางเพียงพอ และกํากับดูแลใหมีการปฏิบัติตามแผนอยางจริงจัง รวมทั้งการวางหลักเกณฑเพื่อใหผูที่กอใหเกิดความเสียหายตอส่ิงแวดลอมเปนผูรับภาระในการอนุรักษฟนฟู ภัยคุกคามทางทะเล (Maritime Threats) ภัยคุกคามหรืออันตรายที่มีตอผลประโยชนของชาติทางทะเลที่อาจเกิดจากปญหาในทะเลนั้นมีมากมาย โดยภัยคุกคามที่จัดอยูในระดับผลประโยชนสําคัญ (Vital Interests) ของไทย คือ การถูกปดกั้นหรือขัดขวางเสนทางคมนาคมทางทะเลที่เปนสายหลักสายเดียวของไทย ซึ่งเชื่อมระหวางเมืองทาสําคัญของไทยที่ตั้งลึกเขามาในกนอาวไทยกับเมืองทาสําคัญในทะเลจีนใต มหาสมุทรอินเดียและมหาสมุทรแปซิฟก ซึ่งอาจเปนทั้งภัยคุกคามทั่วไป (Non – Military Threats) และภัยคุกคามทางทหาร (Military Threats)

การปฏิบัติในการรักษาผลประโยชนทางทะเลของตางประเทศ31 1. ประเทศสหรัฐอเมริกา มีหนวยปองกันฝง (COAST GUARD) ซึ่งมีภารกิจหลักที่สําคัญ 3 ประการ คือ การักษากฎหมายทางทะเล การคุมครองและชวยเหลือผูประสบภัยใน

31สุวิทย ชูรัตน, เรือเอก, การพัฒนาเกาะกระเพื่อเพิ่มขีดความสามารถในการรักษาผลประโยชนของชาติทางทะเล พื้นที่อาวไทยตอนลาง, (วิทยานิพนธปริญญามหาบัณฑิต สาขายุทธศาสตรการพัฒนา คณะศิลปศาสตร มหาวิทยาลัยราชภัฏสงขลา, 2549), น. 49-52.

38

ทะเล และการเตรียมกําลังในการปองกันประเทศโดยมีขอบเขตการปฏิบัติเพื่อใหบรรลุภารกิจ 12 ประการคือ 1) การชวยเหลือดานการเดินเรือ 2) การรักษาความปลอดภัยเกี่ยวกับการเดินเรือ 3) การปองกันประเทศ 4) การอนุรักษและพัฒนาส่ิงแวดลอมทางทะเล 5) การเปดเสนทางเดินเรือผานน้ําแข็ง 6) การบังคับใชกฎหมาย 7) การตรวจสอบความปลอดภัย 8) การออกใบอนุญาตการนําเรือ 9) การบริการดานสมุทรศาสตร 10) การรักษาความปลอดภัย 11) การคนหาและชวยเหลือผูประสบภัยทางทะเล 12) การควบคุมการสัญจรในรองน้ํา 2. ประเทศญี่ปุน ญี่ปุนไดจัดตั้งหนวยงานเกี่ยวกับปองกันฝงและในทะเลเรียกวา JAPAN MARITIME SAFETY AGENCY (JMSA) ที่โตเกียว โดยจัดตั้งข้ึนในลักษณะคลายคลึงกับหนวย COAST GUARD ของสหรัฐอเมริกา โดย JMSA รับผิดชอบในการดําเนินการดานรักษาความปลอดภัยทางทะเลรอบทะเลอาณาเขตของประเทศญี่ปุน งานตาง ๆ ที่สําคัญไดแก

1) ระบบการแจงขาวสารเพื่อความปลอดภัย 2) การชวยเหลือผูประสบภัยทางทะเล 3) การเฝาตรวจและควบคุมมลภาวะในทะเล (Maritime Pollution) 4) การปองกันภัยพิบัติทางทะเล (Maritime Disaster) 5) การควบคุมการจราจรการเดินเรือในอาวตาง ๆ 6) การดําเนินการตามกฎหมายในทะเลอาณาเขต 7) การดําเนินการตามกฎหมายในเขตประมง 200 ไมล 8) การดําเนินการสําหรับส่ิงอํานวยความสะดวกและเคร่ืองชวยในการเดินเรือ 9) อ่ืน ๆ ฯลฯ ดังนี ้

(1) ระบบการแจงขาวสารเพื่อความปลอดภัย ดําเนินการในระบบ Japanese Ship Reporting System (JASREP) โดยเม่ือเรือเขาไปในเขต ละติจูด 17 องศาเหนือ

39

ลองติจูด 165 องศา จะตองรายงาน เพื่อหนวยงานของญี่ปุนจะไดทราบและติดตามการเคล่ือนไหว และหากประสบภัยทางทะเลหรือเกิดการสูญเสียจะไดติดตามชวยเหลือและคนหา

(2) การชวยเหลือผูประสบภัยทางทะเล ตามขอตกลงระหวางสหรัฐอเมริกาและญี่ปุน ในเร่ือง Maritime Search And Rescue เม่ือ ธ.ค.1986 ญี่ปุนรับผิดชอบเร่ือง SAR (Search And Rescue) ในเขต 1,200 ไมล จากขอบฝงเม่ือไดรับแจง การประสบภัยทางทะเล ศูนยควบคุมการชวยเหลือ ฯ จะรวบรวมขอมูลและวิเคราะหเพื่อดําเนินการ โดยใชเรือ และเคร่ืองบินที่ประจําอยูตามเขตตาง ๆ เขาคนหาและชวยเหลือ ตลอดจนวางเรือลาดตระเวนไวเปนการลวงหนาในตําบลที่คาดวาจะเกิดภัยพิบัติข้ึน เชนในพื้นที่การเดินเรือหนาแนน ตําบลที่มีการปลามาก และตลอดจนพิจารณาถึงสภาพอากาศดวย ในการชวยชีวิตผูประสบภัยเปนการดวนไดมีการจัดตั้งชุดชวยเหลือพิเศษ (Special Rescue Team) ซึ่งมีกําลังพลประจํา 20 นาย ซึ่งมีอุปกรณพิเศษเฉพาะ และฝกสําหรับงานนี้โดยเฉพาะ เชน การโดดรวมลงทะเล การปฏิบัติการพิเศษใตน้ํา (Scuba Diver) ฯลฯ ซึ่งกําลังพลจะไดรับเงินเพิ่มพิเศษและผลัดเปล่ียนหมุนเวียนพรอมปฏิบัติการตลอด 24 ชั่วโมง สามารถไปไดทุกหนทุกแหงดวยความรวดเร็ว โดยเคร่ืองบินหรือเฮลิคอปเตอร หนวยนี้ประจําอยูที่สนามบิน

(3) การเฝาตรวจและควบคุมมลภาวะในทะเล ก. ใชเรือลาดตระเวนและเฝาตรวจตามเสนทางการเดินเรือของเรือน้ํามัน

และเรือสินคา เพื่อตรวจสอบการทิ้งของเสียลงทะเล ข. ใช Infrared Apparatus ตรวจสอบคราบน้ํามัน โดยเคร่ืองบิน ใน

เวลากลางคืนสุมตัวอยางการทิ้งน้ําเสียของโรงงานอุตสาหกรรมเพื่อเอาไปตรวจสอบและวิเคราะห ค. การดําเนินการในการขจัดคราบน้ํามันและของเสียในทะเล เนื่องจากประเทศญี่ปุนมีทาเรือเปนจํานวนมากและมีการเดินเรือเขา –

ออกอยางมากมาย ปญหาเร่ือง Marine Pollution จึงเปนส่ิงจําเปนมากที่ตองดําเนินการโดยเครงครัด

(4) การปองกันภัยพิบัติทางทะเล (Maritime Disaster) ก. จัดเรือและอุปกรณในการดับไฟแกเรือและโรงงานอุตสาหกรรมเม่ือ

เกิดเพลิงไหม ข. จัดอุปกรณในการขจัดคราบน้ํามันผิดหนาน้ํา (Oil Spill) อันเกิดจาก

อุบัติเหตุ ค. จัดพาหนะในการชวยเหลือลําเลียงผูประสบภัย หรือการที่ตองการ

ความชวยเหลือดวน เชน ทาการแพทย ฯลฯ

40

(5) การควบคุมการจราจรการเดินเรือในอาวตาง ๆ เนื่องจากมีการเดินเรือหนาแนน จึงไดจัดตั้งหอควบคุม และสถานีในการดําเนินการตาง ๆ เกี่ยวกับเดินเรือในอาวตาง ๆ เชน การกําหนดเสนทางเดินเรือของเรือขนาดใหญ การควบคุมการจราจร การจัดระเบียบในการเขาเทียบและจอดทอดสมอ การแจงเตือนภัยจากพายุใตฝุน การควบคุมการเขามาหลบภัยจากพายุใตฝุนในอาวตาง ๆ

(6) การดําเนินการตามกฎหมายในทะเลอาณาเขต ก. ดําเนินการเฝาตรวจและควบคุมเรือตางชาติที่ เดินเรือเขามาใน

นานน้ําอาณาเขต แกเรือที่ตองสงสัยวาจะมีการปฏิบัติฝาฝนกฎหมายโดยการเตือน ส่ังใหออกไปนอกนานน้ําอาณาเขต จับกุมลูกเรือที่กออาชญากรรม

ข. ดําเนินการไมใหตางชาติเขามาสํารวจทรัพยากรธรรมชาติใตทะเลภายในเขตไหลทวีปโดยไมไดรับอนุญาต โดยดําเนินการเฝาตรวจทั้งเคร่ืองบินและเรือ โดยประสานงานอยางใกลชิดกับทุกหนวยที่เกี่ยวของ

(7) การดําเนินการตามกฎหมายในเขตประมง 200 ไมล ญี่ปุนถือเขตประมงรอบเกาะ 200 ไมล ดังนั้นเรือประมงตางชาติที่เขาไป

ทําการประมงในเขต 200 ไมล โดยไมไดรับอนุญาตจะจับกุมและดําเนินการตามกฎหมาย (8) การดําเนินการสําหรับส่ิงอํานวยความสะดวกและเคร่ืองชวยในการ

เดินเรือและเพื่อความสะดวกในการเคล่ือนที่ไดรวดเร็วและมีขีดความสามารถสูง จึงใชเคร่ืองบินในการเฝาตรวจทะเลอาณาเขตลาดตระเวนตรวจการณ และควบคุมเรือตางชาติในเขตการประมง ตรวจตราและควบคุมมลภาวะทางทะเล การชวยเหลือผูประสบภัย แนะนําควบคุมการสัญจรทางน้ํา ฯลฯ

(9) การส่ือสาร MSA ไดดําเนินการดานการส่ือสารอยางกวางขวางในดานการชวยเหลือผูประสบภัย การเตือนภัยในการเดินเรือ การเตือนภัยและแจงขาวอากาศ ระบบการรายงานตําบลที่เรือ การเขาทา – ออกจากทา การติดตอส่ือสารจากสถานีฝงตอเรือ และเคร่ืองบิน ตลอดจนการติดตอระหวางเรือกับเรือ และเรือกับเคร่ืองบิน 3. ประเทศมาเลเซีย รัฐบาลมาเลเซียไดเร่ิมพิจารณาจัดตั้งหนวย Malaysian Maritime Enforcement Agency (MMEA) ข้ึนใหมตามมติ ครม. เม่ือ พ.ศ.2547 เพื่อดูแลนานน้ําของประเทศ และรักษาความปลอดภัยบริเวณชองแคบมะละกา โดยไดเร่ิมกอตั้งหนวยเม่ือ 15 กุมภาพันธ 2548 และเร่ิมปฏิบัติงานใน 30 พฤษภาคม 2548 กําหนดจะเสร็จสมบูรณในป 2553 โดยปรับปรุงโครงสรางของหนวยงานภาครัฐที่มีหนาที่ดูและนานน้ํามาเลเซีย ซึ่งแตเดิมกระจายความรับผิดชอบอยูในหนวยงานระดับกรมจํานวน 11 หนวย ใหมารวมศูนยที่ MMEA หนวยงาน

41

นี้ข้ึนตรงตอสํานักนายกรัฐมนตรีเพื่อลดภาระดานงบประมาณ และลดความซ้ําซอนในการปฏิบัติงาน โดย MMEA จะมีอํานาจในการสอบสวน จับกุม ดําเนินคดีตอผูกระทําผิดตามกฎหมายวาดวยการคาและการเดินเรือในทะเลฉบับป 2547 (Malaysian Maritime Enforcement Act 2004) และตามกฎหมายความม่ันคงภายใน (Internal Security Act – ISA) ทั้งนี้หนวย MMEA มีตนแบบมาจากหนวยงานรักษาชายฝงของสหรัฐอเมริกา (COAST GUARD) เม่ือ MMEA สามารถปฏิบัติงานไดเต็มรูปแบบ จะชวยใหมาเลเซียลดปญหาเร่ืองปองกันการหลบหนีเขาเมือง และปญหาโจรสลัด หนวย MMEA มีภารกิจหลัก คือ รับผิดชอบเกี่ยวกับปญหาโจรสลัด มลพิษทางน้ํา ผูหลบหนี้เขาเมือง การรุกลํ้านานน้ํา และนานฟา การชวยเหลือและคนหาผูประสบภัย โดยทําหนาที่ดูแลนานน้ํามาเลเซียในเขตเศรษฐกิจจําเพาะ (200 ไมลทะเลจากชายฝง) รวมพื้นที่ประมาณ 614,000 ตารางกิโลเมตร และพื้นที่ชายฝงทะเลระยะทาง 4,500 กิโลเมตร ซึ่งในระยะแรกจะดูแลนานน้ําในระยะ 50 ไมลทะเล เนื่องจากยังมีขอจํากัดดานยุทโธปกรณ โดยพื้นที่สวนที่เหลือยังคงใหกองทัพเรือมาเลเซีย เปนผูรับผิดชอบ ซึ่งตามโครงสรางของหนวย MMEA จะมีเรือประจําการจํานวน 72 ลํา ประกอบดวย เรือจากกองทัพเรือมาเลเซีย 19 ลํา นอกจากนี้มีเรือของตํารวจน้ํามาเลเซีย 15 ลํา กรมศุลกากร 50 ลํา กรมประมง 12 ลํา และกรมเจาทา 21 ลํา มีการแบงพื้นที่นานน้ําในความรับผิดชอบออกเปน 5 ภาค ครอบคลุมนานน้ํามาเลเซีย โดยมีที่ตั้งสํานักงานและภาคคือ 1) นานน้ําภาคเหนือของแหลมมลายู ที่เกาะลังกาวี รัฐเคดาห 2) นานน้ําภาคใตของแหลมมลายู ที่เมืองยะโฮรบารู รัฐยะโฮร 3) นานน้ําภาคตะวันออกของแหลมมลายู ที่เมืองกวนตัง รัฐปาหัง 4) นานน้ําภาคซาราวัค ที่เมืองกูชิง รัฐซาราวัก 5) นานน้ําภาคซาบาห ที่เมืองโกตาคินาบาลู รัฐซาบาห โดยมีสํานักงานใหญอยูที่ ปุตราจาจา รัฐแสลังงอร การปฏิบัติภารกิจของ MMEA และหนวยงานท่ีเกี่ยวของ 1. ในสถานการณปกติ หนวย MMEA จะทําหนาที่บังคับใชกฎหมายทางทะเล และในภาวะวิกฤติหรือสงครามจะทําหนาที่เปนหนวยชวยรบ 2. มีการนําระบบเรดารตรวจการณมาใชในการปฏิบัติ เพื่อปองกันการกอการรายและโจรสลัดตลอด 24 ชั่วโมง 3. เพื่อความรวมมือกับสิงคโปรและอินโดนีเซีย ในการลาดตระเวนและแกปญหารวมกัน

42

4. กองทัพเรือและตํารวจน้ํามาเลเซีย เพิ่มมาตรการในการรักษาความปลอดภัยที่เขมงวดข้ึน เชน การเพิ่มเจาหนาที่ตํารวจไปกับเรือที่เขานานน้ํา 5. ศึกษาและตรวจสอบระบบการรักษาความปลอดภัยทางทะเลของประเทศอ่ืน ๆ ควบคูไปดวย 6. อาจมีการกําหนดใหเรือทุกลําที่เดินทางผานชองแคบมะละกา ซึ่งมาตรการนี้หลายประเทศยังไมเห็นดวย โดยเฉพาะสหรัฐ ฯ เนื่องจากเห็นวาชองมะละกาเปนเสนทางการเดินเรือสากล เรือที่เดินทางผานโดยสุจริต ไมจําเปนตองรายงานตอมาเลเซีย 7. จัดตั้งศูนยขาวกรองเพื่อแลกเปล่ียนขอมูลขาวสารและขาวกรองที่เกี่ยวกับสถานการณชองแคบมะละกา

งานวิจัยท่ีเกี่ยวของ

จากการศึกษางานวิจัยที่เกี่ยวของกับการส่ือสารพลังงานที่ผานมาในประเทศไทยนั้น

พบวามีกลุมงานวิจัยที่ศึกษาเกี่ยวกับการคนหาขุดเจาะปโตรเลียม คือน้ํามันดิบ และกาซธรรมชาตินั้น มีอยูดวยกัน 3 แนวทางดังนี้ คือ งานวิจัยเกี่ยวกับการส่ือสารทางการเมืองดานธรรมชาติและส่ิงแวดลอม งานวิจัยเกี่ยวกับความขัดแยงดานส่ิงแวดลอมและทรัพยากรธรรมชาติ งานวิจัยเกี่ยวกับขอกฎหมายทางทะเลแนวใหม

ธรรมสรรค สุกไกรรักษ32 ไดศึกษาวิจัยเร่ือง“กระบวนการส่ือสารรณรงคเพื่อ การประหยัดพลังงาน : ศึกษากรณีการส่ือสารของกระทรวงพลังงานในชวงวิกฤติพลังงาน ป พ.ศ. 2548–2549” ผลการศึกษาพบวาลักษณะของกระบวนการส่ือสารรณรงคเพื่อประหยัดพลังงานเปนกระบวนการกึ่งขอความรวมมือกึ่งบังคับ ผสมผสานกันระหวาการออกกฎและมาตรการบังคับการสรางความกลัว คับของ ไมสะดวกกับการสรางความรู ความเขาใจ สรางความหวังและความเชื่อใหมเพื่อปรับเปล่ียนพฤติกรรมของคนไทย อาจกลาวไดวาชวงเวลาของวิกฤตพลังงานดังกลาวเปนชวงเปล่ียนผานของพฤติกรรมการใชน้ํามันของคนไทยที่รับพยงุราคามาเปนระยะเวลานานมาสูการรับรูความเปนจริงของราคาน้ํามันในตลาดโลก กลยุทธที่สําคัญที่ใชใน

32ธรรมสรรค สุกไกรรักษ, กระบวนการส่ือสารรณรงคเพื่อการประหยัดพลังงาน :

ศึกษากรณีการส่ือสารของกระทรวงพลังงานในชวงวิกฤติพลังงาน ป พ .ศ. 2548-2549, (วิทยานิพนธปริญญามหาบัณฑิต สาขาส่ือสารการเมือง คณะรัฐศาสตร วิทยาลัยส่ือสารการเมือง มหาวิทยาลัยเกริก, 2550).

43

กระบวนการส่ือสารรณรงคก็คือ เจาะแตละกลุมเปาหมาย ใชส่ือโฆษณาที่เรียบงาย มุงเนนใหผูรับสารแตละกลุมไดประโยชนกับตัวเองโดยตรง และใชส่ือบุคคลในการประชาสัมพันธเพื่อนําไปสูการปฏิบัติของประชาชนทั้งประเทศ การรณรงคประหยัดพลังงานจะประสบความสําเร็จไดคงจะตองใชระยะเวลาอีกระยะหนึ่งในการปรับพฤติกรรมของคนไทยใหเห็นประโยชนของการประหยัดพลังงานดวยตัวเองอยางจริงจัง

ดวยเหตุผลที่มีการเปล่ียนแปลงทางการเมือง ในวันที่ 19 กันยายน 2549 ทําใหนโยบายพลังงานมีการเปล่ียนแปลงบางประการ ฉะนั้น การประเมินผลระยะยาวของยุทธศาสตรการแกปญหาพลังงานของประเทศ (17 พฤติกรรม 2548) รวมทั้งกระบวนการการส่ือสารรณรงคเพื่อประหยัดพลังงานจึงไมสามารถวัดผลไดเต็มที่ อยางไรก็ตาม การรณรงคเพื่อประหยัดพลังงานในชวงวิกฤตพลังงาน พ.ศ. 2548 – 2549 เปนชวงเวลาที่มีภาพชัดเจนในการดึงความตระหนักรูของคนไทย ในเร่ืองการใหความสําคัญกับพลังงานซึ่งเปนส่ิงที่จําเปนใกลตัวออกมา รวมทั้งรับรูถึงผลกระทบอันรุนแรงของวิกฤตพลังงานหากรัฐไมมีการบริหารจัดการที่ดี และที่สําคัญที่สุดคือไมไดรับความรวมมือจากประชาชนทั้งประเทศในการชวยกันประหยัดพลังงาน

ณรงคฤทธิ์ เลิศเกษตรวิทยา33 ไดศึกษาเร่ือง “ประวัติการสะสมทองแดงแคดเมียมและตะกั่วในดินตะกอนบริเวณอาวไทยตอนบน”โดยทําการเก็บตัวอยางจาก 9 สถานี โดยทําการเก็บตัวอยาง 2 คร้ัง คือ ชวงวันที่ 30 มกราคม ถึงวันที่ 5 กุมภาพันธ และชวงวันที่ 5-8 กันยายน พ.ศ. 2545 ผลการศึกษาพบวา มีคาสูงบริเวณมาบตาพุด เจาพระยา และบางปะกง สวนคาเฉล่ียในทุกระดับความลึกสารอินทรียรวมพบวามีปริมาณสูงบริเวณแหลมฉบัง คาเฉล่ีย 12.42 เปอรเซ็นต บางปะกง มีคาเฉล่ีย 10.64 เปอรเซ็นต และเพชรบุรี 9.61 เปอรเซ็นต ตามลําดับ สวนการตกตะกอนพบวามีอัตราการตกตะกอนลดลงเม่ือหางจากตอนบนของอาวไทยลงมา เพราะพบวาตัวอยางดินตะกอนที่เก็บไดบริเวณกลางอาวมีอายุมากที่สุด 123.7 ป ในขณะที่บริเวณปากแมน้ําเจาพระยามีอัตราการตกตะกอนสูงมากจนไมสามารถหาอายุได และการเปรียบเทียบปริมาณของโลหะตามแนวดิ่งในดินตะกอน พบวา ทองแดงมีแนวโนมที่เพิ่มข้ึนจากอดีตในชวง 40 ปที่ผานมา สวนแคดเมียมและตะกั่วไมพบแนวโนมที่ชัดเจน

33ณรงคฤทธิ์ เลิศเกษตรวิทยา, การศึกษาประวัติการสะสมของทองแดง แคดเมียม

และตะกั่ว ในดินตะกอนบริเวณอาวไทยตอนบน, (วิทยานิพนธปริญญามหาบัณฑิต สาขาวิทยาศาสตรทางทะเล คณะวิทยาศาสตร มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร, 2547).

44

สมปรารถนา ฤทธิ์พร้ิง และชัยพันธุ รักวิจัย34 ไดทําการวิจัยเร่ือง “การเปล่ียนแปลงของชายฝงทะเลอาวไทยตอนลาง” ซึ่งการศึกษามุงเนนศึกษาถึงประวัติการเปล่ียนแปลงของชายฝงทะเลอาวไทยตอนลาง ตั้งแตอําเภอขนอม จังหวัดนครศรีธรรมราช ถึงปลาแหลมตาซี จังหวัดปตตานี โดยใชภาพถายทางอากาศชวงป พ.ศ. 2510 2538 และ 2542 พบวา ดวยลักษณะชายฝงเปนทะเลเปด ไมมีแนวกําบังคล่ืนลม ทําใหคล่ืนที่เคล่ือนที่มาจากทะเลจีนใต สามารถเขากระทบชายฝงไดโดยตรง สงใหเกิดการเปล่ียนแปลงข้ึนในหลายพื้นที่ คือ เกิดการกัดเซาะสูงบริเวณบานในถุง-บานสระบัว ริมถนนปากพนัง-หัวไทร ชวงบานเกาะฝาย-นําทรัพย จังหวัดนครศรีธรรมราช ธรรมสถานหาดทรายแกว จังหวัดสงขลา บานบางตาวา และริมถนนตะโละสะมิแล-บานดาโตะ แหลมตาซี จังหวัดปตตานี และเกิดการทับถมสูงบริเวณอาวปากพนัง และอาวปตตานี การงอกยืนของปลายแหลมตะลุมพุกและแหลมตาซี และการทับถมดานใตของปากทางเขาทะเลสาบสงขลา

สมยศ หลอวิทยากร35 ทําการศึกษาเร่ือง “การวิเคราะหอุณหภูมิและความเค็มที่ผิวน้ําทะเลจากทุนสํารวจสมุทรศาสตรประกอบรูปแบบไหลเวียนของกระแสน้ําในอาวไทยจากแบบจําลองคณิตศาสตร” โดยใชขอมูลนําเขาที่สําคัญ คือ กระแสลมที่ไดจากทุนสํารวจสมุทรศาสตร กระแสลมที่ไดจากแผนที่อากาศ และระดับน้ําข้ึนน้ําลงที่ไดจากการคํานวณโดยแบบจําลองคณิตศาสตร ซึ่งคาของกระแสน้ําที่ไดจากการคํานวณโดยแบบ พบวา คากระแสน้ําที่ไดจากการคํานวณใหผลใกลเคียงกันกับคากระแสน้ําที่วัดไดจริง และใหผลที่ไมดีในบริเวณใกลชายฝง ซึ่งประกอบดวย สถานีเกาะชาง ระยอง เกาะสีชัง หัวหิน เกาะเตา และสงขลา

สวนกระแสน้ําพบวา กระแสน้ําในชวงฤดูมรสุมตะวันตกเฉียงใต กระแสน้ํามีทิศทางไหลเขาสูอาวไทยทางดานฝงตะวันตก วนตามเข็มนาฬิกาแลวไหลออกทางฝงตะวันออกของอาวไทย สวนในฤดูมรสุมตะวันออกเฉียงเหนือกระแสน้ํามีทิศทางไหลเขาสูอาวไทยทางดานฝงตะวันออก วนทวนเข็มนาฬิกาแลวไหลออกทางฝงตะวันตกของอาวไทย แตในชวงที่มีการเปล่ียนแปลงฤดูมรสุม คือ ในชวงเดือนเมษายนและเดือนตุลาคม พบวา ลักษณะการไหลเวียนของ

34สมปรารถนา ฤทธิ์พร้ิง และ ชัยพันธุ รักวิจัย, การเปล่ียนแปลงของชายฝงทะเลอาวไทยตอนลาง, (กรุงเทพฯ: ภาควิชาวิศวกรรมทรัพยากรน้ํา มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร, 2545).

35สมยศ หลอวิทยากร, การวิเคราะหขอมูลอุณหภูมิและความเค็มที่ผิวน้ําทะเลจากทุนสํารวจสมุทรศาสตรประกอบรูปแบบการไหลเวียนของกระแสน้ําในอาวไทยจากแบบจําลองคณิตศาสตร, (วิทยานิพนธปริญญามหาบัณฑิต สาขาวิทยาศาสตรทางทะเล คณะวิทยาศาสตรจุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย, 2541).

45

กระแสน้ําในอาวไทยมีทิศทางที่ไมแนนอน และผลจากการวิเคราะหรูปแบบการแจกแจงของอุณหภูมิและความเค็มที่ผิวหนาน้ําทะเลในอาวไทยตลอดป 2537 มีคาอุณหภูมิอยูในชวง 26.5 -31.4 องศาเซลเซียส

บริษัท ปตท.จําหนายกาซธรรมชาติ จํากัด (2543)36 ทําการศึกษาเร่ือง “การวิเคราะหผลกระทบส่ิงแวดลอมโครงการทอสงกาซธรรมชาติ (จาก BV.WN#3 ไปสูนิคมอุตสาหกรรมลาดกระบัง)” ในการประเมินผลกระทบส่ิงแวดลอมของโครงการอันเปนสาเหตุที่กอใหเกิดผลกระทบส่ิงแวดลอม ประกอบดวย 4 ดาน คือ ดานทรัพยากรกายภาพ ดานทรัพยากรชีวภาพ คุณคาการใชประโยชนของมนุษย คุณคาคุณภาพชีวิต ไดผลขอคันพบ ดังนี้

ดานทรัพยากรกายภาพ ผลกระทบตออุตุนิยมวิทยาและคุณภาพอากาศ พบวา ในชวงของการกอสรางอาจกอใหเกิดฝุนละอองปลอยสูบรรยากาศ ทั้งฝุนซีเมนต ฝุนจากเคร่ืองจักรที่ใชน้ํามันเปนเชื้อเพลิง การฝุนจากการกอสรางขยายถนนฉลองกรุง บริษัทแกปญหาดวยการฉีดน้ําอยางนอยวันละคร้ัง ซึ่งการฉีดน้ําสามารถลดปริมาณฝุนได 25% ระยะเวลาในการกอสรางโครงการทอสงกาซธรรมชาติสงผลใหเกิดฝุนละออง แตจะเปนเพียงชั่วคราวเทานั้นดานคณุภาพดนิ การวางทอสงกาซสงผลตอคุณภาพดินและการพังทลายของดินอยูในระดับต่ํา เพราะการวางทอจะใชแผนกั้น (Shoring Box) กั้นดินไมใหพังทลายในขณะวางทอ สวนการวางทอลอดผานถนนและขามคลอง โครงการเลือกใชเทคนิคที่เหมาะสมคือ Jacking Technique ซึ่งจะเปนวิธีที่มีผลรบกวนตอดินบริเวณใกลเคียงต่ําที่สุด สําหรับผลกระทบเกี่ยวกับเสียงเกิดข้ึนในชวงระยะเวลาการกอสรางในบริเวณโรงพยาบาลลาดกระบังและบริเวณชุมชนที่อยูดานขางถนนฉลองกรุง ซึ่งพบวาในเวลากลางวันมีระดับเสียงสูงถึง 70 dB กวาที่กําหนดไวตามมาตรฐาน WHO กําหนดคือ 55 dB และในขณะที่เคร่ืองจักรทํางานพรอมกันจะทําใหมีระดับเสียงดับถึง 91 dB อยางงไรก็ตามบริษัท ไดมีมาตรการควบคุมโดยการใหมีการกอสรางเฉพาะชวงเวลากลางวันและจัดอุปกรณปองกนัเสียงใหกับพนักงาน นอกจากนี้ผลกระทบดานเสียงจะเกิดข้ึนในกรณีการไลกาซไนโตรเจน และการระบายอากาศหลังการฝงกลบทอ ซึ่งจะมีระดับเสียงดังสูงสุด ประมาณ 95 dB ซึ่งระดับเสียงสูงสุดจะเกิดข้ึนในชวงแรกเทานั้น จากนั้นระดับเสียงจะลดลง ขณะเดียวกันโครงการไดติดตั้งอุปกรณลดเสียงเพื่อใหมีระดับเสียงที่ระยะหาง 1 เมตร

36บริษัท ปตท.จําหนายกาซธรรมชาติ จํากัด, รายงานฉบับหลักการวิเคราะห

ผลกระทบส่ิงแวดลอมโครงการทอสงกาซธรรมชาติ (จาก BV.WN #3 ไปสูนิคมอุตสาหกรรมลาดกระบัง), (กรุงเทพฯ: บริษัท ปตท.จําหนายกาซธรรมชาติ จํากัด, 2543).

46

ดานทรัพยากรชีวภาพ ผลกระทบตอระบบนิเวศนทางบก พบวาเสนทางการวางทอกาซจะไมทําใหพื้นที่ที่อยูของสัตวปา หรือสัตวที่มีคาหายากไมกอใหเกิดผลกระทบตอระบบนิเวศนทางบก สวนระบบนิเวศทางน้ํา คือ การระบายน้ําทิ้งจากการทดสอบชลสถิตลงสูคลองลํากอไผ คาดวาจะทําใหน้ําในคลองมีปริมาณของแข็งแขวนลอยเพิ่มข้ึน ทําใหน้ําในคลองขุนในชวงทําการกอสราง เพราะการขุนของน้ําจะสงผลตอการสังเคราะหแสงของสาหรายและพืชน้ํา แตจะเปนเพียงชวงระยะเวลาที่ทําการกอสรางเทานั้น ไมมีผลตอการอุปโภคบริโภค

ดานคุณคาการใชประโยชน ไดแก ประโยชนจากที่ดิน พบวาไมขัดแยงกับการใชประโยชนที่ดินของสวนอ่ืน ๆ เพราะนิคมอุตสหกรรมสูญเสียที่ดินเพียง 0.76 ไร สําหรับเปนที่ตั้งสถานีควบคุมความดัน (PRS) สวนทอกาซที่วางขามคลองและถนนจะอยูใตดินและไมกอใหเกิดความยุงยากตอการสัญจรทางน้ําและทางจราจร และบริษัท ปตท.จําหนายกาซธรรมชาติ จํากัด จะถือกรรมสิทธิ์เขามาดูแลและจัดการพื้นที่ตามความกวางในระยะ 5 เมตร ตลอดแนวสงกาซ มีการควบคุมที่เขมงวดระมัดระวังไมใหมีกิจกรรมที่ตองหามและกําจัดแหลงที่กอใหเกิดประกายไฟ เปนตน ผลกระทบดานการจราจร จะมีผลกระทบในชวงระยะเวลาของการกอสรางเพราะจะมีรถบรรทุกขนน้ํา และอุปกรณ ในบริเวณที่มีการกอสรางบริเวณใกลเคียงโดยเฉพาถนนฉลองกรุงและบริเวณทางเขานิคมอุตสาหกรรมลาดกระบัง เม่ือเสร็จระยะเวลาการกอสรางการวางทอสงกาซจะเปนสงผลกระทบตอการคมนาคมขนสง

ดานคุณภาพชีวิต ผลกระทบตอสภาเศรษฐกิจและสังคม พบวา ในชวงกอสรางเกิดผลกระทบในดานบวกตอการสรางแรงงานในทองถิ่น ชวยใหสภาพเศรษฐกิจของประชาชนโดยรอบโครงการดีข้ึน แตในทางกลับกันก็มีผลกระทบในแงสภาพจิตใจของชุมชนที่มีความกังวลตอความปลอดภัยในการมีทอกาซ และไมแนใจในผลดีและผลเสียของโครงการ ในระยะดําเนินการ อุตสาหกรรมผลิตกาซธรรมชาติเปนอุตสาหกรรมที่ไมกอใหเกิดมลพิษ หรือจัดอยูในกลุมอุตสาหกรรมสะอาด ผลกระทบดานชีวอนามัยและความปลอดภัย พบวา ในระยะกอสราง ไดรับผลกระทบดานเสียง ฝุนละออง การจราจร และการแผรังสีอันเนื่องมาจากการทดสอบความรอยร่ัวของทอกาซ ซึ่งทางโครงการจะกําหนดใหผูรับเหมาเตรียมมาตรการเพื่อปองกันผลกระทบตาง ๆ ที่อาจเกิดข้ึน สําหรับปญหาดานฝุนมีการฉีดพรมน้ําบนถนนอยางนอยวันละคร้ัง ดานจราจรทางโครงการจะติดปายและสัญญาณไฟเตือนใหเห็นชัดเจนเปนระยะ ๆ ตลอดเสนทางกอสราง

47

การปโตรเลียมแหงประเทศไทย (2539)37 วิจัยเร่ือง “ผลกระทบส่ิงแวดลอมโครงการทอสงกาซธรรมชาติจากแหลงทานตะวัน” ผลการศึกษาพบวา ผลกระทบดานอากาศ พบวา กิจกรรมที่อาจะสงผลกระทบตอสภาพภูมิอากาศ คือ กิจกรรมนอกฝง ซึ่งอาจถูกรบกวนโดยคล่ืนลมและพายุฝน จึงตองมีการเตรียมบุคลากรที่มีความรู ความชํานาญ เพื่อฟงคําเตือนจากกรมอุตุนิยมวิทยาอยางตอเนื่อง สภาพอากาศจะไมมีผลกระทบตอโครงการ เนื่องจากทอกาซทานตะวันวางอยูบนพื้นทะเลที่ระดับความลึก 60 เมตร สวนปญหาตะกอนพื้นทะเล จะถูกรบกวนกอใหเกิดการฟุงกระจายในชวงการวางทอ แตจะเปนผลกระทบในชวงเวลาส้ันเพียง 1.5 เดือน เม่ือการกอสรางยุติตะกอนจะตกลงพื้นปกติ และในขณะที่ทําการวางทอคุณภาพน้ําทะเลอาจเปล่ียนแปลงไป เชน ปริมาณตะกอนของแข็งเพิ่มข้ึน ปริมาณออกซิเจนในน้ําลดลง จากการฟุงกระจายของตะกอนบนพื้นทะเลบริเวณแนววางทอ แตผลกระทบยังอยูในระดับต่ํา ดานทรัพยากรปโตรเลียม คือ การสูญเสียทรัพยากรที่ไมอาจนํากลับมาใชใหมได แตเปนการแลกเปล่ียนกับพลังงานเพื่อนํามาใชพัฒนาประเทศ

บริษัท ครีเอทีฟ เทคโนโลยี จํากัก (2540)38 ไดศึกษาเร่ือง “ผลกระทบส่ิงแวดลอมโครงการทาเทียบเรืองขนถายสินคา บริษัท ทาเรือระยอง จํากัด ที่นิคมอุตสาหกรรมมาบตาพุด” ผลการศึกษา พบวา ผลกระทบดานคุณภาพอากาศ คือ ในชวงกอสราง ไดรับฝุนละอองจากการทํางานของเคร่ืองจักรกลแตยังอยูในระดับที่ควบคุมได หลังการกอสรางปญหาเร่ืองฝุนละอองจะไมปรากฏ ผลกระทบตอคุณภาพน้ํา พบวา โครงการจะทําการขุดลอกบริเวณหนาทาเทียบเรือ ซึ่งเปนพื้นที่กอสรางแนวหนาทา ใชเวลา 2-4 เดือน ตะกอนที่เกิดจากบริเวณที่ขุดลอกอาจฟุงกระจายไปกับกระแสน้ําไปสูพื้นที่ขางเคียง เปนการเพิ่มปริมาณตะกอนหนักและสารแขวนลอย ทําใหความขุนของน้ําเพิ่มสูงข้ึน สงผลกระทบตอคุณภาพน้ําและการใชประโยชนน้ําทะเล ผลกระทบจากเหตุน้ํามันร่ัวไหลในระยะดําเนินการ ผลกระทบที่เกิดจาการร่ัวไหล ถาหากพัดเขาฝงจะกอใหเกิดผลกระทบตอส่ิงมีชีวิตในบริเวณนั้น รวมทั้งคุณภาพน้ําเส่ือมโทรม และปริมาณออกซิเจนในน้ําทะเลลดลงเนื่องจากน้ํามันสารอินทรียที่แพรกระจายต่ํา สวนผลกระทบดานเศรษฐกิจและ

37การปโตรเลียมแหงประเทศไทย. รายงานสรุปการศึกษาผลกระทบส่ิงแวดลอมโครงการทอสงกาซธรรมชาติจากแหลงทานตะวัน, (กรุงเทพฯ: การปโตรเลียมแหงประเทศไทย, 2539).

38บริษัท ครีเอทีฟ เทคโนโลยี จํากัด, รายงานการศึกษาผลกระทบส่ิงแวดลอมโครงการทาเทียบเรือขนถายสินคา บริษัท ทาเรือระยอง จํากัด ที่นิคมอุตสาหกรรมมาบตาพุด , (กรุงเทพฯ: บริษัท ครีเอทีฟ เทคโนโลยี จํากัด, 2540).

48

สังคม ผลกระทบตอสภาพความเปนอยู การดําเนินโครงการคาดวาจะไมเปนผลกระทบตอภาวะเศรษฐกิจสังคมและความเปนอยูของประชาชนในทางลบแตอยางใด เนื่องจากโครงการอยูในเขตอุตสาหกรรม ในทางตรงขามมีผลกระทบทางบวกตอภาวะเศรษฐกิจในพื้นที่ใกลเคียง งานวิจัยเกี่ยวกับความขัดแยงดานสิ่งแวดลอมและทรัพยากรธรรมชาติ

วรศักดิ์ พวงเจริญ39 วิจัยเร่ือง เร่ือง “ความขัดแยงในประเทศไทย กรณีโครงการกอสรางทอกาซธรรมชาต”ิ การพัฒนาประเทศในระยะที่ผานมา ไดนําทรัพยากรธรรมชาติมาใชในการผลิตเพื่อเพิ่มรายไดประชาชาติและยกระดับฐานะความเปนอยูของประชาชน เปนผลใหทรัพยากรธรรมชาตทิี่อุดมสมบูรณลดนอยและเส่ือมโทรมลง นอกจากนี้ยังสงผลกระทบตอการแพรกระจายของภาวะมลพิษสูสิ่งแวดลอม กอปญหาดานสุขภาพอนามัยของประชาชนในพื้นที่ นําไปสูการขยายตัวของชุมชนอยางไมเปนระบบ การพัฒนาเศรษฐกิจในชวงที่ผานมาจึงเปนสาเหตุสําคัญของความขัดแยงดานส่ิงแวดลอม โดยเฉพาะปญหาความขัดแยงเนื่องมาจากโครงการพัฒนาขนาดใหญ (Mega project) ที่นําไปสูการแยงชิงการใชประโยชนจากทรัพยากรธรรมชาติของชุมชนมากข้ึนการวิเคราะหปญหาความขัดแยงดานส่ิงแวดลอม ไมสามารถใชทฤษฎีที่ไดรับการพัฒนาจากสภาพสังคมตะวันตกไดทั้งหมดแตตองวิเคราะหถึงรากเหงาของปญหาที่เกิดข้ึนในแตละสังคม เพื่อพิสูจนกรอบแนวคิดและศึกษาแนวทางแกไขปญหาความขัดแยงดานส่ิงแวดลอมที่เกิดข้ึนกรณีความขัดแยงโครงการทอกาซไทย-พมาและโครงการทอกาซเจดีเอจึงถูกใชเปนกรณีศึกษา ผลการศึกษาปญหาความขัดแยงดานส่ิงแวดลอมโครงการกอสรางทอกาซทั้ง 2 โครงการ ชี้ใหเห็นวาสาเหตุสําคัญมาจากการพัฒนาเศรษฐกิจโดยไมใหความสําคัญกับการแกไขปญหาส่ิงแวดลอม ถึงแมวานักวิชาการตะวันตกจะอธิบายปญหาที่เกิดข้ึนไดบางสวน แตยังขาดการพิจารณาถึงปญหาความขัดแยงที่ฝงลึกอยูในวัฒนธรรมไทยได ถึงแมวาโครงการพัฒนาขนาดใหญจะจัดทํารายงานผลกระทบส่ิงแวดลอมแตความขัดแยงโครงการกอสรางทอกาซ ทั้ง 2 โครงการ ชี้ใหเห็นวารายงานการวิเคราะหผลกระทบส่ิงแวดลอมมิไดเปนหลักประกันวาประชาชนจะไมคัดคานโครงการ ดังนั้นการศึกษานี้จะเปนแนวทางใหภาคอุตสาหกรรมตองใหความสําคัญกับการวิเคราะหสาเหตุของความขัดแยงดานส่ิงแวดลอมและ

39วรศักดิ์ พวงเจริญ, ความขัดแยงในประเทศไทย กรณีโครงการกอสรางทอกาซ

ธรรมชาต,ิ (วิทยานิพนธปรัชญาดุษฎีบัณฑิต สาขาสังคมวิทยา University of New South Wales, ประเทศออสเตรเลีย, 2004).

49

สงเสริมการมีสวนรวมของประชาชนในการตัดสินใจดานส่ิงแวดลอม (Environmental decision-making)

ชาคริต ตันพิรุฬห40 การศึกษาเร่ืองผลกระทบทางการเมืองของโครงการทอสงกาซธรรมชาติจากแหลงยาดานา :ศึกษาเฉพาะกรณีตําบลวังกระแจะ อําเภอไทรโยค จังหวัดกาญจนบุรีมีวัตถุประสงคในการศึกษา 3 ประการ คือ (1) เพื่อศึกษาผลกระทบดานการรวมกลุมผลประโยชนที่เกิดข้ึนจากโครงการทอสงกาซธรรมชาติจากแหลงยาดานา (2) เพื่อศึกษาผลกระทบดานความขัดแยงระหวางกลุมผลประโยชนที่เกิดข้ึนจากโครงการทอสงกาซธรรมชาติจากแหลงยาดานา (3) เพื่อศึกษาผลกระทบดานการเปล่ียนแปลงบทบาทของผูนําทองถิ่นที่เกิดข้ึนจากโครงการทอสงกาซธรรมชาติจากแหลงยาดานา กลุมตัวอยางที่ใชในการศึกษา ไดแกประชาชนที่อาศัยอยูในตําบลวังกระแจะโดยใชวิธีการ สุมตัวอยางแบบบังเอิญ จํานวน 260 คน ซึ่งใชแบบสอบถามและแบบสัมภาษณเปนเคร่ืองมือในการเก็บ รวบรวมขอมูลจากนั้นนําขอมูลที่ไดมาวิเคราะหโดยการหาคาความถี่และคารอยละ ผลการศึกษา พบวา 1. ภายหลังจากที่มีโครงการทอสงกาซธรรมชาติจากแหลงยาดานามีการรวมกลุมผลประโยชนเกิดข้ึนแตการรวมกลุมผลประโยชนดังกลาวเปนการรวมกลุมผลประโยชนเพื่อตองการเรียกรองคาชดเชยหรือคาเสียหายที่ไดรับจากการดําเนินโครงการทอสงกาซธรรมชาติจากแหลงยาดานาของประชาชนเทานั้น 2. ภายหลังจากที่มีโครงการทอสงกาซธรรมชาติจากแหลงยาดานามีความขัดแยงเกิดข้ึนในชุมชน วังกระแจะแตความขัดแยงดังกลาวเปนความขัดแยงที่เปนผลตอเนื่องมาจากการรวมกลุมผลประโยชนเพื่อเรียกรองคาเสียหายจากการดําเนินโครงการทอสงกาซธรรมชาติจากแหลงยาดานาลักษณะความขัดแยงเปนความขัดแยงระหวางกลุมผูเรียกรองคาชดเชยจากโครงการฯกับกลุมผูรับเหมาจายคาชดเชยหรือเจาหนาที่ของโครงการฯ 3. โครงการทอสงกาซธรรมชาติจากแหลงยาดานาไมสงผลกระทบทางการเมืองดานการเปล่ียนแปลงบทบาทของผูนําทองถิ่นตอประชาชนตําบลวังกระแจะดังนั้นจึงไมเปนไปตามสมมติฐานที่ตั้งไว จากผลการศึกษาดังกลาวจึงเสนอแนะใหหนวยงานที่เกี่ยวของในการดําเนินโครงการฯ ไดใหความรูความเขาใจเกี่ยวกับรายละเอียดในการดําเนินโครงการฯรวมถึงการสงเสริมและสนับสนุนใหประชาชนมีปฏิสัมพันธอันดีระหวางกลุมผลประโยชนเพื่อปองกันความขัดแยงในดานตาง ๆ ที่อาจเกิดข้ึนในชุมชนได

40ชาคริต ตันพิรุฬห, ผลกระทบทางการเมืองของโครงการทอสงกาซธรรมชาติจาก

แหลงยาดานา : ศึกษาเฉพาะกรณีตําบลวังกระแจะ อําเภอไทรโยค จังหวัดกาญจนบุรี , (วิทยานิพนธปริญญามหาบัณฑิต คณะรัฐศาสตร มหาวิทยาลัยรามคําแหง, 2543).

50

นิธิภา อุดมสาลี41 ไดทําการศึกษา เร่ือง “การรับฟงความคิดเห็นสาธารณะโดยวิธีพิจารณในโครงการรวมทุนกาซธรรมชาติไทย – มาเลเซีย กับความรูและความเห็นของประชาชน เจาหนาที่องคกรพัฒนาเอกชนและเจาหนาที่รัฐบาลที่เกี่ยวของ” เปนการศึกษาที่มีวัตถุประสงคเพื่อหาความแตกตางของความรู และความคิดเห็นเกี่ยวกับการรับฟงความคิดเห็นสาธารณะโดยวิธีประชาพิจารณ ในโครงการรวมทุนกาซธรรมชาติไทย-มาเลเซีย และเกี่ยวกับปจจัยความสําเร็จและความลมเหลวในการรับฟงความคิดเห็นสาธารณะ โดยวิธีประชาพิจารณในโครงการดังกลาว โดยศึกษากับกลุมตัวอยาง 3 กลุม ไดแก กลุมประชาชนผูไดรับผลกระทบ เจาหนาที่องคกรพัฒนาเอกชน และเจาหนาที่รัฐบาล ใชวิธีการวิจัยเชิงปริมาณผสมคุณภาพ

จากการทดสอบสมมติฐานพบวา ไมมีนัยสําคัญของความแตกตางของความรูเกี่ยวกับการรับฟงความคิดเห็นสาธารณะ โดยวิธีประชาพิจารณ และความรูเกี่ยวกับปจจัยความสําเร็จและความลมเหลวในการรับฟงความคิดเห็นสาธารณะโดยวิธีประชาพิจารณในโครงการดังกลาว มีนัยสําคัญของความแตกตาง ของความคิดเห็นเกี่ยวกับการรับฟงความคิดเห็นสาธารณะโดยวิธีประชาพิจารณในโครงการนี้ในกลุมตัวอยางทั้ง 3 กลุมโดยเจาหนาที่องคกรพัฒนาเอกชนมีระดับความคิดเห็นแตกตางจากประชาชนและเจาหนาที่รัฐบาลอยางมีนัยสําคัญ แตประชาชนและเจาหนาที่รัฐบาลมีความคิดเห็นไมแตกตางกัน ทั้งนี้ผลการสัมภาษณเชิงลึกสวนใหญสนับสนุนผลการทดสอบสมมติฐาน

โสภณ สุภาพงษ42 ทําการวิจัยเร่ือง “ผลประโยชนทับซอน, คณะกรรมนโยบายแหงชาติ บริษัทน้ํามันแหงชาติ กับคณะกรรมการบริษัทน้ํามันในประเทศไทย” การวิจัยนี้เพื่อศึกษาวาไดเกิดผลประโยชนทับซอน (Conflict of Interest) ของกรรมการในคณะกรรมการนโยบายพลังงานแหงชาติข้ึนหรือไมและเพื่อศึกษาดูรูปแบบผลประโยชนทับซอน การศึกษาใชวิธีวิจัยเอกสาร(Documentary Research) และการสัมภาษณความคิดเห็นของผูทรงคุณวุฒิ ผูวิจัยใชกรอบแนวคิดการศึกษาและเก็บขอมูลตามทฤษฎีผลประโยชนทับซอน (Conflict of Interest) ที่

41นิธิภา อุดมสาลี, การรับฟงความคิดเห็นสาธารณะโดยวิธีพิจารณในโครงการรวมทุนกาซธรรมชาติไทย–มาเลเซีย กับความรูและความเห็นของประชาชน เจาหนาที่องคกรพัฒนาเอกชนและเจาหนาที่รัฐบาลที่เกี่ยวของ, (วิทยานิพนธปริญญามหาบัณฑิต คณะนิเทศศาสตร สาขาวิชานิเทศศาสตรพัฒนาการ มหาวิทยาลัยธุรกิจบัณฑิตย, 2546).

42โสภณ สุภาพงษ, ผลประโยชนทับซอน, คณะกรรมนโยบายแหงชาติ, บริษัทน้ํามันแหงชาติ กับคณะกรรมการบริษัทน้ํามันในประเทศไทย, (วิทยานิพนธปริญญามหาบัณฑิต สาขาผูนําทางสังคม ธุรกิจการเมือง คณะศิลปศาสตร มหาวิทยาลัยรังสิต, 2551).

51

หมายถึงสถานการณที่บุคคลใดดํารงตําแหนงใน 2 หนาที่ที่ขัดแยงกัน หรือ หมายถึงการทับซอนของผลประโยชนของบุคคลที่มี 2 สถานะในเวลาเดียวกันซึ่งจากการศึกษาพบวา หนาที่ความรับผิดชอบของกรรมบริษัทน้ํามันจํากัด (มหาชน) ที่ตองปฏิบัติเพื่อผลประโยชนสูงสุดของบริษัทเปนสําคัญ ซึ่งการไมปฏิบัติมีความผิดตองระวางโทษตามพระราชบัญญัติหลักทรัพยและตลาดหลักทรัพยนั้น ขัดแยงกับหนาที่ของกรรมการนโยบายพลังงานแหงชาติที่มีหนาที่ดูแลผลประโยชนสูงสุดของสาธารณะดานราคาน้ํามันและพลังงานตามพระราชบัญญัติคณะกรรมการนโยบายพลังงานแหงชาติ

ผลการวิจัยพบวา กรรมการนโยบายที่เปนที่ เปนขาราชการ 4 ใน 6 คนในคณะกรรมการนโยบายแหงชาติไดเขาไปดํารงตําแหนงเปนกรรมการในคณะกรรมการบริษัทน้ํามัน 1-5 แหงซึ่งทําใหเกิดผลประโยชนทับซอน นอกจากนั้นยังไดถือหุนบริษัทน้ํามันอีกหลายแหงดวยกรรมการนโยบายบางคนไดรับผลประโยชนจากเบี้ยประชุมและโบนัสกรรมการบริษัทปละ 16.2 ลานบาท ไดรับหุนของบริษัทในราคา 10 บาทตอหุน ต่ํากวาราคา IPO ไดกําไรจากราคาหุนที่เพิ่มข้ึน ณ. เดือนกันยายน 2548 ประมาณ 119.9 ลานบาท การวิจัยพบวาในชวงเวลาเดียวกัน บริษัทน้ํามันทั้ง 8 แหงมีตัวเลขกําไรรวมเพิ่มจากเดิม 22,900 ลานบาทในป 2545 เปน 195,853 ลานบาท ในป 2548 และ 169,438 ลานบาทในป 2550

พันเอก หมอมหลวง สมศักดิ์ ชุมสาย43 ทําการศึกษาเร่ือง “กาซธรรมชาติเพื่อความม่ันคงแหงชาติทางดานเศรษฐกิจ” เนื่องจากกาซธรรมชาติจะเปนกุญแจไขปญหาวิกฤติน้ํามันของประเทศไทย ในการชวยพัฒนาเศรษฐกิจและอุตสาหกรรม แนวทางในการพัฒนาเศรษฐกิจและอุตสาหกรรมของประเทศไทยจะสําเร็จก็คือโครงการกาซธรรมชาติ กาซที่ผลิตไดจะใชไปไดประมาณ 20 ป ซึ่งรัฐบาลไดจางบริษัทโซฟรีกาซมาศึกษาพบวาตลาดมีความตองการกาซ 500.4 ลานคิวบิคฟุตตอวันในป พ.ศ. 2524 ประเทศไทยกําลังเผชิญกับวิกฤติการณน้ํามันซึ่งมีราคาสูงข้ึนอยางรวดเร็ว อันเนื่องมาจากการข้ึนราคาของกลุมประเทศโอเปค มีผลกระทบตอความม่ันคงของชาติ ทางดานการเมืองการทหาร เศรษฐกิจและสังคมจิตวิทยา เหตุนี้จึงมีความจําเปนจะตองเรงรัดสงเสริมใหมีการพัฒนากาซธรรมชาติที่พบในอาวไทยโดยเร็วที่สุด

43สมศักดิ์ ชุมสาย, กาซธรรมชาติเพื่อความม่ันคงแหงชาติทางดานเศรษฐกิจ ,

(วิทยานิพนธวิทยาลัยการทัพบก สถาบันวิชาการทหารบกชั้นสูง, 2523).

52

นภดล บุรณนัฏ44 ทําการวิจัยเร่ือง “ขบวนการเคล่ือนไหวทองถิ่นกิจกรรมปฏิบัติขององคกรเอกชน และการใชมาตรการของรัฐกับความไมพอใจของประชาชนที่มีตอโครงการทอกาซไทย – มาเลเซีย” ซึ่งมีวัตถุประสงคที่จะศึกษาความสัมพันธระหวางขบวนการเคล่ือนไหวทองถิ่นกับกิจกรรมปฏิบัติขององคกรเอกชน และการใชมาตรการของรัฐที่ไดรับผลกระทบจากกระบวนการเคล่ือนไหวของทองถิ่น และอิทธิพลของขบวนการเคล่ือนไหวทองถิ่น การใชมาตรการของรัฐกับความไมพอใจของประชาชนที่มีตอโครงการทอกาซไทย – มาเลเซีย โดยใชการวิจัยเชิงปริมาณใหประชาชนในพื้นที่ โครงการทอกาซไทย–มาเลเซียผาน ไดแก อําเภอจะนะ อําเภอนาหมอม อําเภอหาดใหญ อําเภอสะเดา จังหวัดสงขลาจํานวน 1,000 รายตอบแบบสอบถามดวยตัวเอง และการวิจัยเชิงคุณภาพโดยการสัมภาษณแบบเจาะลึกบุคคลชั้นนําในพื้นที่ที่เกี่ยวของกับโครงการทอกาซไทย –มาเลเซีย ผลการวิเคราะหพบวาขบวนการเคล่ือนไหวของทองถิ่นข้ึนอยูกับการใหความรูกับประชาชน และการใชส่ือเผยแพรขาวสาร การใชมาตรการของรัฐข้ึนอยูกับการประนีประนอม การเปนผูประสานงาน การเจรจา การรณรงค และการใหประชาชนมีสวนรวมในโครงการ

งานวิจัยเกี่ยวกบัขอกฎหมายทางทะเลแนวใหม

นพพร อาชวาคม45 ไดทําการศึกษาวิจัยเร่ือง “ปญหากฎหมายเกี่ยวกับการตรวจเรือ

ในเขตเศรษฐกิจจําเพาะ” โดยผลการศึกษาที่คนพบมีดังนี้ 1. พื้นที่ทางทะเล และอาณาเขตทางทะเลในอาวไทยและทะเลอันดามันมีสวนที่

เปนนานน้ําในทะเลอาณาเขต เขตตอเนื่อง เขตไหลทวีป และเขตเศรษฐกิจจําเพาะ ซึ่งเปนพื้นที่ที่ไดบัญญัติไวในอนุสัญญาสหประชาชาติวาดวยกฎหมายทะเล ป ค.ศ.1982 ความหมายของนานน้ําภายในคือ นานน้ําที่มีอยูภายในเสนฐาน ซึ่งเปนเสนที่ใชวัดความกวางของทะเลอาณาเขต โดยที่อนุสัญญาฯ ไดกําหนดความกวางของทะเลอาณาเขตไวไมเกิน 12 ไมลทะเล จากเสนฐาน

44นภดล บุรณนัฏ, “ขบวนการเคล่ือนไหวทองถิ่นกิจกรรมปฏิบัติขององคกรเอกชน

และการใชมาตรการของรัฐกับความไมพอใจของประชาชนที่มีตอโครงการทอกาซไทย – มาเลเซีย”, (วิทยานิพนธปรัชญาดุษฎีบัณฑิต สาขาวิชาการบริหารการพัฒนา มหาวิทยาลัย ราชภัฏสวนสุนันทา, 2549).

45นพพร อาชวาคม, ปญหาและกฎหมายเกี่ยวกับการตรวจเรือในเขตเศรษฐกิจจําเพาะ, (เอกสารวิจัย นักศึกษาวิทยาลัยปองกันราชอาณาจักร, วิทยาลัยปองกันราชอาณาจักร, 2544).

53

สวนเขตตอเนื่องหมายถึง พื้นน้ําที่อยูตอจากทะเลอาณาเขตออกไปโดยที่ความกวางไมเกิน 24 ไมลทะเล วัดจากเสนฐานที่ใชวัดความกวางของทะเลอาณาเขต สําหรับเขตไหลทวีปและเขตเศรษฐกิจจําเพาะของไทย ทั้งดานอาวไทยและทะเลอันดามันจะเปนเขตเดียวกัน โดยมีความกวางไมเกิน 200 ไมลทะเล จากการประกาศเขตเศรษฐกิจจําเพาะของไทยและไหลทวีปทําใหมีการเหล่ือมทับกับอาณาเขตทางทะเลของรัฐชายฝงใกลเคียง ไดแก ประเทศกัมพูชา เวียดนาม มาเลเซีย อินเดีย อินโดนีเซีย และพมา ซึ่งมีพื้นที่เหล่ือมทับทั้งที่ไดทําความตกลงกับประเทศที่อางสิทธิไดแลว ทั้งทะเลอันดามันและในอาวไทย และขอบเขตพื้นที่หรือบริเวณที่ยังไมไดทําความตกลงกัน ไดแก บริเวณพื้นที่เหล่ือมทับประเทศกัมพูชาในอาวไทย

2. พื้นที่และอาณาเขตทางทะเลในอาวไทยและอันดามันเปนเสนทางคมนาคม และเปนแหลงแสวงหาผลประโยชนทางเศรษฐกิจของประเทศ มีทั้งทรัพยากรธรรมชาติที่มีชีวิตและไมมีชีวิต แตในขณะเดียวกัน ก็ปรากฏวา มีปญหาอีกหลายประการที่เกิดจากการกระทําของผูที่ใชประโยชนทางทะเลในทางที่ผิด มีผลกระทบกับสภาพความเรียบรอยและกับเศรษฐกิจ อันเปนผลประโยชนของประเทศไทยโดยตรง ไดแก ปญหาดานมลภาวะและการอนุรักษส่ิงแวดลอมทางธรรมชาติทางทะเล ปญหาคราบน้ํามันในทะเล ปญหาการกระทําอันเปนโจรสลัด ปญหาเรือประมงกระทําผิดกฎหมายเกี่ยวกับการประมง ปญหาการลักลอบคาน้ํามันเถื่อน ปญหาผูหลบหนีเขาเมือง/แรงงานขามชาติ ปญหายาเสพติด ปญหาการลักลอบนําสินคาเขาโดยไมผานพิธีศุลกากร และปญหาลักลอบขนอาวุธ

3. ปญหากฎหมายที่มีผลกระทบตอการปฏิบัติของทหารเรือในการตรวจเรือในทะเล ไดแก 1) กฎหมายระหวางประเทศใหสิทธิรัฐชายฝงไวหลายประการแตประเทศไทยไมพัฒนากฎหมายใหครอบคลุมสิทธิอธิปไตย โดยเฉพาะในเขตเศรษฐกิจจําเพาะ2) ปญหาในทะเลมีสภาพทางกฎหมายที่แตกตาง เชน ปญหาดานส่ิงแวดลอมไมมีกฎหมายในสวนที่เกี่ยวกับความผิด ในเขตเศรษฐกิจจําเพาะปญหาประมงตองอาศัยการตีความขยายขอบเขตกฎหมายนํามาใช ปญหาการลักลอบคาน้ํามันเถื่อน การคาของหนีภาษีเกิดจากการที่เรือตางชาติใชสิทธิในการเดินเรือตามกฎหมายระหวางประเทศเพื่อใหเกิดความสะดวกในการดําเนินการ 3) กฎหมายในประเทศมีหลายฉบับ ซึ่งแตละฉบับกําหนดขอบเขตอํานาจไมเทากัน หากปฏิบัติเกินขอบเขตอํานาจตองรับผิดชอบตามกฎหมายดวย

4. อํานาจและสิทธิตามหลักการของกฎหมายที่เกี่ยวของในการตรวจเรือในเขตเศรษฐกิจจําเพาะ โดยเฉพาะหลักกฎหมายระหวางประเทศวาดวยกฎหมายทะเลอาท ิ

4.1 เขตเศรษฐกิจจําเพาะมี 12 ไมล ที่อยูในราชอาณาจักรของรัฐชายฝง อีก 188 ไมลอยูนอกราชอาณาจักร

54

4.2 การใชสิทธิอธิปไตยเพื่อการสํารวจ แสวงประโยชน การอนุรักษและ การจัดการทรัพยากรธรรมชาติ รัฐชายฝงอาจใชมาตรการตาง ๆ รวมทั้งการข้ึนเรือ การตรวจ การจับกุม และกระบวนการพิจารณาทางศาลเทาที่จําเปน เพื่อประกันการปฏิบัติตามกฎหมาย ขอสําคัญคือรัฐชายฝงตองมีกฎหมายภายในอํานาจไว

4.3 ทุกชาติมีเสรีภาพที่จะเดินเรือ วางทอน้ํามันวางสายใตทะเลผานในเขตเศรษฐกิจจําเพาะ

4.4 เรือรบมีสิทธิเขาตรวจเยี่ยมเรือตางชาติ (เวนเรือรบและเรือทางราชการของรัฐบาล) ถามีเหตุอันควรสงสัยวาเรือนั้นกระทําการอันเปนโจรสลัด คาทาส การกระจายเสียงโดยมิไดรับอนุญาต

4.5 สิทธิในการไลติดพัน เม่ือปรากฏวามีเหตุอันควรเชื่อวาเรือตางชาติไดกระทําฝาฝนกฎหมายในทะเลอาณาเขตและเขต จากผลการศึกษาจะเห็นไดวาพื้นที่และอาณาเขตทางทะเลในอาวไทยและอันดามัน เปนเสนทางคมนาคม และเปนแหลงแสวงหาผลประโยชนทางเศรษฐกิจของประเทศ ในขณะเดียวกันก็มีปญหาหลายประการที่เกิดจากการะทําของผูที่ใชประโยชนจากทะเลในทางที่ผิด และมีผลกระทบตอเศรษฐกิจ ซึง่เปนผลประโยชนของชาติทางทะเล รวมทั้งดานความม่ันคงของชาติทางทะเล ไดแก ปญหาการลักลอบคาและลําเลียงยาเสพติด ปญหาการลักลอบนําสินคาเขามาโดยไมผานพิธีศุลกากร และปญหาลักลอบลําเลียงอาวุธสงคราม ปญหาการกระทําอันเปนโจรสลัด ปญหาเรือประมงกระทําผิดกฎหมายเกี่ยวกับการประมง ปญหาการลักลอบคาน้ํามันเถื่อน ปญหาดานการอนุรักษส่ิงแวดลอมทางธรรมชาติทางทะเล ปญหาคราบน้ํามันในทะเล ปญหาผูหลบหนีเขาเมือง/แรงงานตางดาวผิดกฎหมาย ปญหากฎหมายเกี่ยวกับการตรวจเรือในเขตเศรษฐกิจจําเพาะบริเวณพื้นที่เหล่ือมทับประเทศกัมพูชาในอาวไทย และปญหากฎหมายระหวางประเทศที่ประเทศไทยไมพัฒนากฎหมายใหครอบคลุมอธิปไตย โดยเฉพาะในเขตเศรษฐกิจจําเพาะ กิตติวุฒิ ขํานอย46 ไดศึกษาเร่ือง “การพัฒนาการสงกําลังใหกับกําลังทางเรือของกองทัพเรือ ที่ปฏิบัติการในพื้นที่อาวไทยตอนลาง” ผลการศึกษาพบวา ทะเลดานอาวไทยตอนลางมีความสําคัญตอประเทศไทยอยางมาก โดยเปนทั้งแหลงทรัพยากรและเสนทางขนสงทางทะเลที่

46กิตติวุฒิ ขํานอย, นาวาโท, การพัฒนาการสงกําลังใหกับกําลังทางเรือของกองทัพเรือที่ปฏิบัติการในพื้นที่อาวไทยตอนลาง , (เอกสารวิจัยนักศึกษาวิทยาลัยปองกันราชอาณาจักร, 2546).

55

สําคัญ ตลอดจนความสําคัญในการใชประโยชนจากอาวไทยตอนลาง และปญหาหลายประการ เกี่ยวกับการปฏิบัติในการรักษาผลประโยชนของชาติทางทะเล การรักษากฎหมายในทะเล ฯลฯ กองทัพเรือ ไดเห็นความสําคัญในเร่ืองดังกลาว จึงไดจัดกําลังทางเรือปฏิบัติการปกปอง คุมครอง รักษาผลประโยชนของชาติทางทะเล ในบริเวณพื้นที่อาวไทยตอนลางอยางตอเนื่อง แตกําลังทางเรือของกองทัพเรือมีขอจํากัดสําหรับการปฏิบัติการในพื้นที่หลาย ๆ ดาน ประกอบกบักําลังทางเรือของกองทัพเรือ มีจํานวนจํากัด เรือสวนใหญมีอายุการใชงานมาก ความจําเปนในการสงวนกําลังทางเรือที่มีคาทางยุทธการสูงไวปฏิบัติการในยามจําเปน หรือไวแสดงกําลังในบางโอกาส ทําใหการจัดกําลังทางเรือสวนใหญจะใชเรือตั้งแตเรือชุดตรวจการณปนลงมา เปนคําส่ังหลัก ซึ่งเรือชุดดังกลาวเปนเรือที่มีขนาดเล็ก มีขอดีคือ มีความคลองตัว มีการส้ินเปลืองนอยกวาใชเรือที่มีขนาดใหญ แตเรือชุดดังกลาวมีขอเสียเชนกัน กลาวคือ มีวงรอบการสงกําลังบํารุงจํากัด ในขณะที่บริเวณพื้นที่อาวไทยตอนลาง มีฐานสงกําลังบํารุงหลักที่ตั้งอยูบริเวณชายฝงเพียง 1 แหง คือ ฐานทัพเรือสงขลา ซึ่งอยูหางไกลจากพื้นที่ปฏิบัติการมาก และเรือตาง ๆ ตองเดินทางเขารับการสงกําลังหลัก เทานั้น ทําใหเกิดความส้ินเปลือง ทั้งเวลา คาใชจาย และขอจํากัดในการปฏิบัติการ ทําใหไมสามารถปฏิบัติการไดอยางตอเนื่อง นอกจากนี้ยังไมมีการพัฒนาการสงกําลังบํารุงเคล่ือนที่โดยการใชเรือสงกําลังในทะเลอยางเปนระบบ จึงไมสามารถสงกําลังบํารุงใหกับกําลังทางเรือที่ปฏิบัติการในพื้นที่ไดอยางตอเนื่องหรือครอบคลุมพื้นที่ปฏิบัติการ และถาหากเกิดสภาวะสงครามหรือมีความจําเปนตองใชกําลังทางเรืออยางตอเนื่องจําทําใหเกิดปญหาอยางมาก เนื่องจากไมมีการจัดระบบ หรือพัฒนาระบบการสงกําลังบํารุงตั้งแตในยามปกติ จึงควรหารแนวทางสําหรับพัฒนาระบบการสงกําลังบํารุง เชน การปรับปรุงหรือสงกําลังบํารุงเคล่ือนที่ในทะเลของกองทัพเรือที่มีอยู การจัดตั้งฐานสงกําลังในพื้นที่ปฏิบัติการ การใชทาเรือของภาครัฐและเอกชนในพื้นที่ปฏิบัติการ เพื่อสนับสนุนระบบการสงกําลังบํารุงของ กองทัพเรือในพื้นที่อาวไทยตอนลางใหเกิดประโยชนมากที่สุด ซึ่งแตละแนวทางดังกลาวมีขอจํากัดในการดําเนินการทั้งดานงบประมาณและระยะเวลาในการดําเนินการ จึงจําเปนตองกําหนดการพัฒนาตามหวงเวลาที่เหมาะสม ทั้งการพัฒนาในระยะส้ัน และการพัฒนาในระยะยาวเพื่อใหมีความเหมาะสมที่สอดคลองกับสถานการณ โดยการนําหลักการที่เกี่ยวของมาประยุกตใชใหเหมาะสม รวมทั้งศึกษาระบบการสงกําลังในทะเลของกองทพัเรือตางประเทศมาประกอบการพิจารณา จะเห็นไดวาอาวไทยตอนลาง เปนพื้นที่ซึ่งมีความสําคัญทั้งดานเศรษฐกิจและความม่ันคงของประเทศการรักษาผลประโยชนของชาติทางทะเล จําเปนตองมีการจัดกําลังทางเรือปฏิบัติการอยางตอเนื่องและครอบคลุมพื้นที่มากที่สุด แตปจจุบันการปฏิบัติการทางเรือขอจํากัดในเร่ืองการสงกําลังบํารุงซึ่งเรือที่ปฏิบัติการในพื้นที่อาวไทยตอนลางตองเขารับการสงกําลังที่ฐาน

56

ทัพเรือสงขลา ที่เปนฐานทัพเรือหลักเพียงแหงเดียวในพื้นที่อาวไทยตอนลาง และมีที่ตั้งอยูหางไกลจากพื้นที่ปฏิบัติการ การเดินทางเขารับการสงกําลังของเรือแตละลํา ทําใหส้ินเปลืองเวลา คาใชจาย และไมมีเรือตรวจการณอยูในพื้นที่อยางตอเนื่อง ทําใหเกิดชองวางในการปฏิบัติ แนวทางการพัฒนาเพื่อแกปญหา ไดแก การปรับปรุงเรือสงกําลังเคล่ือนที่ของกองทัพเรือที่มีอยูออกไปสงกําลังบํารุงใหกับเรือที่ปฏิบัติภารกิจอยูในพื้นที่ การจัดตั้งฐานสงกําลังในพื้นที่ปฏิบัติการ และการใชทาเรือของภาครัฐและเอกชนในพื้นที่อาวไทยตอนลางซึ่งเปนพื้นที่ปฏิบัติการ เพื่อเปนการพัฒนาการสงกําลังอยางเปนระบบ และมีประสิทธิภาพเพื่อสนับสนุนระบบการสงกําลังบํารุงของกองทัพเรือ ในพื้นที่อาวไทยตอนลางใหเกิดประโยชนมากที่สุด ทั้งนี้ข้ึนอยูกับปจจัยโดยเฉพาะดานงบประมาณและระยะเวลาในการดําเนินการ จากการสํารวจเอกสารยังไมพบวามีการศึกษาเกี่ยวกับการส่ือสารทางการเมืองเร่ืองพลังงานในอาวไทย : ศึกษาในชวงเวลาป พ.ศ. 2524 – 2553 ทําใหผูวิจัยสนใจที่จะศึกษาในเร่ืองดังกลาว เพื่อจะไดเกิดองคความรูใหมในการส่ือสารทางการเมือง ทั้งในมิติของการส่ือสารและความเปนจริงเกี่ยวกับพลังงานในอาวไทย

กรอบแนวคิดการวิจัย

การส่ือสารทางการเมืองเร่ืองพลังงานในอาวไทย ชวงป 2524-2553 ในคร้ังนี้ไดกําหนดกรอบแนวคิดการวิจัย โดยผูวิจัยประยุกตทฤษฎีการส่ือสารของ เดวิด เค เบอรโล (David K. Berlo) และ ฮารโรลด ลาสเวลล (Harold Lasswell) ประกอบดวยดังนี้

S (Sender) ผูสงสารเร่ืองพลังงานในอาวไทย ประกอบดวย รัฐบาล กระทรวงพลังงาน ปตท. ผูวาราชการ เปนตน

M (Message) เนื้อหาของสารในการส่ือสารพลังงานในอาวไทย ประกอบดวย นโยบายรัฐบาล ประโยชนพลังงานเพื่อความ “โชติชวงชัชวาล” การสัมปทานสํารวจขุดเจาะพลังงานในอาวไทย โครงการรวมไทย-มาเลเซีย รณรงคสงเสริมการประหยัดและมลพิษ

C (Channel) ชองทางการส่ือสารทางการเมืองเ ร่ืองพลังงานในอาวไทย ประกอบดวย ส่ือมวลชน ส่ือบุคคล ประชาพิจารณ

R (Receiver) ผูรับสารเร่ืองพลังงานในอาวไทย ประกอบดวย ประชาชนทั่วไป ประชาชนในพื้นที่ที่ดําเนินการ องคกรไมแสวงหาผลประโยชน (NGO)

57

Effect คือ ผลที่ เกิดจากการส่ือสารทางการเมืองเ ร่ืองพลังงานในอาวไทย ประกอบดวย ผลกระทบดานส่ิงแวดลอม ดานสุขภาวะของประชาชนในพื้นที่ ดานการทองเที่ยว ดานการแบงปนผลประโยชน และดานการทําประชาพิจารณ

ทั้งนี้ กระบวนการส่ือสารเร่ืองพลังงานในอาวไทย ชวงป พ.ศ. 2524-2553 ข้ึนอยูกับบริบททางการเมืองและบริบททางเศรษฐกิจที่มีผลตอการส่ือสารทางการเมือง สรุปเปนกรอบการวิจัยไดดังภาพที่ 2.7

ภาพที่ 2.8 กรอบแนวคิดการวิจยั การส่ือสารทางการเมืองเร่ืองพลังงานในอาวไทย

- รัฐบาล - กระทรวงพลังงาน - ปตท. - ผูวาราชการจังหวัด

- นโยบายรัฐบาล เชน - ประโยชนพลังงานเพื่อความ “โชติชวงชัชวาล” - การสัมปทานสํารวจขุดเจาะพลังงานในอาวไทย - โครงการรวมไทย-มาเลเชีย - รณรงคสงเสริมการประหยัดพลังงานและมลพิษ

- ส่ือมวลชน - ส่ือบุคคล - ประชาพิจารณ

- ประชาชนทั่วไป - ประชาชนในพื้นที่ดําเนินการ - องคกรไมแสวงหาผลประโยชน (NGO)

S R

ผลกระทบ (Effect)

ผลกระทบจากการส่ือสารนโยบายประกอบดวย - ดานส่ิงแวดลอม - ดานสุขภาวะ - ดานการทองเที่ยว - ดานการแบงปนผลประโยชน - ดานการทําประชาพิจารณ

58

บริบทการเมือง และเศรษฐกิจ

M C

59

บทท่ี 3

ระเบียบวิธีวิจัย

การศึกษาวิจัยเร่ือง “การส่ือสารทางการเมืองเร่ืองพลังงานในอาวไทย : กรณีศึกษาในชวงป พ.ศ. 2524-2553” ผูวิจัยใชระเบียบการศึกษาวิธีวิจัย ดังตอไปนี้

1. แนวทางการศึกษาวิจัย 2. เคร่ืองมือการศึกษา 3. กลุมผูใหขอมูล 4. การจัดกระทําขอมูล 5. การวิเคราะหขอมูล

แนวทางการศกึษาวจัิย

การวิจัยคร้ังนี้ เปนการวิจัยเชิงคุณภาพ (Qualitative Research) เพื่อศึกษา

กระบวนการส่ือสารทางการเมืองเร่ืองพลังงานในอาวไทย ป พ.ศ. 2524 จนถึงป พ.ศ. 2553 โดยเปาหมายหลัก ซึ่งเปนทรัพยากรที่สําคัญของชาติเปนหัวใจของการพัฒนาประเทศ โดยเฉพาะโลกแหงยุคปจจุบัน สําหรับประเทศไทยเรานั้น อาวไทยถือวาเปนแหลงยุทธศาสตรพลังงานของประเทศ ดังนั้น โลกนี้ตางหมายปองผลประโยชนสะทอนใหเห็นถึงภูมิหลังและความเปนมาของปรากฏการณกับการส่ือสารภายใตอํานาจทางการเมือง โดยเชื่อมโยงกับบริบทในสังคมไทย กระแสโลกาภิวัตนและประวัติศาสตร วิวัฒนาการการดานพลังงาน

แนวทางการศึกษา จําเปนตองใชระเบียบที่มีการออกแบบวิจัยที่สามารถเขาถึง แกนแทของปรากฏการณที่ศึกษา โดยเขาใกลใหมากที่สุด เปนการแสวงหาความรูและความจริงที่มีอยูทั้งที่เปดเผยและปกปด นํามาพิสูจนโดยจําเปนตองอาศัยกลไกการศึกษาเขาวิเคราะห ที่นาเชื่อถือควบคูกันไปดวย กรรมวิธีการคนหาคําตอบจะตองเขาถึงแหลงขอมูลอยางรอบดานเพียงพอ และไมมีอคติใด ๆ ทั้งส้ิน โดยอาศัยการสืบเสาะแสวงหาอยางเปนข้ันเปนตอน ใชวิธีการและเคร่ืองมือตาง ๆ ในการคนหาขอมูลจากสนามวิจัยอยางเหมาะสม เพื่อยืนยันคําตอบที่ไดวาเปนความจริงแท และสามารถตรวจสอบความนาเชื่อถือนั้นไดตลอดเวลา เพื่อใหไดขอมูลรอบดานที่ถูกตองเพียงพอสําหรับการศึกษาคร้ังนี้

60

ผูวิจัยเลือกใชกรอบการศึกษาเร่ืองการส่ือสารทางการเมืองของ เดวิด เค เบอรโล (David K. Berlo) ผนวกกับแนวคิดดานการส่ือสารทางการเมืองของ ลาสเวลล (Lasswell) โดยศึกษาถึงขอมูลขาวสารที่เปนนโยบายของภาครัฐสงผานส่ือสารมวลชนเพื่อนําไปสูผูรับสารคือประชาชน โดยมีจุดมุงหมายโนมนาวจูงใจใหผูรับสารเขาใจและเห็นคลอยตามไปกับแนวทางปฏิบัติของรัฐ และองคการที่เกี่ยวของ เพื่อจะไดไมเปนอุปสรรคในการบริหารจัดการดานพลังงานของชาติในที่สุด การศึกษานี้จะมุงไปที่การ “สรางสาร” การ “สงสาร” และผลกระทบจากภาครัฐและองคการที่เกี่ยวของเปนหลัก

เคร่ืองมือท่ีใชในการศกึษา

การวิจัยคร้ังนี้ ผูวิจัยอาศัยตัวเองเปนเคร่ืองมือหลักในการศึกษาใหเขาถึงแกนและ

สาระในเร่ืองที่วิจัยอยางแทจริงโดยเทคนิคที่ใชในการเก็บขอมูล ไดแก 1. การสัมภาษณเจาะลึก (In-depth Interview) เปนการสนทนากับบุคคลที่

เกี่ยวของกับกระบวนการส่ือสารและพลังงานในอาวไทย ผูศึกษามุงที่จะไดคําตอบจากผูใหขอมูล (Key Informant) เปนรายบุคคล โดยประเด็นที่ศึกษา คือ นโยบายรัฐบาลดานพลังงาน ผลประโยชนจากอุตสาหกรรมพลังงาน ผลกระทบจากอุตสาหกรรมพลังงาน มาตรการควบคุมมลภาวะ ในพื้นที่อาวไทย

การเก็บรวบรวมขอมูลเปนแบบอุปนัย โดยทยอยสะสมขอมูล จนขอมูล ถูกตองแนนอน ครบถวนรอบดาน และมีความพอเพียงตอการทดสอบความนาเชื่อถือจะตองมีความเปนจริงเสมอเม่ือมีการพิสูจนซ้ํา ๆ เพื่อยืนยันส่ิงที่ศึกษาวามีความเที่ยงตรง

การสัมภาษณเจาะลึกกลุมตัวอยางใช 3 วิธีการผสมผสานกันเพื่อใหไดขอมูลที่ชัดเจน ดังนี้1

1.1 การสัมภาษณแบบกําหนดมาตรฐาน (Standardized Interview) เปนการสัมภาษณที่มีโครงสรางของคําถามตามวัตถุประสงค ประเด็นการสัมภาษณจึงเปนแนวคําถามที่กําหนดไวลวงหนา คําตอบจากผูใหขอมูลสามารถเปรียบเทียบกันไดเพราะมาจากแนวคําถามเดียวกัน การสัมภาษณเชนนี้มักไมคอยมีอคติจากผูใหขอมูลเพราะคําถามชุดเดียวกัน ทําใหคําตอบสอดคลองกับวัตถุประสงค ความเขาใจ การใชถอยคํา และความหมายตอคําถามที่ไม

1สุรพงษ โสธนะสถียร, หลักและทฤษฎีทางสังคมศาสตร, (กรุงเทพฯ: ประสิทธิภัณท

แอนดพร้ินติ้ง, 2545), น. 293.

61

แตกตางกันมากนัก ใชในการสัมภาษณผูใหขอมูลที่เปนบุคคลสําคัญและไดนัดหมายเวลาไวอยางเปนทางการ

1.2 การสัมภาษณแบบไมกําหนดมาตรฐาน (Unstandardized Interview)เปนการสัมภาษณที่ไมมีแนวคําถาม เพียงแตผูสัมภาษณมีวัตถุประสงคของการวิจัย และตั้งคําถามทดสอบ เพื่อนําไปสูเปาหมายของงานวิจัย อันจะทําใหบริบทของปรากฏการณขยายไปอยางกวางขวาง ทําใหสามารถลวงลึกตอประเด็นที่ไมคุนเคยได เม่ือมีความสนิทสนมคุนเคยมากข้ึน ใชในการสัมภาษณผูที่อยูในฝายปฏิบัติงาน และมีความสนิทสนมกันเปนการสวนตัว

1.3 การสัมภาษณแบบกึ่งมาตรฐาน (Semi-standardized Interview) การสัมภาษณแบบนี้ เปนการผสมผสานแนวการสัมภาษณแบบมาตรฐานและแบบปราศจากมาตรฐาน โดยมีการเตรียมแนวคําถามไวลวงหนา ขณะเดียวกันก็อาจจะซักถามเจาะลึกนอกเหนือไปจากแนวคําถามได โดยพิจารณาตามสถานการณในสนาม

การสัมภาษณในสนามนั้น การใชวิธีสัมภาษณแบบมาตรฐานผสมผสานกับแบบกึ่งมาตรฐาน ในบางคร้ังก็อาจพบผูใหขอมูลโดยกะทันหันทําใหตองใชการสัมภาษณแบบปราศจากมาตรฐานเขามาแกปญหาเฉพาะหนา ทั้งนี้ เพื่อใหไดมาซึ่งขอมูลที่รอบดานมากที่สุด

2. การสังเกตการณแบบไมมีสวนรวม เปนการศึกษาที่รวบรวมขอมูลจาก การเขาไปศึกษากับการประชาพิจารณ กลุมที่ตอตานคัดคาน และติดตามเหตุการณจากสถานการณจริงเกี่ยวกับการขุดเจาะกาซ และปโตรเลียมมาโดยตลอด ในประเด็นทั้งหลายเหลานัน้ กลุมชาวบาน และ กลุมผูเคล่ือนไหว ไดเก็บขอมูลและเรียกรองมาเปนเวลายาวนาน ซึ่งบางคร้ังเสียงก็ดังข้ึนหากอยูในหวงเวลาที่เหมาะสม

3. เอกสารจากแหลงขอมูลตาง ๆ เพื่อประกอบการศึกษาใหสมบูรณยิ่งข้ึน จึงมีความจําเปนตองคนควาเอกสารที่เกี่ยวของกับการส่ือสารเร่ืองพลังงานในอาวไทยตั้งแตในอดีตจนถึงปจจุบัน โดยใชกรอบการวิเคราะหจากการส่ือสารและวาทกรรมเปนเคร่ืองมือในการวิเคราะหเนื้อหาของสารที่ศึกษา เชนอันไดแก หนังสือ บทความ หนังสือพิมพ เอกสารจากหนวยงานของราชการที่เกี่ยวของ กรมพลังงาน รวมไปถึงองคการของเอกชนที่เกี่ยวของกับกาซธรรมชาติและปโตรเลียม เอกสารเพื่อการโฆษณา และประชาสัมพันธ รวมถึงเอกสารที่จัดทําข้ึนโดยกลุมที่มีการเคล่ือนไหวในบริเวณพื้นที่ใกลเคียงของแหลงพลังงานกาซธรรมชาติและปโตรเลียมในอาวไทย เพื่อที่จะนําไปประกอบการวิเคราะหรวมกับขอมูลอ่ืน ๆ

62

กลุมผูใหขอมูล

การวิจัยนี้เปนการศึกษาถึง “การส่ือสารทางการเมืองเร่ืองพลังงานในอาวไทย ชวง ปพ.ศ. 2524-2553” ดังนั้น กลุมผูใหขอมูล (Key Informant) จึงตองเปนบุคคลที่เปนบุคลากรและองคการที่เกี่ยวของทั้งโดยทางตรง และโดยทางออมดานอุตสาหกรรมพลังงาน หรืออุตสาหกรรม ปโตรเคมี โดยเฉพาะการส่ือสารทางการเมืองเปนหลักโดยเกณฑการคัดเลือกผูใหขอมูลนั้นเปนกลุมตัวอยางที่ไมไดกําหนดจากหลักความนาจะเปน แตคัดเลือกจากคุณสมบัติที่เปนเปาหมายของงานวิจัย โดยจําแนกกลุมผูใหขอมูลสําคัญ ดังนี ้

1. กลุมหนวยงานราชการที่เกี่ยวของกับอุตสาหกรรมพลังงานในพื้นที่ชายฝง นายสุทธิชัย สุขสีเสน พลังงานจังหวัดสงขลา นายหรอหยา จันทรัตนา พลังงานจังหวัดสุราษฏรธาน ี นายจักริน เดชสถิตย นักวิชาการพลังงานฝายปฏิบัติการ นายประทีป เองฉวน ผูอํานวยการนิคมอุตสาหกรรมมาบตาพุด นายเสนีย จิตเกษม ผูวาราชการจังหวัดระยอง นายกฤษฎา บุญราช ผูวาราชการจังหวัดสงขลา 2. กลุมผูที่มีความรูและเชี่ยวชาญในเร่ืองของพลังงาน ประกอบดวย

นายสมชาย ตะสิงหษะ นักวิชาการส่ิงแวดลอม ผูชํานาญการพิเศษ นายพรศักดิ์ นามสมภาค วิศวกรปโตรเลียมฝายเทคนิค กรมพลังงาน

เชื้อเพลิงธรรมชาต ินายจเร ปานเหลือ หัวหนางานผูปฏิบัติการซอมบํารุง "Offshore" นายประพันธ จารุไสลพงษ ผู จั ดก าร ฝ า ย กํ า ลั งบํ า รุ งแ ละ สนั บส นุ น

ปฏิบัติการ (ปตท.) นายประเสริฐ สลิลอําไพ ผูจัดการฝายการส่ือสารของ ปตท. นายสุรเดช จิรฐิติเจริญ สมาชกิวุฒิสภา ประธานกรรมาธิการพลังงาน

3. กลุมที่เกี่ยวของกับการทองเที่ยว นายชูชาติ ออนเจริญ ผูอํานวยการการทองเที่ยวแหงประเทศไทย

จังหวัดระยอง และจันทบุรี นายภานุ วรมิตร ผูอํานวยการการทองเที่ยวแหงประเทศไทย

จังหวัดสุราษฏรธาน ี

63

4. กลุมผูตอตานและคัดคานการขุดเจาะพลังงานในอาวไทยประกอบดวย นายรามเนตร ใจกวาง ประธานเครือขายรักษอาวไทย อาจารยจิรชัย เชาวลิตร นักวิชาการอิสระ (NGO) 5. กลุมผูรับผลกระทบที่อยูรอบเขตอุตสาหกรรม นายชูเดช จันทรศิริ ประธานชุมชน "ซ.ประปา" นายศิริชัย หอมดวงศิริ รองผูอํานวยการโรงเรียนมาบตาพุดพันพิทยาคาร นายจําลอง ผองสุวรรณ ประธานชุมชน "มาบยา" สําหรับการบันทึกขอมูลจากบุคคลนั้น ผูวิจัยใชการบันทึกเทปคําสัมภาษณพรอมการ

จดบันทึกลักษณะภาษาทาทางของผูใหขอมูล เพื่อชวยอางอิงในการตีความ ทั้งนี้ ไดถอดเทปการสนทนาอยางละเอียด สวนขอมูลที่เปนหนังสือ ส่ือส่ิงพิมพ และเอกสารนั้นยังคงตองอาศัยพื้นฐานความคิดในเชิงบรรทัดฐานเปนกรอบเพื่อประโยชนในการวิเคราะห ตรวจสอบ และยืนยันขอมูลอยางเปนระบบ

การจัดกระทําขอมลู

ผูวิจัยตองการขอมูลที่ชัดเจน ลุมลึกรอบดานจึงตั้งประเด็นศึกษาใหเปนแนวทางใน

การตั้งคําถามเพื่อการสัมภาษณเจาะลึก การสังเกตการณแบบไมมีสวนรวม และการใชเอกสารหลักฐานประกอบตาง ๆ โดยมีประเด็นที่จะศึกษา ดังนี้

ผูวิจัยตองการขอมูลที่ชัดเจน ลุมลึกรอบดานจึงตั้งประเด็นศึกษาใหเปนแนวทางในการตั้งคําถามเพื่อการสัมภาษณเจาะลึก การสังเกตการณแบบไมมีสวนรวม และการใชเอกสารหลักฐานประกอบตาง ๆ โดยมีประเด็นที่จะศึกษา ดังนี้

1. บริบททางการเมืองและเศรษฐกิจในชวงป พ.ศ. 2524 -2553 1.1 บริบททางการเมือง 1.2 บริบททางเศรษฐกิจ

2. กระบวนการส่ือสารเร่ืองพลังงาน ดานผูสงสาร (S : Sender) 2.1 หนวยงานใดที่ทําหนาที่เปนผูสงสารหลักในเร่ืองพลังงาน 2.2 ผูที่มีอํานาจในการสงสารเกี่ยวกับพลังงานในอาวไทยเปนใคร

3. กระบวนการส่ือสารเร่ืองพลังงาน ดานเนื้อหาสาร (M : Message) 4. กระบวนการส่ือสารเร่ืองพลังงาน ดานชองทางการส่ือสาร (C : Channel) 5. กระบวนการส่ือสารเร่ืองพลังงาน ดานผูรับสาร (R : Receiver)

64

6. ผลกระทบจากการส่ือสาร มีดังนี้ 6.1 ผลกระทบดานส่ิงแวดลอม 6.2 ผลกระทบดานสุขภาพ 6.3 ผลกระทบดานประโยชนจากอุตสาหกรรมพลังงาน 6.4 ผลกระทบดานความขัดแยง 6.5 ผลกระทบดานการทําประชาพิจารณ 6.6 ผลกระทบดานการทองเที่ยว

ดังนั้น วัตถุประสงคในแตละขอไดใชระเบียบวิธีวิจัย และการจัดกระทําขอมูลการวิจัยดังตอไปนี้

วัตถุประสงคขอที่ 1 เพื่อศึกษาบริบททางการเมืองและเศรษฐกิจที่สงผลตอการส่ือสารทางกาเมืองเร่ืองพลังงานในอาวไทย ในชวงป พ.ศ. 2524 ถึง พ.ศ. 2553 ผูวิจัยใชระเบียบวิธีการศึกษาจากเอกสารหลักฐานประกอบ และการสัมภาษณเจาะลึก โดยใชขอมูลจากประเด็นขอที่ 1

วัตถุประสงคขอที่ 2 เพื่อศึกษากระบวนการส่ือสารทางการเมืองเร่ืองพลังงานในอาวไทย ในชวงป พ.ศ. 2524 ถึง พ.ศ. 2553 โดยการสัมภาษณเจาะลึก และการใชขอมูลจากเอกสารหลักฐานประกอบ โดยใชขอมูลจากประเด็นขอที่ 2 3 4 5 และ 6

การตรวจสอบขอมูล

ในการศึกษาคร้ังนี้ผูวิจัยใชการตรวจสอบความนาเชื่อถือและความถูกตองแมนยํา

โดยการตรวจสอบแบบย้ํายัน (Triangulation)2 เพื่อตรวจสอบสภาพขอมูลในหลาย ๆ วิธีการ และหลายมิติ อันประกอบดวย

1. มิติดานขอมูล (Data Triangulation) ผูวิจัยจะนําขอมูลในประเด็นเดียวกันทั้งหมดมาเทียบเคียงซึ่งกันและกันวามีความเหมือนหรือไปในทิศทางเดียวกันหรือไม หากพบวาการใหขอมูลในประเด็นเดียวกันมีความแตกตางกัน ผูวิจัยจะไมนําขอมูลนั้นมาทําการวิเคราะห แตหากขอมูลมีความเหมือนหรือใกลเคียงซึ่งกันและกัน ผูวิจัยจะนําขอมูลนั้นมาศึกษาวิเคราะห

2สุภางค จันทวานิช, การวิเคราะหขอมูลในการวิจัยเชิงคุณภาพ , (กรุงเทพฯ:

จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย, 2542).

65

2. มิติดานการตรวจสอบ (Verification Triangulation) ผูวิจัยจะทําการตรวจสอบวิเคราะหตีความ และลงความเห็นขอมูลที่ไดมารวมกันวา เปนไปในทิศทางเดียวกันหรือไม ทั้งนี้ผูวิจัยจะนําผลการตรวจสอบ วิเคราะห ตีความ ตลอดจนความคิดเห็นที่เปนไปในทิศทางเดียวกันเทานั้นมาประกอบในงานวิจัย

3. มิติกรอบความคิดทฤษฎี (Theoretical Triangulation) ผูวิจัยใชกรอบทฤษฎีที่หลากหลายเขาตรวจสอบขอมูลเพื่อยืนยันความเปนจริงตามบริบทตาง ๆ

การวเิคราะหขอมูล

การวิเคราะหขอมูลงานวิจัยเชิงคุณภาพ นําการวิเคราะหความหมายเชิงตีความ

(interpretative textual analysis) มาใชรวมกับการวิเคราะหเนื้อหา (content analysis) การวิจัยคร้ังนี้แบงการวิเคราะหขอมูลเปน 3 ข้ันตอน ไดแก 1. การลดทอนขอมูล (Data Reduction) 2. การแสดงขอมูล (Data Display) 3. การสรางขอสรุปและยืนยันผลสรุป (Conclusion & Verification) เม่ือผูวิจัยไดขอมูลมาแลว ไดเลือกเฟนจุดที่นาสนใจ ทําใหเปนขอมูลที่เขาใจงาย

สรุปยอ จัดแบงเปนกลุม ปรับลดหรือหาขอมูลเพิ่มจนไดขอสรุป และสามารถพิสูจนบทสรุปจนเปนที่นาพอใจ จากนั้นจึงนําขอมูลมาแสดงโดยการพรรณนา แลวจึงสังเคราะหขอสรุปยอย ๆ ในชวงแรก ๆ เขาเปนขอสรุปรวมในบทสรุป และตรวจสอบยืนยันเปนผลสรุปการวิจัยในชวงสุดทายและเพื่อใหแนใจวาบทสรุปนาเชื่อถือ ผูวิจัยไดวิเคราะหตรวจสอบอีกคร้ังในขณะที่เขียนรายงานกับขอมูลสนามเพื่อยืนยันผลสรุปวิจัยดวยการตรวจสอบสามเสา แลวนําผลสรุปการวิจัยไปตรวจสอบความถูกตองกับผูใหขอมูล ตรวจสอบความแตกตางหรือความคลายคลึงของความคิดระหวาง คนใน (emic) กับคนนอก (etic)

งานวิจัยนี้ผูวิจัยทําการเก็บขอมูล ลดทอนขอมูล แสดงขอมูล และทําการสรุปชั่วคราว จากนั้นทดสอบขอสรุป แลวกลับไปสูกระบวนการเก็บขอมูล ลดทอนขอมูล แสดงขอมูล ทดสอบขอสรุปตอไปเร่ือย ๆ เปนการเคี่ยวจนขอมูลอ่ิมตัว (Saturation) แลวนําไปสรางขอสรุปรวมแลวยืนยันขอสรุป ซึ่งผูวิจัยมุงหวังใหขอสรุปรวมของงานวิจัยนี้ นําไปสูองคความรูใหมในดานของ การส่ือสารกับความเปนจริงของพลังงานในอาวไทย อันจะเปนอีกบริบทหนึ่งของการส่ือสารกับความเปนจริงในภาพรวมตอไป

66

ขอจํากดังานวิจัย

งานวิจัยนี้ บางสวนกระทําการเก็บขอมูลยอนหลังไปตั้งแตเร่ิมสํารวจพบแหลงพลังงานธรรมชาติในอาวไทย จนมาถึง ตุลาคม 2553 ซึ่งในชวงเวลาเก็บขอมูลดังกลาวมีขอจํากัดบางประการดังตอไปนี้ คือ

ผูใหขอมูล (Key Informant) มีความจําเปนที่ไมอาจเปดเผยในบางสวนที่มีผลตอยุทธศาสตรทางธุรกิจรวมไปถึงผลกระทบในขอกําหนดของกฎหมาย

ผูใหขอมูล (Key Informant) มีความระมัดระวังในการใหขอมูลอยางมากเพราะขอมูลบางอยางอาจมีผลกระทบกับองคกร สถานภาพดานอาชีพ และตําแหนงทางสังคมตอ การดํารงอยูในชีวิตประจําวัน

67

บทท่ี 4

บริบททางการเมือง และเศรษฐกิจ ท่ีสงผลตอการสื่อสารทางการเมือง เร่ืองพลังงานในอาวไทย ในชวงป 2524-2553

ในการศึกษาเร่ือง “การส่ือสารทางการเมืองเร่ืองพลังงานในอาวไทย : กรณีศึกษา

ในชวงป พ.ศ. 2524-2553” นั้น มีความจําเปนจะตองศึกษาถึงบริบทที่เปนปรากฏการณซึ่งมีอิทธิพลตอการส่ือสารทางการเมืองเร่ืองพลังงานในอาวไทย ซึ่งผูวิจัยแบงการอธิบายบริบทออกเปนบริบททางการเมือง และบริบททางเศรษฐกิจ โดยมีรายละเอียดดังนี้

บริบททางการเมือง ป พ.ศ. 2524-2553 บริบททางการเมืองในชวงป 2524-2553 ผูวิจัยศึกษาบริบททางการเมืองที่มีผลตอการส่ือสารทางการเมืองเร่ืองพลังงานในอาวไทย ซึ่งประกอบไปดวย นโยบายของรัฐบาล เหตุการณ โครงการที่เกี่ยวกับกระบวนการผลิตพลังงานในอาวไทย โดยเร่ิมในชวงการบริหารประเทศภายใตพลเอกเปรม ติณสูลานนท จนถึงรัฐบาลของนายอภิสิทธิ์ เวชชาชีวะ ซึ่งมีรายละเอียดดังนี้ รัฐบาลพลเอกเปรม ติณสูลานนท บริบทที่สงผลตอการส่ือสารทางการเมืองเร่ืองพลังงานในอาวไทย ไมกลาวถึงวลี “โชติชวงชัชวาล” คงไมไดหลังจากที่คนพบแหลงพลังงานธรรมชาติในอาวไทย เม่ือป 2512 ตามดวยการเกิดพระราชบัญญัติปโตรเลียม พ.ศ. 2514 เปนกฎหมายการขับเคล่ือนธุรกิจพลังงานในยุคแรก ๆ ซึ่งทุกฝายคาดหวังไววาจะไดนําพลังงานในอาวไทยนั้นมาพัฒนาประเทศให “โชติชวงชัชวาล” และผลิตน้ํามันเพื่อทดแทนการนําเขาพลังงานน้ํามันที่กอนหนานี้มีการนําเขา 100%1 ประเทศไทยเปนประเทศที่นําเขาน้ํามัน ไดพยายามเพิ่มศักยภาพดวยการลดการพึ่งพาการนําเขาเพียงอยางเดียว ในการบริหารงานของรัฐบาลพลเอกเปรม ติณสูลานนท ไดมีนโยบาย ใหมีการเรงรัดสงเสริมการสํารวจวิจัย และพัฒนาการนําพลังงานทุกรูปแบบภายในประเทศมาใชใหเปน

1วงกต วงศอภัย, “โลกและวิกฤตการณน้ํามันในอดีต,” มติชนสุดสัปดาห ปที่ 24 ฉบับที่ 1248 (16 กรกฎาคม 2547), น. 30-31.

68

ประโยชนโดยเร็ว เพื่อลดการใชน้ํามันที่ตองซื้อจากตางประเทศและจะเรงรัดประสานงาน เพื่อใหการบริหารงานเปนไปอยางมีประสิทธิภาพ มีการประสานงานตอเนื่องและใหเปนไปในเปาหมายแนวทางเดียวกันอยางใกลชิด2 การพบกาซธรรมชาติในอาวไทย นําไปสูการเกิดโครงการพัฒนาพื้นที่ชายฝงทะเลตะวันออก (Eastern Seaboard) ซึ่งรัฐบาลไดกําหนดแผนพัฒนาชายฝงตะวันออก ระยะที่ 1 (2524-2537)3 ทําใหมีการสรางโรงแยกกาซธรรมชาติ โดยนํากาซมาจากแหลงเอราวัณหลุม สุราษฎร 1 ซึ่งไดผลิตในเชิงพาณิชย ข้ึนเปนคร้ังแรก เม่ือป พ.ศ. 2524 นั่นคือการกอเกิดอุตสาหกรรมที่เปนตนน้ําของกระบวนการอุตสาหกรรมปโตรเลียม และเกิดระบบเชื่อมโยงพลังงานเขาสูโรงไฟฟา และโรงงานอุตสาหกรรมอ่ืน ๆ โดยการปโตรเลียมแหงประเทศไทย (ปตท.) ไดมีการลงทุนวางทอสงกาซธรรมชาติใตทะเล ที่ยาวที่สุดในโลกในขณะนั้น (425 กิโลเมตร) จากแหลงเอราวัณมาข้ึนฝงที่จังหวัดระยองพรอมกับการลงทุนสรางโรงแยกกาซธรรมชาติแหงที่ 1 โดยนําไปใชเปนเชื้อเพลิงของโรงฟาเปนสําคัญไดเร่ิมใชกาซธรรมชาติในโรงไฟฟาบางปะกงเปนคร้ังแรกและแยกสวนประกอบของกาซธรรมชาติไปใชเปนเชื้อเพลิงในครัวเรือนในรูปของกาซหุงตมและเปนวัตถุดิบในอุตสาหกรรมปโตรเคมี ทําใหเกิดอุตสาหกรรมตอเนื่องตามมาอีกมากมาย หลังจากนั้นไดพัฒนาแหลงกาซธรรมชาติเพิ่มมากข้ึน อาทิ แหลงบงกช แหลงไพลิน แหลงปลาทอง และแหลงสิริกิติ ์เปนตน นับวาประเทศไทยไดกาวยางเขาสูยุคโชติชวงชัชวาล ตั้งแตนั้นเปนตนมา4

โครงการพัฒนาพื้นที่ชายฝงทะเลตะวันออก หรืออิสเทิรนซีบอรด (Eastern Seaboard) ไดเร่ิมตั้งแตป พ.ศ. 2525 และไดตั้งนิคมอุตสาหกรรมมาบตาพุด จังหวัดระยอง เนื่องจากจังหวะระยองมีลักษณะภูมิประเทศที่เหมาะสมไมไกลจากกรุงเทพมหานคร โดยรัฐบาลไดพัฒนาโครงสรางพื้นฐานตาง ๆ เพื่ออํานวยความสะดวกแกอุตสาหกรรมในนิคมอุตสาหกรรมมาบตาพุด เชน ทาเรือน้ําลึก ระบบถนน รถไฟ ระบบสงน้ํา ระบบโทรคมนาคม ฯลฯ ซึ่งเปนการกระจายความเจริญจากเมืองหลวงไปสูภูมิภาคอยางเปนระบบนอกจากนี้ยังไดเปดโอกาสใหภาคเอกชนเขามามีสวนขับเคล่ือนการพัฒนาประเทศ โดยมีการจัดตั้งคณะกรรมการรวมภาครัฐ

2สํานักเลขาธิการสภาผูแทนราษฎร, รายงานการประชุมรัฐสภา คร้ังที่ 2/2524

(วิสามัญสมัยที่สอง), วันศุกรที่ 28 มีนาคม พุทธศักราช 2523, น. 25-46. 3สํานักงานคณะกรรมการสุขภาพแหงชาติ, อนาคตระยองเสนทางสูสังคมสุขภาพ,

พิมพคร้ังที ่2, (นนทบุรี: บริษัท คุณาไทย จํากัด, 2552), น. 14. 4“ยอนรอยปโตรเลียมไทยตอนที่ 9 : กาซธรรมชาติจากอาวไทยสูยุคโชติชวงชัชวาล,”

ไทยนิวสออนไลน (15 ธันวาคม 2554).

69

และเอกชนเพื่อแกไขปญหาทางเศรษฐกิจ (กรอ.) ตามมติคณะรัฐมนตรีเม่ือวันที่ 30 มิถุนายน 2525 ซึ่งมีนายกรัฐมนตรีเปนประธาน สวนผูแทนภาคเอกชน ประกอบดวยผูแทน 3 สถาบัน คือ สภาหอการคาแหงประเทศไทย สภาอุตสาหกรรมแหงประเทศไทย และสมาคมธนาคารไทย5

แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติฉบับที่ 5 (พ.ศ. 2525-2529) มีเปาหมายกระจายความเจริญจากเมืองหลวงไปสูภูมิภาคอยางเปนระบบโดยมีพื้นที่เปาหมายกาํหนดใหพืน้ที่บริเวณระหวางสัตหีบ–เขตเทศบาลเมืองระยอง เนื้อที่ทั้งส้ินประมาณ 123,750 ไร เปนเมืองอุตสาหกรรมที่ทันสมัยและเปนที่ตั้งของ “อุตสาหกรรมหลัก” เชน อุตสาหกรรมแยกกาซ อุตสาหกรรมปโตรเคมี อุตสาหกรรมโซดาแอช อุตสาหกรรมเหล็กและเหล็กกลา อุตสาหกรรมปุยเคมี เปนตน โดยยึดหลักวาอุตสาหกรรมหลักที่มีการนําวัตถุดิบเขามาและสงผลิตภัณฑสําเร็จรูปออกไปเปนจํานวนมากนั้นจะใหตั้งอยูใกลทาเรือสัตหีบมากที่สุด นอกจากนี้ไดกําหนดใหพื้นที่บริเวณแหลมฉบัง เนื้อที่ประมาณ 2,800 ไร เปนแหลงที่ตั้งอุตสาหกรรมขนาดกลางและขนาดยอมโดยไดจัดตั้งอุตสาหกรรมหนักบนพื้นที่ในเขตอําเภอมาบตาพุด จังหวัดระยอง6 ซึ่งเปนที่รูจักกันทั่วไปวา “นิคมอุตสาหกรรมมาบตาพุด” นั่นเอง สอดคลองกับคําแถลงนโยบายรัฐบาลพลเอกเปรม ติณสูลานนท สมัยที่ 2 นโยบายดานเศรษฐกิจ จะดําเนินการพัฒนาเศรษฐกิจของประเทศโดยจัดสรรทรัพยากรไปใชเพื่อยังประโยชนใหแกประชาชนสวนใหญจะเรงรัดการผลิตทางเกษตร อุตสาหกรรมเหมืองแรและอ่ืน ๆ ใหเพิ่มมากข้ึนพรอมทั้งขยายการคาและบริการควบคูไปดวยเพื่อกอใหเกิดการสรางงานใหคนมีงานทําทั้งนี้จะมุงกระจายความเจริญออกสูสวนภูมิภาค และชนบทใหกวางขวางยิ่งข้ึนและนโยบายดานพลังงาน จะเรงรัดสงเสริมการสํารวจวิจัยและพัฒนาการนําพลังงานทุกรูปแบบภายในประเทศมาใชใหเปนประโยชนโดยเร็วเพื่อลดการใชน้ํามันที่ตองซื้อจากตางประเทศ 7

ในรัฐบาลพลเอกเปรม ติณสูลานนท สมัยที่ 3 มีนโยบายดานวิทยาศาสตร พลังงาน และส่ิงแวดลอม คือ จะปรับปรุงองคกรดานพลังงาน เพื่อใหการบริหารงานเปนไปอยางมี

5สภาพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติ, กรอ. กลไกการขับเคล่ือนการพัฒนา

ประเทศ, (กรุงเทพฯ: ม.ป.ท., ม.ป.ป.). 6สํานักงานคณะกรรมการพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแหงชาต,ิ แผนพัฒนาเศรษฐกิจ

และสังคมแหงชาติ ฉบับที่ 5 : การพัฒนาพื้นที่สามจังหวัดชายฝงภาคตะวันออก, (กรุงเทพฯ: สํานักงานคณะกรรมการพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแหงชาต,ิ 2525), น. 124-125.

7สํานักเลขาธิการสภาผูแทนราษฎร, รายงานการประชุมรวมกันของรัฐสภา คร้ังที่ 2 /2526 (สมัยสามัญ), วันที่ 20 พฤษภาคม พุทธศักราช 2526, น. 25-42.

70

ประสิทธิภาพและจะสงเสริมใหมีการใชพลังงานอยางประหยัด พัฒนาพลังงานทุกรูปแบบภายในประเทศกระตุนการลงทุนของภาคเอกชนในสาขาพลังงานรวมทั้งจะกําหนดอัตรา คาพลังงานที่ใชประโยชนไดแลวทุกชนิดใหเหมาะสมกับสถานภาพทางเศรษฐกิจ8 ดวยองคกรดานพลังงานมีการกระจายอยูภายใตหนวยงานในสังกัดที่หลากหลายและแตกตางกัน ทําให การบริหารงานไมเปนเอกภาพ จึงมีแนวคิดในการปรับปรุงโครงสรางเพื่อใหเกิดประสิทธิภาพของการบริหารงานดานพลังงานในระยะแรกเร่ิมจากแนวคิดการจัดตั้งทบวงพลังงาน โดยคณะรัฐมนตรีมีมติเม่ือวันที่ 20 พฤศจิกายน 2527ใหคณะกรรมการปฏิรูประบบราชการแผนดิน รับเร่ืองการจัดตั้งทบวงพลังงานไปพิจารณาในรายละเอียด แตเร่ืองดังกลาวมิไดถูกนําเสนอกลับมาใหคณะรัฐมนตรีพิจารณา9

ในรัฐบาลพลเอกเปรม ติณสูลานนท ไดหยิบยกเร่ืองการปรับปรุงระบบการบริหารนโยบายพลังงานใหมีเอกภาพข้ึนมาพิจารณาเปนเร่ืองเรงดวนและไดนําเสนอแนวทางตอคณะกรรมการรัฐมนตรีฝายเศรษฐกิจ เม่ือวันที่ 8 กันยายน 2529 ใหมีการจัดตั้งคณะกรรรมการนโยบายพลังงานแหงชาติ โดยมีนายกรัฐมนตรี เปนประธานและมีสํานักงานคณะกรรมการนโยบายพลังงานแหงชาติ (สพช.) ที่จะจัดตั้งข้ึนภายใตสํานักเลขาธิการนายกรัฐมนตรี ทําหนาที่ เปน ฝายเลขานุการเพื่อกําหนดนโยบาย และมาตรการตาง ๆ ทางดานพลังงาน ตอมาพลเอกเปรม ติณสูลานนท นายกรัฐมนตรี ไดลงนามในระเบียบสํานักนายกรัฐมนตรีวาดวยนโยบายการบริหารงานพลังงานแหงชาติ พ.ศ. 2529 และคําส่ังแตงตั้งคณะกรรมการนโยบายพลังงานแหงชาติ เม่ือวันที่ 16 ตุลาคม พ.ศ. 252910 พลเอกเปรม ติณสูลานนท ไดบริหารประเทศมาเปนเวลายาวนานติดตอกันถึง กวา 8 ป เร่ิมมีกระแสการเรียกรองใหมีประชาธิปไตยที่มีความสมบูรณมากยิ่งข้ึน เพราะพลเอกเปรมติณ สูลานนท เปนนายกรัฐมนตรีที่ไมไดมาจากการเลือกตั้งโดยประชาชนเปนสมาชิกสภาผูแทนราษฎร และมีฐานการสนับสนุนมากจากทหาร ทําใหพลเอกเปรมติณสูลานนท ประกาศวางมือทางการเมือง

8สํานักเลขาธิการสภาผูแทนราษฎร, รายงานการประชุมรวมกันของรัฐสภา คร้ังที่ 1

/2529 (สมัยสามัญ), วันพุธที่ 27 สิงหาคม พุทธศักราช 2529, น. 173-192. 9กระทรวงพลังงาน, ประวัติการพัฒนากิจการพลังงานไทย, (กรุงเทพฯ: กระทรวง

พลังงาน, ม.ป.ป.), น. 34. 10สํานักงานคณะกรรมการนโยบายพลังงานแหงชาติ (สพช.). “บทบาท หนาที่ และ

ภารกิจ สพช.” วารสาร สพช. ฉบับแรก (มกราคม 2544).

71

จากขอมูลดังกลาวสะทอนใหเห็นไดวารัฐบาลของพลเอกเปรม ติณสูลานนท ไดมุงเนนการนําพลังงานจากอาวไทยมาพัฒนาประเทศนํามาสูภาคอุตสาหกรรมปโตรเลียม มีการวางระบบดานคมนาคมและการขนสง สงผลใหเกิดนิคมอุตสาหกรรม

การบริหารงานภายใตรัฐบาลพลเอกชาติชาย ชุณหะวัณ

รัฐบาลพลเอกชาติชาย ชุณหะวัณ (2531-2534) ไดมีนโยบาย “เปล่ียนสนามรบเปน

สนามการคา” ไดสานตอนโยบายดานเศรษฐกิจจากพลเอกเปรม ติณสูลานนท และมีการลงทุนในตลาดหุน อสังหาริมทรัพย อุตสาหกรรมที่เกี่ยวกับน้ํามัน โดยเฉพาะการพัฒนาชายฝงทะเลตะวันออก11 นโยบายดานการพัฒนาระบบราชการ มุงเนนที่จะปรับปรุงโครงสรางกระทรวงทบวงใหเหมาะสมกับสถานการณในปจจุบันและสนองตอบตอการพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมของประเทศเชน แบงแยกงานจากกระทรวงเดิม จัดตั้งเปนกระทรวง ทบวงข้ึนใหม อาทิกระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและส่ิงแวดลอม กระทรวงการคาตางประเทศ กระทรวงพลังงานกระทรวงโยธาธิการ กระทรวงแรงงาน กระทรวงส่ือสารและคมนาคม และทบวงตํารวจ เปนตน สวนนโยบายดานอุตสาหกรรม เรงกระจายอุตสาหกรรมไปสูสวนภูมิภาคและพื้นที่ "เขตเศรษฐกิจใหม" เชนบริเวณชายฝงทะเลตะวันออกและเรงพัฒนาบริเวณชายฝงทะเลภาคใตตลอดทั้งการพัฒนานิคมอุตสาหกรรมเขตอุตสาหกรรมสงออกเพื่อกระจายอุตสาหกรรมไปสูสวนพื้นที่ที่ควรพัฒนาซึ่งจะชวยใหการควบคุมปญหาส่ิงแวดลอมเปนไปอยางมีประสิทธิภาพ12

ในสวนของนโยบายดานพลังงานไดมีการปรับโครงสรางหนวยงานที่เกี่ยวของ คณะรัฐมนตรีมีมติเห็นชอบเม่ือวันที ่6 มิถุนายน 2532 ใหดําเนินการตามมตคิณะกรรมการนโยบายพลังงานแหงชาติ โดยใหยกฐานะของสํานักงานคณะกรรมการนโยบายพลังงานแหงชาติ (สพช.)เปนหนวยงานถาวรระดับกรม สังกัดสํานักนายกรัฐมนตรีทําหนาที่เปนสํานักเลขานุการของคณะกรรมการนโยบายพลังงานแหงชาติโดยมอบหมายใหรัฐมนตรีประจําสํานักนายกรัฐมนตรี รวมกับหนวยงานที่เกี่ยวของรับไปจัดทํารายละเอียด เกี่ยวกับรูปแบบขององคกร รวมทั้งดําเนินการรางกฎหมายและนําเสนอคณะกรรมการนโยบายพลังงานแหงชาติ เพื่อพิจารณาใหความเห็นชอบ

11ลิขิต ธีรเวคิน, วิวัฒนาการการเมืองการปกครองไทย, พิมพคร้ังที่ 10, (กรุงเทพฯ:

มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร, 2550), น. 220-221. 12สํานักเลขาธิการสภาผูแทนราษฎร, รายงานการประชุมรวมกันของรัฐสภาคร้ังที่ 1

/2534 (สมัยวิสามัญ), วันพุธที่ 9 มกราคม พุทธศักราช 2534, น. 19-38.

72

ตอไปและมีแผนขยายการขุดเจาะน้ํามันและกาชธรรมชาติบริเวณอาวไทยทอดยาวถงึประเทศมาเลเซยีดังจะเห็นไดจากพระราชบัญญัติองคกรรวมคาไทย-มาเลเซีย พ.ศ. 253313

ภาพที ่4.1

โครงสรางคณะกรรมการนโยบายพลังงานแหงชาติ (กพช.)

13พระราชกฤษฎีกา, พระราชบัญญัติองคกรรวมไทย-มาเลเซีย, เลมที่ 108 ตอน 11,

วันที่ 22 มกราคม 2534 .

คณะรัฐมนตรี

คณะกรรมการนโยบายพลังงานแหงชาติ

(กพช.)

คณะกรรมการกองทุนเพื่อสงเสริม การอนุรักษพลังงาน (กพอ.)

คณะกรรมการพิจารณานโยบาย

พลังงาน (กพง.)

สํานักงานคณะกรรมการนโยบายพลังงานแหงชาติ (สพช.)

73

ภาพที่ 4.2 โครงสรางของ สพช. ที่ไดรับยกฐานะเปนหนวยงานถาวรระดับกรม

สังกัดสํานักนายกรัฐมนตรี

อยางไรก็ตาม ในชวงแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติฉบับที่ 6 (พ.ศ. 2530-

2534) นั้น ประเทศไทยไดประสบวิกฤติการณทางดานพลังงานอยางรุนแรงหลายคร้ัง และส่ิงหนึ่งที่เปนที่ประจักษชัดคือรัฐบาลขาดเอกภาพในการบริหารงานดานพลังงาน เนื่องจากหนวยงานทางดานพลังงานตาง ๆ ไมไดอยูภายใตสายบังคับบัญชาเดียวกัน ทําใหยากตอการควบคุม และการประสานงานนอกจากนี้รัฐยังขาดกลไกถาวรในการวางแผนทางดานพลังงานและการกําหนด

เลขาธิการ

รองเลขาธิการ

สํานักงานเลขานุการกรม

ผูตรวจสอบภายใน

- ฝายการเจาหนาที่ - ฝายชวยอํานวยการและประชาสัมพันธ - ฝายการคลัง - งานสารบรรณ

กองการปโตรเลียม - ฝายประสานการสํารวจ และพัฒนาปโตรเลียม - ฝายธุรกิจปโตรเลียม - ฝายราคาปโตรเลียม - งานธุรการ

กองการไฟฟา - ฝายพยากรณการใชไฟฟา - ฝายระบบผลิตและจําหนายไฟฟา - ฝายเศรษฐกิจพลังไฟฟา - งานธุรการ

กองนโยบายและแผนพลังงาน - ฝายนโยบายและแผนพลังงาน - ฝายขอมูลพลังงาน - ฝายวิเคราะหและประมาณการรวม - งานธุรการ

กองอนุรักษพลังงานและพลังงานทดแทน

- ฝายอนุรักษพลังงาน - ฝายพลังงานทดแทนและพลังงานใหม - ฝายกองทุนเพื่อสงเสริมการอนุรักษพลังงาน - งานธุรการ

74

บทบาทของภาครัฐและเอกชน รวมถึงการประสานงาน ระหวางหนวยงานภาครัฐและเอกชนทางดานพลังงานตาง ๆ ที่จะทําใหการวางแผนทางดานพลังงานและการกํากับดูแลเปนไปอยางตอเนื่อง และมีประสิทธิภาพดังนั้นเม่ือเดือนมกราคม 2534 รัฐบาลพลเอกชาติชาย ชุณหะวัณ ไดกําหนดนโยบายที่จะจัดตั้งกระทรวงพลังงาน ตามที่แถลงเปนนโยบายตอรัฐสภารัฐมนตรีประจําสํานักนายกรัฐมนตรี (นายกร ทัพพะรังสี) ซึ่งรับผิดชอบงานดานพลังงานสมัยนั้นไดจัดทําเคาโครงของการจัดตั้งกระทรวงพลังงานข้ึน โดยในการจัดตั้งกระทรวงพลังงานนั้นกําหนดใหมีการโอนงานจากหนวยงานตาง ๆ ทั้งราชการและรัฐวิสาหกิจที่เกี่ยวของมาอยูภายใตกระทรวงพลังงาน อยางไรก็ตามรัฐบาลชุดนั้นยังมิไดมีมติในเร่ืองดังกลาวก็เกิดเหตุการณ รสช. (คณะรักษาความสงบเรียบรอยแหงชาติ) เสียกอน14

จากการวิเคราะหนโยบายดานพลังงานของรัฐบาลพลเอกเปรม ติณสูลานนท และพลเอกชาติชาย ชุณหะวัณ พบวา นโยบายมุงเนนเร่ืองการสํารวจหาแหลงพลังงาน เพื่อที่จะผลิตน้ํามันในประเทศลดการนําเขาน้ํามัน จากตางประเทศที่มีมูลคาสูงและถูกสานตอในสมัยของ พลเอกชาติชาย ชุณหะวัณ ทําใหชวงเวลา 2523-2534 เปนชวง “โชติชวงชัชวาล” ของอุตสาหกรรมปโตรเลียมในอาวไทยของไทยจริง และพัฒนาอยางตอเนื่องในรัฐบาลยุคถัดมาซึ่งผลของโครงการพัฒนาชายฝงทะเลตะวันออกสงผลใหเกิดการขยายตัวตาง ๆ ดังนี้

จังหวัดชลบุรีถูกกําหนดใหเปนพื้นที่อุตสาหกรรมการสงออกเพราะมีทาเรือน้ําลึกแหลมฉบัง เปดบริการเม่ือป 2534 เพื่อรองรับการขนสงสินคาทางน้ํา และการเจริญเติบโตของภาคอุตสาหกรรมทั้งนําเขา และสงออก ตามแผนการผลักดันใหภาคตะวันออกเปนศูนยกลางการขนสง ทั้งทางน้ําทางบก และทางอากาศ โดยทางอากาศนั้น มีสนามบินอูตะเภา ซึ่งตั้งอยูตรงรอยตอจังหวัดชลบุรี และจังหวัดระยอง นอกจากนี้ไดกําหนดใหจังหวัดฉะเชิงเทรา และจังหวัดปราจีนบุรี เปนพื้นที่อุตสาหกรรมหลากหลาย ทําใหการหล่ังไหลเขามายังภาคตะวันออกของโรงงานอุตสาหกรรมประเภทตาง ๆ เพิ่มข้ึน กลุมอุตสาหกรรมขนาดใหญ ที่เขามาเปนกลุมแรกคือ โรงงานอุตสาหกรรมปโตรเคมีของกลุมทีพีไอ โรงงานอุตสาหกรรมเหล็กของสวัสดิ์ หอรุงเรือง และกลุม ผาแดงอินดัสตรี เปนตน นอกจากนี้การขยายตัวสูงสุดของอุตสาหกรรมในอีสเทิรนซีบอรด เกิดข้ึนในป 2535 ไดเ ร่ิมมีการลงทุนจากตางชาติจํานวนมากทําใหภาคตะวันออกมีนิคม

14กระทรวงพลังงาน, “ประวัติการพัฒนากิจการพลังงานไทยการพัฒนาพลังงานคือ

การพัฒนาชาติ , ” ใน ทิศทางพลังงานไทย, สืบคน เ ม่ือวันที่ 20 เมษายน 2555, จาก http://www.energy.go.th/moen/upload/File/2.pdf 2552, น. 35.

75

อุตสาหกรรมมากถึง 28 แหง โดยจังหวัดระยองมีมากที่สุด รองลงมาคือ จังหวัดชลบุรี จังหวัดปราจีนบุรี และจังหวัดฉะเชิงเทราตามลําดับ นโยบายดานพลังงานสมัยรัฐบาลนายอานันท ปนยารชุน

รัฐบาลของนายอานันท ปนยารชุน เม่ือส้ินรัฐบาลพลเอกชาติชาย ชุณหะวัณ และมี

การเปล่ียนแปลงรัฐบาล โดยมีการแตงตั้งรัฐบาลชุดใหมซึ่งมีนายอานันท ปนยารชุน เปนนายกรัฐมนตรี ไดมีการพิจารณาทางเลือก ในการจัดรูปแบบการบริหารพลังงานของประเทศคณะรัฐมนตรีเห็นชอบเม่ือวันที่ 20 สิงหาคม 2534 คือยกฐานะ สํานักงานคณะกรรมการนโยบายพลังงานแหงชาติ (สพช.) เปนหนวยงานถาวรระดับกรมสังกัดสํานักนายกรัฐมนตรี รับผิดชอบงานดานนโยบายพลังงาน และเปล่ียนแปลงอํานาจหนาที่ ของสํานักงานพลังงานแหงชาติ กระทรวงวิทยาศาสตร เทคโนโลยีและส่ิงแวดลอม รับผิดชอบงานดานปฏิบัติการและมีนายกรัฐมนตรีเปนผูกํากับและส่ังการโดยหนวยงานนโยบายควรเปนระดับกรมขนาดเล็กที่มี ความคลองตัว และมีประสิทธิภาพสูง15

ในดานอุตสาหกรรมปโตรเคมีและโรงกล่ันน้ํามันไดรับการสงเสริมเพื่อตอยอดนโยบายอิสเทิรนซีบอรด ซึ่งรัฐบาลของนายอานันท ปนยารชุนไดดําเนินการตอจากรัฐบาลชาติชาย ชุณหะวัณ เชน การเปดโรงกล่ันน้ํามันใหมเพิ่มจากโรงกล่ันไทยออยส เปน เอสโซ คาลเท็กช เชลล โดย ปตท. เขารวมถือหุน ชวงนี้ทําใหมีผูคาหนาใหมเขาดําเนินกิจการคาสงและคาปลีก เชน Q8 บี.พ.ี เจ็ท และยังเปนการใชปโตรเลียมจากอาวไทยมายังโรงกล่ันระยองเชนเดิม ยุคนี้เปนยุคที่ ปตท. มีความแข็งแกรงมากอีกยุคหนึ่งเพราะการเขาไปถือหุนกับผูประกอบการหลายแหง16

นโยบายดานพลังงานสมัยรัฐบาลนายชวน หลีกภัย

รัฐบาลนายชวน หลีกภัย 1 (2535-2538) ไดมีนโยบายดานการกระจายอํานาจสู

ทองถิ่น สวนนโยบายเศรษฐกิจ ดานอุตสาหกรรม เนนการพัฒนาอุตสาหกรรมเปาหมายที่จะชวย

15สํานักงานคณะกรรมการนโยบายพลังงานพลังงานแหงชาติ, “บทบาทหนาที่และ

ภารกิจ,” วารสารพลังงาน (มกราคม 2544). 16บัณรส บัวคล่ี, ปโตรเลียมไทย : จากฝร่ังครอบงําสูขูดรีดกันเอง (3), ผูจัดการ

(16 เมษายน 2555).

76

สรางงานในทองถิ่นใชวัตถุดิบในประเทศมากอใหเกิดมูลคาเพิ่ม มีความไดเปรียบในเชิงการผลิตและเปนพื้นฐานการพัฒนาอุตสาหกรรมตอเนื่องอันไดแกอุตสาหกรรมแปรรูปการเกษตรอุตสาหกรรมส่ิงทอและเคร่ืองนุงหมอุตสาหกรรมอิเล็กทรอนิกส อุตสาหกรรมปโตรเคมี อุตสาหกรรมงานโลหะและอุตสาหกรรมเหล็ก ตลอดทั้งสงเสริมระบบการรับชวงการผลิตใหกระจายไปสูภูมิภาคมากข้ึนและสงเสริมใหมีการกระจายการตั้งโรงงานอุตสาหกรรมที่ใชวัตถุดิบและใชแรงงานมากออกไปสูภูมิภาคและชนบทโดยสงเสริมใหมีการพัฒนาบริการพื้นฐานที่ไดมาตรฐานสนับสนุนการลงทุนของภาคเอกชนใหเพียงพอรวมทั้งจัดตั้งนิคมอุตสาหกรรมในสวนภูมิภาคสนับสนุนใหสถาบันการเงินเพิ่มวงเงินสินเชื่อใหแกอุตสาหกรรมในตางจังหวัดโดยเฉพาะอุตสาหกรรมขนาดยอมและอุตสาหกรรมในครัวเรือนตลอดจนการประกอบการคาดานวิศวกรรมทั้งที่เปนการสรางหรือซอมเคร่ืองยนตกลไกขนาดเล็ก

การออกพระราชบัญญัติคณะกรรมการนโยบายพลังงานแหงชาติ พ.ศ. 2535 พระราชบัญญตัิโอนอํานาจหนาที่ และกิจการบริหารบางสวนของสํานักเลขาธิการนายกรัฐมนตรีและของสํานักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติสํานักนายกรัฐมนตรีไปเปนของสํานักงานคณะกรรมการนโยบายพลังงานแหงชาติ (สพช.) สํานักนายกรัฐมนตรี พ.ศ. 2535 พระราชบัญญัติระเบียบบริหารราชการแผนดิน (ฉบับที่ 3) พ.ศ. 2536 พระราชบัญญัติปรับปรุงกระทรวง ทบวง กรม (ฉบับที่ 9) พ.ศ. 2536 และกฎหมายอ่ืนที่เกี่ยวของ เพื่อยกฐานะ สพช. เปนหนวยงานถาวรระดับกรมสังกัดสํานักนายกรัฐมนตรี และปฏิบัติราชการข้ึนตรงตอนายกรัฐมนตรี

คณะรัฐมนตรีไดมีมติเม่ือวันที่ 5 ตุลาคม 2535 มอบหมายใหการปโตรเลียมแหงประเทศไทย (ปตท.) ดําเนินการเรงรัดการจัดหากาซธรรมชาติทั้งจากแหลงสัมปทานในอาวไทยและจากแหลงตางประเทศเพื่อตอบสนองความตองการที่เพิ่มข้ึนทั้งจากความตองการของ การไฟฟาฝายผลิตแหงประเทศไทย (กฟผ.) โครงการผูผลิตไฟฟาอิสระ และอุตสาหกรรมตาง ๆ นอกจากนี้ในป พ.ศ. 2537 ไดมีการลงนามในสัญญาแบงปนผลผลิตในการใหสิทธิสํารวจและพัฒนาปโตรเลียมกับผูประกอบการระหวางฝายไทยกับฝายมาเลเซีย โดยมีองคกรรวมไทย-มาเลเซีย (Malaysia-Thailand Joint Authority หรือ MTJA) ที่มีฐานะเปนนิติบุคคลทําหนาที่ดูแลกิจการในนามของรัฐบาลทั้งสอง ภายใตเงื่อนไขระบบสัญญาแบงปนผลผลิต (PSC) Production Sharing Contract เพื่อรวมสิทธิแทนรัฐบาลทั้งสองประเทศในการดูแลการสํารวจและแสวงหาประโยชนจากทรัพยากรปโตรเลียมในพื้นที่ดังกลาว บนหลักการการแบงผลประโยชนอยาง

77

เทาเทียมกัน ฝายละ 50% และวันที่ 21 เมษายน 2537 มีการดําเนินการทําสัญญาคูคา ระหวาง PTTIPL หรือ ปตท.สผ (ฝายไทย) กับ Petronas Carigail (ฝายมาเลเซีย) เปนตน17

รัฐบาลนายชวน หลีกภัย บริหารประเทศมาได 2 ป 7 เดือน ก็เกิดการส่ันคลอนดานเสถียรภาพทางการเมือง เพราะมีความขัดแยงดานนโยบายกระจายอํานาจกับพรรคความหวังใหม และปญหาการดําเนินการปฏิรูปที่ดิน (สปก. 4-01) ที่มีเร่ืองผลประโยชนไมตกไปถึงประชาชนเกษตรกรผูยากจนอยางแทจริง จนถูกเปดอภิปรายไมไววางใจจากฝายคานและเปนเหตุให นายชวน หลีกภัย ยุบสภาใหมีการเลือกตั้งทั่วไป หลังการเลือกตั้งพรรคชาติไทย ไดคะแนนมาอันดับหนึ่งทําใหนายบรรหาร ศิลปอาชา เปนนายกรัฐมนตรี ไดมุงเนนการปฏิรูปการเมือง โดยไดจัดตั้งคณะกรรมการปฏิรูปการเมือง (คปก.) เพื่อดําเนินการแกไขกฎหมายที่ลาหลัง จนกระทั้งการแกไขรัฐธรรมนูญทั้งฉบับดวยการสรรหาสภารางรัฐธรรมนูญ (สสร.) เพื่อจัดทํารางรัฐธรรมนูญที่มีความเปนประชาธิปไตย อยางไรก็ตามนายบรรหาร ศิลปอาชา ประกาศยุบสภาหลังจากถูกอภิปรายเกี่ยวกับขอสงสัยความเปนคนตางดาวซึ่งขาดสิทธิธรรมความเปนคนไทยและการดํารงตําแหนงนายกรัฐมนตรีจึงทําใหมีการเลือกตั้งใหม และเปนพรรคความหวังใหมของพลเอกชวลิต ยงใจยุทธ เปนแกนนํารัฐบาล ผลงานที่เกิดข้ึนในรัฐบาลนี้ คือ รัฐธรรมนูญ 2540 อยางไรก็ตาม พลเอกชวลิต ยุงใจยุทธ ตองพบกับปญหาเศรษฐกิจฟองสบูแตก ตลาดหุนปนปวน หนี้ ที่ไมกอใหเกิดรายได สุดทายทนแรงกดดันไมไหว พลเอกชวลิต ยงใจยุทธ ตัดสินใจลาออกจากตําแหนงนายกรัฐมนตรี 18

มติคณะรัฐมนตรี เม่ือวันที่ 13 สิงหาคม 2539 กําหนดให ปตท. จัดทําแผนการจัดหากาซธรรมชาติระยะยาวและแผนการลงทุนระยะยาวของระบบทอกาชธรรมชาติเพื่อเสนอตอคณะกรรมการนโยบายพลังงานแหงชาติ (กพช.) ดําเนินการเรงรัดการจัดหากาซธรรมชาติ ทั้งจากแหลงสัมปทานในอาวไทยและจากแหลงตางประเทศ เพื่อตอบสนองความตองการที่เพิ่มข้ึน ทั้งจากความตองการของ กฟผ. และอุตสาหกรรมตาง ๆ จึงจําเปนตองมีการพัฒนาระบบการขนสงกาซทางทอ เพื่อรองรับการจัดหากาซธรรมชาติใหแกลูกคา โดย ปตท.ไดจัดทําแผนแมบทระบบ ทอสงกาซธรรมชาติ ฉบับที่ 1 (พ.ศ. 2540 - 2548) แลวเสร็จประกอบดวย 12 โครงการ19 ดังนี้

17ไทยโพสต (2 พฤษภาคม 2542). 18ลิขิต ธีรเวคิน, วิวัฒนาการการเมืองการปกครองไทย, น. 224-226. 19สํานักงานนโยบายและแผนกระทรวงพลังงาน, แผนแมบทระบบทอสงกาซ

ธรรมชาติ (ฉบับที่ 2) ของ ปตท., (กรุงเทพฯ: สํานักงานนโยบายและแผนกระทรวงพลังงาน, 2539).

78

ตารางที่ 4.1 โครงการทอสงกาซ

โครงการทอสงกาซธรรมชาต ิ เวลาแลวเสร็จ เงินลงทุน (ลานบาท)

1. โครงการทอสงกาซธรรมชาติจากแหลงไพลิน ระยะที่ 1 1998 ระยะที่ 2 1999

2,231

2. โครงการทอสงกาซธรรมชาต ิจากแหลง JDA ไปเอราวัณ ปลายป 2000 20,040 3. โครงการ Midline Compressor พรอม Platform

และทอตอ ปลายป 2000 8,222

4. โครงการทอสงกาซฯ ระยองไปบางปะกง ปลายป 2000 9,331 5. โครงการทอสงกาซฯ ราชบุรี-วังนอย กลางป 1999 8,457 6. โครงการทอสงกาซฯ ราชบุรี-วังนอย ไปโรงจักรพระนครใต ไตรมาสที่ 1

ป 2000 2,832

7. โครงการทอสงกาซฯ จากแหลงเบญจมาศเชื่อมทอสงกาซฯ จากแหลงทานตะวัน กลางป 1999 487

8. โครงการทอสงกาซธรรมชาต ิจากทอคูขนานไปโรงไฟฟา ทับสะแก

ปลายป 2006 9,172

9. โครงการทอสงกาซฯJDA ไปสงขลา ปลายป 2000 5,729 10. โครงการทอสงกาซฯ จากสงขลาไปยะลา (ชายแดนไทย-

มาเลเซีย) ปลายป 2000 2,830

11. โครงการทอสงกาซฯ จากโรงแยกกาซขนอมไปสุราษฎรธาน ีปลายป 2002 2,508 12. โครงการทอสงกาซฯ จากโรงไฟฟาสุราษฎรธานีไปโรงไฟฟา

กระบี ่ปลายป 2004 6,239

ตอมา เม่ือภาวะเศรษฐกิจของประเทศชะลอตัวลงตั้งแตป 2540 เปนตนมามีผลทําให

ปริมาณความตองการใชกาซธรรมชาติ ลดลงจากเดิมที่คาดการณไวประกอบกับรัฐบาลมีนโยบาย ปรับลดกรอบการลงทุนของภาครัฐลง ปตท.จึงไดทบทวนปรับแผนแมบทระบบทอสงกาซธรรมชาติ

79

ฉบับที่ 1 โดยจัดทําเปนแผนแมบทระบบทอสงกาซธรรมชาติ ฉบับที่ 2 (พ.ศ. 2541 - 2549) ประกอบดวย 12 โครงการ เชนเดิม

รัฐบาลนายชวน หลีกภัย 2 ไดมีนโยบายดานการแกไขปญหาเศรษฐกิจที่เกิดจากภาวะฟองสบูแตก ไดทําการสานตอการดําเนินการกูเงินจากกองทุนการเงินระหวางประเทศ (IMF) เพื่อมาพยุงปญหาดานเศรษฐกิจ และสภาวะเศรษฐกิจที่มีเงื่อนไขของ IMF ทําใหรัฐบาลตองออกกฎหมาย 11 ฉบับ เพื่อปรับสภาพการประกอบธุรกิจใหสอดคลองกับเศรษฐกิจโลกในยุคของการคาเสรี และถูกวิพากษวิจารณวาเปนกฎหมายขายชาติ ที่มีการเปรียบเทียบกฎหมายดังกลาวไมตางจากสนธิสัญญาบาวร่ิงในสมัยรัชกาลที่ 4 ในจํานวนกฎหมายทั้ง 11 ฉบับ มี3 ฉบับที่ ไดรับการกลาวถึงมากที่สุด คือ กฎหมายเกี่ยวกับการลมละลาย ซึ่งทําใหโอกาสของการลมละลายของนักธุรกิจไทยสูงข้ึนเพื่อเปนแรงบีบในการบังคับใหมีการชําระหนี้ กฎหมายฉบับที่สองไดแกกฎหมายอาชีพคนตางดาว ซึ่งทําใหเกิดการครอบงําทางเศรษฐกิจ ขายปลีก ขายสง การเปนเจากิจการ สถาบันการเงิน ส่ือ รวมทั้งธุรกิจดานพลังงาน กฎหมายฉบับที่สาม เปนกฎหมายเกี่ยวกับการเชาอสังหาริมทรัพยซึ่งสิทธิการเชาจะเปนทรัพยสินที่เปนบุคคลตางดาวสามารถที่จะเชาได 50 ป และตอไดอีก 50 ป ซึ่งกฎหมายเหลานี้เปดโอกาสใหทรัพยสินของชาติตกไปอยูในมือของตางชาติไดงายข้ึน จึงมีการเรียกรองใหมีการแกไขกฎหมายดังกลาว20 จะเห็นไดวาจากนโยบายในยุคโชตชิวงชัชวาลนั้นสงผลใหเกิดอุตสาหกรรมมาบตาพุด ที่เห็นเปนรูปธรรม อันเนื่องมากจากโครงการพัฒนาชายฝงทะเลตะวันออก และไดมีนโยบายในการพัฒนาอยางตอเนื่องทําใหอุตสาหกรรมปโตรเคมีเจริญเติบโตอยางรวดเร็ว และตลอดจนอุตสาหกรรมการขุดเจาะ สํารวจหาแหลงน้ํามันและกาซธรรมชาติในอาวไทยดวย จากนโยบายและความตองการพลังงานในการพัฒนาประเทศ ทําใหรัฐไดเปดใหผูประกอบการยื่นขอรับสัมปทานเพื่อการสํารวจขุดเจาะพลังงานมากข้ึน และทําใหมีผูประกอบการดานการสํารวจมากข้ึนทั้งของคนไทยและชาวตางประเทศ ที่ไดสัมปทานทั้งในทะเลและบนบก อยางไรก็ตามในการวิจัยคร้ังนี้ผูวิจัยมุงศึกษาเฉพาะกรณีสํารวจขุดเจาะในอาวไทย ซึ่งในรัฐบาลของนายชวน หลีกภัย ไดมีการทําขอตกลงในการซื้อขายกาซในพื้นที่พัฒนารวมไทย-มาเชีย (เจดีเอ) นายชวน หลีกภัย นายกรัฐมนตรี และดาโตะศรี ดร.มหาธีร โมฮัมหมัด นายกรัฐมนตรีมาเลเซีย เปนประธานและสักชีพยาน ในพิธีลงนามขอตกลงเบื้องตนของสัญญาซื้อขายกาซธรรมชาติในพื้นที่รวมคาไทย-มาเลเซีย ที่จังหวัดสงขลา ซึ่งในเบื้องตนของสัญญาเปนการลงนามระหวางผูซื้อและผูขาย จํานวน 2 สัญญา คือ สัญญาที่ 1 แปลง A-18 ประกอบดวยองคกรรวมคา

20ลิขิต ธีรเวคิน, วิวัฒนาการการเมืองการปกครองไทย, น. 230-231.

80

ไทย-มาเลเซีย บริษัท เปโตรนาส ชาริกาลี จํากัด (ฝายมาเลเซีย) และบริษัทไตรตันออยล คอมปะนี ออฟ ไทยแลนด จํากัด (ฝายไทย) จะเร่ิมผลิตไดในป 2544 มีอัตราการผลิตสูงสุด 390 ลานลูกบาศกฟุต/วัน สัญญาที่ 2 คือ แปลง B-17 และแปลง C-19 ประกอบดวย องคกรรวมไทย-มาเลเซีย บริษัท เปโตรนาส ชาริกาลี จํากัด (ฝายมาเลเซีย) และบริษัท ปตท.สผ. อินเตอรเนชันแนล จํากัด เร่ิมไตรมาสที่ 3 ของป 2545 มีอัตราการผลิตสูงสุด 250 ลานลูกบาศกฟุต/วัน21 อยางไรก็ตามโครงการดังกลาวนี้จะตองมีการลงทุนจํานวนมาก นายพละ สุขเวช ผูวาการ ปตท. ตองใชเงินประมาณ 1500 ลานดอลลารสหรัฐ ทั้งลงทุนในเร่ืองโรงแยกกาซ การวางทอ เฉพาะในสวนของ ปตท. ตองลงทุนทั้งหมดประมาณ 400 ลานดอลลารสหรัฐ ซึ่งสวนหนึ่งประมาณ 200 ลานดอลลารใชเงินของ ปตท. เอง และอีกสวนตองกูประมาณ 200 ลานดอลลาร22 โครงการดังกลาวนี้ไดถูกวิพากษวิจารณจากประชาชนและนักวิชาการถึงความไมเหมาะสมในการลงทุนกับสภาพการณของเศรษฐกิจไทยขณะนั้น คณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติ (สศช.) เห็นชอบการรวมทุนระหวาง ปตท. กับปโตรนาสของมาเลเซีย ในโครงการทอสงกาซและโรงแยกกาซธรรมชาติ มูลคา 41,360 ลานบาท และมีขอสังเกตวาเปนโครงการที่ไมมีความคุมคาทางเศรษฐกิจเนื่องจาก มาเลเซียไดเปรียบฝายไทย เพราะในชวง 10 ปแรกของโครงการไทยไมมีความจําเปนที่จะตองใชกาซธรรมชาติจากแหลงดังกลาว ดังนั้นหากพิจารณาจากเศรษฐกิจแลวยังไมมีความเหมาะสมในเร่ืองระยะเวลา และโครงการนี้เกิดข้ึนอยางรวดเร็ว23

จากนโยบายหลายรัฐบาลดังกลาวขางตน ไดสงผลให ปตท.ไดมีการจัดหากาซธรรมชาติจากแหลงตาง ๆ เพื่อนํามาใชในการพัฒนาประเทศ ดังนี้24

1. แหลงทานตะวัน ปตท.ไดลงนามในสัญญาซื้อขายกาซธรรมชาติจากแหลงทานตะวัน กับผูรับสัมปทานในแปลง B8/32 เพื่อรับซื้อกาซฯ ในปริมาณ 75 ลานลูกบาศกฟุต/วัน ตั้งแตป 2540 และจะเพิ่มเปน 100 ลานลูกบาศกฟุต/วัน ตั้งแตป 2543 เปนตนไป

2. แหลงไพลินและบงกช ปตท.ไดลงนามในสัญญาซื้อขายกาซธรรมชาติ จากแหลงไพลิน กับกลุมผูรับสัมปทานแปลง B12/27 เพื่อรับซื้อกาซฯ ในปริมาณ 165 ลานลูกบาศก

21ผูจัดการ (23 เมษายน 2541). 22กรุงเทพธุรกิจ (23 เมษายน 2542). 23ขาวสด (11 กรกฎาคม 2542). 24สํานักงานคณะกรรมการนโยบายพลังงานพลังงานแหงชาติ, “พัฒนาพลังงานไทย,”

วารสารพลังงาน (มกราคม 2550).

81

ฟุต/วัน ตั้งแตป 2542 และจะเพิ่มเปน 330 ลานลูกบาศกฟุต/วัน ตั้งแตป 2544 เปนตนไป และแหลงบงกช (เพิ่มเติม) แปลง B15 และ B16 ในปริมาณ 550 ลานลูกบาศกฟุต/วัน ตั้งแตกลางป 2541 เปนตนมา

3. แหลงพื้นท่ีพัฒนารวมมาเลเซีย-ไทย (JDA) ปตท. ไดลงนามในสัญญาซื้อขายกาซธรรมชาติบนหลักการแบงปนผลประโยชน 50 : 50 และการรวมทุนในโครงการใชประโยชนกาซธรรมชาติ จากแหลง JDA กับ บริษัท ปโตรนาสของมาเลเซีย โดยคาดวาจะเร่ิมผลิตกาซธรรมชาติจากแหลง JDA ในแปลง A18 ไดในปริมาณ 390 ลานลูกบาศกฟุต/วัน เร่ิมตั้งแตปลายป 2544 เปนตนไป

4. แหลงยาดานา สหภาพพมา (YADANA) บริษัทปตท.สผ. ไดเขารวมลงทุนในโครงการสํารวจและพัฒนาแหลงกาซธรรมชาติ YADANA และแหลงกาซฯ บริเวณใกลเคียงในพื้นที่แปลงสัมปทาน M5-M6 ในอาวเมาะตะมะกับกระทรวงพลังงานของสหภาพพมาและไดมีการลงนามในสัญญาซื้อขายกาซธรรมชาติ ระหวาง ปตท. และผูรับสัมปทานเม่ือวันที่ 2 กุมภาพันธ 2538 โดย ปตท. จะรับซื้อกาซธรรมชาติในปริมาณ 525 ลานลูกบาศกฟุต/วัน ในราคา ณ ชายแดนประมาณ 3 เหรียญสหรัฐ/ลานบีทียูเพื่อใชในโรงไฟฟาราชบุรี โดยเร่ิมสงกาซฯ ให กฟผ. เม่ือเดือนตุลาคม 2541 เปนตนมา

5. แหลงเยตากุน สหภาพพมา (YETAGUN) ปตท.ไดลงนามในสัญญาซื้อขาย กาซธรรมชาติจากแหลงเยตากุนเม่ือวันที่ 13 มีนาคม 2540 เพื่อรับซื้อกาซธรรมชาติ ในปริมาณ 200 ลานลูกบาศกฟุต/วัน เปนระยะเวลา 30 ปและเร่ิมผลิตกาซธรรมชาติ ไดภายในป 2543 นโยบายดานพลังงานสมัยรัฐบาล พ.ต.ท.ทักษิณ ชินวตัร นโยบายที่สรางความโดดเดนในการบริหารงานโดยรัฐบาล พ.ต.ท.ทักษิณ ชินวัตร และเกี่ยวของกับงานดานพลังงาน คือ นโยบายปฏิรูประบบราชการทําใหหนวยงานพลังงานไดปรับยุบรวมและยกฐานะเปนกระทรวง ในสมัยรัฐบาล พ.ต.ท.ทักษิณ ชินวัตร กระทรวงพลังงานเปนอีกหนวยงานหนึ่งที่ถูกรวบรวมหนวยงานที่กระจัดกระจายกันอยูคนละสังกัด จากกวา 20 หนวยงานใน 9 กระทรวง ทําใหการบริหารงานดานพลังงานขาดความเปนเอกภาพเพราะความ ไมคลองตัว จึงไดจัดตั้งเปนทบวงในป 2544 และยกระดับเปนกระทรวง โดยวันที่3 ตุลาคม 2545 มีพระบรมราชโองการตราพระราชบัญญัติระเบียบบริหารราชการแผนดิน(ฉบับที่ 5) พ.ศ. 2545 และ พระราชบัญญัติปรับปรุงกระทรวงทบวงกรม พ.ศ. 2545 โดยโครงสรางกระทรวงประกอบดวยหนวยงานดังโครงสรางตอไปนี้

82

ภาพที่ 4.3 โครงสรางกระทรวงพลังงาน

จากโครงสรางจะเปนการรวบรวมหนวยงานที่เกี่ยวของกับพลังงานไมวาจะเปน การสํารวจ การผลิต การบริการ และธุรกิจดานพลังงาน ทําใหเกิดความคลองตัวมากยิ่งข้ึน และหนวยงานที่รับผิดชอบการใหสัมปทานสํารวจ ขุดเจาะ ปโตรเลียม คือ กรมเชื้อเพลิงธรรมชาติ การแปรรูปรัฐวิสาหกิจเปนอีกนโยบายหนึ่งของรัฐบาลพ.ต.ท.ทักษิณ ชินวัตร การปโตรเลียมแหงประเทศไทย (ปตท.) ไดถูกแปรเปล่ียนสภาพใหเปนบริษัทมหาชนและกระจายหุนบางสวนในตลาดหลักทรัพยแหงประเทศเพื่อระดมทุนและลดภาระการลงทุนภาครัฐ รวมทัง้เปดโอกาสใหประชาชนเขามามีสวนรวมการเปนเจาของไดโดยตรง ภายหลังการแปรรูปบริษัท ปทต. จํากัด (มหาชน) ซึ่งรัฐถือหุนมากกวารอยละ 51 และดวยวิกฤตเศรษฐกิจ และราคาน้ํามันแพง ทําใหฐานการเงินออนแอ การเพิ่มทุนดวยการกระจายหุนจึงเปนทางเลือกที่ดีที่สุดขณะนั้น และเม่ือวันที่ 25 กันยายน 2544 คณะรัฐมนตรีมีมติเห็นชอบในรายละเอียดแปลงสภาพ ปตท. โดยอาศัยอํานาจตามพระราชบัญญัติทุนรัฐวิสาหกิจ พ.ศ. 254225 อยางไรก็ตามนโยบายการแปรรูป

25บริษัท ปตท. จํากัด (มหาชน), 30 ป ปตท. 3 ทศวรรษพลังงานที่ยั่งยืนเพื่อไทย,

(กรุงเทพฯ: สิริวัฒนาอินเตอรปร้ินท, 2555), น. 186-187.

83

ดังกลาวไดมีประชาชนบางกลุมวิพากษวิจารณวาเปนการขายชาติ และประโยชนจะตกอยูที่กลุมนายทุนเทานั้น การจัดทําแผนแมบทอุตสาหกรรมปโตรเคมี ระยะที่ 3 (พ.ศ. 2547-2561) นอกจากนี้นโยบายของ พ.ต.ท.ทักษิณ ชินวัตร รัฐบาลไดขยายอุตสาหกรรมเพิ่มข้ึนและมุงเปาหมายมาฟนโครงการพัฒนาพื้นที่ชายฝงทะเลภาคใต หรือเซาทเทิรนซีบอรด (Southern Seaboard) เดิมนั้นโครงการพัฒนาชายฝงทะเลภาคใตในชวงแรกนั้นมีวัตถุประสงคสําคัญ สงเสริมอุตสาหกรรมในภาคใตโดยเฉพาะในจังหวัดเปาหมาย ไดแก นครศรีธรรมราช สุราษฎรธานี กระบี่ พังงา และภูเก็ต โดยจะพัฒนาโครงสรางพื้นฐานเพื่อเปดประตูการคาแหงใหม เซาทเทิรนซีบอรด มีกลยุทธที่สําคัญคือ ขยายพื้นที่อุตสาหกรรมและการขนถายสินคาขามคาบสมุทรระหวางอาวไทยกับทะเลอันดามัน หรือนโยบายการสรางสะพานเศรษฐกิจ (Land Bridge) ประกอบดวย ทางดวน ทางรถไฟ ทอสงน้ํามัน และทาเรือน้ําลึก รวมทั้งพัฒนาอุตสาหกรรมและการสงเสริมการทองเที่ยว เพื่อใหพื้นที่ 5 จังหวัดเปาหมายเปนศูนยกลางอุตสาหกรรม การขนสงทางทะเล ธุรกิจบริการ และการเงินการตลาดของภูมิภาค รวมทั้งการทองเที่ยวระดับชาติ มีเปาหมายขยายการผลิตใหเพิ่มมากข้ึน และจัดกลุมการผลิตปโตรเคมีใหเขมแข็ง โดยการเสนอพื้นที่สําหรับพัฒนาอุตสาหกรรมปโตรเคมีเพิ่มเติมและมีเปาหมายอยูที่อําเภอสิชล จังหวัดนครศรีธรรมราช และอําเภอใกลเคียงซึ่งอยูในพื้นที่แลนดบริดจ และใกลกับถนนสาย 44 (กระบี-่ขนอน) นโยบายการสรางโรงไฟฟาหินกรูดและบอนอก จังหวัดประจวบคีรีขันธ รัฐบาลพยายามจะสรางใหไดแตก็ยังมีปญหาเร่ืองความขัดแยงในพื้นที่ ชาวบานไมยอมเพราะกลัวผลกระทบที่จะเกิดข้ึนเชนเดียวกับที่พื้นที่ อ่ืน ๆ ที่ มีโรงไฟฟา ซึ่ ง พ.ต.ท.ทักษิณ ชินวัตร นายกรัฐมนตรีไดมอบใหผูเกี่ยวของเจรจากับแกนนําและชาวบานแตไมเปนผลสําเร็จ26 นอกจากนี้รัฐบาลไดมีนโยบายดานการอนุรักษพลังงานควบคูไปกับการดําเนินงานดานอุตสาหกรรม ดังเชน การใหสํานักงานคณะกรรมการนโยบายพลังงานแหงชาติ (สพช.)มอบทุนทํางานวิจัยอนุรักษพลังงาน เชน โครงการประหยัดไฟกําไร 2 ตอ โครงการรวมพลังหยุดรถซดน้ํามัน โครงการสงเสริมการอนุรักษในหนวยงานของรัฐและเอกชน โครงการสงเสริมการใชพลังงานหมุนเวียน และในปงบประมาณ 2546 ไดจัดสรรทุนอุดหนุนการวิจัยในประเทศใหแกนักศึกษาตั้งแตระดับปริญญาตรีถึงปริญญาเอก เพื่อจัดทําหัวขอการวิจัยในเร่ืองเกี่ยวกับการอนุรักษพลังงานและอุดหนุนเพื่อสงเสริมการอนุรักษพลังงาน โดยใชงบประมาณ 200 ลานบาท27

26สยามรัฐ (11 เมษายน 2545). 27ผูจัดการรายวัน (23 กันยายน 2545).

84

ปญหาดานพลังงานทําใหหนวยงานที่รับผิดชอบอยางสํานักงานนโยบายและแผนพลังงาน (สนพ.) จัดวางยุทธศาสตรพลังงานชาติสรางความม่ันคง ปองกันการเกิดวิกฤต และ สนพ. ตองร้ือระบบเพื่อการจัดหาพลังงานใหมทั้งหมด มีการกําหนดมาตรการเพื่อใหประเทศไทยมีพลังงานใชอยางเพียงพอ มีความม่ันคงดานพลังงานโดยมีการวางยุทธศาสตรดานพลังงานที่มีคณะทํางาน 4 ชุด จะทํางานอยางอิสระและข้ึนตรงกับ สนพ. ประกอบดวย 1. คณะทํางานศึกษาความม่ันคงดานการจัดหา เนนการจัดการดานพลังงานเพื่อลดการพึ่งพา 2. คณะทํางานดานการพัฒนาประสิทธิภาพการแขงขัน ดูแลและแปรรูปกิจการพลังงาน การพัฒนาตลาดเสรี เพื่อใหเกิดการแขงขัน กดดันใหราคาต่ําสุดแตคุณภาพสูงสุด 3. คณะทํางานดานการอนุรักษพลังงาน โดยมุงเนนลดการใชพลังงานและประหยัดพลังงาน และ 4.คณะทํางานดานผลกระทบส่ิงแวดลอม หรือมลพิษ ซึ่งตองศึกษาใหอยูในระดับที่เหมาะสมกับประเทศไทย การเขมงวดที่มีจุดพอดีไมเปนภาระตอสังคม จะไดดําเนินงานตามยุทธศาสตรในแตละดานอยางอิสระ

นโยบายพลังงานสมัยรัฐบาลของนายสมัคร สุนทรเวช ไดใหความเห็นชอบตามที่สํานักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติ หรือ สศช.ไดเสนอแผนใหยายนิคมอุตสาหกรรมภาคตะวันออกไปยังพื้นที่โครงการเซาทเทิรนซีบอรด และแลนดบริดจ จากนั้นใหการนิคมอุตสาหกรรม (กนอ.) ไดวาจางที่ปรึกษาทําการศึกษาความเปนไปได โดยมีแผนดังนี้28

2551 ศึกษาความเปนไปไดในการเลือกพื้นที่และออกแบบเบื้องตน 2552-2553 ศึกษาผลกระทบดานส่ิงแวดลอมและการทําประชาพิจารณ 2554 ออกแบบรายละเอียด 2555-2559 ลงมือกอสราง 2560 เร่ิมเดินเคร่ืองจักรโรงงาน นอกจากแผนพัฒนาอุตสาหกรรมปโตรเคมีแลว ยังมีโครงการที่สําคัญที่อยูภายใต

แผนพัฒนาพื้นที่ชายฝงทะเลภาคใต (Southern Seaboard) ไดแก โครงการสามเหล่ียมเศรษฐกิจหรือโครงการพัฒนาเขตเศรษฐกิจรวม 3 ฝาย คือ

อินโดนีเซีย มาเลเซีย ไทย (Indonesia-Malaysia-Thailand Growth Triangle Development Project ; IMT-GT) ที่เนนพัฒนาพื้นที่ 5 จังหวัด ไดแก สงขลา ปตตานี ยะลา นราธิวาส และสตูล

โครงการกลุมความรวมมือหาเหล่ียมเศรษฐกิจ หรือโครงการพัฒนาความรวมมือทางเศรษฐกิจในอนุทวีป (Bangladesh – India – Myanmar - Sri Lanka-Thailand Economic

28ปกรณ พึ่งเนตร, แกะรอยนโยบายสาธารณะ เซาทเทิรน ซีบอรด, (เชียงใหม:

สถาบันศึกษานโยบายสาธารณะ มหาวิทยาลัยเชียงใหม, 2553), น. 3.

85

Cooperation; BIMST-EC) ซึ่งเปนความรวมมือทางเศรษฐกิจของบังคลาเทศ อินเดีย พมา ศรีลังกา และไทย

โครงการกลุมความรวมมือภายใตกรอบคณะกรรมการวาดวยยุทธศาสตรรวมในการพัฒนาชายแดนไทย-มาเลเซีย (Thailand-Malaysia Committee on Joint Development Strategy for Border Areas) ซึ่งเปนความรวมมือระหวางไทยกับมาเลเซียเพื่อพัฒนาพื้นที่ชายแดน เร่ิมข้ึนในป 254729

จากการวิเคราะหบริบททางการเมืองในสมัยของ พ.ต.ท.ทักษิณ ชินวัตร นโยบายของรัฐบาลนอกจากการจัดหา พัฒนา และบริหารจัดการดานพลังงานแลว กระทรวงพลังงานยังมีนโยบายดําเนินโครงการตามยุทธศาสตรพัฒนาประเทศไทยใหเปนศูนยกลางพลังงานในภูมิภาค โดยมุงเนนการพัฒนาความรวมมือทางดานพลังงานไฟฟาระหวางประเทศ เพื่อขยายกําลังผลิตเพื่อตอบสนองความตองการไฟฟาที่เพิ่มสูงข้ึน และพรอมจะเปล่ียนบทบาทใหประเทศไทย จากประเทศผูซื้อพลังงานเปนประเทศผูคาพลังงาน และผลักดันใหประเทศไทยเปนศูนยกลางพลังงานในภูมิภาคอาเซียน

นโยบายพลังงานสมัยรัฐบาลนายอภิสิทธิ์ เวชชาชีวะ ไดแถลงนโยบายเม่ือวันที่ 30 ธันวาคม 2551 โดยมีสาระสําคัญ 5 ประเด็น ดังนี้30

(1) พัฒนา พลังงานใหประเทศไทยสามารถพึ่งตนเองไดมากข้ึน โดยจัดหาพลังงานใหเพียงพอ มีเสถียรภาพ ดวยการเรงสํารวจและพัฒนาแหลงพลังงานประเภทตาง ๆ ทั้งภายในประเทศและตางประเทศ และเรงใหมีการเจรจากับประเทศเพื่อนบานในระดับรัฐบาลเพื่อรวมพัฒนาแหลง พลังงาน วางแผนพัฒนาไฟฟาใหมีการกระจายชนิดของเชื้อเพลิงที่ใช เพื่อลดความเส่ียงดานการจัดหา ความผันผวนทางดานราคา และลดตนทุนการผลิต สงเสริมการผลิตไฟฟาจากพลังงานหมุนเวียนที่มีศักยภาพ โดยเฉพาะโครงการผลิตไฟฟาขนาดเล็ก และโครงการผลิตไฟฟาขนาดเล็กมาก รวมทั้งศึกษาความเหมาะสมในการพัฒนาพลังงานทางเลือกอ่ืน ๆ มาใชประโยชนในการผลิตไฟฟา

(2) ดําเนินการใหนโยบายดานพลังงานทดแทนเปนวาระแหงชาติ โดยสนับสนุน การผลิตและการใชพลังงานทดแทน โดยเฉพาะการพัฒนาเชื้อเพลิงชีวภาพและชีวมวล เชน แกสโซฮอล (อี 10 อี 20 และอี 85) ไบโอดีเซล ขยะ และมูลสัตว เปนตน เพื่อเสริมสรางความม่ันคงดาน

29ปกรณ พึ่งเนตร, แกะรอยนโยบายสาธารณะ เซาทเทิรน ซีบอรด, น. 4. 30สํานักงานนโยบายและยุทธศาสตร, นโยบายพลังงาน รัฐบาลนายอภิสิทธิ ์เวชชาชีวะ,

(กรุงเทพฯ: กระทรวงพลังงาน, 2551), น. 26-27.

86

พลังงาน ลดภาวะมลพิษ และเพื่อประโยชนของเกษตรกร โดยสนับสนุนใหมีการผลิตและใชพลังงานหมุนเวียนในระดับชุมชน หมูบาน ภายใตมาตรการสรางแรงจูงใจที่เหมาะสม รวมทั้งสนับสนุนการใชกาซธรรมชาติในภาคขนสงใหมากข้ึน โดยขยายระบบขนสงกาซธรรมชาติใหครอบคลุมพื้นที่ทั่วประเทศ ตลอดจนสงเสริมและวิจัยพัฒนาพลังงานทดแทนทุกรูปแบบอยางจริงจังและตอเนื่อง

(3) กํากับ ดูแลราคาพลังงานใหอยูในระดับที่เหมาะสม มีเสถียรภาพ และเปนธรรมตอประชาชน โดยกําหนดโครงสรางราคาเชื้อเพลิงที่เหมาะสม และเอ้ือตอการพัฒนาพืชพลังงาน รวมทั้งสะทอนตนทุนที่แทจริงมากที่สุด และบริหารจัดการผานกลไกตลาดและกองทุนน้ํามัน เพื่อใหมีการใชพลังงานอยางประหยัดและสงเสริมการแขงขัน และการลงทุนในธุรกิจพลังงาน รวมทั้งพัฒนาคุณภาพการใหบริการและความปลอดภัย

(4) สงเสริมการอนุรักษและประหยัดพลังงาน ทั้งในภาคครัวเรือน อุตสาหกรรม บริการ และขนสง โดยรณรงคใหเกิดวินัยและสรางจิตสํานึกในการประหยัดพลังงานและสนับสนุนการใชพลังงานอยางมีประสิทธิภาพ มีมาตรการจูงใจใหมีการลงทุนจากภาคเอกชนในการปรับเปล่ียนอุปกรณประหยัดพลังงานและมาตรการ สนับสนุนใหครัวเรือนลดการใชไฟฟาในชวงการใชไฟฟาสูงสุดรวมทั้งการวิจัยพัฒนาและกําหนดมาตรฐานอุปกรณไฟฟาและมาตรฐานอาคารประหยัด พลังงาน ตลอดจนสนับสนุนการพัฒนาระบบขนสงมวลชน และการขนสงระบบรางเพื่อใหมีการใชพลังงานอยางมีประสิทธิภาพและสามารถชะลอการลงทุนดานการจัด หาพลังงานของประเทศ

(5) สงเสริมการจัดหาและการใชพลังงานที่ใหความสําคัญตอส่ิงแวดลอม ภายใตกระบวนการมีสวนรวมของประชาชน โดยกําหนดมาตรฐานดานตาง ๆ รวมทั้งสงเสริมใหเกิดโครงการกลไกการพัฒนาพลังงานที่สะอาด เพื่อลดผลกระทบตอส่ิงแวดลอมและชุมชน และ ลดปริมาณกาซเรือนกระจก

ในชวงของการบริหารประเทศของรัฐบาลอภิสิทธิ์ เวชชาชีวะ ได เกิดปญหา ความขัดแยงในพื้นที่เกี่ยวกับโครงการพัฒนาอุตสาหกรรมพลังงาน เนื่องจากผลกระทบจาก นิคมอุตสาหกรรมมาบตาพุด ทําใหโครงการตาง ๆ ที่จะเกิดข้ึนในภาคใตจึงถูกสกัดกั้น เพราะความคลุมเครือของโครงการ และความหวาดกลัวตอผลกระทบอันเนื่องจากโครงการตามนโยบายรัฐที่จะสงผลตอวิถีชีวิต และสุขภาพของประชาชนในพื้นที่ ดังเชน การออกมาตอตานการจัดทําแผนพัฒนากําลังผลิตไฟฟา (2551-2564) โดยกระทรวงพลังงานในฐานะผูรับผิดชอบ ที่ทําไวกอนป 2551 มี 5 กลุมเครือขายตอตานโรงไฟฟาในแผนพัฒนากําลังผลิตไฟฟาของประเทศไทย (Power Development Plan 2007; PDP) ไดแก เครือขายอนุรักษวิถีเกษตรกรรม กลุมคาน

87

โรงไฟฟาหนองแซง จังหวัดสระบุรี กลุมเครือขายประชาชนภาคตะวันออก เครือขายตอตานโครงการไฟฟาถานหิน-นิวเคลียร จังหวัดชุมพร และกลุมพลังไท ไดยื่นหนังสือเพื่อยุติการกอสรางโรงไฟฟาของเอกชน และโรงไฟฟาของการไฟฟาฝายผลิต (กฟผ.)31 ในการรับฟงความคิดเห็นของ ผูมีสวนไดเ สีย เพื่อปรับปรุงแผนตามสภาพปญหาเศรษฐกิจถดถอยทั้งในระดับโลก และ ในระดับประเทศไทยดวย ซึ่งกลุมนักวิชาการอิสระไดตั้งขอสังเกตในความหวงใยทั้งในเร่ือง ความผิดพลาดจากนโยบายพลังงานแลวใครจะรับผิดชอบ เพราะเกิดความขัดแยงระหวางหนวยงานภาครัฐกับชาวบานและนักวิชาการ และแผนหรือนโยบายพลังงานไฟฟายังจะมีผลกระทบตอการกําหนดคาไฟฟาอยางแนนอน32

การดําเนินงานดานพลังงานทําใหเกิดการขยายตัวของอุตสาหกรรมปโตรเคมี ขณะเดียวกันระบบการจัดการเร่ืองมลพิษไมไดดําเนินการไปอยางมีมาตรฐาน ไมวาจะเปนการร่ัวไหลของสารเคมี ปญหาฝุนละออง จนนําไปสูสุขภาพของประชาชนที่อยูในพื้นที่ ทําใหเกิดปญหาโรคภัยอันเนื่องมาจากอุตสาหกรรมปโตรเคมี ประชาชนพยายามเรียกรองใหหนวยงานรับผิดชอบ และหาแนวทางแกไข แตไมกฎหมายมารองรับ จนกระทั้ งในป 2550 ได มีพระราชบัญญัติสุขภาพแหงชาติ เพื่อเปนกลไกในการนําไปสูการแกปญหาสุขภาพของประชาชน

พระราชบัญญัติสุขภาพแหงชาติ พ.ศ. 2550 พ.ร.บ.สุขภาพแหงชาติ พ.ศ.2550 ซึ่งไดรับการกลาวขานวาเปนกฎหมายฉบับแรก

ของประเทศไทย ที่จัดทําดวยกระบวนการมีสวนรวมจากสังคมตั้งแตเร่ิมตนจนเสร็จสมบูรณ โดยใชระยะเวลาถึง 8 ปเต็มจึงมีผลบังคับใชอยางเปนทางการ ในฐานะ “ธรรมนูญสุขภาพของประเทศไทย” นั้น มีความเปนมาอันนาสนใจ และควรคาตอการศึกษาเรียนรูสําหรับประชาชนอยางยิ่ง ดังมีสาระสําคัญโดยสรุป ดังนี้33

เม่ือป พ.ศ. 2542 คณะกรรมาธิการการสาธารณสุข วุฒิสภาไดจัดทํา “รายงานระบบสุขภาพประชาชาติ ขอเสนอการปฏิรูประบบสุขภาพสืบเนื่องจากรัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักรไทย พ.ศ.2540” ข้ึนเพื่อหวังใหเปนแนวทางการปฏิรูประบบสุขภาพแหงชาติ โดยมี ศ.นพ.เกษม วัฒนชัย เปนประธานจัดทําขอเสนอ ถือกันวา นี่เปนคร้ังแรกที่ คําวา “ระบบสุขภาพ” (Health Systems) ถูกใชอยางเปนทางการ เพื่อใหความหมายที่ครอบคลุมกวางกวาระบบสาธารณสุข

31ประชาชาติธุรกิจ (16 กุมภาพันธ 2552). 32ประชาชาติธุรกิจ (19 กุมภาพันธ 2552). 33สํานักงานคณะกรรมการสุขภาพแหงชาติ, ประวัติความเปนมา พ.ร.บ.สุขภาพ

แหงชาติ พ.ศ. 2550, สืบคนเม่ือวันที่ 20 มกราคม 2556, จาก http://www.nationalhealth.or.th/.

88

(Public Health Systems) ที่ใชกันมาแตเดิม ตอมาป พ.ศ. 2543 รัฐบาลไดออกระเบียบสํานักนายกรัฐมนตรีวาดวยการปฏิรูประบบสุขภาพแหงชาติ ตั้งคณะกรรมการปฏิรูประบบสุขภาพแหงชาติ (คปรส.) มีนายกรัฐมนตรีเปนประธาน ตั้งสํานักงานปฏิรูประบบสุขภาพแหงชาติ (สปรส.) ข้ึนภายใตสถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข (สวรส.) ทําหนาที่เปนหนวยงานเลขานุการ ผลักดันการปฏิรูประบบสุขภาพแหงชาติ โดยการจัดทํา พ.ร.บ.สุขภาพแหงชาติ ใหเปนกฎหมายแมบทดานสุขภาพของสังคมไทย โดยไดกําหนดกรอบแนวคิดวาดวยระบบสุขภาพแหงชาติ เพื่อแจกจายและระดมขอคิดเห็นจากทุกภาคสวนที่เกี่ยวของ และไดระบุถึงการประเมินสุขภาพไว ในระบบที่ 5 วาดวยการสงเสริมสุขภาพวา

“เพื่อยกระดับนโยบายสาธารณะเพื่อสุขภาพโดยการสรางกลไก สําหรับการศึกษาผลกระทบทางสุขภาพจากการกําหนดนโยบายสาธารณะ โครงการขนาดใหญ นโยบายดานการลงทุน และการจัดทํากฎหมายและมาตรฐานตาง ๆ รัฐยังตองมีกลไกในการสรางความรับผิดชอบขององคกรและบุคคลที่เกี่ยวของตอผลกระทบเชิงลบทางสุขภาพใด ๆ ที่เกิดข้ึน” 34 ในป พ.ศ. 2550 สภานิติบัญญัติแหงชาติ (สนช.) ไดเห็นชอบใหผาน พ.ร.บ.สุขภาพ

แหงชาติออกมาใชเปนกฎหมายไดอยางเปนทางการ พ.ร.บ.สุขภาพแหงชาติ พ.ศ. 2550 จึงกลายมาเปน “เคร่ืองมือใหม” อีกชิ้นหนึ่งของสังคมไทย ที่จัดใหมีกลไกเปดโอกาสใหทุกฝายในสังคมมาทํางานเร่ืองสุขภาพดวยกัน เจตนารมของ พ.รบ.สุขภาพแหงชาติ เพื่อปฏิรูประบบสุขภาพ ในประเทศไทยดวยแนวคิดนโยบายสาธารณะเพื่อสุขภาพและการประเมินผลกระทบทางสุขภาพ (HIA) และมุงหวังใหกระบวนการเรียนรูทางสังคมในการตรวจสอบผลกระทบทางสุขภาพจากนโยบาย โครงการ หรือกิจกรรมใด ๆ ที่ไดเกิดผลกระทบทางสุขภาพข้ึน หรือคาดวาจะเกิดผลกระทบทางสุขภาพข้ึนกับกลุมใดกลุมหนึ่ง เพื่อสนับสนุนทางเลือกที่เหมาะสมในกระบวนการตัดสินใจในนโยบายสาธารณะ ดวยรูปแบบและวิธีการที่หลากหลาย สังคมไทยนั้นประกอบดวยประชาชนที่มาจากวัฒนธรรม และสภาพเงื่อนไขที่แตกตางหลากหลาย กลไกตาง ๆ ใน พ.ร.บ.สุขภาพแหงชาติ จึงมีหนาที่หนุนเสริมกลไกตาง ๆ ที่มีอยูแลว ไมวาจะเปนกลไกของรัฐบาลที่จําแนกเปนกระทรวง ทบวง กรม ตาง ๆ กลไกภายใต พ.ร.บ.กองทุนสนับสนุนการสรางเสริมสุขภาพ (สสส.) กลไกภายใต พ.ร.บ.หลักประกันสุขภาพแหงชาติ (สปสช.) กลไกภายใต พ.ร.บ.

34สํานักงานคณะกรรมการสุขภาพแหงชาติ, อนาคตระยองเสนทางสูสังคมสุขภาพ,

(นนทบุรี: วนิดาการพิมพ, 2552), น. 54.

89

สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข (สวรส.) ใหผสานตัวเขาหากัน เพื่อชวยกันทํางานพัฒนาสุขภาพ สุขภาวะที่มุงสูทิศทาง “สรางนําซอม” รวมกันตอไป ดังที่ปรากฏในภาพนี้

ภาพที่ 4.4

เครือขายการดําเนินงานภายใต พ.ร.บ.สุขภาพแหงชาติ พ.ศ. 255035

เม่ือ พ.ร.บ. สุขภาพแหงชาติ มีผลบังคับใชจึงเกิดกระแสสังคมใชเปนเคร่ืองมือ หรือใชสิทธิตามกฎหมายดังกลาวเพื่อการตรวจสอบ และประเมินผลกระทบจากนโยบายของรัฐที่จะสงผลตอสุขภาพของประชาชนในทองถิ่นตาง ๆ โดยเฉพาะอุตสาหกรรมดานพลังงานที่เกี่ยวของกับปโตรเคมี จึงเกิดเหตุของการชุมนุมตอตานโครงการสํารวจขุดเจาะพลังงาน และตอตานการ

35สํานักงานคณะกรรมการสุขภาพแหงชาติ, ประวัติความเปนมา พ.ร.บ.สุขภาพ

แหงชาติ พ.ศ. 2550, สืบคนเม่ือวันที่ 20 มกราคม 2556, จาก http://www.nationalhealth.or.th.

90

ขยายตัวของอุตสาหกรรมปโตรเคมี ดังที่ เห็นไดจากปญหาที่จังหวัดระยอง มีการรองเรียนหนวยงานภาครัฐจนกระทั้งศาลปกครองมีคําส่ังยับยั้งโครงการตามแผนพัฒนาอุตสาหกรรม ปโตรเคมีชั่วคราว อันเนื่องมากจากปญหาผลกระทบตอผูมีสวนไดเสีย จํานวน 76 โครงการ เม่ือวันที่ 29 กันยายน 255236 จึงมีเขตพื้นที่ควบคุมมลพิษ และการจัดการมลพิษของผูประกอบการที่จะตองดําเนินใหไดมาตรฐาน เพื่อลดการคัดคาน และจะสงผลดีตอภาคเศรษฐกิจตอไป บริบททางการเมืองขางตน ผูวิจัยไดนําเสนอบริบททางการเมืองอันเกี่ยวเนื่องกับนโยบายของรัฐบาลแตละรัฐบาลดานพลังงาน เพราะนโยบายสงผลตอกิจกรรมโครงการดานพลังงานและสงผลตอการส่ือสารทางการเมืองเร่ืองพลังงานในอาวไทย

บริบททางเศรษฐกจิ ชวงป 2524 - 2553 บริบททางเศรษฐกิจในชวง ป 2524-2553 ผูวิจัยแบงบริบททางเศรษฐกิจเพื่อใหงายตอการวิเคราะหและนําเสนอ ประกอบดวย เศรษฐกิจยุควิกฤตน้ํามันโลก เศรษฐกิจยุคฟองสบู และเศรษฐกิจยุคความขัดแยงทางการเมือง เศรษฐกิจยุควิกฤตนํ้ามันโลก การบริหารประเทศของรัฐบาลพลเอกเปรม ติณสูลานนท ในชวงแรกไดพบกับปญหาเศรษฐกิจโลกอันเนื่องมาจากวิกฤตน้ํามันโลกคร้ังที่ 2 ในชวงป พ.ศ. 2521 (วิกฤตน้ํามันคร้ังแรกเกิดข้ึนเม่ือป 2516) ซึ่งหลังจากวิกฤตน้ํามันคร้ังแรกได ปรับตัว ทําใหเศรษฐกิจไทยไดขยายตัวอันตราการขยายตัวไดเพิ่มสูงข้ึน ดังจะเห็นไดจากการเติบโตการใหสินเชื่อของธนาคารพาณิชย รอยละ 30 ในป 2521 ดัชนีการคาปลีก (CPI) รอยละ 7.2 ในป 2520 และเพิ่มข้ึนเปนรอยละ 8.4 ในป 2521 อยางไรก็ตามในชวงปลายป 2521 กลุมประเทศสมาชิกโอเปคไดปรับข้ึนราคาน้ํามันอยางตอเนื่องถึงปลายป 2522 ราคาน้ํามันเพิ่มข้ึนรอยละ 80 ทําใหการนําเขาผลิตภัณฑปโตรเลียมของไทยมีมูลคาสูงข้ึนอยางรวดเร็วจากรอยละ 3.5 ของผลผลิตมวลรวมภายในประเทศ (GDP) เปนรอยละ 5.7 เพราะประเทศไทยนําเขาเปนหลัก วิกฤตน้ํามันคร้ังนี้ ไดสงผลใหประเทศคูคาในกลุมอีซีดี (OECD) ซึ่งเปนคูคาของไทยเกิดภาวะชะงักงันเพราะเศรษฐกิจถดถอย และทําใหไทยมียอดการนําเขาสูงอันเปนผลจากการถีบตัวของราคาน้ํามัน ขณะเดียวกันการสงออกชะลอตัว

36ฐานเศรษฐกิจ (5 พฤศจิกายน 2553).

91

นอกจากนี้สินคาดานการเกษตรไมสามารถสงออกไดทําใหไทยไมสามารถหารายไดจาการสงออกเพื่อชดเชยการนําเขาได ตลาดการเงินไดรับผลกระทบไมวาจะเปนตลาดหุน และเกิดการลมของสถาบันการเงินอยางเปนลูกโซ มูลคาของตลาดหลักทรัพยแหงประเทศไทยซึ่งเคยบูมสุดขีดใน ป 2521 มีการลดลงถึงรอยละ 40 ในป 2522 จึงเปนเหตุใหเกิดวิกฤตการณตลาดหุนและตลาดการเงินตามมาอยางรุนแรง37 วิกฤตเศรษฐกิจทําใหรัฐบาลของพลเอกเกรียงศักดิ์ ชมะนันท ตองลาออกจากตําแหนงนายกรัฐมนตรี และเปนการเปดทางใหพลเอกเปรม ติณสูลานนท ไดกาวสูเสนทางการเมืองในตําแหนงนายกรัฐมนตรี การบริหารประเทศในชวงแรกจึงตองพบกับปญหาเศรษฐกิจ และไดดําเนินการแกไขเพื่อใหสถานการณดีข้ึน ซึ่งนโยบายสวนหนึ่งไดไดพยายามนําพลังงานจากอาวไทยมาใชประโยชนดานการพัฒนาปโตรเลียม เพื่อลดการน้ําเขาและการพึ่งพาตนเอง และยังคาดหวังวาการนํากาซธรรมชาติจากอาวไทยมาใช จะนําพาประเทศไปสูความเจริญรุงเรือง ดังปรากฏวลีอันเปนที่ทราบกันดีวา “โชติชวงชัชวาล” ในรัฐบาลพลเอกเปรม ติณสูลานนท และไดบริหารประเทศตอเนื่องยาวนานถึง 8 ป การพัฒนาเศรษฐกิจทามกลางกระแสวิกฤตเศรษฐกิจโลก มีสาระสําคัญที่นาสนใจ คือ38

ประการแรก นายกรัฐมนตรีพลเอกเปรม ติณสูลานนท ไดข้ึนมาบริหารประเทศในชวงที่เศรษฐกิจไทยมีปญหามากมายรุมเรา ตั้งแตปญหาจากภายนอกอันเปนผลมาจากการเกิดวิกฤติน้ํามันโลกคร้ังที่ 2 ในป 2522 ซึ่งสงผลใหเศรษฐกิจตางประเทศนั้นตองเผชิญกับปญหาเศรษฐกิจถดถอย เงินเฟอที่สูงและปญหาตาง ๆ อีกมากมาย สวนเศรษฐกิจไทยกําลังเขาสูวิกฤตที่สําคัญ คร้ังแรกในชวงกวา 2 ทศวรรษ ปญหาสําคัญที่รุมเราเศรษฐกิจไทยในชวงดังกลาวก็คือ สวนหนึ่งเปนผลพวงจากปญหาราคาน้ํามันนั่นคือเงินเฟอ และตามมาดวยปญหาการขาดดุลการคา การขาดดุลบัญชีเดินสะพัด และตอเนื่องจนกระทั่งสรางปญหาเงินทุนสํารองระหวางประเทศ รอยหรอลง จนในที่สุดตองนําไปสูการลดคาเงินบาท นอกจากนั้นปญหาตาง ๆ ไมวาจะเปนเร่ืองของการขาดดุลงบประมาณ ปญหาหนี้ตางประเทศและนําไปสูปญหาของภาระหนี้ตอรายไดจากการสงออกซึ่งมีแนวโนมที่ทวีความรุนแรงมากข้ึน ในแงของการเมืองนั้นในบางคร้ังนอกจากเผชิญกับการกอการรัฐประหารถึง 2 คร้ัง อีกสวนหนึ่งก็คือปญหาในการที่จะสรางดุลยภาพและ ความตอเนื่องของการปกครองอันเปนผลมาจากปญหาทางการเมืองที่สืบเนื่องมาจากรัฐบาลที่ตั้งข้ึนมานั้นเปนรัฐบาลผสมความพยายามในการที่จะประสานดุลแหงอํานาจในพรรคการเมืองที่

37สมชาย ภคภาสนวิวัฒน, การพัฒนาเศรษฐกิจและการเมือง, พิมพคร้ังที่ 6,

(กรุงเทพฯ: โครงการจัดพิมพคบไฟ, 2547), น. 52-53. 38เพิ่งอาง, น. 64-67.

92

รวมกัน นอกจากนั้นปญหาทางการเมืองที่สําคัญอีกประการหนึ่งก็คือ ปญหาที่เกี่ยวของกับ ความม่ันคงหรือเสถียรภาพ จากการที่เวียดนามไดบุกเขาไปในประเทศกัมพูชา และสรางปญหาเร่ืองภัยคุกคามจากประเทศเพื่อนบานที่เปนคอมมิวนิสตจึงเปนประเด็นในทางการเมืองระหวางประเทศ และยังผูกพันกับปญหาทางเศรษฐกิจเพราะเกี่ยวของกับความเชื่อม่ันในดานการลงทุนที่จะมีตอประเทศดวย เพราะฉะนั้นชวง 8 ปของการปกครองภายใตนายกรัฐมนตรีพลเอกเปรม ติณสูลานนท จึงเปนชวง 8 ปแหงการเผชิญกับปญหาที่รุมเราทางเศรษฐกิจและการเมือง ประการที่สอง ในยุคของพลเอกเปรม ติณสูลานนทอาจจะกลาวไดวาเปนยุคแรกที่สรางระบบความรวมมือระหวางภาครัฐและภาคเอกชนเปนยุคแรกที่มีการนําเอาแนวความคิดของภาคเอกชนตลอดจนกระทั่งการมีสวนรวมของภาคเอกชนในการบริหารดานเศรษฐกิจ ไดมีการจัดตั้งคณะกรรมการรวมมือระหวางภาครัฐและเอกชนข้ึนเปนคร้ังแรกเพื่อการประชุมปญหาตาง ๆ รวมกัน และในการเดินทางไปตางประเทศหลายคร้ังไดมีการสรางประเพณีที่นําเอานักธุรกิจรวมเดินทางดวย เพื่อใหนักธุรกิจไดมีโอกาสพบปะกับนักลงทุนในตางประเทศ ประการที่สาม ส่ิงที่นาสนใจอีกประการหนึ่งก็คือเปนคร้ังแรกที่มีการใหบทบาทกับสภาพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติ ทั้งในดานการเตรียมการและเปนสวนที่ เสริมตอ การตัดสินใจในเชิงนโยบายของคณะรัฐมนตรี จนอาจกลาวไดวาเปนสวนที่มีน้ําหนักตอการตัดสินใจของคณะรัฐมนตรี โดยเฉพาะในดานปญหาทางเศรษฐกิจ และโครงการทางเศรษฐกิจนับวาเปนยุคที่กลไกของสภาพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติ มีสวนเขาไปชวยกล่ันกรองและคานอํานาจทางฝายการเมือง โดยเฉพาะอยางยิ่งบทบาทของเลขาธิการสภาพัฒนาเศรษฐกิจ ในขณะนั้นคือ ดร.เสนาะ อุนากูล ที่มีสวนรวมในการพิจารณาพรอม ๆ กันดวย ในชวงปลายรัฐบาลพลเอกเปรม ติณสูลานนท โดยเฉพาะชวงป 2530-2531 เปนชวงที่กาวเขาสูยุคแหงความรุงเรือง นับเปนการวางรากฐานระบบเศรษฐกิจไวคอนขางดีและทําให เศรษฐกิจไทยเร่ิมมีเสถียรภาพมากข้ึน ในยุคของรัฐบาลพลเอกชาติชาย ชุณหะวัณ ไดสานตอแนวทางและพัฒนาเศรษฐกิจใหมีการขยายตัวเพิ่มมากข้ึน เศรษฐกิจยุคฟองสบู

ผูวิจัยใชหวงเวลาตั้งแตรัฐบาลพลเอกชาติชาย ชุณหะวัณ จนถึงรัฐบาลของพลเอกชวลิต ยงใจยุทธ (2531-2540) เปนกรอบการอธิบายบริบททางเศรษฐกิจยุคฟองสบู เศรษฐกิจภายใตการบริหารประเทศของรัฐบาลพลเอกชาติชาย ชุณหะวัณ ระหวางเดือนกรกฎาคม 2531 จึงถึงเดือนกุมภาพันธ 2534 ดวยนโยบายเปล่ียนสนามรบเปนสนามการคา นับเปนยุคแหงการเฟองฟูสุดขีด

93

ของเศรษฐกิจไทยดังจะเห็นไดจากการขยายตัวของผลิตภัณฑมวลรวมภายในประเทศสูงถึงรอยละ 13.2 ในป 2531 รอยละ 12.2 ในป 2532 และรอยละ 11.6 ในป 2533 ในชวงระยะเวลา 3 ปอัตราการเติบโตทางเศรษฐกิจสูงมาก สวนหนึ่งไดรับอิทธิพลจากระบบเศรษฐกิจโลกที่มีการขยายตัวเพิ่มข้ึนสงผลใหการคาระหวางประเทศเพิ่มข้ึนในอัตราสูงโดยในบางปการขยายตัวของการสงออกของไทยสูงถึงรอยละ 30 และอีกสวนหนึ่งมีการลงทุนจากตางประเทศโดยเฉพาะญี่ปุน และ กลุมประเทศอุตสาหกรรมใหมไมวาจะเปนฮองกง สิงคโปร และไตหวัน ทั้ง 4 ประเทศมีสัดสวนการลงทุนสูงถึงรอยละ 70 การขยายตัวในทุกดานทําใหการดําเนินงานที่เนนการเจริญเติบโตของรัฐบาลเทากับเปนการเติมเชื้อของโอเวอรฮีท (Overheat) ใหกับระบบเศรษฐกิจซึ่งในตัวมันเอง มีความรอนแรงอยูแลว จนกลายเปนเศรษฐกิจมีการขยายตัวรอยแรงเกินไปจนกลายเปนระบบเศรษฐกิจฟองสบูดังตัวเลขของเงินเฟอซึ่งขยับตัวสูงข้ึนอยางรวดเร็วจาก รอยละ 2.5 ในป 2530 เพิ่มเปนรอยละ 3.8 ในป 2531 รอยละ 5.4 ในป 2532 และรอยละ 6 ในป 2533 และมีการขาดเงินดุลบัญชีเดินสะพัดก็มีการขยายตัวเพิ่มข้ึน รอยละ 8.9 ในป 2533 ระบบเศรษฐกิจในรัฐบาลของพลเอกชาติชาย ชุณหะวัณ เปนยุคแหงเศรษฐกิจเฟองฟู แตในอีกดานหนึ่งคือปญหาการขาดเสถียรภาพทางเศรษฐกิจและปญหาคอรัปชั่นอันกลายเปนขออางในการทํารัฐประหารของ คณะรักษาความสงบเรียบรอยแหงชาติ หรือ รสช. เม่ือป 253539

อยางไรก็ตามการเติบโตทางเศรษฐกิจของชาตินั้นไดรับอิทธิพลมาจากนโยบายการพัฒนาพื้นที่บริเวณชายฝงทะเลตะวันออกใหเปนศูนยกลางความเจริญแหงใหมตามนโยบายหลักของแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติ ฉบับที่ 5 (2525-2529) ที่ตองการกระจายกิจกรรมทางเศรษฐกิจและอุตสาหกรรมใหไป ตั้งอยูในสวนภูมิภาคอยางเปนระบบโดยพัฒนาใหพื้นที่ดังกลาวเปนศูนยอุตสาหกรรมหลักและอุตสาหกรรมตอเนื่องอ่ืน ๆ ใหมีความสมบูรณในตัวเอง และเปนการเสนอทางเลือกแหลงที่ตั้งใหกับอุตสาหกรรมใหมในอนาคต โดยไมตองมาอยูบริเวณกรุงเทพมหานคร ทั้งนี้ จะเปนการชวยชะลอการเติบโตและบรรเทาความแออัดของกรุงเทพมหานคร ลงได โดยที่บริเวณชายฝงทะเลตะวันออกจะกลายเปนศูนยอุตสาหกรรมใหม และแหลงสรางงานที่สําคัญของประเทศอีกแหงหนึ่ง นอกจากนั้นมีเปาหมายที่จะใหชายฝงทะเลภาคตะวันออก เปนประตูสูทางออกในอันที่จะสงสินคาออกไปจําหนายตางประเทศ โดยไมตองผานกรุงเทพมหานครอีกตอไป โดยโครงการพัฒนาชายฝงทะเลภาคตะวันออก (Eastern Seaboard)40 นั่นเอง

39สมชาย ภคภาสนวิวัฒน, การพัฒนาเศรษฐกิจและการเมือง, น. 71-74. 40สภาพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแหงชาต,ิ แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติ

ฉบับที่ 5 (2525-2529), (กรุงเทพฯ: สภาพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแหงชาต,ิ 2525), น. 124.

94

ไดกําหนดใหพื้นที่บริเวณระหวางสัตหีบ–เขตเทศบาลเมืองระยอง เนื้อที่ทั้งส้ิน ประมาณ 123,750 ไร เปนเมืองอุตสาหกรรมที่ทันสมัยและเปนที่ตั้งของ “อุตสาหกรรมหลัก” เชน โรงกล่ันน้ํามัน โรงแยกกาซ โรงงานปโตรเคมี โรงงานสังกะสี โรงงานเหล็กและเหล็กกลา โรงงานปุยเคมี แหงชาติเปนตน โดยยึดหลักวาอุตสาหกรรมหลักที่มีการนําวัตถุดิบเขาและสงผลิตภัณฑสําเร็จรูปออกไปเปนจํานวนมากจะใหตั้งอยูใกลทาเรือสัตหีบมากที่สุด นอกจากนั้นไดกําหนดใหพื้นที่บริเวณแหลมฉบัง เนื้อที่ประมาณ 2,800 ไร เปนแหลงที่ตั้งอุตสาหกรรมขนาดกลางและขนาดยอมรวมไปถึงโรงงานประกอบรถยนตเพื่อรองรับนักลงทุนจากตางประเทศเปนสําคัญ ผลของแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติ ฉบับที่ 5 สงผลใหเกิดการพัฒนาพื้นที่ชายฝงโดยเฉพาะการขยายตัวภาคอุตสาหกรรมแนวใหม เพื่อลดการนําเขา และเกิดเปนนิคมอุตสาหกรรมมาบตาพุด และนิคมอ่ืน ๆ ตามมา หลังจากรัฐประหาร ไดเกิดปจจัยกระตุนทําใหผูประกอบการธุรกิจอสังหาริมทรัพยมีแหลงเงนิทุนใหม ดอกเบี้ยต่ํา มากระตุนขยาย “ฟองสบู” ใหพองโตข้ึนและใหญกวาเดิมไดอีกคร้ัง ดังนี4้1

1. ประกาศหลักเกณฑมาตรฐานการดํารงเงินกองทุนตอสินทรัพยเส่ียง (BIS) ของรัฐบาลตั้งแตวันที่ 1 มกราคม 2536 ทําใหการปลอยสินเชื่อที่อยูอาศัยที่มีที่ดินหรือทรัพยสินค้ําประกัน ถือเปนสินทรัพยที่มีความเส่ียง 50% จากเดิมที่ใหเปนความเส่ียง 100% ยิ่งทําใหสินเชื่อดานอสังหาริมทรัพยมีมากข้ึน

2. การอนุญาตใหธนาคารพาณิชยไทยและตางประเทศสามารถเปดใหบริการวิเทศธนกิจ (BIBF) ซึ่งบริการใหกูเงินและรับฝากเงินตราตางประเทศไดเม่ือวันที่ 16 มีนาคม 2536

3. คณะกรรมการกํากับหลักทรัพยและตลาดหลักทรัพย (ก.ล.ต.) อนุญาตใหบริษัทสามารถออกตราสารได ตั้งแตป 2536 กลุมผูประกอบการธุรกิจอสังหาริมทรัพยจึงกลับมาทุมเทลงทุนในโครงการใหม ๆ อยางคึกคัก เกิดภาวการณซื้อที่ดินเพื่อกักตุนไวเปนแลนดแบงก (Land Bank) ตามขอกําหนดของ ก.ล.ต.

4. ปลายป 2536 กระทรวงพาณิชยออกประกาศหลักเกณฑใหบริษัทประกันชีวิตและบริษัทประกันวินาศภัยสามารถปลอยสินเชื่อใหแกโครงการพัฒนาที่ดิน รวมทั้งสินเชื่อรายยอย และยังยินยอมใหปลอยสินเชื่อเพื่อการลงทุนตาง ๆ ไดถึง 30% ของสินทรัพยในบริษัทประกัน จาก

41ศุภวุฒิ สายเชื้อ, เศรษฐกิจไทย พลาดสูวิกฤติ, (กรุงเทพฯ: บริษัทพิฆเณศ พร้ินติ้ง

เซ็นเตอร, 2543), น. 96-102.

95

เดิมเพียง 10% อาจกลาวไดวา เปนความผิดพลาดของทางการดําเนินนโยบายสนับสนุนฟองสบู แทนที่จะปราบปรามฟองสบู ผลจึงเปนความหายนะทางเศรษฐกิจในอีก 4 ปตอมา เม่ือฟองสบูลูกที่สองแตกอยางถาวร สําหรับประเทศไทยพื้นที่บริเวณอาวไทย เปนแหลงผลิตและประกอบการอุตสาหกรรมพลังงานมากที่สุด ปจจุบันระยองมีโรงงานอุตสาหกรรมมากที่สุด สวนใหญเปนอุตสาหกรรมที่เกี่ยวของกับปโตรเลียม และอุตสาหกรรมนี้เปนความภาคภูมิใจของรัฐบาลในทุกยุคทุกสมัย เพราะเปนแหลงรองรับนักลงทุนอุตสาหกรรมจากทั่วโลก และนักลงทุนจากบริษัทยักษใหญภายในประเทศดวย อาทิ โรงกล่ันน้ํามัน โรงแยกกาซ โรงงานปโตรเคมี และการผลิตไฟฟา ที่มีมูลคาการลงทุนหลายลานลานบาท ในแงธุรกิจอุตสาหกรรมเหลานี้เปนธุรกิจดาวรุงในปจจุบัน เปนธุรกิจหลักที่ค้ํายันเศรษฐกิจไทย ที่สงผลตอจีดีพีของประเทศ เพราะสวนใหญจดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย จึงไดรับการดูแลอุมชูอยางดีจากรัฐบาลนับตั้งแตรัฐบาลของพลเอกเปรม ติณสูลานนท เปนตนมาจนถึงปจจุบัน42 เม่ือเศรษฐกิจเติบโตอยางเต็มที่ ในที่สุดชวงป 2538 เงินไหลเขาจากตางประเทศเพื่อชดเชยการขาดดุลบัญชีเดินสะพัดสวนใหญเปนรูปของเงินกูจากตางประเทศ ภาวะหนี้ตางประเทศขยายตัวเพิ่มข้ึนอยางรวดเร็วสูงกวา 80,000 ลานเหรียญสหรัฐ และเปนหนี้ระยะส้ันคิดเปนรอยละ 25 ของผลผลิตมวลรวม และในป 2539 รายไดจากการสงออกหดตัวลงจนเหลือเพียงรอยละ 0 ในชวงปลายป 2539 ทําใหเงินตางประเทศไหลออกจากประเทศอยางตอเนื่องสงผลตอการเกิดสภาพคลองภายในประเทศและดอกเบี้ยที่สูงข้ึน เปนหวงโซใหเกิดการลมละลายของธุรกิจอสังหาริมทรัพย ตลาดหุนตกอยางรุนแรง ในที่สุดสงผลตอสถาบันการเงินและนําไปสูการปดสถาบันการเงิน 56 แหง และเม่ือรัฐบาลปลอยเงินบาทลอยตัวทําใหเงินบาทออนตัวเหลือ 57 บาทตอดอลลารสหรัฐ จนในที่สุดไดเกิดวิกฤตเศรษฐกิจอยางรุนแรง หรือที่เรียกวาเศรษฐกิจฟองสบูแตก จากวิกฤติเศรษฐกิจไทยไดสงผลกระทบตอประเทศเพื่อนบานทั้งอินโดนีเซีย เกาหลีใต และภูมิภาคเอเชีย43 ป 2540 เปนปที่ตองบันทึกไวในประวัติศาสตรชาติไทยเพราะเปนวิกฤตเศรษฐกิจที่สาหัสที่สุดตั้งแตมีประเทศไทย เม่ือรัฐบาลภายใตการนําของรัฐบาลพลเอกชวลิต ยงใจยุทธ การปรับเปล่ียนอัตราแลกเปล่ียนเงินจาก 25 บาทตอดอลลารสหรัฐ แบบลอยตัวไมมีการจัดการ หรือ

42วันชัย ตันติวิทยาพิทักษ, เหตุผลของการมีชีวิตอยูเร่ืองควรรูที่เราคิดวารูแตเรา

ไมเคยรู, พิมพคร้ังที่ 2, (กรุงเทพฯ: อะบุก, 2553), น. 18. 43สมชาย ภคภาสนวิวัฒน, การพัฒนาเศรษฐกิจและการเมือง, น. 108.

96

การลดคาเงินบาทนั่นเอง การลดคาเงินบาทจากความออนแอทางเศรษฐกิจที่สะสมเร่ือยมาจนขาดดุลอยางหนัก เงินเฟอมีอัตราสูง ขาดดุลบัญชีเดินสะพัด ทําใหธนาคารแหงประเทศไทยนําเงินสํารองระหวางประเทศที่มีอยู 3.2 หม่ืนลานดอลลารไปทุมสูเพื่อพยุงคาเงินบาทไมใหตกต่ําแตไมไดผล จนทําใหเงินทุนสํารองรอยหรอ สุดทายเม่ือ 2 กรกฎาคม 2540 ปลอยใหลอยตัว44 5 สิงหาคม 2540 นายทนง ทิพยะ รัฐมนตรีวาการกระทรวงการคลัง ประกาศขอรับความชวยเหลือจากกองทุนการเงินระหวางประเทศ IMF ในวงเงิน 17,000 ลานเหรียญสหรัฐ โดยมีเงื่อนไขใหปฏิรูประบบสถาบันการเงินใหแข็งแกรง จึงนําไปสูการส่ังระงับกิจการสถาบันการเงิน 58 แหง และไดเกิดปรากฏการ “เปดทายขายของเกา” หลังเกิดวิกฤตของผูที่เคยรวย45 ในที่สุด พลเอกชวลิต ยงใจยุทธ ไดลาออกจากตําแหนงนายกรัฐมนตรีในวันที่ 6 พฤศจิกายน 2540 เพราะมิอาจทนแรงกดดันจากพรรครวมรัฐบาลดวยกัน และภาคธุรกิจไมไหว46 จากนั้นสภาผูแทนราษฎรไดสนับสนุนใหนายชวน หลีกภัย ข้ึนดํารงตําแหนงนายกรัฐมนตรี ซึ่งในรัฐบาลของนายชวน หลีกภัย สมัยที่สองนี้เองไดตรากฎหมายฟนฟูเศรษฐกิจ 11 ฉบับ และถูกขนานนามวาเปนกฎหมายขายชาติ เพราะเกิดจากการบงการและการตั้งเงื่อนไขของไอเอ็มเอฟ นอกจากนี้ยังมีเงื่อนไขใหรัฐบาลแปรรูปรัฐวิสาหกิจหลัก ๆ ของประเทศเพื่อที่จะไดนําเงินคืนไอเอ็มเอฟ47 เศรษฐกิจในยุควิกฤตนํ้ามันและความขัดแยงทางการเมือง

สภาวะเศรษฐกิจในชวงรัฐบาลของ พ.ต.ท.ทักษิณ ชินวัตร หลังจากที่ประเทศไทยพบปญหาฟองสบูแตก เศรษฐกิจซบเซา รัฐบาลไดมีนโยบายกระตุนเศรษฐกิจใหเกิดเงินหมุนเวียนอยูในประเทศทั้งการผลิต การซื้อสินคา การจับจายใชสอย ซึ่งสวนหนึ่งเปนเงินจากงบประมาณ บางสวนมาจากโครงการขนาดใหญของรัฐทําใหเศรษฐกิจกระเตื้องข้ึน โดยเฉพาะธุรกิจดานส่ือ อสังหาริมทรัพย จนกระทั่งสามารถชดใชเงินกูจาก IMF ไดสําเร็จ48 ในป 2545 เร่ิมมีการแกปญหาหนี้เอ็นพีแอล (NPL) ไดในบางสวน และภาคอุตสาหกรรมมีการขยายตัวสูงข้ึน โดยเฉพาะผลผลิต

44มติชน (3 กรกฎาคม 2540). 45มติชน (6 สิงหาคม 2540). 46มติชน (7 พฤศจิกายน 2540). 47คณิน บุญสุวรรณ, 7 ปปฏิรูปการเมือง: หนีเสือปะจระเข, (กรุงเทพฯ: สุขภาพใจ,

2547), น. 22-23. 48ลิขิต ธีรเวคิน, การเมืองการปกครองของไทย, น. 234.

97

อุตสาหกรรมประเภททุนและเทคโนโลยี ขยายตัวถึง 6.7 และมีอัตราการใชกําลังการผลิตเฉล่ียอยูที่ระดับรอยละ 59.749 สภาวะเศรษฐกิจในการบริหารประเทศของ พ.ต.ท.ทักษิณ ชินวัตร มีการขยายตัวอยางตอเนื่อง แตก็ยังพบกับปญหาราคาน้ํามันที่มีการผันผวนจากภาวะสงครามอิรักกับสหรัฐอเมริกา ราคาน้ํามันเร่ิมปรับตัวสูงข้ึน สงผลใหตนทุนการผลิตและการขนสงสินคาเพิ่มข้ึนตามไปดวย

นายอภิชาต พงษศรีหดุลชัย เลขาธิการสํานักงานเศรษฐกิจการเกษตร (สศก.) เปดเผยถึงโครงการน้ํามันดีเซลราคาถูกเพื่อบรรเทาความเดือดรอนของเกษตรกรวา ขณะนี้เกษตรกรที่เติมน้ํามันเพื่อใชในกิจกรรมดานการเกษตรตามสถานีบริการที่เขารวมโครงการ สามารถนําใบเสร็จมารับคาชดเชยจากโครงการไดแลว โดยรัฐบาลจะชดเชยราคาน้ํามันดเีซลใหแกเกษตรกรเปาหมาย 5.6 ลานครัวเรือน ในอัตราลิตรละ 3 บาท และใหครัวเรือนละไมเกิน 15 ลิตรตอเดือน หรือ 45 บาทตอครัวเรือนตอเดือน ระยะเวลาดําเนินโครงการ 3 เดือน นับแต 1 มิถุนายน 2554 - 31 สิงหาคม 2544 โดยมีวงเงินในการดําเนินการรวมทั้งส้ิน 767 ลานบาท50

ความผันผวนของราคาน้ํามันในตลาดโลกทําใหผูประกอบการคากําไรเกินควร เชน ในบางชวง เวลาน้ํา มันดิบในตลาดโลกลด แตราคาน้ํา มันในประเทศไมลด สํานักงานคณะกรรมการนโยบายพลังงานแหงชาติ (สพช.) กลาววามีการเรียกผูคาน้ํามันมาหารือเกี่ยวกับราคาน้ํามันขายปลีก เพราะยังมีราคาสวนทางกับตลาดโลก ดังที่ ปทต.ประกาศลดราคาน้ํามันเบนซิน 30 สตางค แตข้ึนราคาน้ํามันดีเซล เม่ือวันที่ 4 มกราคม 254551 เปนตน ในชวงสมัยที่ 2 ของรัฐบาล พ.ต.ท.ทักษิณ ชินวัตร เร่ิมไดรับการตอตานจากกลุมวิชาการ เนื่องจากเกิดปญหาในเร่ืองของผลประโยชนทับซอน และเกิดความขัดแยงทางการเมืองจากกลุมสนับสนุนระบบทักษิณ และกลุมตอตานระบบทักษิณ โดยเฉพาะกลุมพันธมิตรประชาชนเพื่อประชาธิปไตย จนนําไปสูการทํารัฐประหาร 19 กันยายน 2549

การเปล่ียนแปลงผูนําทางการเมืองบอยคร้ัง ตั้งแตนายสมัคร สุนทรเวช นายสมชาย วงศสวัสดิ ์จนถึงนายอภิสิทธิ์ เวชชาชีวะ หรืออาจกลาวไดวาจากหลังรัฐประหารเปนตนมาเปนชวงวิกฤตทางการเมือง หรือความไมมีเสถียรภาพทางการเมือง สงผลตอระบบเศรษฐกิจไทย ภาพของความขัดแยงทางการเมือง การชุมนุมประทวง และการใชความรุนแทน ไมวาจะเปนการบุกยึดทําเนียบรัฐบาลของกลุมพันธมิตรประชาชนเพื่อประชาธิปไตย การบุกยึดสนามบิน จนถึง

49สํานักงานพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติ, รายงานผลประจําป 2545, น. 35. 50ไทยรัฐ (8 มิถุนายน 2544). 51ไทยโพสต (5 มกราคม 2545).

98

เหตุการณจลาจลเมษายน 2552 และเหตุการณสลายการชุมนุมของรัฐบาลพฤษภาคม 2553 ลวนแตเปนปญหาการเมืองที่สงผลตอเศรษฐกิจเพราะทําใหนักลงทุนตางชาติขาดความเชื่อม่ันและนักทองเที่ยวลดลงมาก

นอกจากนี้เศรษฐกิจไทยไดรับผลกระทบจากวิกฤตเศรษฐกิจโลก หรือ “วิกฤตแฮมเบอรเกอร” และวิกฤตน้ํามัน เม่ือป 2552 ในป 2553 ไทยยังพบปญหาที่สงผลกระทบเชิงลบดานเศรษฐกิจที่สําคัญ คือ ปญหาพลังงาน ซึ่งสถานะกองทุนน้ํามันเชื้อเพลิงอยูในสภาวะติดลบมีหนี้สินรวม 7,026 ลานบาท ในจํานวนนี้เปนหนี้สินที่เกิดจากการชดเชยราคากาซ LPG จากการนําเขา 4,065 ลานบาท นอกจากนี้กองทุนน้ํามันยังมีภาระในการชดเชยราคาพลังงานทดแทนอ่ืน ๆ ดวยประกอบกับประชาชนมีความตองการใชกาซ LPG ยังคงเพิ่มข้ึนไปอีกแมวาสํานักงานนโยบายและแผนพลังงาน (สนพ.) พยายามนําเสนอใหรัฐบาลพิจารณาปรับราคา LPG ใหสะทอนกับ ความเปนจริงเพื่อใหกองทุนน้ํามันฯลดภาระในการชดเชยลง อยางไรก็ตาม ทายที่สุดรัฐบาลก็ไมสามารถลอยตัวราคากาซ LPG ไดเนื่องจากอาจสงผลกระทบตอคาครองชีพของประชาชน และราคาสินคาที่จะทยอยปรับตัวเม่ือราคาตนทุนสูงรัฐบาลจึงเรงลอยตัวกาซ LPG เพื่อลดภาระกองทุนน้ํามันเชื้อเพลิงหลังจากที่ ปตท.แบกรับภาระสวนตางกวาหม่ืนลาน52

52ประชาชาติธุรกิจ (9 ธันวาคม 2553).

99

บทท่ี 5

กระบวนการสื่อสารทางการเมืองเร่ืองพลังงานในอาวไทย ในชวงป พ.ศ. 2524-2553

ในการศึกษากระบวนการส่ือสารทางการเมืองเร่ือง “การส่ือสารทางการเมืองเร่ือง

พลังงานในอาวไทย : กรณีศึกษาในชวงป พ.ศ. 2524-2553” นั้น ผูวิจัยใชกรอบแนวคิดการส่ือสารทางการเมืองของ เดวิด เค เบอรโล (David K. Berlo ) และ ฮาโรลด ลาสเวลล (Harold Lasswell) ในการวิเคราะหซึ่งประกอบดวย ผูสงสาร เนื้อหาสาร ชองทาง ผูรับสาร และผลกระทบ ไดผลดังนี ้

ผูสงสาร (Sender)

ในเร่ืองเกี่ยวกับพลังงานซึ่งเปนเร่ืองที่มีความสําคัญตอความม่ันคงของประเทศ และเกี่ยวของกับการดําเนินชีวิตของประชาชน ตลอดจนเกี่ยวของกับอุตสาหกรรมหนักตาง ๆ ที่เชื่อมตอกับกระบวนการผลิตวัสดุ อุปกรณ ที่มีความจําเปนในการพัฒนาประเทศ ดังนั้นผูสงสารจึงมีหลายระดับเพื่อกลุมเปาหมายผูรับสารที่แตกตางกัน และผูวิจัยขอนําเสนอผูสงสารเร่ืองพลังงานในอาวไทยมีดังตอไปนี้ ดวยกรอบระยะเวลาของการทําวิจัย คือ ในชวงป 2524–2553 นับเปนชวงระยะเวลายาวนานถึง 3 ทศวรรษ หรือเปนชวงเวลา 30 ป ของพัฒนาการดานพลังงานของไทย มีนายกรัฐมนตรีในการบริหารประเทศ จํานวน 12 คน นับตั้งแตพลเอกเปรม ติณสูลานนท จนถึงนายอภิสิทธิ์ เวชชาชีวะ ซึ่งมีทั้งผูนําประเทศที่บริหารประเทศตามสภาวะปกติและสภาวะที่ไมปกติทางการเมือง ทําใหรัฐบาลในฐานะผูสงสารเกี่ยวกับพลังงานมีแนวนโยบายดานพลังงานที่มีทั้งเหมือนและแตกตางกันตามสภาวการณของประเทศและของกระแสโลกที่เปล่ียนแปลง ผูวิจยัขอยกลําดับรัฐบาลและผูที่มีบทบาทในการส่ือสารดานพลังงาน ทั้งนี้ขอกลาวถึงเฉพาะรัฐบาลที่มีนโยบายและโครงการเกี่ยวกับพลังงาน ดังนี้

รัฐบาลพลเอกเปรม ติณสูลานนท (พ.ศ. 2523-2531)

พลเอกเปรม ติณสูลานนท เปนนายกรัฐมนตรีที่ไมไดมาจากการเลือกตั้ง กลาวคือ

เปนนายกรัฐมนตรีที่ไมไดผานการรับเลือกตั้งการเปนสมาชิกสภาผูแทนราษฎร (ส.ส.) ภายใต

100

รัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักรไทยพุทธศักราช 2521 แตไดรับเสียงสนับสนุนจากสภา หรือ ฐานอํานาจทางการเมืองขณะนั้น วาเปนผูที่มีความเหมาะสมกับการดํารงตําแหนง นายกรัฐมนตรี พลเอกเปรม ติณสูลานนท เปนชาวตําบลบอยาง อําเภอเมืองสงขลา จังหวัดสงขลา เปนบุตรคนที ่ 6 ของอํามาตยโท หลวงวินิจ ฑัณทกรรม กับนางออด ติณสูลานนท เปนผูมีฐานอํานาจทางการเมืองจากทหาร เพราะพลเอกเปรม ติณสูลานนท ใชชีวิตรับราชการทหารมาโดยตลอดจนไดรับตําแหนงผูบัญชาการทหารบก และพลเอกเปรม ติณสูลานนท มีภาพลักษณของความเปนผูนําดาน ความซื่อสัตยสุจริต จนไดรับพระกรุณาโปรดเกลาฯ แตงตั้งใหเปนองคมนตรีและรัฐบุรุษ ซึ่งรัฐบาลพลเอกเปรม ติณสูลานนท เขามาบริหารประเทศอยางตอเนื่องรวมเวลา 8 ป กับ 5 เดือน (มีนาคม 2523- สิงหาคม 2531) ดํารงตําแหนง 3 สมัย โดยใชนโยบาย "การเมืองนําการทหาร"

รัฐบาลชวงนั้นมุงเนนการนําพลังงานจากอาวไทยข้ึนมาใชเพื่อพัฒนาประเทศทดแทนการนําเขา ซึ่งในอดีตประเทศไทยนําเขาน้ํามัน 100% จนกระทั้งเม่ือสํารวจพบแหลงพลังงานธรรมชาติในอาวไทย จึงกอเกิดอุตสาหกรรมปโตรเลียมข้ึน รัฐบาลพยายามที่จะสํารวจและผลิตเพื่อนํามาพัฒนาประเทศใหมีความเจริญ ในสมัยรัฐบาลพลเอกเปรม ติณสูลานนท จึงเกิดวลีที่วา “โชติชวงชัชวาล” เปนวลีที่ส่ือทางโทรทัศนเผยแพรใหประชาชนไดรับรูวา การคนพบพลังงานนั้นมีความสําคัญและคาดหวังวาจะทําใหประเทศชาติเจริญเทาเทียมประเทศอ่ืน ในชวงแรกของรัฐบาลไดประสบกับปญหาคาเงินบาท และปญหาราคาน้ํามันที่ผกผันอันเนื่องมาจากภาวะสงครามระหวางอิรักและอิหราน และวิกฤตน้ํามันโลกเปนตัวเรงใหประเทศไทยคนหาแหลงพลังงานในประเทศ เพื่อลดการพึ่งพาพลังงานจากตางประเทศ และเม่ือพบวาในอาวไทยมีกาซธรรมชาติ รัฐบาลพลเอกเปรม ติณสูลานนท พยายามจะนํากาซธรรมชาติในอาวไทยมาพัฒนาเปนไฟฟาและเปนวัตถุดิบ สภาพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติไดจัดทําแผนแมบทอุตสาหกรรม ปโตรเคมีของประเทศ เร่ิมตั้งแตป 2523 ภายใตโครงการพัฒนาพื้นที่ชายฝงตะวันออก (Eastern Seaboard : ESB) จึงเกิดโรงงานอุตสาหกรรมตามเสนทางทอสงกาซธรรมชาติอยางตอเนื่อง1

รัฐบาลพลเอกเปรม ติณสูลานนท จึงเปนผูสงสารเกี่ยวกับกระบวนการนําพลังงานจาก อาวไทยมาใชประโยชนเพื่อลดการนําเขาน้ํามันและวัตถุดิบดานอุตสาหกรรม ดังจะเห็นไดจากการให ปตท. วางทอสงกาซเสนแรกจากแหลงผลิตเอราวัณมาข้ึนฝงที่มาบตาพุด จังหวัดระยอง และในวันที่ 12 กันยายน 2524 พลเอกเปรม ติณสูลานนท เปนประธานเปดวาลวสงกาซธรรมชาติ ณ สถานีสงกาซธรรมชาติชายฝงของ ปตท. โดยกาซดังกลาวซื้อจากบริษัท ยูเนี่ยน

1ปกรณ พึ่งเนตร, แกะรอยนโยบายสาธารณะ, (เชียงใหม: สถาบันศึกษานโยบาย

สาธารณะ มหาวิทยาลัยเชียงใหม, 2553), น. 3.

101

ออยล (Union Oil Of Thailand) เปนแหลงโครงสราง เอ หรือแหลงเอราวัณในปจจุบัน ส่ิงที่ปรากฏในรัฐบาลพลเอกเปรมอีกอยางที่นับวาเปนจุดเร่ิมตนของการใชประโยชนจากกาซธรรมชาติที่เห็นผลเปนรูปธรรม คือ การกอสรางโรงแยกกาซธรรมชาติ หนวยที่ 1 ซึ่งแลวเสร็จในป 25272 และมีบุคคลที่มีบทบาทสําคัญในสมัยนี้ เชน

ร.ท. ศุลี มหาสันทนะ รัฐมนตรีประจําสํานักนายกรัฐมนตรีที่เรียกวาเปนมืออาชีพดานพลังงานและดํารงตําแหนงตอเนื่องกันถึง 8 ป ซึ่งกอนที่เขาจะกาวข้ึนสูตําแหนงรัฐมนตรีนั้น มีหลายอยางที่แสดงถึงฝมือ และความเชื่อถือจากคนรอบขาง แตเขาแทบจะไมเคยพูดถึงผลงานเหลานี้สูสาธารณชนดวยเหตุวาเขาพอใจที่จะอยูอยางเงียบ ๆ มากกวา ร.ท. ศุลี มหาสันทนะ ไดเรียนรูและส่ังสมประสบการณจากบริษัทน้ํามันขามชาติอยาง เอสโซสแตนดารด (ประเทศไทย) จํากัด หลังจากที่รับราชการอยูที่กรมชางทหารอากาศอยู 6 ป บริษัท เอสโซ จํากัด ทําใหเขาเขาใจระบบธุรกิจอยางครบวงจร ไมวาจะเปนการสํารวจ การผลิตรวมถึงการวิจัย การจัดตั้งสถานีซึ่ง ถือวาเปนงานที่ตองการความละเอียดประณีตทุกข้ันตอนเพื่อประกันคุณภาพที่ดีสูมือลูกคา รัฐมนตรีเปนประธานอนุกรรมการนโยบายปโตรเลียม ซึ่งจะเปนผูพิจารณาและกล่ันกรองเร่ืองเกี่ยวกับปโตรเลียม กอนที่จะเสนอใหกรรมการนโยบายพลังงานแหงชาติ หรือบอรดใหญ ซึ่งมีนายกรัฐมนตรีเปนประธานโดยตําแหนงเปนผูตัดสินชี้ขาดหรืออนุมัติในรอบสุดทาย ร.ท. ศุลี มหาสันทนะ กลายเปนคนจัดการเร่ืองพลังงานของประเทศตลอดมา ชวงที่เกิดวิกฤตน้ํามันคร้ังแรก (พ.ศ. 2516-2517) และคร้ังที่ 2 (พ.ศ. 2522-2524) เขาเปนคนสําคัญในการปรับปรุงการจัดเก็บเงินกองทุนน้ํามัน ขณะเดียวกันก็วางแนวนโยบายราคาน้ํามันเสรีอยางคอยเปนคอยไป พรอมทั้งมุงเนนการพัฒนาแหลงพลังงานในประเทศทั้งแหลงกาซธรรมชาติและน้ํามันดิบ มีแนวคดิที่อยากเห็นการพัฒนาพลังงานของไทยไปสูทิศทางที่พึ่งตัวเองได แขงขันได มีการปรับตัวไปตามกลไกของตลาด นั่นก็คือ มีอิสระ ไรการแทรกแซงจากการเมือง3

กร ทัพพะรังส ีเปนอีกบุคคลสําคัญที่อยูเบื้องหลังการผลักดันนโยบายรัฐบาล แมจะไมโดดเดนในยุคของพลเอกเปรม ติณสูลานนท กลาวคือชวงนั้นเปนชวงแรกของการกาวสูการเมืองโดยการดํารงตําแหนงที่ปรึกษารัฐมนตรีวาการกระทรวงอุตสาหกรรรม ในป 2523 ตรงกับรัฐบาลพลเอกเปรม ติณสูลานนท สมัยแรก จากนั้นไดลงสมัครเปนสมาชิกสภาผูแทนราษฎรของจังหวัดนครราชสีมา และดํารงตําแหนงรัฐมนตรีชวยวาการกระทรวงอุตสาหกรรม เม่ือป 2529 ซึ่งเปน

2การปโตรเลียมแหงประเทศไทย, 30 ป ปตท. พลังที่ยั่งยืน เพื่อไทย, (กรุงเทพฯ:

สิริวัฒนาอินเตอรปร้ินท, 2551), น. 71. 3นิตยสารผูจัดการ (เมษายน 2533).

102

กระทรวงที่มีสวนเกี่ยวของกับอุตสาหกรรมดานพลังงานตรงกับสมัยที่ 3 ของรัฐบาลพลเอกเปรม แตยังดํารงตําแหนงไดไมนานรัฐบาลตองประกาศยุบสภา เพราะกระแสการตอตานอันเนื่องจากการเปนนายกรัฐมนตรีที่ไมไดมาจากการเลือกตั้ง ไมเปนประชาธิปไตยที่สมบูรณ จึงทําใหบทบาทในการบริหารงานดานพลังงานยังไมไดเห็นเปนรูปธรรมที่สะทอนออกมาจากตัวตนของนายกร ทัพพะรังสี เทาที่ควร

รัฐบาลพลเอกชาติชาย ชุณหะวัณ (พ.ศ. 2531-2534)

รัฐบาลของพลเอกชาติชาย ชุณหะวัณ ไดมุงเนนการพัฒนาเศรษฐกิจ ดวยการใช

ศักยภาพพลังงานในอาวไทยอยางเห็นไดชัด ดวยนโยบาย “เปล่ียนสนามรบเปนสนามการคา” เปนอีกวลีของผูนําประเทศที่สานตอวลีการพัฒนาประเทศของพลเอกเปรม ติณสูลานนท ที่วา “โชติชวงชัชวาล” มีการสานตอนโยบายโดยเฉพาะการพัฒนาพื้นที่ชายฝงตะวันออก หรืออิสเทิรนซีบอรด ทําใหเกิดการขยายตัวทางอุตสาหกรรมดานพลังงานมีการลงทุนกับประเทศเพื่อนบาน เชน ลาว เวียดนาม และพยายามขยายเขาสูจีน กัมพูชา และพมา เปนตน โดยรวมทุนกับบริษัทน้ํามันแหงชาติในประเทศที่เขามาลงทุน และในรัฐบาลนี้ทําใหอุตสาหกรรมขยายตัว โดยเฉพาะการเกิดนิคมอุตสาหกรรมมาบตาพุด จังหวัดระยอง บุคลที่มีบทบาทดานพลังงานในรัฐบาลพลเอกชาติชาย ชุณหะวัณ คือ นายกร ทัพพะรังสี ดํารงตําแหนงรัฐมนตรีประจําสํานักนายกรัฐมนตรี ตั้งแต 2531-2534 รับผิดชอบงานดูแลงานดานพลังงาน การลงทุนและการทองเที่ยว

นายกร ทัพพะรังสี มีขอมูลดานประวัติชีวิตที่นาสนใจ คือ นายกร ทัพพะรังสี เกิดวันที่ 14 กันยายน พ.ศ. 2488 เปนบุตรของ นายอรุณ ทัพพะรังสี (บุตร เจาพระยานราธรหิรัญรัฐ กับคุณหญิงหวาน) และ นางพรอม ทัพพะรังสี (สกุลเดิม "ชุณหะวัณ" เปนบุตรีของจอมพลผิน ชุณหะวัณ) เนื่องจากสืบเชื้อสายจากนักการเมืองซอยราชครู ทําใหไดรับการขนานนามใหเปน “ทายาทราชครู รุนที่ 3” นายกร ทัพพะรังสี เติบโตที่บานเทเวศรซึ่งเปนบานของ พล.ต.อ.เผา ศรียานนท ที่มีศักดิ์เปนลุงเขยทางฝายมารดา และเปนที่ทราบกันวา "นายกรเปนหลานนาชาติ" เนื่องจากมารดาของนายกร เปนพี่สาวแท ๆ ของ พล.อ. ชาติชาย ชุณหะวัณ อดีตนายกรัฐมนตรี ญาติอีกคนที่สนิทสนมและเปนผูตั้งชื่อใหกับนายกร คือ พล.ต.อ.ประมาณ อดิเรกสาร ผูมีศักดิ์เปนนาเขย สวน นามสกุล "ทัพพะรังสี" เปนนามสกุลพระราชทาน จาก พระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกลาเจาอยูหัว ใหแก เจาพระยานราธรหิรัญรัฐ (เยื้อน ทัพพะรังสี) ผูเปนอดีตเจาคลังจังหวัดสงขลา และมีศักดิ์เปนปูของนายกร ทัพพะรังสี เม่ือพลเอกชาติชาย ชุณหะวัณ ไดดํารงตําแหนงนายกรัฐมนตรี จึงทําใหนายกร ทัพพะรังสี ไดมีบทบาทในการบริหารประเทศโดยเฉพาะดานพลังงานทีมี่ความโดดเดน

103

นายกร ทัพพะรังสี ไดรับผิดชอบดานปโตรเลียมอยางจริงจังจนมีบทบาทโดดเดนข้ึนมาก กระทั่งมีเสียงวิจารณวา เปนผูที่มีความรูจริงดานพลังงานหากใครจะมาคาขายเกี่ยวกับน้ํามันจะตองเขาพบเจรจาหารือดวย เม่ือเขาข้ึนมาเปนรัฐมนตรีประจําสํานักนายกรัฐมนตรี เขาจึงไดรับแตงตั้งใหเปนประธานอนุกรรมการนโยบายปโตรเลียม ตําแหนงเดียวกับ ร.ท.ศุลี มหาสันทนะ มือทองดานน้ํามันในยุคนายกเปรม ติณสูลานนท ซึ่งเปนสวนที่จะตองกล่ันกรองเร่ืองปโตรเลียมที่สําคัญกอนจะเสนอเขาบอรดใหญหรือคณะกรรมการนโยบายพลังงานแหงชาติ ที่มีพลเอกชาตชิาย ชุณหะวัณ นายกรัฐมนตรีเปนประธาน นอกจากนี้นายกร ทัพพะรังสีพยายามที่จะปลดพันธนาการใหกับภาคเอกชน โดยเฉพาะดานน้ํามันที่ตองการเห็นราคานํามันเปนไปตามกลไกตลาด เขาจึงพยายามชักชวนนักลงทุนจากตางประเทศเขามาทําธุรกิจคาน้ํามัน ขุดเจาะ สํารวจปโตรเลียมมากข้ึน จนเห็นวา มีขาวของการเจรจาหารือเร่ืองปโตรเลียมหรือสนใจตั้งปมน้ํามัน ซึ่งเปนเร่ืองที่ไดมีการกําหนดไวในแผนพัฒนาฉบับที่ 6 (พ.ศ. 2530-2534) นายกร ทัพพะรังสี พยายามยกเลิกมาตรการควบคุมราคาน้ํามัน โดยในสมัยรัฐบาลพลเอกเปรม ติณสูลานนท มีนโยบายควบคุมราคาน้ํามัน ใหมีการปรับข้ึน-ลงตามที่รัฐบาลกําหนด โดยมีการจัดตั้งกองทุนน้ํามันเชื้อเพลิง เพื่อใชในการปรับราคาข้ึน-ลง นโยบายนี้ทําใหราคาน้ํามันไมสะทอนถึงตนทุนที่เปนจริง สงผลใหอุตสาหกรรมปโตรเคมี และอุตสาหกรรมที่เกี่ยวของกับผลิตภัณฑน้ํามัน ไมสามารถใชตนทุนที่อยูบนฐานของความเปนจริงได รวมทั้งทําใหการเจรจาซื้อผลิตภัณฑปโตรเลียม กับผูที่เปนเจาของสัมปทาน เปนราคาที่ไมสมเหตุสมผล นอกจากนี้ การข้ึน-ลงของราคาน้ํามัน ยังสงผลกระทบตอสถานภาพความม่ันคง ของรัฐบาลโดยตรง จึงมีแนวคิดที่จะยกเลิกการควบคุมราคา เพื่อใหราคาน้ํามันและผลิตภัณฑปโตรเลียม อยูบนพื้นฐานของความเปนจริง ซึ่งตอมาไดมีการประกาศยกเลิก ในเดือนสิงหาคม 25344 ดังการใหขอมูลของนายกร ทัพพะรังสี ที่ไดกลาวถึงสถานการณเศรษฐกิจ การดําเนินการทางนโยบายเศรษฐกิจที่สําคัญ และผลกระทบดานตาง ๆ ตอเศรษฐกิจไทย ตั้งแตสมัย ฯพณฯ พลเอกเปรม ติณสูลานนท วา

“แนวความคิดเร่ิมข้ึนในชวงป พ.ศ. 2532 - 2533 เม่ือเห็นวาสังคมโลกกําลังจะเปล่ียนไปสูตลาดการคาเสรี ดังนั้น เศรษฐกิจของประเทศจึงตองเร่ิมเดินบนพื้นฐานของความเปนจริงกอน เพราะถาพลังงานไมไดอยูบนพื้นฐานของราคาที่เปนจริงก็จะเปนการพัฒนาเศรษฐกิจที่ไมสอดคลอง กับความเปนจริง แตการที่จะปลอยใหราคาสะทอนถึงตนทุนที่แทจริง จําเปนจะตองสรางการแขงขันใหมากพอ เพื่อใหม่ันใจวาจะมีผูคาจํานวนหลายรายเพียงพอที่จะกอใหเกิดการแขงขัน โดยจะตองสราง

4นิตยสารผูจัดการ (มกราคม 2535).

104

กฎเกณฑในลักษณะของการเชิญชวนเขาสูธุรกิจน้ํามันและไมใหมีข้ันตอนที่ยุงยากเหมือนแตกอน สวนการขออนุญาตตั้งโรงกล่ันในชวงที่มีการควบคุมราคาน้ํามันมีหลักเกณฑที่ยุงยาก ดังนั้น เม่ือเร่ิมที่จะเขาสูนโยบายการคาเสรีก็ควรใชนโยบายเชญิชวนใหมีการตั้งโรงกล่ัน จํานวนมากเพื่อรองรับการเปดเสรี แทนที่จะพึ่งโรงกล่ันสิงคโปรแหงเดียว ควรใหมีโรงกล่ันในประเทศ ควบคูไปดวย ประชาชนในประเทศก็จะไดรับประโยชนจากการมีแหลงในการจัดหาน้ํามัน ที่มีจํานวนมากพอที่จะสงเสริมการแขงขัน”5

นอกจากนี้ รัฐบาลของพลเอกชาติชาย ชุณหะวัณ ยังมีความพยายามที่จะปรับโครงสรางราชการโดยมีแนวคิดจะจัดตั้งกระทรวงพลังงาน เพราะความไมเปนเอกภาพของหนวยงานดานพลังงานที่มีตนสังกัดที่แตกตางกัน แตยังไมไดดําเนินการเปนผลสําเร็จก็เกิดการยึดอํานาจโดย คณะรักษาความสงบเรียบรอยแหงชาติ (รสช.) เสียกอน จากนั้นได มีการตั้งนายกรัฐมนตรีชั่วคราว คือ นายอานันท ปนยารชุน เพื่อจัดทํารางรัฐธรรมนูญ 2534 หรือที่เรียกวา รัฐธรรมนูญฉบับ รสช. และไมไดกําหนดใหนายกรัฐมนตรีตองมาจากการเลือกตั้ง และเม่ือมีการเลือกตั้งทั่วไปเพื่อใหได ส.ส.แตสภาไดเสนอชื่อพลเอกสุจินดา คราประยูร ใหดํารงตําแหนงนายกรัฐมนตรี แทนที่จะเปนนายณรงค วงศวรรณ ซึ่งเปนหัวหนาพรรคสามัคคีธรรมที่ไดรับคะแนนเสียงสูงสุด เปนเหตุใหเกิดการตอตานจากประชาชนจนกลายเปนจลาจลเหตกุารณพฤษภาทมิฬ ระหวางวันที่ 17-20 พฤษภาคม 2535 และหลังเหตุการณพฤษภาทมิฬ นายอานันท ปนยารชุน ไดกลับมาเปนนายกรัฐมนตรีอีกคร้ัง โดยมีภารกิจใหแกไขรัฐธรรมนูญเพื่อที่จะยุบสภาและจัดใหมีการเลือกตั้งใหม ใหกําหนดไวในรัฐธรรมนูญวานายกรัฐมนตรีตองมาจากการเลือกตั้งของประชาชน ชวงนี้ดวยบริบททางการเมืองจึงทําใหการบริหารประเทศในดานพลังงานหยุดชะงักไปบาง อยางไรก็ตามชวงนีผู้ทีมี่บทบาทดานอุตสาหกรรมพลังงาน คือ นายวีระ สุสังกรกาญจน

นายวีระ สุสังกรกาญจน รัฐมนตรีชวยวาการกระทรวงอุตสาหกรรม ดํารงตําแหนงในรัฐบาลรักษาการชั่วคราวเนื่องจากนายอานันท ปนยารชุน เปนรัฐบาลที่เขามาแกปญหาในยามที่สถานการณทางการเมืองไมปกติ ซึ่งไดดํารงตําแหนงรัฐมนตรีชวย 2 ชวง คือ ชวงแรก 6 มีนาคม 2534-22 มีนาคม 2535 และชวงที่ 2 ระยะเวลาชวงส้ัน ๆ ระหวาง 18 มิถุนายน 2535 – 23 กันยายน 2535 กอนที่จะทํางานดานการเมืองนายรีระ สุงสังกรกาญจน ไดรับราชการ

5กร ทัพพะรังสี, บทสัมภาษณในบทความ “แนวคิดของบุคคลและความเห็นของ

บุคคลสําคัญที่เกี่ยวของดานพลังงาน,” (กรุงเทพฯ: สํานักงานคณะกรรมการนโยบายพลังงานแหงชาติ, 2553).

105

สังกัดกระทรวงอุตสาหกรรมจนกระทั่งไดดํารงตําแหนงปลัดกระทรวงอุตสาหกรรม นับวาเปนผูที่มีความรูความสามารถดานอุตสาหกรรม เพราะเปนขาราชการสังกัดกระทรวงอุตสาหรรมทําใหเห็นพัฒนาการอุตสาหกรรมมาโดยตลอด ซึ่งมีแนวคิดและมุมมองการบริหารงานอุตสาหกรรมพลังงานวาประเทศไทยมีความไดเปรียบในเชิงการผลิต เพราะอุตสาหกรรมพลังงานจะเปนพื้นฐานการพัฒนาอุตสาหกรรมตอเนื่องอ่ืน ๆ ไดแก อุตสาหกรรมแปรรูปการเกษตรอุตสาหกรรมส่ิงทอและเคร่ืองนุงหมอุตสาหกรรมอิเล็กทรอนิกส อุตสาหกรรมปโตรเคมี อุตสาหกรรมงานโลหะและอุตสาหกรรมเหล็ก ตลอดทั้งสงเสริมระบบการรับชวงการผลิตใหกระจายไปสูภูมิภาคมากข้ึน นโยบายดานพลังงานในยุคนี้มีการลงทุนเพื่อหาแหลงพลังงานเพิ่มข้ึน อาทิ รัฐบาลสนับสนุนหนุนการลงทุนดานพลังงานกับประเทศเวียดนาม นายวีระ สุสังกรกาญจน รัฐมนตรีชวยวาการกระทรวงอุตสาหกรรม เปดเผยถึงการเขาพบนายโว วันเกียต นายกรัฐมนตรีเวียดนามจะมาเยือนเมืองไทยเพื่อเจรจาความสัมพันธทางการเมืองและเร่ืองการลงทุนดานพลังงานที่มีข้ึนในวันที่ 28 ตุลาคม 2534 โดยให ปตท. สํารวจและผลิตปโตรเลียม จํากัด (ปตท.สผ.) เปนฝายเตรียมขอมูลเพื่อเจรจา สาระสําคัญที่เกี่ยวกับกระทรวงอุตสาหกรรม คือ 1. การพัฒนาแหลงกาซไวทไทเกอร โดยใชระบบการถือหุนระหวางไทยกับเวียดนาม 50:50 โดยใชงบประมาณ 6,000 ลานบาท ซึ่งทางเวียดนามมีปญหาการกูเงินจากตางประเทศจึงหันมาใชทุนผานประเทศไทย โดยแยกเปนโครงการโรงแยกกาซ โรงไฟฟา และโรงปุย 2. การซื้อกาซของไทยเปนการซื้อกาซที่เหลือใชของเวียดนาม ซึ่งคาดวาหากสรางโรงแยกกาซสําเร็จจะสามารถผลิตกาซแอลพีจีไดอยางแนนอน ซึ่งโครงการที่จะเกิดข้ึนในเวียดนามยังเปนโครงการที่เซาเทิรนซีบอรดรองรับไดอีก เพราะที่ภาคใตอําเภอขนอม จังหวัดนครศรีธรรมราชก็มีทอสงกาซ6

รัฐบาลนายชวน หลีกภัย 1 (พ.ศ. 2535-2538)

นายชวน หลีกภัย เปนชาวตําบลทายพรุ อําเภอเมือง จังหวัดตรัง เปนบุตรคนที่ 3 ใน

จํานวน 9 คน ของนายนิยม หลีกภัย และนางถวน หลีกภัย ไดเร่ิมตนชีวิตการทํางานโดยการเปนทนายความ และตอมาไดเปนสมาชิกสภาผูแทนราษฎร จังหวัดตรัง ในสังกัดพรรคประชาธิปตย และเปนหัวหนาพรรคประชาธิปตยติดตอกัน 3 สมัย (พ.ศ. 2536-2546) รวมเปนเวลา 12 ป นายชวน หลีกภัย เคยดํารงตําแหนง รัฐมนตรีวาการมาหลายกระทรวง ไดแก กระทรวงยุติธรรม กระทรวงพาณิชย กระทรวงเกษตรและสหกรณ กระทรวงศึกษาธิการ และกระทรวงสาธารณสุข

6มติชน (11 ตุลาคม 2535).

106

รวมถึง รัฐมนตรีประจําสํานักนายกรัฐมนตรี ประธานสภาผูแทนราษฎร และผูนําฝายคาน ในป พ.ศ. 2533 ชวน หลีกภัย ไดข้ึนดํารงตําแหนงเปนรองนายกรัฐมนตรีในรัฐบาลของพลเอกชาติชาย ชุณหะวัณ ภาพลักษณทางการเมืองของนายชวน หลีกภัย ที่มีความโดดเดนคือการเปนนักการเมืองที่มาจากลูกชาวบาน มีความซื่อสัตยสุจริต สุขุมและมีวาทกรรมที่แหลมคมในการส่ือสารเปรียบเทียบทางการเมือง จนไดรับฉายาวา “มีดโกนอาบน้ําผ้ึง” และมีจุดยืนทางการเมืองของพรรคประชาธิปตยมาโดยตลอด

นโยบายที่เกี่ยวของดานพลังงานยุคนี้จะถูกบรรจุไวในนโยบายดานเศรษฐกิจโดยการเรงกระจายความเจริญไปสูภูมิภาค เชน ภาคตะวันออก จะพัฒนาพื้นที่ชายฝงทะเลตะวันออกอยางตอเนื่องตามข้ันตอนเพื่อเปนฐานเศรษฐกิจที่จะรองรับประชากรอีก 2 ลานคน ซึ่งเปนการพัฒนาโครงการอิสเทิรนซีบอรด และสําหรับภาคใตจะมีการวางแผนพัฒนาพื้นที่ชายฝงทะเลภาคใตเพื่อเชื่อมโยงทะเลอันดามันกับอาวไทย ดวยสะพานเศรษฐกิจ โดยคํานึงถึงการจัดการดูแลดานส่ิงแวดลอมดวยและจะพิจารณาเปดพื้นที่เขตเศรษฐกิจพิเศษตามความเหมาะสมในพื้นที่ 5 จังหวัดชายแดนภาคใต7 บุคคลที่สําคัญที่มีบทบาทในการดําเนินงานดานพลังงานดังนี้

นายศุภชัย พาณิชภักดิ์ รองนายกรัฐมนตรีที่มีบทบาทในการส่ือสารพลังงานของรัฐบาลนายชวน หลีกภัย นายศุภชัย พาณิชภักดิ์ เปนผูที่มีความรูความสามารถดานการการเงินการคลัง เคยทํางานที่ธนาคารแหงประเทศไทย ตลอดจนการไดรับทุนเพื่อการศึกษาจากธนาคารแหงประเทศไทยทั้งในระดับปริญญาโท และระดับปริญญาเอก เขาสูเสนทางการเมืองดวยการสมัครเปน ส.ส. พรรคประชาธิปตย กรุงเทพมหานคร สมัยแรก เม่ือป 2529 และไดดํารงตําแหนงที่สําคัญทางการเมือง คือ รัฐมนตรีชวยวาการกระทรวงการคลัง (พ.ศ. 2529-2531) ประธานคณะกรรมการที่ปรึกษาฝายเศรษฐกิจ ที่ปรึกษานายกรัฐมนตรี (พ.ศ. 2532-2534) ประธานคณะกรรมาธิการการเศรษฐกิจ สภาผูแทนราษฎร รัฐบาล "ชวลิต" (25 ธันวาคม 2539) รองนายกรัฐมนตรี และรัฐมนตรีวาการกระทรวงพาณิชย รัฐบาล "ชวน 2" ( 2540-2544) ปจจุบันดํารงตําแหนงเลขาธิการของการประชุมสหประชาชาติวาดวยการคาและการพัฒนา (อังคถัด) นับเปนนักการเมืองไทยที่มีบทบาทในเวทีโลก

บทบาทสําคัญดานพลังงานในรัฐบาลนายชวน หลีกภัย 1 คือ การส่ือสารนโยบายเขตเศรษฐกิจสามเสาไทย-มาเลเซีย-อินโดนีเชีย (Northern Growth Triangle) นายศุภชัย พาณิชภักดิ์ รองนายกรัฐมนตรี ไดเปดเผยเปาหมายของไทยตอการเจรจาเขตเศรษฐกิจที่เกาะลังกาวี ระหวาง

7สํานักงานรัฐสภา, รายงานการประชุมรวมกันของรัฐสภา ชุดที่ 18 ปที่ 1 คร้ังที่ 1

(สมัยสามัญประจําป คร้ังที่ หนึ่ง), วันพุธที่ 21 ตุลาคม พุทธศักราช 2535, น. 19-53.

107

วันที่ 19-20 กรกฎาคม 2535 วา เพื่อตองการผลักดันโครงการรวมพัฒนาแหลงพลังงานกาซธรรมชาติเปนหลัก รวมทั้งอุตสาหกรรมปโตรเคมี โดยดึงเอามาเลเซียรวมพัฒนาดานวัตถุดิบ เทคโนโลยีและประสบการณ พรอมเสนอขยายพื้นที่ 14 จังหวัดภาคใตเปนพื้นที่หลักในการพัฒนาเพราะมาเลเซียเองก็หวังใหไทยเปนสปริงบอรดขยายสูอินโดจีนและพมา สวนไทยก็มุงหวังการเจรจาเพื่อบรรลุขอตกลงในเร่ืองการพัฒนาแหลงพลังงานและอุตสาหกรรมตอเนื่องขนาดใหญ ซึง่มีอยู 8 ประเด็น คือ 1. การรวมทุนพัฒนาแหลงพลังงาน 2. การรวมทุนในดานอุตสาหกรรม โรงกล่ันน้ํามัน อุตสาหกรรมปโตรเคมี 3. การเชื่อมโยงโครงขายระบบคมนาคม 4. การสงเสริมอุตสาหกรรมการทองเที่ยว 5.ความรวมมือดานการคาและการลงทุน 6. การพัฒนาการเกษตรและการประมง 7. การพัฒนาทรัพยากรมนุษยและการขามแดน 8. การปองกันและแกไขปญหาชายแดน อยางไรก็ตามเปาหมายหลักของไทยคือการพัฒนากาซธรรมชาติและพลังงาน ทั้งไทย มาเลเซีย และอินโดนีเชีย มีความพยายามหารือมาหลายคร้ังในการลงทุนทั้งระบบโดยไมมีขอขัดแยง ซึ่งในชวงเวลานั้นพยายามที่จะหันมาเนนโครงการรวมมือสํารวจกาซธรรมชาติที่พื้นที่ “JDA-JOINT DEVELOPMENT AREA” ที่กําลังสํารวจความเหมาะสมวาจะนํากาซข้ึนที่ประเทศใด อยางไรกต็ามประเทศมาเลเซียกับไทยมีความเห็นตรงกันวาขอรวมโครงการรวมกันสองประเทศกอนระหวางไทยกับมาเลเซียแลวขยายไปยังประเทศอินโดนีเชียในภายหลัง เพื่อสรางแหลงผลิตขุมพลังงานขนาดใหญแหงใหม เพราะจากขอมูลสํารวจพลังงานเม่ือป 2535 พบวา ประเทศอินโดนีเชียเปนผูผลิตกาซธรรมชาติ อันดับที่ 8 ของโลก และเปนผูสงออกอันดับ 5 มีปริมาณกาซสํารอง 87 ลานลานลูกบาศกฟุต สวนมาเลเซียเปนผูผลิตกาซธรรมชาติ อันดับ 18 ของโลก และเปนผูสงออกอันดับที่ 7 มีกาซสํารอง 57 ลานลานลูกบาศกฟุต และประเทศไทยมีกาซสํารอง 7 ลานลานลูกบาศกฟุต รวมทั้งเอเชียมีปริมาณกาซสํารองทั้งหมด 151 ลานลานลูกบาศกฟุต ถาทั้งสามประเทศรวมมือกันจะกลายเปนผูผลิตและสงออกกาซธรรมชาติรายใหญของโลกเพิ่มขีดความสามารถในการแขงขันกับกลุมประเทศอ่ืนได 8 จากขอมูลดังกลาวสะทอนใหเห็นถึงความไมชอบมาพากลวาทําไม มาเลเซียจึงเรงรีบซื้อกาซธรรมชาติในพื้นที่ เจดีเอ (JDA) ที่เปนพื้นที่ทับซอน และเปนที่มาของความขัดแยงในเวลาตอมา ซึ่งผูวิจัยจะกลาวไวในหัวขอเนื้อหาสารในประเด็น โครงการรวมมือสํารวจกาซธรรมชาตพิื้นที่ “JDA-JOINT DEVELOPMENT AREA” ในลําดับตอไป

นายสาวิตต โพธิวิหค รัฐมนตรีประจําสํานักนายกรัฐมนตรี เปนผูที่มีประวัติการศึกษานาสนใจเพราะมีความรูดานวิศวกรรมศาสตรจากสหรัฐอเมริกา กลาวคือ ปริญญาตรี วิศวกรรมศาสตร จาก สถาบันเอ็มไอที เ ม่ือป พ.ศ. 2510 ปริญญาโท วิศวกรรมศาสตร

8ผูจัดการรายวัน (19 กันยายน 2536).

108

มหาวิทยาลัยฮารวารด ประเทศสหรัฐอเมริกา ป พ.ศ. 2512 และปริญญาเอก วิเคราะหระบบและกระบวนการตัดสินใจ มหาวิทยาลัยฮารวารด ประเทศสหรัฐอเมริกา ป พ.ศ. 2516 เปนบุตรชายอดีตผูชวยทูตทหาร พล.อ.อ.สวัสดิ์ และนางอุไร โพธิวิหค ซึ่ง ดร.สาวิตต โพธิวิหค เปนผูที่มีบทบาทสําคัญในการผลักดันโครงการอีสเทิรนซีบอรดซึ่งขณะนั้นเปนเร่ืองที่หลายคนไมเขาใจเพราะเปนแนวคิดของวัยหนุมคนรุนใหม ปจจุบันสะทอนใหเห็นความยิ่งใหญของอิสเทิรนซีบอรดตอภาคอุตสาหกรรมและเศรษฐกิจของชาต9ิ มีแนวคิดตอการบริหารงานดวยการเพิ่มบทบาทของเอกชนในกิจการดานพลังงานและการแปรรูปรัฐวิสาหกิจ ดังการใหสัมภาษณไวในบทความของสํานักนโยบายและแผน กระทรวงพลังงาน ไววา

“ในหลักการของการบริหารงานแบบเศรษฐกิจเสรี ควรตองสงเสริมขบวนการแขงขัน และลดบทบาทของรัฐลง ระบบพลังงานไมใชกิจกรรมที่เบ็ดเสร็จในตัวเอง ตองมีเครือขายเชื่อมโยงกับเพื่อนบาน นโยบายของรัฐในชวงแรก ๆ เปนการดําเนินการโดยใชอํานาจของฝายบริหาร ในการผลักดันนโยบายใหบังเกิดผลเปนรูปธรรมกอน ไมวาจะเปนการเชื่อมโยงกับประเทศเพื่อนบาน การเปดใหเอกชนเขามามีสวนรวมและการแปรรูปรัฐวิสาหกิจ ซึ่งดําเนินการพรอม ๆ กันไป บทบาทการผูกขาดโดยรัฐ ก็จะลดลงไปโดยอัตโนมัติ ดังนั้นในชวงที่เปดใหเอกชนเขามามีสวนรวมจําเปน ตองมีการวางกติกาใหเปนที่ยอมรับของนานาชาติ การสรางขบวนการแขงขันตองมีตลาดเกิดข้ึน และตองมีการดูแล ทั้งผูผลิตและผูบริโภค เพื่อใหเกิดความเปนธรรมแกทุกฝาย จึงตองมีองคกรอิสระเพื่อกํากับดูแล”10

ในรัฐบาลนายชวน หลีกภัย 1 นายสาวิตต โพธิวิหค ไดหาแนวทางที่จะทําสัญญาซื้อขายกาซจากประเทศเพื่อนบานอยางพมา และไดนําเจาหนาที่ระดับสูงเยือนพมาอยางเปนทางการ โดยมีเปาหมายที่จะหารือกับรัฐมนตรีพลังงานของพมาเพื่อยืนยันทาทีของประเทศไทยในการเจรจาราคากาซธรรมชาติทีไ่ทยยินดีจะรับซื้อในราคาไมเกิน 2.5 เหรียญสหรัฐในขณะที่ยังต่ํากวาระดับราคาที่พมาตองการอยูที่ .50 เหรียญสหรัฐ ซึ่งเปนกาซธรรมชาติจากแหลงยาดานา ในอาวเมาะตะบัน ซึ่งบริษัทโทเทล เอ็กซพลอเรชั่น จากประเทศฝร่ังเศสเปนผูรับสัมปทานจากรัฐบาลพมา ซึ่งยังตองมีการเจรจากันอีกเพื่อใหไดในราคาที่ไทยตองการ เนื่องจาก ปตท. ยืนยันวาราคานั้นเปน

9ผูจัดการ (พฤษภาคม 2531). 10สาวิตต โพธิวิหค, บทสัมภาษณจากบทความ “สรุปแนวคิดและความเห็นของ

บุคคลสําคัญที่เกี่ยวของดานพลังงาน”, สํานักงานนโยบายและแผนพลังาน กระทรวงพลังงาน, สืบคนเม่ือวันที่ 8 เมษายน 2556, จาก www.eppo.go.th/admin.

109

ราคาที่เหมาะสมแลว และบริษัทผูรับสัมปทานไมมีปญหาใด แตที่รัฐบาลพมาไมยอมอาจจะเปนเพราะตองแบงผลประโยชนกับบริษัทโทเทลเอ็กซพลอเรชั่น ทําใหรัฐบาลพมาถูกแบงใหไดรับผลประโยชนที่นอยลงไปอีก11 จะเห็นวารัฐบาลนายชวน หลีกภัย 1 ไดมีแนวทางนโยบายดานพลังงานดวยการเนนการทําธุรกิจรวมกับประเทศเพื่อนบานเพื่อเขามาทดแทนพลังงานในประเทศไทยเพราะความตองการพลังงานของไทยที่นับวันจะเพิ่มข้ึน

รัฐบาลนายบรรหาร ศิลปอาชา (พ.ศ. 2538-2539)

นายบรรหาร ศิลปอาชา เปนผูที่ควํ่าหวอดทางการเมืองมานาน เคยดํารงตําแหนง

รัฐมนตรีมาหลายตําแหนง อาทิ รัฐมนตรีวาการกระทรวงคมนาคม ในรัฐบาล พล.อ.เปรม ติณสูลานนทรัฐมนตรีวาการกระทรวงอุตสาหกรรม และรัฐมนตรีวาการกระทรวงการคลัง ในสมัยของพลเอกชาติชาย ชุณหะวัณ เปนตน หลังการเลือกตั้งทั่วไปไดคะแนนเสียงมากเปนอันดับหนึ่งจึงไดดํารงตําแหนงนายกรัฐมนตรี นโยบายดานพลังงานของรัฐบาลนายบรรหาร ศิลปะอาชา มีเจตนารมณที่จะดําเนินการใหมีพลังงานเพียงพอกับความตองการในระดับราคาที่เหมาะสมเปนธรรม และสนับสนุนใหภาคเอกชนเขามีสวนรวมในการดําเนินการและบริหารจัดการดานพลังงาน โดยจะดําเนินการสงเสริมใหมีการใชพลังงานอยางมีประสิทธิภาพและประหยัด ทั้งในภาคอุตสาหกรรมและที่อยูอาศัย ดวยการสนับสนุนใหมีการผลิตเคร่ืองใชพลังงานประสิทธิภาพสูงที่ชวยใหเกิด การประหยัดพลังงาน รวมทั้งรณรงคใหมีการอนุรักษพลังงานตามกฎหมายวาดวยการสงเสริม การอนุรักษพลังงานและเสริมสรางจิตสานึกของประชาชนใหมีการใชพลังงาน อยางประหยัด และการปรับปรุงพัฒนาระบบการขนสงน้ํามันทางบอ เพื่อลดตนทุนการขนสงและใหน้ํามันมีราคาจําหนายปลีกใกลเคียงกันทั่วประเทศ12 นายบรรหารดํารงตําแหนงนายกรัฐมนตรีวันที่ 13 กรกฎาคม 2538 พนตําแหนงวันที่ 25 พฤศจิกายน 2539 ดวยการยุบสภา อันเนื่องมาจากอภิปรายไมไววางใจจากพรรคประชาธิปตยอันเนื่องมาจากสงสัยเปนบุคคลตางดาว

11กรุงเทพธุรกิจ (5 พฤษภาคม 2537). 12รายงานการประชุมรวมกันของรัฐสภา ปที่ 1 คร้ังที่ 1 (สมัยสามัญคร้ังที่หนึ่ง),

วันพุธที่ 26 กรกฎาคม พุทธศักราช 2538 , น. 10-40.

110 รัฐบาลพลเอกชวลิต ยงใจยุทธ (พ.ศ. 2539-2540)

พลเอกชวลิต ยงใจยุทธ สังกัดพรรความหวังใหม ไดรับการสนับสนุนจากฐานเสียง

ของพรรคชาติไทย กลุมวังน้ําเย็น ของเสนาะ เทียนทอง จนไดรับการเลือกตั้งที่มีคะแนนเสียงสูงสุด และมากกวาพรรคประชาธิปตย เพียง 2 เสียง13 จึงไดเปนแกนนําจัดตั้งรัฐบาลและดํารงตําแหนงนายกรัฐมนตรี ในเสนทางการเมืองของพลเอกชวลิต ยงใจยุทธ ชวงแรก ๆ เคยชวยงานดานความม่ันคงใหกับ พล.อ. เปรม ติณสูลานนท นายกรัฐมนตรีในขณะนั้น โดยขอบเขตงานครอบคลุมถึงดานการเมือง การทหาร เศรษฐกิจ สังคม ดวยการประสานกับหนวยงานที่เกี่ยวของเพื่อรวบรวมขอมูลขาวสารเสนอใหนายกรัฐมนตรีเพื่อการตัดสินใจ และมีฐานอํานาจมาจาก สายทหารเชนกัน นโยบายดานพลังงานของรัฐบาลพลเอกชวลิต ยงใจยุทธ ดําเนินการให มีพลังงานเพียงพอกับความตองการมีระดับราคาที่เหมาะสมและเปนธรรม ซึ่งแนวนโยบายไมแตกตางจากนโยบายของนายบรรหาร ศิลปอาชา บุคคลสําคัญดานพลังงานในรัฐบาลนี้ คือ นายสมพงษ อมรวิวัฒน

นายสมพงษ อมรวิวัฒน รัฐมนตรีประจําสํานักนายกรัฐมนตรี มีแนวคิดในการใหภาคเอกชนเขารวมดําเนินการไฟฟา และใหการไฟฟารับซื้อจากเอกชนอีกคร้ังจะเปนการลดตนทุนของภาครัฐ ดังที่ไดกลาวในงานสัมมนาเร่ือง The Long-Term Structure of the Electricity Supply Industry in Thailand” จัดโดยสํานักงานคณะกรรมการนโยบายพลังงานแหงชาติ (สพช.) ไดใหขอมูลเกี่ยวกับอุตสาหกรรมไฟฟามีความจําเปนที่จะตองใหเอกชนเขามารวมดําเนินการ เนื่องจากตองใชเงินทุนสูง ซึ่งจะทําใหบริการตาง ๆ ดีข้ึนขณะนี้โครงการรับซื้อไฟฟาจากผูผลิตอิสระ (ไอพีพี) และการซื้อไฟฟาจากเอกชนรายยอย (เอสพีพี) ราคาก็ไมไดแพงไปกวาที่ กฟผ. ผลิตเอง ขณะทีน่ายปยสวัสดิ์ อัมระนันทน เลขาธิการสํานักงานคณะกรรมการนโยบายพลังงานแหงชาติ (สพช.) กลาววา ในระยะยาวการไฟฟาอาจจะมีการแปรรูปกิจการไฟฟา เพราะในอนาคตจะมีโรงไฟฟาเอกชน ซึ่งโครงสรางของการไฟฟาตองเปล่ียนแปลงอยางแนนอน โดยมีนโยบายใหผูผลิตขายไฟฟาใหกับผูใชโดยตรง การเปล่ียนแปลงนี้จะตองมีการกําหนดเงื่อนไขเพื่อไมใหมีความยุงยาก และตองมีการยกเลิกการผูกขาดกาซธรรมชาติ ซึ่งใชเปนเชื้อเพลิงในการผลิตไฟฟาดวย เพราะที่ผานมา ปตท.เปนผูรับซื้อและจําหนายแตเพียงผูเดียว ผูผลิตไฟฟารายอ่ืน ๆ จะตองมีสิทธิเทาเทียมกันซึ่งจะทําใหกาซลดลงและจะสงผลใหไฟฟาถูกลงดวย การปรับโครงสรางกิจการกาซ

13ลิขิต ธีรเวคิน, วิวัฒนาการการเมืองการปกครอง, พิมพคร้ังที่ 10, (กรุงเทพฯ:

มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร, 2550), น. 226.

111

ธรรมชาติตองดําเนินการใหเสร็จภายในกลางป 2541 เพื่อจะนํามาเปนเงื่อนไขในการประกาศรับซื้อไฟฟาจากโครงการไอพีพี คร้ังที่ 2 แตถาไมทันก็คงเงื่อนไขเกาที่ประกาศในไอพีพี คร้ังที่ 1 แทน ในกลางป 2541 นี้ จะเปดรับซื้อไฟฟาจํานวน 4,300 เมกะวัตต และใหสามารถจายไฟฟาเขาระบบของ กฟผ. ในป 2548-2550 แบงเปนภาคกลาง ภาคตะวันออก และภาคตะวันตก 4,000 เมกะวัตต และภาคใตอีก 300 เมกะวัตต ทั้งนี้จะไมใหสิทธิพิเศษกับเชื้อเพลิงชนิดใด จะดูจากตนทุนที่ต่ําที่สุด และใหเอกชนเตรียมตัว 6 เดือน พิจารณาอีก 1 ป และเซ็นสัญญาในป 2543 อยางไรก็ตามทาง ปตท. โดยนายอนันต สิริแสงพิทักษ รองผูจัดการใหญอาวุโสของ ปตท. ไดใหขอคิดเห็นตอแผนการปรับปรุงโครงสรางกิจการกาซธรรมชาติวา ตองศึกษาเพื่อดูทิศทางที่เหมาะสม และการเปดเสรีในการจําหนายกาซตองดูวาเกิดประโยชนกับประชาชนมากนอยเพียงใด ไมใชเปดเสรีตามกระแสเรียกรองของสังคมเทานั้น14 อยางไรก็ตามรัฐบาล พลเอกชวลิต ตองเจอกับปญหาคาเงินบาทลอยตัวสุดทายตองออกจากตําแหนงนายกรัฐมนตรี

รัฐบาลนายชวน หลีกภัย 2 (พ.ศ. 2540-2543)

นายชวน หลีกภัย หัวหนาพรรคประชาธิปตย กลับมาเปนแกนนํารัฐบาลอีกคร้ัง ดวย

การรวมตวักับพรรคกิจสังคม และสส. บางสวนของพรรคประชากรไทย บทบาทสําคัญคือพยายามแกปญหาวิกฤต “เศรษฐกิจฟองสบูแตก” ชวงระยะเวลาในการบริหารในสมัยที่ 2 ระหวาง 9 พฤศจิกายน 2540 – 9 พฤศจิกายน 2543 บุคคลที่มีบทบาทในดานการส่ือสารทางการเมืองเร่ืองพลังงาน ไดแก นายสุวัจน ลิปตพัลลภ รัฐมนตรีวาการกระทรวงอุตสาหกรรม และนายศุภชัย พานิชภักดิ์ รองนายกรัฐมนตรีและรัฐมนตรีวาการกระทรวงพาณิชย ซึ่งทั้งสองคนมีแนวคิดการพฒันาพลังงานดวยการพัฒนาโครงการรวมคาไทย-มาเลเซีย

นายสุวัจน ลิปตพัลลภ เดิมเปนชาวราชบุรี สมรสกับพลเอกหญิง พูนภิรมย ลิปตพัลลภ เร่ิมเขาสูการเมืองในการเลือกตั้งสมาชิกสภาผูแทนราษฎร จังหวัดนครราชสีมา ในเดือนกรกฎาคม พ.ศ. 2531 ตอมาในป พ.ศ. 2533 ไดรับตําแหนงรัฐมนตรีชวยวาการกระทรวงคมนาคม ในรัฐบาลของพลเอก ชาติชาย ชุณหะวัณ พ.ศ. 2534 เปนรัฐมนตรีชวยวาการกระทรวงคมนาคม ในรัฐบาลของพลเอก ชาติชาย ชุณหะวัน ภายหลังการยุบสภาในป พ.ศ. 2535 นายสุวัจน ไดเขารวมกับพลเอกชาติชาย ชุณหะวัณ นายกร ทัพพะรังสี และสมาชกิอีกจํานวนหนึ่ง จัดตั้งพรรคชาติพัฒนาข้ึนมา ในรัฐบาลของพลเอก สุจินดา คราประยูร ไดรับตําแหนงรัฐมนตรี

14มติชน (24 พฤษภาคม 2540).

112

ชวยวาการกระทรวงคมนาคม และในป พ.ศ. 2538 เปนรัฐมนตรีวาการกระทรวงวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี ในรัฐบาลของนายชวน หลีกภัย สมัยแรก พ.ศ. 2540 เปนรัฐมนตรีวาการกระทรวงคมนาคม ในรัฐบาลของชวลิต ยงใจยุทธ และรัฐมนตรีวาการกระทรวงอุตสาหกรรม ในรัฐบาลของนายชวน หลีกภัย 2

แนวทางการบริหารงานอุตสาหรรมพลังงาน นายสุวัจน ลิปตวัลลภ ไดเห็นดวยกับแนวทางการรับฟงความคิดเห็นของภาคประชาชนตอโครงการตาง ๆ ดังจะเห็นไดจากการลงนามในคําส่ังกระทรวงอุตสาหกรรม ที่ 5/2543 ใหมีการทําประชาพิจารณโครงการทอสงกาซธรรมชาติและโรงแยกกาซไทย-มาเลเซีย และแตงตั้งคณะกรรมการประชาพิจารณที่มาจากหลากหลายอาชีพ เชน พล.อ.จรัล กุลละวณิชย อดีตเลขาธิการสภาความม่ันคงแหงชาติ เปนประธาน อธิการมหาวิทยาลัยทักษิณ ประธานกลุมออมทรัพยคลองเปยะ ประธานอิสลามจังหวัดสงขลา ทนายความ กระทรวงแรงงาน และนักธุรกิจอุตสาหกรรมปโตรเลียม เปนตน 15 เพื่อใหมีการดําเนินการทําประชาพิจารณรับฟงความคิดเห็นกอนที่จะดําเนินโครงการตอไป

นายศุภชัย พานิชภักดิ์ รัฐมนตรีวาการกระทรวงพาณิชย ซึ่งเคยดํารงตําแหนงในกระทรวงการคลังเม่ือรัฐบาลชวน 1 บริหารประเทศ โดยไดกลาวถึงความสามารถไวขางตนแลวนั้น ในรัฐบาลชวน 2 นี้ เปนชวงวิกฤตเศรษฐกิจฟองสบูแตกจึงตองเรงฟนฟูเศรษฐกิจใหดีข้ึนเพื่อการยอมรับของนานาประเทศ ในดานพลังงานจึงไดสานตอโครงการคารวมไทย-มาเลเซีย ที่ไดเร่ิมดําเนินการไวเม่ือคร้ังรัฐบาลชวน 1 ดังที่เห็นไดจากพิธีลงนามสัญญาซื้อขายกาซธรรมชาติ ระหวางผูซื้อและผูขายในพื้นที่พัฒนารวมไทย-มาเลเซีย (เจดีเอ) ที่ไดกลาววา “การลงนามในคร้ังนี้จะนําไปสูการขุดเจาะสํารวจกาซในอนาคต ซึ่งไทยจะเปนผูใชประโยชนมากกวามาเลเซีย โดยจะรองรับการพัฒนาอุตสาหกรรมที่จะเกิดข้ึนหลังจากสรางโรงแยกกาซ เชน โรงไฟฟา เชื่อมไปยังอุตสาหกรรม ปโตรเคมีที่ครบวงจรและเชื่อมไปถึงความรวมมือของสามเหล่ียมเศรษฐกิจ”

การใหเอกชนผลิตไฟฟา แมวาจะเปนแนวคิดที่ดีเพราะเปนการลดภาระของภาครัฐ และจะทําใหภาคเอกชนมีการแขงขันกันสูง แตโรงผลิตไฟฟาของเอกชนหลายแหงที่จะเกิดข้ึนก็ถูกประชาชนคัดคาน อาทิ ที่ประจวบคีรีขันธ และที่อ่ืน ๆ ในเวลาตอมา เพราะความกลัวผลกระทบที่อาจจะเกิดข้ึน ในรัฐบาลของนายชวน หลีกภัย มีปญหาการตอตานทอกาซไทย-มาเลเซีย และ โรงแยกกาซ ก็เชนกัน จนตองมีการประกาศจะลมเลิกโครงการ ขณะที่ตอมานายชวน หลีกภัย ใหทําประชาพิจารณ การส่ือสารของรัฐบาลเองยังทําความสับสนใหกับผูประกอบการเชนกัน อาทิ โครงการทอกาซไทย-มาเลเซีย นอกจากจะมีผลกระทบตอวิถีชีวิตของชุมชนในพื้นที่ที่อยูในเสนทาง

15กรุงเทพธุรกิจ (29 กุมภาพันธ 2543).

113

ทอกาซและที่ตั้งโรงแยกกาซแลว ยังมีนัยสําคัญตออํานาจในการควบคุมจัดสรรพลังงานของชาติดวยเพราะแหลงกาซธรรมชาติเจดีเอ (JDA) คือ แหลงเดียวที่เปนสัมปทานของไทยรวมกับมาเลเซีย ที่จะผลิตพลังงานราคาถูก และสะอาดตอบสนองความตองการได เบื้องหลังความรุนแรงของการทําประชาพิจารณจึงอาจซับซอนกวาภาพที่ปรากฏออกมา การทําประชาพิจารณโครงการทอกาซไทย-มาเลเซีย ที่สนามกีฬาจิระนคร อําเภอหาดใหญ จังหวัดสงขลา เม่ือวันที่ 20 ตุลาคม 2543 ซึ่งจบลงดวยการใชกําลังเขาทํารายกันระหวางคนไทยดวยกันเอง แมวาฝายรัฐบาลยืนยันวาจะเดินหนาโครงการตอ เพราะการประชาพิจารณจบลงไปแลว แตฝายตอตานที่เปนชาวบานที่หว่ันเกรงวาจะไดรับผลกระทบจากโครงการและเครือขายองคกรพัฒนาเอกชนที่เปนแกนหลักในการเคล่ือนไหวตอตานก็ประกาศวา พรอมจะเผาโครงการทันทีที่จะมีการลงมือกอสราง สะทอนใหเห็นวาการทําประชาพิจารณเปนการจัดฉากจุดชนวนแหงความรุนแรงเพื่อลมโครงการโดยตรง เพราะการทําประชาพิจารณเม่ือวันที่ 29 กรกฎาคม 2543 ที่มีกลุมคัดคานบุกไปในหองประชุมจนตองเล่ือนประชาพิจารณออกไป การทําประชาพิจารณเปนไปอยางรวบรัดดวยการใชเวลาเพยีงคร่ึงชั่วโมง ผูที่เขารวมประชาพิจารณยกมือหากเห็นดวยกับโครงการ และผูเขารวมประชาพิจารณยกมือสนับสนุนทุกคนเพราะผูเขารวมประชุมเปนผูที่อยูฝายสนับสนุนโครงการ กระทรวงอุตสาหกรรมที่รับผิดชอบการทําประชาพิจารณ แตไมออกมาแสดงความรับผิดชอบหรือใหรายละเอียดใด ๆ ปลอยใหประธานคณะกรรมการจัดทําประชาพิจารณเปนผูตัดสินใจทําประชาพิจารณที่ชาวบาน ผูมีสวนไดเสียไมไดเขามามีสวนรวมอยางแทจริง จึงเกิดปญหา เพราะการประชาพิจารณไมไดมีจุดมุงหมายเพื่อรวบรวมขอมูล ความคิดเห็นของผูมีสวนไดสวนเสียรอบดาน เพื่อประกอบการตัดสินใจ จึงกลายเปนเวทีของการเอาชนะกัน และสาเหตุของการตอตานอยางรุนแรง16

รัฐบาล พ.ต.ท.ทักษิณ ชินวัตร (พ.ศ. 2544-2549)

พ.ต.ท.ทักษิณ ชินวัตร เปนหัวหนาพรรคไทยรักไทย มีแนวนโยบายดานประชานิยม

เพื่อคนรากหญา และคําขวัญที่โดนใจของประชาชน “คิดใหม ทําใหม เพื่อไทยทุกคน” ประกอบกับการใชกลยุทธการตลาดโฆษณานโยบายทางส่ือมวลชน ทําใหประชาชนมีความสนใจนโยบายของรัฐบาลนี้เปนพิเศษ และใหการสนับสนุนดวยคะแนนเสียงที่ทวมทน สะทอนไดจากการไดรับคะแนนเสียงเลือกตั้งมากที่สุดเปนประวัติศาสตรทางการเมืองไทยภายใตระบอบประชาธิไตย ที่มีคะแนนเสียงสูงถึง 248 เสียง ในการเลือกตั้งสมัยแรก เม่ือวันที่ 6 เมษายน 2544 การเลือกตั้ง

16ผูจัดการรายสัปดาห (30 ตุลาคม 2543).

114

สมัยที่ 2 คือ เม่ือวันที่ 6 กุมภาพันธ 2548 ไดรับคะแนนเสียงถึง 377 เสียง สามารถจัดตั้งรัฐบาลไดเพียงพรรคเดียว ทําใหพรรคฝายคานมีเสียงนอยเกินไปไมสามารถอภิปรายไมไววางใจนายกรัฐมนตรีได อยางไรก็ตามแมวาจะมีกระแสความนิยมจากประชาชนสูงแตก็มีการตรวจสอบของ ปปช. ในเร่ืองของการทุจริตคอรรัปชัน มีกลุมที่ไมเห็นดวยกับวิธีการบริหารงานเร่ิมออกมาตอตานมากข้ึน จนทําใหตองยุบสภาและมีการเลือกตั้งใหม ผลการเลือกตั้งพรรคไทยรักไทยก็ยังไดคะแนนนําเปนอันดับหนึ่ง คือ 375 เสียง17 กระแสการตอตานของกลุมชนชั้นกลางเร่ิมมีมากข้ึน ในขณะที่มีกลุมใหการสนับสนุนสวนใหญเปนชนชั้นรากหญาเร่ิมมีมากข้ึนเชนกัน ทําใหเปนชนวนของการเกิดความขัดแยงและเปนเหตุผลหนึ่งในการทํารัฐประหาร 19 กันยายน 2549 ยึดอํานาจโดยคณะมนตรีความม่ันคงแหงชาติ (คมช.)

พ.ต.ท.ทักษิณ ชินวัตร เปนผูสงสารที่มีความนาสนใจเพราะเปนนายกรัฐมนตรีที่ฐานะทางเศรษฐกิจดี เปนผูที่ประสบความสําเร็จดานธุรกิจ และเปนที่คาดหวังวาจะเปนผูนําที่จะมาแกไขปญหาตาง ๆ ของประเทศไดและและที่สําคัญก็คือเร่ืองพลังงาน ส่ิงที่เกิดข้ึนและเกิดเปล่ียนแปลงทั้งระบบคือ การปฏิรูประบบราชการใหม ปรับโครงสรางการบริหารที่มีความซับซอนใหมีความคลองตัวมากยิ่งข้ึน โดยเฉพาะการกอเกิดกระทรวงพลังงานเปนคร้ังแรกเพื่อที่จะใหมีบทบาทในการบริหารจัดการดานพลังงานของประเทศใหเกิดประสิทธิภาพมากยิ่งข้ึน จากอดีตที่หนวยงานดานพลังงานมีการกระจายอยูในหนวยงานที่สังกัดกระทรวงตาง ๆ ถึง 9 กระทรวง ทําใหการบริหารงานดานพลังงานขาดความเปนเอกภาพเพราะความไมคลองตัว จึงไดจัดตั้งเปนทบวงในป 2544 และยกระดับเปนกระทรวง โดยวันที่ 3 ตุลาคม 2545 รัฐมนตรีประจํากระทรวงพลังงานคนแรก คือ นายพงศเทพ เทพกาญจนา ดํารงตําแหนงในระยะเวลาที่ ส้ัน ๆ (3 ตุลาคม พ.ศ. 2545- 8 กุมภาพันธ 2546) และมีการปรับเปล่ียนมาเปนนายพรหมินทร เลิศสุรียเดช และนายวิเศษ จูภิบาล ตามลําดับในเวลาตอมา ซึ่งรัฐมนตรีแตละคนมีความสามารถที่แตกตางกัน แตสุดทายเปนนายวิเศษ จูภิบาล คือ ผูที่ควํ่าหวอดในเร่ืองพลังงานจบการศึกษาดานวิศวกรรมศาสตร เคยดํารงตําแหนงผูวาการการปโตรเลียมแหงประเทศไทย และเคยดํารงตําแหนงผูชวยรัฐมนตรีวาการกระทรวงพลังงาน สมัยที่นายแพทยพรหมมินทร เลิศสุริยเดช ดํารงตําแหนงรัฐมนตรีวาการกระทรวงพลังงาน มากอน ซึ่งจะไดกลาวถึงในผูสงสารระดับกระทรวงพลังงานในลําดับตอไป

รัฐบาล พ.ต.ท.ทักษิณ ชินวัตร ไดมีนโยบายการจัดทําแผนแมบทอุตสาหกรรมปโตรเคมี ระยะที่ 3 (พ.ศ. 2547-2561) นอกจากนี้นโยบายของ พ.ต.ท.ทักษิณ ชินวัตร รัฐบาลไดขยาย

17ลิขิต ธีรเวคิน, วิวัฒนาการการเมืองการปกครอง, น. 232-233.

115

อุตสาหกรรมเพิ่มข้ึนและมุงเปาหมายมาฟนโครงการพัฒนาพื้นที่ชายฝงทะเลภาคใต หรือ เซาทเทิรนซีบอรด (Southern Seaboard) โดยจะพัฒนาโครงสรางพื้นฐานเพื่อเปดประตูการคาแหงใหม มีกลยุทธที่สําคัญคือ ขยายพื้นที่อุตสาหกรรมและการขนถายสินคาขามคาบสมุทรระหวางอาวไทยกับทะเลอันดามัน หรือนโยบายการสรางสะพานเศรษฐกิจ (Land Bridge)18 นโยบายที่สําคัญอีกอยางทีเ่ปนนโยบายที่มีทั้งฝายตอตานและการสนับสนุน คือ การแปรรูปองคกรดานพลังงาน หรือการนําหุนของ ปตท.เขาตลาดหลักทรัพย เพราะตองการระดมทุนเพื่อมากอบกูเงินกองทุนน้ํามันเพื่อตรึงราคาในสภาวการณที่น้ํามันมีราคาแพง สะทอนใหเห็นความกลาหาญของรัฐบาลในการตัดสินใจ เพื่อหาชองทางในการเขาถึงแหลงทุนที่มีประชาชนมีสวนรวมถือหุนผานกระบวนการของกลไกตลาดหลักทรัพย เปนรูปแบบการบริหารแนวใหมที่รัฐบาลนํามาแกปญหาในขณะนั้น เนื่องจากรัฐบาลเผชิญกับปญหาราคาน้ํามัน ที่ไมสามารถจะนําเงินกองทุนสํารองมาใชไดตลอด

ปญหาอีกประการที่รัฐบาลชุดนี้ประสบและก็เปนปญหาเร้ือรังมาตั้งแตสมัยรัฐบาลพรรคประชาธิปตย คือ การคัดคานการสรางทอสงกาซไทย-มาเลเซีย อาทิ เม่ือวันที่ 26 พฤศจิกายน 2546 คณะกรรมาธิการตางประเทศ (กมธ.) วุฒิสภาไดประชุมเพื่อพิจารณาความคืบหนาโครงการทอกาซไทย-มาเลเซีย และโรงแยกกาซธรรมชาติไทย – มาเลเซียโดยมีนายไกรศักดิ์ ชุณหะวัณ ส.ว.นครราชสีมา ประธานคณะกรรมาธิการการตางประเทศ เปนประธานทั้งนี้ไดเชิญ น.พ.พรหมินทร เลิศสุริยเดช รัฐมนตรีกระทรวงพลังงาน และตัวแทนของ ปตท. มาชี้แจงแตปรากฏวา น.พ.พรหมินทร ไมมาและไมไดแจงเหตุผลใหทราบ นายไกรศักดิ์ ชุณหะวัณ ชี้แจงถึงเหตุผลที่กรรมาธิการตองนําเ ร่ืองนี้มาพิจารณา เนื่องจากเปนเร่ืองที่กระทบตอชาวบาน นอกจากนั้น ทางเลขาธิการองคการสหประชาชาติ (ยูเอ็น) ไดสงผูแทนพิเศษดานสิทธิมนุษยชนมาพบเขา เพื่อติดตามหลังจากเกิดเหตุการณละเมิดสิทธิมนุษยชนในโครงการนี้ นอกจากนี้กรรมาธิการไดซักถามตัวแทนของ ปตท. ในหลายประเด็น โดยเฉพาะการถมคลอง การบุกรุกที่ดินสาธารณะ การลอมร้ัวปดทางเขาออกในที่ดินสาธารณะที่ชาวบานนําวัวควายไปเล้ียง ซึ่งทาง นายเพิ่มศักดิ์ วีวาวัฒนานนท กรรมการผูจัดการใหญ บริษัท ทรานสไทย–มาเลยเซีย (ประเทศไทย) จํากัด ชี้แจงวาการขอใชพื้นที่ของ ปตท. ไดทําถูกตองตามข้ันตอน โดยขอผานองคการบริหารสวนตําบล (อบต.) และที่ดินจังหวัดกําลังเสนอเร่ืองมายังกรมที่ดิน ยอมรับวายังไมมีการอนุญาต แตเม่ือเห็นวาไมนามีปญหา จึงเร่ิมทําการกอสราง และกรรมาธิการไดซักถามอยางหนักเกี่ยวกับการทํารายชาวบานเม่ือวันที่ 11 พฤศจิกายน 2546 จนทําใหเยาวชนไดรับบาดเจ็บสาหัสและ

18ผูจัดการรายวัน (23 กันยายน 2545).

116

สอบถามถึงเหตุผลที่ทาง ปตท.ขอกําลังตํารวจไปคุมกันในพื้นที่จํานวนมากวาใครเปนผูอนุมัติจนทําใหเกิดความกดดันข้ึนในพื้นที่ โดยเฉพาะนายไกรศักดิ์ ชุณหะวัณ ไดตําหนิ ปตท. อยางรุนแรงที่ปลอยตํารวจเขาไปตั้งกองกําลังในพื้นที่ จนทําใหเกิดการปะทะกัน โดยเปรียบเทียบกับ ปตท.ใชงบ 200 กวาลานบาท ในการฟนฟูปาใน จ.กาญจนบุรี ภายหลังการฝงทอกาซจากพมามายังประเทศไทยวาเปนเร่ืองที่ดี แตทําไมที่จะนะ ปตท.กลับอนุญาตใหตํารวจมาไลตีชาวบานอยางทารุณกรรม ซึ่งตนรับไมได เพราะเด็กอายุเพียงแค 17 ป ถูกตีและถูกรุมทํารายนอนรักษาตัวอยูในโรงพยาบาลในขณะนั้น หาก ปตท. ละเมิดสิทธิมนุษยชนอยูเร่ือย ๆ ตนจะไมยอม19 อยางไรก็ตาม พ.ต.ท.ทักษิณ ชินวัตร ไดกลาวถึงกรณีที่เกิดการปะทะกันระหวางตํารวจกับกลุมผูคัดคานทอกาซวา “ตํารวจที่ทําหนาที่ก็ไมตองการใหใครเขามาขัดขวาง หากเขามาก็บอกใหออกไปเสีย แตเม่ือกลุมผูคัดคานไมยอมออกจึงเกิดการตอสู และยิ่งไปปดลอมเจาหนาที่ที่กําลังปฏิบัติหนาที่เขาขายความผิดเร่ืองการหนวงเหนี่ยวกักขัง ไปปดลอมเขาไดอยางไร บานเมืองตองมีข่ือมีแป” สถานการณที่เกิดข้ึนไมไดมีความตึงเครียด คนที่อยูในสวนกลางจะไมรูแตคนที่อยูในพื้นที่จะรูวาไมตึงเครียดความจริงคนแคไมกี่คนพยายามดื้อร้ันทั้งที่ทุกอยางจบแลว โครงการกอสรางทอกาซจะไมลาชา รัฐบาลทํางานตามเปาหมายเดือนธันวาคม 2547 การวางทอจะจบ เดือนกรกฎาคม 2548 โรงงานแยกกาซจะแลวเสร็จ20 แนวนโยบายของรัฐบาลทักษิณ นอกจากจะเปนการคนหาพลังงานและการลงทุนรวมกับประเทศเพื่อนบาน แลวยังมีการส่ือสารในเร่ืองของการรณรงคการประหยัดพลังงานไปพรอม ๆ กันดวย หลังจากรัฐประหาร 19 กันยายน 2549 สถานการณทางการเมืองเกิดวิกฤต ทําใหการบริหารบานเมืองหยุดชะงักไปบาง นับตั้งแตรัฐบาลของ พล.อ.สุรยุทธ จุลานนท เปนรัฐบาลที่ถูกแตงตั้งจาก คมช. ใหแกไขรัฐธรรมนูญเพื่อใหเกิดการเลือกตั้งใหม จากนั้นหลังการเลือกตั้งพรรคพลังประชาชนซึ่งเปนพรรคการเมืองที่สานตออุดมการณทางการเมืองของพรรคไทยรักไทยเดิม ไดกลับมาเปนรัฐบาลโดยมีนายสมัคร สุนทรเวช เปนนายกรัฐมนตรีกอนที่จะถูกศาลรัฐธรรมนูญตีความเปนผูขาดคุณสมบัติการเปนนายกรัฐมนตรีในกรณีเปนพิธีกรรายการอาหารทางสถานีวิทยุโทรทัศน จากนั้นพรรคพลังประชาชนไดสนับสนุนนายสมชาย วงศสวัสดิ์ เปนนายกรัฐมนตรีถัดมา แตอยูในวาระที่ไมยาวนานและอาจนับไดวาเปนนายกรัฐมนตรีคนเดียวที่ไมไดเขาบริหารงานในทําเนียบรัฐบาล จากสถานการณทางการเมืองที่อยูในสภาวะไมปกติทําใหพรรคประชาธิปตยไดรับ

19ผูจัดการรายวัน (27 พฤศจิกายน 2546). 20มติชน (14 พฤศจิกายน 2546).

117

การสนับสนุนจากทหารบางสวนรวมไปถึงกลุมพันธมิตรประชาชนเพื่อประชาธิปไตยมาเปนแกนนาํรัฐบาล การบริหารงานดานพลังงานในชวงวิกฤตการณเมืองระหวางการบริหารประเทศ พล.อ.สุรยุทธ จุลานนท-นายสมชาย วงศสวัสดิ์ เปนชวงที่สถานการณทางการเมืองมีการเปล่ียนแปลงอยูตลอดเวลา จึงทําใหไมเกิดความชัดเจนในการบริหารเทาที่ควร

นายอภิสิทธ เวชชาชีวะ (พ.ศ.2551-2554) เปนรัฐบาลที่อาจไมมีความเปนเอกภาพในทางบริหารประเทศอันเนื่องมาจากรัฐบาลผสมที่มาจากหลายพรรคการเมือง อาจมีรัฐมนตรีในบางกระทรวงที่ไมสะทอนความสามารถเฉพาะทาง รัฐมนตรีวาการกระทรวงพลังงาน คือ นายแพทยวรรณรัตน ชาญนุกูล ซึ่งเปนรัฐมนตรีในสังกัดของพรรคชาติไทยพัฒนา ดวยคุณวุฒิที่ศึกษามาทางแพทย แตไดรับมอบหมายดานพลังงานในสายตาประชาชนทั่วไปเห็นวาตําแหนงไมสอดคลองกับความสามารถที่เปนคนละดาน นายแพทยวรรณรัตน ชาญนุกูล เขาสูเสนทางการเมือง ในฐานะเปนคูเขยของนายสุวัจน ลิปตพัลลภ แกนนําพรรคชาติพัฒนาในอดีตและลงสมัคร ส.ส.นครราชสีมาตลอดมา ในฐานะผูสงสารไดส่ือสารในเร่ืองของการแกไขปญหาผลกระทบจากอุตสาหกรรม การตอตานการสํารวจขุดเจาะพลังงาน อาทิ เม่ือวันที่ 17 มีนาคม 2552 คณะรัฐมนตรีมีมติเห็นชอบการประกาศกําหนดใหทองที่มาบตาพุดและพื้นที่บริเวณใกลเคียงเปนเขตควบคุมมลพิษเพื่อองคกรปกครองสวนทองถิ่นไดประกาศใหเปนเขตควบคมุตอไป รัฐบาล เปนผูสงสารที่สําคัญในการใหแนวนโยบายเพื่อหนวยงานที่เกี่ยวของนําไปปฏิบัติใหเกิดผลที่เปนรูปธรรม ไมวาจะเปนกระทรวงพลังงาน กระทรวงอุตสาหกรรม กระทรวงทรัพยากรและส่ิงแวดลอม การปโตรเลียมแหงประเทศไทย (ปตท.) และรัฐคอยใหการสนับสนุนในเร่ืองของงบประมาณ การพิจารณาใหความเห็นชอบโครงการ แกไขกฎระเบียบ หรือการศึกษาผลกระทบในโครงการที่มีขนาดใหญและอาจจะสงผลกระทบตอประชาชน ตลอดจนการรับฟงความคิดเห็นของประชาชน เปนตน กระทรวงพลังงาน

กระทรวงพลังงานเปนหนวยที่ถูกจัดตั้งข้ึนเนื่องจากนโยบายการปฏิรูประบบราชการในสมัยรัฐบาล พ.ต.ท.ทักษิณ ชินวัตร วันที่ 3 ตุลาคม 2545 มีรัฐมนตรีประจํากระทรวงพลังงานนับตั้งแตป 2545-2553 จํานวน 6 คน ซึ่งแตละคนมีทัศคติตอการบริหารดานพลังงาน ดังนี้

นายพงศเทพ เทพกาญจนา รัฐมนตรีวาการกระทรวงพลังงานคนแรก ดํารงตําแหนงระหวางเดือน ตุลาคม 2545-กุมภาพันธ 2546 เปนชวงระยะเวลาส้ัน ๆ เปนผูรอบรูทางดานกฎหมาย และมีบทบาทในการเขามาศึกษากระบวนการทํางานในชวงแรกของการปรับโครงสรางเปนกระทรวงพลังงาน และมีแนวคิดในการจัดหาแหลงพลังงาน เพื่อใชทดแทนการใชพลังงานจากน้ํามันเชื้อเพลิง กาซธรรมชาติ และถานหิน รวมทั้งการอนุรักษพลังงานของประเทศใน

118

หลายรูปแบบ รัฐบาลโดยกองทุนเพื่อสงเสริมการอนุรักษ พลังงานไดเล็งเห็นถึงศักยภาพของกากอุตสาหกรรมที่สามารถนําไปใชเปนเชื้อเพลิงและใชเปนวัตถุดิบในการจัดทําผลิตภัณฑใหม จึงไดสนับสนุนงบประมาณใหกับสถาบันส่ิงแวดลอมไทย จัดตั้งศูนยแลกเปล่ียนวัสดุเหลือใช และจัดอบรมใหความรูดานการจัดการของเสียอุตสาหกรรม ใหกับผูประกอบการโรงงานอุตสาหกรรม เพื่อใหมีความรูความเขาใจและรูจักวิธีการจัดการกับวัสดุเหลือใชหรือของเสียภายในโรงงาน รวมทั้งการใหความรูดานการนําของเสียกลับมาใชประโยชนใหม แทนการกําจัดทิ้งโดยเปลาประโยชน

"ผมในฐานะผูดูแลนโยบายดานพลังงานรู สึกดีใจที่ โครงการนําของเสียทางอุตสาหกรรมกลับมาใชประโยชน ไดรับความสนใจจากผูประกอบการอุตสาหกรรม ซึ่งจากการศึกษา พบวากากของเสียภายในประเทศมีศักยภาพเพียงพอที่จะนําไปใชประโยชนทางดานพลังงาน อยางเชน การใชน้ํามันจากการซอมบํารุงพาหนะผสมกับน้ํามันเตาทําเปนเชื้อเพลิงในอุตสาหกรรมปโตรเคมี สวนการนําอลูมิเนียมมาใชใหม 1 ตัน จะชวยใหประหยัดน้ํามันเบนซิน ไดประมาณ 8,895 ลิตร เปนตน ดังนั้นโครงการนําของเสียทางอุตสาหกรรมกลับมาใชประโยชนใหม จึงมีประโยชนเปนอยางมาก ทั้งชวยลดปริมาณของเสีย ลดการใชพลังงานในการผลิต และยังชวยลดปริมาณนําเขาวัตถุดิบจากตางประเทศไดอีกดวย"21

น.พ. พรหมมินทร เลิศสุริยเดช ดํารงตําแหนงระหวาง 8 กุมภาพันธ พ.ศ. 2546 ถึง 6 มกราคม 2548 รัฐมนตรีพลังงานมีความสนใจศึกษาวิจัยและพัฒนาการจัดการพลังงานชีวมวล โดยศึกษาจากประเทศฟนแลนด ชี้ใหเห็นวาไทยเปนประเทศเกษตรกรรมเหมือนกัน และฟนแลนดก็มีเทคโนโลยีที่ทันสมัยทางดานพลังงานดังกลาวสูง ขณะที่รัฐมนตรีการคาและอุตสาหกรรมฟนแลนดพรอมใหความรวมมืออยางเต็มที่ น.พ.พรหมมินทร เลิศสุริยเดช รัฐมนตรีวาการกระทรวงพลังงาน กลาวถึงการดูงานดานพลังงานที่ประเทศฟนแลนดวา ประเทศฟนแลนดมีการจัดการบริหารดานพลังงานไดอยางมีประสิทธิภาพ ทั้งเร่ืองความปลอดภัย ความสะอาด การใชวัสดุเหลือใช หรือวัสดุธรรมชาติที่มีอยูมาประยุกตใชในการผลิตพลังงาน ทั้งพลังงานความรอนและพลังงานไฟฟา ซึ่งรัฐบาลไทยกับฟนแลนดนาจะมีความรวมมือกัน ในอนาคตได ในเร่ืองงานวิจัยและพัฒนา เพราะฟนแลนดถือเปนประเทศที่มีเทคโนโลยีที่ทันสมัย

21พงศเทพ เทพกาญจนา, ศูนยประชาสัมพันธรวมพลังหาร 2, สํานักงานนโยบาย

และแผนพลังงาน กระทรวงพลังงาน, สืบคนเม่ือวันที่ 24 มีนาคม 2556, จาก http://www.eppo. go.th/encon/press/ encon-press25450809-1.html.

119

ในการจัดการพลังงานชีวมวล ซึ่งเปนพลังงานที่นําวัสดุเหลือใช หรือธรรมชาติที่มีอยูมาเปนเชื้อเพลิง จึงนาจะสามารถนํามาปรับปรุงเพื่อประยุกตใชกับพลังงานชีวมวลในประเทศไทยไดในอนาคต ฟนแลนดเปนประเทศที่มีการใชพลังงานมาก แตไมมีพลังงานสํารอง โดยปจจุบันจึงมีการสงเสริมการใชพลังงานชีวมวลใหมากข้ึน และตั้งเปาวาในอีก 10 ปขางหนา จะใชพลังงานชีวมวลรอยละ 32 ของพลังงานทั้งหมด ขณะเดียวกันฟนแลนดก็พรอมจะใหความชวยเหลือไทย ในการพัฒนางานดานวิจัย และเทคโนโลยี ในการผลิตไฟฟาจากพลังงานชีวะมวล เนื่องจากไทยและฟนแลนดมีลักษณะคลายกันอยูในดานเปนประเทศเกษตรกรรม จึงมีวัสดุธรรมชาติเพื่อใชผลิตไฟฟาจากพลังงานชีวะมวลไดมาก22

กรณีการนําพลังงานแสงอาทิตยมาใชทดแทนพลังงานเชื้อเพลิง วันที่ 13 มิถุนายน 2546 นายแพทยพรหมินทร เลิศสุริยเดช รัฐมนตรีวาการกระทรวงพลังงาน สนับสนุนโครงการโรงไฟฟาพลังงานแสงอาทิตย ณ บานบาตูปูเตะ ตําบลลิบง อําเภอกันตัง จังหวัดตรัง โดยมี ผูวาราชการจังหวัดตรัง อธิบดีกรมพัฒนาพลังงานทดแทนและอนุรักษพลังงาน เขารวมงาน ซึ่งโครงการโรงไฟฟาพลังงานแสงอาทิตย เชื่อมกับระบบผลิตไฟฟาเคร่ืองยนตดีเซล โดยไดรับการสนับสนุนจากองคการพัฒนาพลังงานใหมและเทคโนโลยีอุตสาหกรรม New Energy and Industrial Technology Development Organization (NEDO) ประเทศญี่ปุน โดยการจัดตั้งโครงการนี้ทําใหสามารถลดปริมาณเชื้อเพลิงที่ใชในระบบผลิตไฟฟาเคร่ืองยนตดีเซลไดอยาง นาพอใจ ทั้งนี้โรงไฟฟาเซลลแสงอาทิตยนี้ชวยใหราษฎรจํานวน 450 ครัวเรือน ไดรับประโยชนในการใชไฟฟาเพิ่มข้ึนอีกวันละ 3 ชั่วโมง และสามารถชวยลดปริมาณการใชน้ํามันดีเซลในการผลิตไฟฟาไดถึงปละประมาณ 26,000 ลิตร นอกจากนี้โรงเรียนบนเกาะลิบง จํานวน 3 โรงเรียน ยังสามารถใชไฟฟาสําหรับการเรียนการสอนไดตลอดวัน นับวาเปนการสนองตอบความตองการดานพลังงานไฟฟาของราษฎรบนเกาะลิบง และสนับสนุนการศึกษาใหกับเยาวชนของชาติ ซึ่งสอดคลองกับนโยบายของรัฐบาลที่ตองการเพิ่มคุณภาพชีวิตของราษฎรในชนบทและทางดานการศึกษา โดยเฉพาะอยางยิ่งในชนบทที่อยูหางไกล23 นายวิเศษ จูภิบาล รัฐมนตรีวาการกระทรวงพลังงาน ดํารงตําแหนงในชวง 11 มีนาคม 2548 - 19 กันยายน 2549 มีแนวคิดดานพลังงานผูวิจัยขอนําบทสัมภาษณจากวารสารนโยบายพลังงาน ฉบับที่ 70 เดือน ตุลาคม-ธันวาคม 252824 นายวิเศษ จูภิบาล เนน

22ผูจัดการรายวัน (4 สิงหาคม 2546). 23Thai News (13 มิถุนายน 2546). 24วารสารนโยบายพลังงาน ฉบับที่ 70 (ตุลาคม-ธันวาคม 2528), น. 65-69.

120

พลังงานทดแทนและการสงเสริมการพัฒนาไบโอดีเซล กระทรวงพลังงานในยุคของนายวิเศษยังเห็นความสําคัญของการ ผลิตไฟฟาจากพลังน้ํา (Hydro Power) โดยสนับสนุนใหมีการผลิตในประเทศและรวมลงทุนดานพลังงานกับประเทศเพื่อนบานเชน โครงการเข่ือนไฟฟาพลังน้ําระหวางไทย-ลาว, ไทย-พมา และไทย-กัมพูชา ซึ่งจะชวยลดตนทุนและทําใหราคาไฟฟาตอหนวยของไฟฟามีเสถียรภาพ เพราะการผลิตไฟฟาจากพลังน้ํานั้นมีตนทุนคอนขางคงที่ จึงไมปรับตัวข้ึน-ลงบอยคร้ัง ตางจากราคาน้ํามันหรือเชื้อเพลิงชนิดอ่ืนที่จะกระทบตออัตราคาไฟฟาผันแปรอัตโนมัติ หรือคา Ft อันจะนําไปสูความสมดุลในเร่ืองสัดสวนการใชเชื้อเพลิงมากข้ึน

กระทรวงพลังงานยังจะเนนสงเสริมพลังงานทดแทนเพื่อการผลิตกระแสไฟฟาอีกดวย โดยจะสานตอนโยบายเร่ือง RPS (Renewable Portfolio Standard) เพราะในป 2554 จะมีโรงไฟฟาใหมของบริษัท กฟผ. จํากัด (มหาชน) หรือ บมจ. กฟผ.

ในการเขาระบบ ภายใตนโยบาย RPS นี้ โรงไฟฟาใหมจะตองมีการใชพลังงานทดแทนในสัดสวนรอยละ 5 สวนหนึ่งจะเปนโรงไฟฟาจากพลังงานชีวะมวลตาง ๆ เชน แกลบ ขยะ และจากพลังงานลม/แสงอาทิตยเขามาในระบบมากข้ึน ซึ่งขณะนี้ไดมอบหมายใหกรมพัฒนาพลังงานทดแทนและอนุรักษพลังงาน (พพ.) ประเมินวาจะมีการสงเสริมหรือเนนไปที่เชื้อเพลิงใด เพราะพลังงานทดแทนคงไมเนนเพียงพลังงานประเภทใดประเภทหนึ่ง แตจะตองมีเขามาทุกประเภท เพียงแตสัดสวนจะมากนอยแตกตางกันไป โดยคํานึงถึงตนทุนการผลิตของแตละชนิดดวย

นโยบายสงเสริมใหมีการใชแกสโซฮอล ประสบความสําเร็จมากเปนที่นาพอใจ โดยยอดการใชแกสโซฮอล เม่ือส้ินป 2548 สูงข้ึนกวา 12 เทาจากตนป กลาวคือ มียอดการใชสูงถึงกวา 3.5 ลานลิตร/วัน สามารถทดแทนการนําเขาน้ํามันเบนซินไดถึง 10% จํานวนสถานีบริการที่มีแกสโซฮอล เพิ่มจํานวนข้ึนมาถึงเกือบ 3,000 สถานีทั่วประเทศแลว ผลทางออมคือ ราคาวัตถุดิบ ที่ใชผลิตเอทานอล ไดแก พืชผลทางการเกษตร ก็สูงข้ึนดวย เปนการเพิ่มรายไดใหกับเกษตรกร ที่ปลูกออยและมันสําปะหลัง ทั้งนี้ กระทรวงพลังงานมีแผนกําหนดไววา วันที่ 1 มกราคม 2550 จะยกเลิกการใชน้ํามันเบนซิน 95 อยาง ถาวร และป 2551 จะเร่ิมใชแกสโซฮอล 91 ทั่วทั้งประเทศ นอกจากแกสโซฮอลแลว เรายังตองหาเชื้อเพลิงอ่ืนมาทดแทน น้ํามันโดยเฉพาะในภาคขนสงซึ่งใชน้ํามันมากที่สุด เชน NGV และไบโอดีเซล

สวนกาซธรรมชาติสําหรับยานยนต (Natural Gas for Vehicles หรือ NGV) เปนแนวทางที่สําคัญในการสนับสนุนให ภาคคมนาคมขนสงหันมาใช NGV เพราะสามารถทดแทนน้ํามันเบนซินและดีเซลได 50-100% เลยทีเดียว ซึ่งจะชวยลดการนําเขาน้ํามันจากตางประเทศอยางเห็นไดชัด รัฐบาลไดกําหนดใหราคา NGV ถูกกวาราคาน้ํามันมากกวาคร่ึง (8.55 บาท/กก.)

121

และสนับสนุนใหรถแท็กซี่ รถขนสงสาธารณะ รถบรรทุก หรือแมแตรถยนตสวนบุคคล ดัดแปลงเคร่ืองยนตใหหันมาใช NGV ไดแก โครงการบัตรเงิน/บัตรทองของแท็กซี่ โครงการรณรงคโดยอุดหนุนคาติดตั้งอีกคันละ 10,000 บาท จํานวน 5,000 คัน จาก ปตท. เปนตน กระทรวงพลังงานโดย ปตท. ก็มีโครงการขยายสถานีบริการกาซ NGV เพิ่มข้ึนจากปจจุบัน 58 สถานี เปน 160 สถานีในป 2549 และเพิ่มอีก 740 สถานีภายในป 2553 ทั้งในกรุงเทพฯ และตางจังหวัด เพื่อรองรับปริมาณรถใชกาซ NGV ที่จะเพิ่มข้ึนเปน 180,000 คันในป 2553

นายปยสวัสดิ์ อัมระนันทน ดํารงตําแหนงรัฐมนตรีกระทรวงพลังงาน ระหวางวันที่ 9 ตุลาคม พ.ศ. 2549-6 กุมภาพันธ พ.ศ. 2551 ในรัฐบาลของพลเอกสรยุทธ จุลานนท เปนรัฐมนตรีที่มีระยะเวลา 1 ป แนวคิดในการกําหนดนโยบายพลังงานของ ปยสวัสดิ์ อัมระนันทน รัฐมนตรีวาการกระทรวงพลังงาน ที่มีกรอบเวลาทํางานเพียง 1 ปตามชวงเวลาของรัฐบาลในขณะนั้นที่มีประเด็นตองดําเนินการมากมาย ทั้งในสวนของกิจการไฟฟา กาซธรรมชาติ รวมถึงราคาน้ํามัน ผูวิจัยไดนําบทสัมภาษณจากหนังสือพิมพมติชน ไดสัมภาษณแนวทางในการพัฒนากิจการพลังงานมานําเสนอ

แนวคิดที่นายปยสวัสดิ์ อัมระนันทน เห็นวาควรจะตองทําคือ การปรับโครงสรางการบริหารจัดการทางดานพลังงานใหมีประสิทธิภาพ กํากับดูแลใหเกิดความเปนธรรมกับผูบริโภค และตองดูแลผูลงทุนในระดับที่เหมาะสม ซึ่งหมายความวาจะตองมีการแกไขกฎหมายที่คางคา มานาน นั่นคือการเอา พ.ร.บ.ประกอบกิจการพลังงานที่ 5 ปแลวยังไมไดออกมาร้ือฟนใหม รัฐบาล ชุดที่แลวเอามาปรับเปน พ.ร.บ.ประกอบกิจการไฟฟา ตัดกาซธรรมชาติออก ใหครอบคลุมทั้งกิจการไฟฟาและกาซธรรมชาติ นายปยสวัสดิ์ อัมระนันทนกลาววาจะตองกลับไปเปนเหมือนเดิม แตเนื้อหาอาจจะเปล่ียน ตองครอบคลุมทั้งกิจการไฟฟาและกาซ เพราะวาทั้ง 2 กิจการเปนกิจการผูกขาด ควรจะมีองคกรกํากับดูแลที่มีกฎหมายรองรับ แยกออกจากการกําหนดนโยบาย อํานาจมหาชนที่เดิมเปนของรัฐ ไมควรอยูในบริษัท ปตท. จํากัด (มหาชน) ซึ่งถามีองคกรกํากับอํานาจมหาชนก็จะถูกโอนไปโดยปริยาย ตาม พ.ร.บ.ทุนรัฐวิสาหกิจ

สวน กฟผ. ก็ยังอยูอยางเดิม ไมมีการเปล่ียนโครงสราง ไมมีการแปรรูป การแปรรูปตองรอรัฐบาลหลังการเลือกตั้ง แตจะมีการออกกฎหมายมากํากับ และกฎหมายนี้ก็ มี ความจําเปนตองออกไมวา กฟผ. จะแปรรูปหรือไมก็ตาม เพราะตอนนี้มีหนวยกํากับกิจการพลังงาน (เรคกูเลเตอร) มากํากับไฟฟาชั่วคราว แตไมมีอํานาจตามกฎหมาย ขณะที่กิจการกาซไมมี ซึ่งกลายเปนประเด็นที่ทําใหเอ็นจีโอ ฟอง ปตท.ได เม่ือเปนส่ิงที่ควรทําอยูแลวก็ทําไปเลย ไมตองไปรอคําพิพากษาของศาล และควรจะทํามาตั้งนานแลว เพราะเดิมการแปรรูป ปตท.รัฐบาลจะขาย

122

หุนและออกกฎหมายมากํากับดูแลไฟฟาและกาซ แตรัฐบาลทําส่ิงแรกเทานั้น ส่ิงหลังไมไดทํา จึงเกิดปญหา ไมอยางนั้นปญหาทุกวันนี้คงไมเกิด

"ตองทําใหมันถูกตอง เดิมมันผิด ผิดก็คือผิด ผูประกอบกิจการไมควรมีอํานาจที่เปนของรัฐอยูแลว ทั้งการรอนสิทธิวางทอ การเวนคืน ตองแยกอํานาจเหลานี้ออกมา ซึ่งก็ไมไดกระทบกับ ปตท.เลย เปนผลดีดวยซ้ํา อะไรที่ไมชัดเจนจะไดชัดเจนข้ึน ปญหาคือตอนนี้ ปตท.ไมมีกฎหมายมากํากับเหมือน กฟผ. ถาแปรรูปไปแลวไมมีกฎหมาย รัฐก็ไมมีอํานาจไปส่ังการ หลักการถึงตองมีองคกรกํากับดูแลที่มีอํานาจตามกฎหมาย ไมใชอํานาจตามมติ ครม. เพราะเปนรัฐวิสาหกิจ มติ ครม.ส่ังได แตพอเปนบริษัทใชมติ ครม.ส่ังก็มีขอโตแยงได"25 พล.ท.หญิง พูนภิรมย ลิปตพัลลภ รัฐมนตรีกระทรวงพลังงานดํารงตําแหนง

ในชวง 6 กุมภาพันธ พ.ศ. 2551-9 กันยายน พ.ศ. 2551 ในรัฐบาลของนายสมัคร สุนทรเวช เสนทางการเมืองของพล.ท.หญิง พูนภิรมย ลิปตพัลลภ คือ เปนภรรยาของนายสุวัจน ลิปตวัลลภ จุดเดนคือ การส่ือเพื่อการส่ือสารแมวาอาจจะไมมีความถนัดงานดานพลังงานมากก็ตาม ซึ่งมีนโยบายดานพลังงาน ดังนี้

1) สราง ความม่ันคงทางดานพลังงาน ดวยการจัดหาพลังงานใหเพียงพอตอการพัฒนาประเทศ เพื่อความอยูดีกินดีของประชาชน โดยเรงรัดใหมีการลงทุนสํารวจและพัฒนาพลังงานทั้งจากในประเทศ เขตพื้นที่พัฒนารวม และจากประเทศเพื่อนบานใหเพิ่มมากข้ึน รวมทั้งสงเสริมความรวมมือดานพลังงานกับตางประเทศ

2) สงเสริมใหมีการกํากับดูแลกิจการพลังงานใหมีราคาพลังงานที่เหมาะสม เปนธรรม และกอใหเกิดการแขงขันลงทุนในธุรกิจพลังงาน โดยมีมาตรฐานคุณภาพการบริการและความปลอดภัยที่ดี

3) พัฒนาและวิจัยพลังงานทดแทนทุกรูปแบบเพื่อเปนทางเลือกแกประชาชนตามแนวทาง เศรษฐกิจพอเพียงและการพัฒนาที่ยั่งยืน รวมทั้งศึกษาวิจัยและเตรียมความพรอมเพื่อการตัดสินในพัฒนาพลังงานทางเลือก อ่ืน ๆ ที่ใชเทคโนโลยีชั้นสูงและพลังงานที่สอดคลองกับทองถิ่น

25ปยสวัสดิ์ อัมระนันทน, บทสัมภาษณในหนังสือพิมพ มติชนรายวัน, วันที่

17 ตุลาคม 2549.

123

4) สงเสริมการประหยัดพลังงานอยางจริงจังและตอเนื่อง รวมทั้งสนับสนุนการใชพลังงานอยางมีประสิทธิภาพทั้งในภาคการผลิต ภาคบริการและภาคประชาชนโดยมีมาตรการจูงใจที่เหมาะสม

5) สงเสริมการพัฒนาผลิตและใชพลังงานควบคูไปกับการดูแลรักษาส่ิงแวดลอม สงเสริมกลไกการพัฒนาพลังงานที่สะอาด รวมทั้งใหความสําคัญกับการจัดการกาซเรือนกระจกเพื่อชวยบรรเทาสภาวะโลกรอน

นายแพทยวรรณรัตน ชาญนุกูล รัฐมนตรีวาการกระทรวงพลังงานในรัฐบาล นายอภิสิทธิ์ เวชชาชีวะ สังกัดพรรคชาติพัฒนาเพื่อแผนดิน ดํารงตําแหนงระหวางวันที่ 9 กันยายน 2551 ถึงวันที่ 9 สิงหาคม 2554 และมีนโยบายที่สําคัญ 4 ดาน ดังนี้

1. ดานความม่ันคงทางพลังงาน พัฒนาพลังงานใหประเทศไทยสามารถพึ่งตนเองไดมากข้ึนโดยจัดการพลังงานใหเพียงพอ มีเสถียรภาพ ดวยการเรงสํารวจพัฒนาแหลงพลังงานประเภทตาง ๆ ทั้งภายในประเทศและตางประเทศ และเรงใหมีการเจรจากับประเทศเพื่อนบานในระดับรัฐบาลเพื่อรวมพัฒนาแหลงพลังงาน วางแผนพัฒนาไฟฟาใหมีการกระจายชนิดของเชื้อเพลิงที่ใช เพื่อลดความเส่ียงดานการจัดหา ความผันผวนทางดานราคา และลดตนทุนการผลิตสงเสริมการผลิตไฟฟาจากพลังงานหมุนเวียนที่มีศักยภาพ โดยเฉพาะโครงการผลิตไฟฟาขนาดเล็กและโครงการผลิตไฟฟาขนาดเล็กมาก รวมทั้งศึกษาความเหมาะสมในการพัฒนาพลังงานทางเลือกอ่ืน ๆ มาใชประโยชนในการผลิตไฟฟา

2. ดานพลังงานทดแทน ดําเนินการใหนโยบายดานพลังงานทดแทนเปนวาระแหงชาติ โดยสนับสนุนการผลิตและการใชพลังงานทดแทนโดยเฉพาะการพัฒนาเชื้อเพลิงชีวภาพและชีวมวล ( E10 E20 และ E85) ไบโอดีเซล ขยะ และมูลสัตว เปนตน เพื่อเสริมสรางความม่ันคงดานพลังงานลดภาวะมลพิษ และเพื่อประโยชนของเกษตรกรโดยสนับสนุนใหมีการผลิตและใชพลังงานหมุนเวียนในระดับชุมชนหมูบาน ภายใตมาตรการสรางแรงจูงใจที่เหมาะสมรวมทั้งสนับสนุนการใชกาซธรรมชาติในภาคขนสงใหมากข้ึน โดยขยายระบบขนสงกาซธรรมชาติใหครอบคลุมพื้นที่ทั่วประเทศ ตลอดจนสงเสริมและวิจัยพลังงานทดแทนทุกรูปแบบอยางจริงจังและตอเนื่อง

3. ดานกํากับดูแลราคาพลังงานใหอยูในระดับที่เหมาะสม มีเสถียรภาพ และเปนธรรมตอประชาชน โดยกําหนดโครงสรางราคาเชื้อเพลิงที่เหมาะสมและเอ้ือตอการพัฒนาพืชพลังงาน รวมทั้งสะทอนตนทุนที่แทจริงมากที่สุด และบริหารจัดการผานกลไกตลาดและกองทุนน้ํามัน เพื่อใหมีการใชพลังงานอยางประหยัด และสงเสริมการแขงขันและการลงทุนในธุรกิจพลังงาน รวมทั้งพัฒนาคุณภาพการใหบริการและความปลอดภัย

124

4. ดานการอนุรักษพลังงานและประสิทธิภาพ : สงเสริมการอนุรักษและประหยัดพลังงาน ทั้งในภาคครัวเรือน อุตสาหกรรม บริการ และขนสง โดยรณรงคใหเกิดวินัยและสรางจิตสํานึกในการประหยัดพลังงาน และสนับสนุนการใชพลังงานอยางมีประสิทธิภาพ มีมาตรการจูงใจใหมีการลงทุนจากภาคเอกชนในการปรับเปล่ียนอุปกรณประหยัดและมาตรการสนับสนุนใหครัวเรือนลดการใชไฟฟาในชวงการใชไฟฟาสูงสุด รวมทั้งการวิจัยพัฒนาและกําหนดมาตรฐานอุปกรณไฟฟาและมาตรฐานอาคารประหยัดพลังงาน ตลอดจนสนับสนุนการพัฒนาระบบขนสงมวลชน และการขนสงระบบราง เพื่อใหมีการใชพลังงานอยางมีประสิทธิภาพและสามารถชะลอการลงทุนดานการจัดหาพลังงานของประเทศ นายแพทย วรรณรัตน ชาญนุกุล รัฐมนตรีวาการกระทรวงพลังงาน เปดเผยวาไดกําชับให ปตท. เรงลงทุนโครงการสรางทอกาซเอ็นจีวีไปภาคเหนือ (พระนครศรีอยุธยา-นครสวรรค) ความยาว 200 กม. เงินลงทุน 18,000 ลานบาท และภาคอีสาน (แกงคอย-นครราชสีมา) ความยาว 150 กม. ลงทุน 12,000 ลานบาท วงเงินลงทุนรวม 3 หม่ืนลานบาทโดยจะเร่ิมกอสรางป 2553 และจะสรางเสร็จประมาณป 2557 ซึ่งนอกจากจะรองรับปมเอ็นจีวีแลว ยังจะสงเสริมการใชกาซในโรงงานอุตสาหกรรมตามเสนทางทอกาซรวมไปถึงการใชในโรงไฟฟาเอสพีพี (โรงไฟฟาจากภาคเอกชนรายเล็ก) ในระบบพลังงานรวม (cogeneration) อีกดวย สวนโครงการเดิมที่จะมีการสรางทอกาซเอ็นจีวีไปภาคใต โดยสรางจากภาคกลางไปประจวบคีรีขันธ วงเงินลงทุนประมาณ 20,000 ลานบาทนั้น ไดยกเลิกโครงการกอสราง เนื่องจากเห็นวาการขนสงดวยระบบรถยนตมีความคุมคากวาในขณะที่การใชเอ็นจีวีในแหลงภาคใตตอนลางจะใชระบบกาซจากโรงแยกกาซจะนะจังหวัดสงขลา และอําเภอขนอม จังหวัดนครศรีธรรมราชมาบริการประชาชน นอกจากนี้ยังย้ําให ปตท. เรงสรางปมเอ็นจีวีใหครอบคลุมทุกจังหวัดโดยเร็ว จากเดิมตามแผนจะใหมีทุกจังหวัดในปลายป 52 จากที่ขณะนี้สรางไดครอบคลุม 46 จังหวัดและส้ินป 2552 จะมีประมาณ 405 ปม สรางไดมากกวาแผนเดิมทีก่ําหนดไว 400 ปม ในขณะที่ยอดการติดตั้งเอ็นจีวีขณะนี้เพิ่มข้ึน ตามทิศทางแนวโนมราคาน้ํามันที่ขยับข้ึน สงผลใหยอดการใชกาซมีประมาณ 3,600 ตัน/วัน และส้ินป 2552 จะเพิ่มเปน 4,600 ตัน/วัน26

การวางแผนการจัดหากาซธรรมชาต ิ นายแพทยวรรณรัตน ชาญนุกุล รัฐมนตรีวาการกระทรวงพลังงาน เปดเผยภายหลังการประชุมคณะกรรมการนโยบายพลังงานแหงชาติ (กพช.) วา ที่ประชุม กพช. เห็นชอบแผนการจัดหากาซธรรมชาติป 2552 – 2558 เพื่อรองรับความตองการกาซธรรมชาติที่จะเพิ่มข้ึนทั้งภาคการไฟฟาตามแผนพัฒนากําลังผลิตไฟฟาของประเทศไทย

26พิมพไทย (21 สิงหาคม 2552), น. 9.

125

พ.ศ. 2551-2564 ภาคอุตสาหกรรม ภาคขนสง และโรงแยกกาซธรรมชาติ ตามการคาดการณปริมาณความตองการใชกาซธรรมชาติของประเทศหลังวิกฤตเศรษฐกิจ คาดวาความตองการกาซธรรมชาติของไทยจะอยูที่ระดับประมาณ 5.142 ลาน ลบ.ฟุตตอวันในป 2558 โดยประมาณการจากโรงไฟฟาที่ใชกาซธรรมชาติเปนเชื้อเพลิงที่จะเขาระบบในป 2552-2558 ตามแผน PDP 2007 ฉบับปรับปรุงคร้ังที่ 2 จํานวนประมาณ 6,890 เมกะวัตต รวมถึงแผนการขยายการใชกาซธรรมชาติทั้งในภาคอุตสาหกรรม (อัตราเติบโตเฉล่ีย 11% ตอป) ภาคขนสง (อัตราเติบโตเฉล่ีย 23% ตอป) และการกอสรางโรงแยกกาซธรรมชาติหนวยที่ 6 รวมทั้งการกอสรางโรงแยกกาซอีเทนของบริษัท ปตท. จํากัด (มหาชน) ซึ่งในการดําเนินการจัดหากาซธรรมชาตินั้น ปตท. เตรียมแผนการจัดกาซธรรมชาติเพิ่มเติมจากอาวไทย และการนําเขาจากประเทศเพื่อนบาน รวมถึงมีแผนการนําเขากาซธรรมชาติเหลว (LNG) สําหรับการจัดหากาซธรรมชาติในระยะยาวป 2559-2564 จะวางแผนใหสอดคลองกับแผนพัฒนากําลังผลิตไฟฟาของประเทศไทยหรือ Power Development Plan (PDP) ฉบับใหม ซึ่งขณะนี้อยูระหวางการพิจารณาทบทวน นอกจากนี้ไดเห็นชอบลงนามสัญญาซื้อขายกาซธรรมชาติแหลงซอติกา จากประเทศสหภาพพมา โดยแหลงซอติกาตั้งอยูในแปลง M9 และ M 11 ในอาวเมาะตะมะ สามารถผลิตกาซธรรมชาติในเชิงพาณิชยไดประมาณ 300 ลานลูกบาศกฟุตตอวัน ในจํานวนนี้แบงเปนการจําหนายภายในสหภาพพมา ประมาณ 60 ลานลูกบาศกฟุตตอวัน และเปนสัญญาซื้อขายกับไทยในปริมาณที่เหลือ 240 ลานลูกบาศกฟุตตอวัน โดยจะพัฒนาและพรอมผลิตกาซธรรมชาติไดตั้งแตป 2556 เปนตนไป27

กระทรวงพลังงานหนวยงานของรัฐที่จัดตั้งข้ึนเพื่อปฏิบัติภารกิจในการจัดหา พัฒนาและบริหารจัดการพลังงานอยางเหมาะสมและมีประสิทธิภาพเพื่อการพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมอยางยั่งยืน ซึ่งมีหนวยงานในสังกัด ไดแก กรมเช้ือเพลิงธรรมชาติ มีภารกิจในการบริหารจัดการ และจัดหาแหลงเชื้อเพลิงธรรมชาติ เพื่อสรางและรักษาความม่ันคงดานพลังงานของประเทศ กรมธุรกิจพลังงาน มีภารกิจในการบริการธุรกิจพลังงาน และคุมครองประชาชนใหมีพลังงานใชอยางปลอดภัย มีคุณภาพ และมีความม่ันคง กรมพัฒนาพลังงานทดแทนและอนุรักษพลังงาน มีภารกิจในการพัฒนา สงเสริม สนับสนุนการผลิตและการใชพลังงานสะอาดที่สอดคลองกับสถานการณของแตละพื้นที่อยางคุมคาและยั่งยืน พัฒนาเทคโนโลยีพลังงานสะอาดเชิงพาณิชยทั้งการบริโภคภายในและการสงออก รวมทั้งการสรางเครือขายความรวมมือที่นําพาประเทศไปสูสังคมฐานความรูดานพลังงาน เพื่อเศรษฐกิจม่ันคง สังคมเปนสุขอยางยั่งยืน และสํานักงานนโยบายและแผนพลังงาน เปนหนวยงานศึกษาและวิเคราะหนโยบายและแผนการ

27สยามธุรกิจ (9 มกราคม 2553).

126

บริหารและพัฒนาพลังงานของ ประเทศ ติดตาม ประเมินผลและเปนศูนยประสาน สนับสนุนการปฏิบัติงาน ใหเปนไปตามนโยบายของแผนดานพลังงาน เพื่อใหประเทศมีพลังงานใชอยางเหมาะสมม่ันคงและเพียงพอมีประสิทธภิาพ คุมคาและสอดคลองกับสถานการณของประเทศ28 จากภารกิจขางตนของกระทรวงพลังงานที่มีทั้งภารกิจดานจัดหาพลังงานและพัฒนาแหลงพลังงานผานกรมเชื้อเพลิงธรรมชาติ จะตองมีการส่ือสารถึงการเจาะสํารวจในบริเวณอาวไทยดวยการใหสัมปทานกับผูประกอบการ และจะตองส่ือสารไปยังประชาชนผูมีสวนไดเสียในพื้นที่ เพื่อรับฟงความคิดเห็นในการดําเนินโครงการแตละโครงการ โดยใหประชาชนเห็นถึงความสําคัญและความจําเปนในการสํารวจหาแหลงพลังงานเพื่อนําไปสูการใชประโยชนพัฒนาใหประเทศไทยลดการนําเขาและสรางความม่ันคงดานพลังงานใหกับประเทศ ภารกิจดานการดําเนินการธุรกิจ และการรณรงคสงเสริมการประหยัดพลังงาน และการส่ือสารดวยตัวแทนของเจาหนาที่ของกระทรวงพลังงาน จะตองอาศัยเครือขายในพื้นที่เปนกลไกในการผลักดันและส่ือสารตอไปยังประชาชน

“ตอนนี้ไดนําวิธีการไตรภาคีมาใชโดยใหชาวบานคัดเลือกตัวแทนเขามารวมศึกษาถึงผลกระทบรวมกันใหหาบุคคลที่ชาวบานเชื่อถือ และใหชาวบานเลือกอาจารยของมหาวิทยาลัยสงขลา หาดใหญ ปตตานี และหนวยงานของภาครัฐ มาทํางานรวมกัน โดยทําการศึกษาดานตาง ๆ แลวนํามาวิเคราะหประชุมรวมกันเปนระยะ ๆ ดูเหมือนวาจะดําเนินไปไดดวยดี โดยไดรับเงินสนับสนุนจากโรงแยกกาซและโรงไฟฟาจะนะในกระบวนการทําการการศึกษา อันที่จริงการทําความเขาใจกับชาวบานนั้นไมใชเฉพาะที่จะสรางโรงไฟฟาเพิ่ม หรือสรางทาเรือน้ําลึกสรางถนนพรอมกับระบบการขนสงทางราง – ทางทอที่จะนําไปสูอีกฝงหนึ่งเทานั้น เพื่อการดําเนินยุทธศาสตรในการพัฒนาตอการแขงขันในภูมิภาคแตยังมีประเด็นที่จะชวยแกปญหาใหกับประชาชนชาวจังหวัดภาคใตทั้งหมดที่มีอาชีพเปนเกษตรกรชาวสวนยาง เพราะปญหาหลักของราคายางพาราก็คือการที่เราตองสงยางพาราที่ไมไดแปรรูปไปใหกับมาเลเซียเปนสวนใหญโดยทางมาเลเซียนําไปแปรรูปเพิ่มมูลคาไดประโยชนจากยางพาราของชาวจังหวัดทางภาคใตมาโดยตลอด”29

28กระทรวงพลังงาน, ภารกิจของกระทรวงพลังงาน, สืบคนเม่ือวันที่ 20 กุมภาพันธ

2556, จาก http://www.energy.go.th. 29จักริน เดชสถิตย, นักวิชาการพลังงานฝายปฏิบัติการ จังหวัดสงขลา, สัมภาษณ

23 มกราคม 2556.

127

เจาหนาที่ของกระทรวงพลังงานในระดับจังหวัด หรือที่เรียกวาพลังงานจังหวัด จะเปนตัวแทนของกระทรวงในการเขารวมเวทีการรับฟงความคิดเห็นจากประชาชนในโครงการดานพลังงานมาโดยตลอด ดังนั้นพลังงานจังหวัดจึงควรเปนผูที่มีขอมูลเกี่ยวกับสถานการณพลังงานของไทย ตลอดจนนโยบายของกระทรวงพลังงานที่จะตองส่ือสารไปยังประชาชนใหรับรูขอมูลดานพลังงานไดอยางถูกตอง

“นโยบายรัฐบาลเปนเร่ืองที่หางไกลจากประชาชน เปนเร่ืองของขาราชการกับผูประกอบการหรือนักธุรกิจเทานั้น โดยเฉพาะในอดีตประชาชนยิ่งไมมีโอกาสที่จะเขาใจนโยบายเหลานี้ นโยบายรัฐบาลไมชัดเจน ไมวาจะเปนโรงไฟฟา โรงกล่ันน้ํามัน ปตท. หนวยงานเหลานี้ตองใหองคความรูทางปญญากับชาวบานดวย โครงการบางโครงการทําใหชาวบานสับสน ชาวบานไมสามารถจะมีขอมูลวิเคราะหไดวาดีหรือไมดี อะไรควรเลือก อะไรไมควรเลือก เพราะรัฐบาลเขาพูดถึงแต GDP แตชาวบานเขาไมเขาใจ ขอมูลที่แทจริงก็ไมไดเปดเผยใหชาวบานรู การลงทุนไปแลวชาวบานไดประโยชนอะไรบาง เร่ืองของนโยบายพลังงานจึงเปนเร่ืองยากที่ชาวบานจะเขาใจ สุดทายก็นําไปสูปญหาความขัดแยงอยางทุกวันนี้”30

นอกจากรัฐบาลแลว ผูสงสารในระดับปฏิบัติการจะมีผูบริหารระดับสูงของกระทรวงพลังงาน และหนวยงานที่เกี่ยวของ เชน ปตท. ซึ่งเปนหนวยงานหลักในการดําเนินการซึ่งในอดีตมีฐานะเปนรัฐวิสาหกิจ ที่มีหนาที่สํารวจ ผลิต นําสง และจําหนายพลังงานในประเทศ ผูบริหารระดับสูงในหนวยงานตาง ๆ ส่ือสารตอไปยังหนวยงานปฏิบัติการ เพื่อผลักดันกิจกรรมโครงการที่สอดรับกับนโยบายรัฐบาล ตามภารกิจของสวนราชการที่สังกัด ดังจะเห็นไดจากคําใหสัมภาษณของ ผูวาราชการจังหวัดระยอง

“การส่ือสารในระบบของภาครัฐเปนไปตามลําดับการบริหาร ผูบริหารระดับสูงรับนโยบายและถายทอดสูผูปฏิบัติมีหลายลักษณะงาน เชน นโยบายดานสํารวจ คนหาพลังงาน นโยบายดานลดและประหยัดพลังงาน ดานผลกระทบที่ เกิดจากอุตสาหกรรมพลังงาน เปนตน ซึ่งหนวยงานที่เกี่ยวของจะดําเนินการทั้งในระดับสวนกลาง ในระดับพื้นที่ก็จะมีพลังงานจังหวัดเปนตัวแทนของกระทรวงที่คอยใหขอมูลกับประชาชน”31

30จิรชัย เชาวลิต, สัมภาษณ 8 มกราคม 2556. 31ผูวาราชการจังหวัดระยอง, สัมภาษณ 1 ตุลาคม 2555.

128

อยางไรก็ตามการส่ือสารนโยบายในอดีต กลาวคือ กอนรัฐธรรมนูญป 2550 ภาครัฐยังใหความสําคัญกับการส่ือสารไปยังประชาชนนอยมาก จึงเกิดการสะสมปญหา เม่ือมีการตรวจสอบอยางจริงจัง ถึงวันนี้ปญหาตาง ๆ จึงมีความรุนแรงข้ึน ซึ่งพลังงานจังหวัดสุราษฎรธานีใหขอมูลไวอยางนาสนใจวา

“การส่ือสารนโยบาย เขาส่ือสารจากบนลงลาง เชนส่ือทีวีบอกจะข้ึนราคาน้ํามัน ราคาแกส เร่ืองปโตรเลียมทํามากวา 20 ป หรือ 2,000 กวาหลุม ไมเคยบอกกลาวประชาชน แตรัฐธรรมนูญป 2550 เราตองบอกประชาชนสําหรับการส่ือสารตองมองวาผูตองการรูก็ตองแสวงหาขอมูลดวย ปจจุบันนี้มีเ ร่ืองของส่ิงแวดลอมและเทคโนโลยีก็พัฒนาได เม่ือกอนการเจาะสํารวจปโตรเลียมจะเจาะทางตรงปจจุบันเคร่ืองเจาะสามารถเจาะแบบเอียงได การดําเนินการขุดเจาะถาหากเกิดผลกระทบเชิงลบมากกวาทางบวกคงไมสามารถดําเนินการมาไดกวา 20 ป แตเปนเพียงบางพื้นที่เทานั้น การส่ือสารกระทรวงพลังงานเปนผูรับผิดชอบจะตองสามารถใหขอมูลไดรอบดาน ปจจุบันการส่ือสารมีเพียงระดับหนึ่งไมไดรอบดาน แมแตรถสงแกส สงน้ํามัน เราก็ตองส่ือสารทําความเขาใจเพื่อใหคํานึงถึงความปลอดภัยบนทองถนน และการหาปโตรเลียม เปนหนาที่เราตองหาทั่วประเทศ เชน ที่เขตทวีวัฒนา เจาะเพื่ออยากรูวามีน้ํามันหรือไม แตถาเจาะเพื่อผลิตแลวกระทบก็จะไมทํา ส่ิงเหลานี้ภาครัฐตองใหขอมูลที่เปนขอเท็จจริงวาทําไปเพื่ออะไร ชาวบานจะไดไมตระหนกและกังวลตอโครงการของรัฐ” 32

การปโตรเลียมแหงประเทศไทย (ปตท.) การปโตรเลียมแหงประเทศไทย (ปตท.) กอตั้งข้ึนเม่ือวันที่ 29 ธันวาคม 2521 โดยมี

ภารกิจในการดูแลความม่ันคงทางดานพลังงาน เพื่อรองรับความตองการของประชาชนอยางตอเนื่อง ไมใหเกิดการขาดแคลนนั้นเปนบทบาทของ ปตท. ที่ถูกสงผานมาโดยตลอดนับตั้งแตจัดตั้งองคกรนับวันจะทวีความสําคัญมากยิ่งข้ึน เพื่อใหประเทศพึ่งตนเองไดทางดานพลังงาน เร่ิมตั้งแตการนํากาซธรรมชาติจากอาวไทยข้ึนมาใชแทนน้ํามัน วางโครงขายระบบทอสงกาซธรรมชาติ สรางโรงแยกกาซธรรมชาติเพื่อสรางมูลคาเพิ่มจากกาซธรรมชาติ และสงเสริมการใชใหเกิดประโยชนสูงสุด ลดตนทุนพลังงานของประเทศ นอกจากนี้ ปตท. ยังสามารถพัฒนาศักยภาพจนสามารถแขงขันกับบริษัทพลังงานขามชาติ เพื่อนําทรัพยากรของประเทศข้ึนมาใชโดยคนไทย

32รอหยา จันทรรัตนา (พลังงานจังหวัดสุราษฎรธานี), สัมภาษณ 7 พฤศจิกายน

2555.

129

เพื่อคนไทย พรอมทั้งเรงขยายการลงทุนในโครงการสํารวจและผลิตปโตรเลียมทั้งในประเทศและตางประเทศ รวมทั้งเพิ่มปริมาณสํารองปโตรเลียมใหเกิดความม่ันคงทางดานพลังงานใหกับประเทศ ความสามารถในการจัดหากาซธรรมชาติของปตท.จากอดีตในป 2524 ที่มีความสามารถหาไดเพียง 50 ลานลูกบาศกฟุตตอวัน ปจจุบันเพิ่มข้ึนเปน 3,500 ลานลูกบาศกฟุตตอวัน

การสรางโรงแยกกาซธรรมชาติ เพื่อสรางมูลคาเพิ่มจากกาซธรรมชาติ โดยนํากาซธรรมชาติมาผานกระบวนการแยกกาซทําใหไดกาซหุงตม (LPG) เปนเชื้อเพลิงในครัวเรือน และยังขยายไปในภาคอุตสาหกรรม นอกจากนี้ผลิตภัณฑที่ไดจากโรงแยกกาซ ยังนําไปใชเปนวัตถุดิบในธุรกิจปโตรเคมี โดย ปตท. เปนหนวยงานหลักในการพัฒนาอุตสาหกรรมปโตรเคมีของประเทศ นําไปสนับสนุนการพัฒนาอุตสาหกรรมอ่ืน ๆ ใหมีการขยายตัวเร็วข้ึน เชน อุตสาหกรรมรถยนต ส่ิงทอ พลาสตกิ เปนตน ทําใหเกิดการจางงาน สรางรายได ใหกับประชาชนลดการนําเขาวัตถุดิบจากตางประเทศ นอกจากภารกิจดานพลังงานแลว ปตท.ยังมีสวนชวยเสริมสรางและพัฒนาตลาดทุน ตลาดเงินของไทยจากการระดมทุนในตลาดหลักทรัพยแหงประเทศไทย เม่ือป 2544 จนทําใหมีมูลคาหลักทรัพยตามราคาตลาด (Market capitalization) มากที่สุดในป 2554 ประมาณรอยละ 13 ของมูลคาตลาดหลักทรัพย33 ปตท. จึงมีหนาที่รับนโยบายจากรัฐบาลเพื่อนํามาดําเนินการใหบรรลุเปาหมายไมวาจะเปนการศึกษาคนควาหาแหลงพลังงานทั้งในและตางประเทศ ที่มีการดําเนินการดานพลังงานจนครบวงจร ดังนั้นการส่ือสารถึงประชาชนจึงเปนส่ิงที่ ปตท. ใหความตระหนัก เพื่อสราง ความเขาใจตอกัน ไมวาจะเปนการสํารวจขุดเจาะพลังงาน การสรางโรงแยกกาซ การวางทอขนสงกาซ เปนเร่ืองที่มีความละเอียดออนที่จะส่ือสารใหประชาชนในพื้นที่ การรับฟงความคิดเห็นและการสรางความเขาใจกับผูมีสวนไดเสีย จะทําใหเกิดการยอมรับการดําเนินงานของ ปตท. ในขณะเดียวกันยังตองใหความรูดานพลังงานกับประชาชนไปพรอมกัน หรือการรณรงคเพื่อประหยัดพลังงานการใหความรูผานคูมือ การโฆษณา และดวย ปตท. เปนองคกรของไทย ความเปนชาติทําใหไดรับการสนับสนุนและนับวาเปนองคการชั้นนําดานพลังงานจนไดรับการยอมรับมากวา 30 ป ดังคําสัมภาษณของ ชัยวัฒน ชูฤทธิ์ อดีตรองกรรมการผูจัดการใหญหนวยธุรกิจน้ํามัน ที่ไดกลาวถึงศักยภาพของ ปตท. ไววา

“ธุรกิจน้ํามันมีความสําคัญกับสังคมมากและเปนดานหนาของ ปตท. ที่ใกลชิดประชาชน ภาพลักษณขององคกรถูกคนสวนใหญตัดสินจากการใชบริการ หรือรับรู

33การปโตรเลียมแหงประเทศไทย, 30 ป ปตท. พลังที่ยั่งยืนเพื่อไทย, (กรุงเทพฯ:

การปโตรเลียมแหงประเทศไทย, 2551), น. 9-11.

130

ผานชองทางนี้ การที่ ปตท. สามารถสรางแบรนดใหเขามาอยูในใจของคนไทย จนสามารถข้ึนครองสวนแบงทางการตลาดน้ํามันอันเปนอันดับหนึ่งของประเทศติดตอกันอยางตอเนื่องไดถึง 16 ป จึงเปนขอพิสูจนถึงความเกงของคนไทยที่สามารถทําใหแบรนด “พลังงานไทย เพื่อไทย” กาวนําคูแขงซึ่งเปนบริษัทน้ํามันขามชาติได”34

การที่ ปตท. สามารถพัฒนาองคกรใหไดรับการยอมรับ และมีความเติบโตอยางยาวนาน และมีความม่ันคงมาไดดวยการบริหารงานของผูนําองคกรที่มีศักยภาพ ซึ่งทาง ปตท. ไดรวบรวมแนวคิดของผูนําที่เคยเขามามีบทบาทการบริหารของ ปตท.ไวในหนังสือครบรอบ 30 ป ของ ปตท. เชน ดร.ทองฉัตร หงศลดารมภ ผูวาการ ปตท. 2 สมัย (ป 2522-2530) ดร.อาณัติ อาภาภิรม (ผูวาการ ปตท. 2530-2534) และ นายเล่ือน กฤษณกรี (ผูวาการ ปตท. 2534-2538) ผูวาการ ปตท.เปนผูบริหารยุคบุกเบิก ที่ไดเสนอแนวคิดและอุดมการณในการบริหาร ปตท. ดังนี้

“การที่ ปตท. จะเติบโตตามธรรมชาติแลว ปตท. ยังเปนองคกรของรัฐที่ขยายตัวตามความตองการพลังงานของประเทศ แมวาคนอ่ืนไมทํา เพราะขาดทุน แตเราตองทํา เปาหมายคือ เพื่อเสถียรภาพความม่ันคงทางพลังงานของประเทศ เปนภารกิจตามธรรมชาติ เม่ือสถานการณบังคับใหใหญ เราตองใหญ หากมอง ปตท. ในปจจุบัน แลวยอนกลับไปตั้งแตเร่ิมตน ไมคาดคิดวา ปตท. จะโตข้ึนมากเชนนี้ ผมเคยพูดเสมอตั้งแตเร่ิมกอตั้งวา ปตท. เล็กไมได เพราะพลังงานเปนเร่ืองสําคัญของประเทศ เกี่ยวของกับความเปนอยูของคน ตอนแรกที่รับโอนงานมาจากองคการเชื้อเพลิง (อชพ.) ซึ่งมีสินทรัพยมาก เราไดที่ดิน อาคาร โดยเฉพาะที่ดินตามคลังสํารองน้ํามันตาง ๆ ทําใหมีโอกาสขยายงาน ผมใชเวลา 10 กวาป จัดทําระบบคาน้ํามัน คลังสํารองน้ํามันใหไดมาตรฐาน”35

ปตท. ถูกสรางมาเพื่อใหมีกําไร ควรดูวาไดกําไรแลวนําไปทําอะไรบาง รวมทั้งเกิดประโยชนสูงสุดตอการสรางความม่ันคงทางพลังงานของประเทศ ถา ปตท. เปนอะไรไป ประชาชนจะเดือดรอนมากกวานี้ นี่คือเร่ืองที่คนไมเขาใจถึงบทบาทและความสําคัญของ ปตท. อยากบอกวาความสําคัญของ ปตท. มีมากกวาที่หลาย ๆ คนคิด

34ชัยวัฒน ชูฤทธิ์, บทสัมภาษณในหนังสือ “30 ป ปตท. พลังที่ยั่งยืน เพื่อไทย,”

(กรุงเทพฯ: ปตท., 2551), น. 288. 35ทองฉัตร หงศลดารมภ, บทสัมภาษณในหนังสือ “30 ป ปตท. พลังที่ยั่งยืนเพื่อไทย,”

(กรุงเทพฯ: ปตท., 2551), น. 239.

131

“ถา ปตท. ไมจัดการในเร่ืองกาซธรรมชาติ คนไทยตองใชไฟแพงแนนอน เร่ืองเหลานี้นาแปลก แทนที่ ปตท. จะไดรับคําชมเชย กลับถูกกลาวหาวาผูกขาด แตตองเขาใจวา ปตท. ทําเพื่อประโยชนของชาติ ปตท. ถูกสรางข้ึนมา เพื่อดูดซับกําไรกลับคืนใหรัฐแนนอนวาประเทศชาติไดประโยชน บริษัทขามชาติที่ไดรับสัมปทานสํารวจ ผลิต ตองเขามาแบงปนผลผลิตกับรัฐบาล เชน ที่แหลงลานกระบือ เม่ือตั้ง ปตท. สผ. ข้ึนมา และใชเขารวมทุน ทําใหสามารถซับกําไรคืนมาจากบริษัทขามชาติที่เขามาลงทุนได ปตท.เปนหนวยลงทุนในธุรกิจปโตรเลียม แรกเร่ิมเดิมทีเรามีแคปมน้ํามัน “สามทหาร” แต ปตท. ไดสรางสินทรัพยดานพลังงานของประเทศข้ึนมา โดยลงทุนอยางตอเนื่องรัฐบาลไดเขามาชวยค้ําประกันเงินกูให ปตท. เทานั้น แตเดิมสินทรัพยของ ปตท. มีเพียง 200 ลานบาท จนปจจุบันมีประมาณ 700,000 ลานบาท โดยรัฐบาลไมไดใหเงินอะไรเพิ่มเติม ในขณะที่ ปตท. ไดสรางโครงขายกิจการพลังงานของประเทศครอบคลุมธุรกิจปโตรเลียมครบวงจร”36

ในแตละยุคที่ผานมาของ ปตท. ไดผูวาการแตละคนเหมาะสมกับแตละสถานการณ ส่ิงที่เปนความแกรงของ ปตท. คือ ผูวาการทุกคนสามารถสานตอนโยบายและสืบสานวิสัยทัศนใหตอเนื่องกันได

“ผมเร่ิมทําตั้งแตการปรับเปล่ียนทัศนคติของพนักงาน บังคับใหเกิดการอบรมพัฒนาอยางตอเนื่อง แลวนําเร่ืองเพิ่มผลผลิตเขามาใหพนักงานมีสวนรวม มีการปรับโครงสรางองคกรตั้งแต Restructuring, Re-Engineering ให เหมาะสมกับสถานการณเพราะโลกของการแขงขันเปล่ียนแปลงอยางรวดเร็วมาก ซึ่งสงผลดีตอพนักงานในระยะยาว ทําใหคน ปตท. สามารถปรับตัวไดทันตอการเปล่ียนแปลงในทุกรูปแบบ”37

ผูวาราชการจังหวัด ในพื้นที่ชายฝงทะเลอาวไทย นับเปนพื้นที่ที่ทอดยาวจากจังหวัดตราดไปถึงจังหวัด

นราธิวาส มีเนื้อที่ครอบคลุม จํานวน 17 จังหวัด แบงเปนพื้นที่ชายฝงทะเลตะวันออก และพื้นที่ชายฝงทะเลภาคใต ผูที่มีบทบาทในการสงสารในระดับพื้นที่ หรือในระดับจังหวัด คือ ผูวาราชการจังหวัด เพราะเปนที่สามารถเชื่อมโยงหนวยงานในระดับจังหวัดที่เกี่ยวของกับพลังงานได และเปน

36อาณัติ อาภาภิรม, บทสัมภาษณในหนังสือ “30 ป ปตท. พลังที่ยั่งยืนเพื่อไทย,” (กรุงเทพฯ: ปตท., 2551), น. 243.

37เล่ือน กฤษณกรี, บทสัมภาษณในหนังสือ “30 ป ปตท. พลังที่ยั่งยืนเพื่อไทย,” (กรุงเทพฯ: ปตท., 2551), น. 246-247.

132

ผูที่ มีบทบาทในการกํากับดูแลการดําเนินงานของสวนราชการตาง ๆ ในพื้นที่จังหวัดที่ตนรับผิดชอบ นับเปนอีกบุคคลที่สําคัญในการส่ือสารกับประชาชน เพราะเปนผูอยูใกลชิดกับประชาชนและเปนผูที่ชาวบานจะเขาหาในเบื้องตนหากเกิดปญหา ไมวาจะเปนความขัดแยงในพื้นที่ระหวางชาวบานและผูประกอบการ ผูวาราชการจะเปนผูที่รับฟงและส่ือสารกับประชาชนใหเขาใจและขณะเดียวกันเปนคนกลางในการแกปญหาตาง ๆ อันเนื่องมาจากโครงการดานพลังงาน ผูสงสารในระดับปฏิบัติการจะมีผูบริหารระดับสูงของกระทรวงพลังงาน และหนวยงานที่เกี่ยวของ เชน ปตท. พลังงานจังหวัด อุตสาหกรรมจังหวัด ทรัพยากรและส่ิงแวดลอมจังหวัด องคกรปกครองสวนทองถิ่น เปนตน ผูบริหารระดับสูงในหนวยงานตาง ๆ ส่ือสารตอไปยังหนวยงานปฏิบัติการ เพื่อผลักดันกิจกรรมโครงการที่สอดรับกับนโยบายรัฐบาล ตามภารกิจของสวนราชการที่สังกัด ดังจะเห็นไดจากคําใหสัมภาษณของ ผูวาราชการจังหวัดระยอง

“การส่ือสารในระบบของภาครัฐเปนไปตามลําดับการบริหาร ผูบริหารระดับสูงรับนโยบายและถายทอดสูผูปฏิบัติมีหลายลักษณะงาน เชน นโยบายดานสํารวจ คนหาพลังงาน นโยบายดานลดและประหยัดพลังงาน ดานผลกระทบที่ เกิดจากอุตสาหกรรมพลังงาน เปนตน ซึ่งหนวยงานที่เกี่ยวของจะดําเนินการทั้งในระดับสวนกลาง ในระดับพื้นที่ก็จะมีพลังงานจังหวัดเปนตัวแทนของกระทรวงพลังงานที่คอยใหขอมูลกับประชาชน ผูวาราชการจะเปนตัวกลางใหกับชาวบานไมวาจะเกิดปญหาอะไรในจังหวัดเขาจะตองมาหาผูวาราชการ ในระดับจังหวัดผูวาจะเปนผูที่เปนคนกลางในการไกลเกล่ียปญหาตาง ๆ หรือหาทางออกใหกับปญหา โดยมีการรับฟงความคิดเห็นทุกฝาย พรอมกับใหขอมูลและสรางความม่ันใจใหกับชาวบานถึงการแกไขปญหาตาง ๆ ”38

การส่ือสารกับประชาชนในระดับจังหวัดนั้นตองมีความจริงใจ ใหขอมูลที่เปนขอเท็จจริง หรือในวิธีการศึกษา พิสูจนขอสงสัยใหกับชาวบานเกิดความกระจางเพื่อสราง ความเขาใจและลดความขัดแยง ขณะเดียวกันผูวาราชการจังหวัดไมมีอํานาจตัดสินใจไดทุกปญหา เพราะในระดับจังหวัดมีโครงสรางระบบราชการสวนกลาง สวนภูมิภาค และสวนทองถิ่น หลายอยางผูวาไมสามารถตัดสินใจได ยกเวนราชการสวนกลางที่อยูภายใตอํานาจของผูวาโดยตรง ดังนั้นผูวาจึงมีหนาที่ในการดูแล และบูรณาการหนวยงานตาง ๆ ใหสามารถดําเนินการรวมกันภายใตอํานาจและบทบาทของผูวา ดังที่ผูวาราชการจังหวัดสงขลาไดใหขอคิดเห็นไวถึงการแกปญหาในพื้นที่วา

38เสนีย จิตตเกษม, ผูวาราชการจังหวัดระยอง, สัมภาษณ 1 ตุลาคม 2555.

133

“ในพื้นที่จังหวัดสงขลาที่มีพื้นที่ชายฝงยาว 156 กิโลเมตร มีหนวยงานที่รับผิดชอบฝงทะเลหลายหนวยงานที่มีอํานาจและบทบาทแตกตางกันซึ่งสังกัดราชการสวนกลาง เชน ทรัพยากรธรรมชาติและส่ิงแวดลอม เกษตรและสหกรณ พลังงาน เปนตน ซึ่งไมไดข้ึนกับ ผูวาราชการโดยตรง ข้ึนอยูกับสวนกลาง แมวาจังหวัดจะทําแผนพัฒนาชายฝงไวแลว แตถารัฐบาลไมอุดหนุนก็ไมสามารถทําได สวนปญหาความขัดแยง เชน กรณีการขยายโรงไฟฟาจะนะ สวนราชการที่รับผิดชอบหรือโรงไฟฟาตองมีความจริงใจ เชนกรณีที่จะนะผมไดเขาไปมีสวนแกปญหาความขัดแยง ทางโรงไฟฟาบอกวาน้ําเสียที่ปลอยออกไปจะไมเปนอันตรายตอสัตวน้ําทะเล ผมก็ใหพิสูจนโดยใหอาจารยที่ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทรหาดใหญ เขามามีสวนรวมในการศึกษาและใหชาวบานเลือกอาจารยที่จะลงมาศึกษาในพื้นที่ไดเลย โดยผมขอเวลา 1 เดือน ไปขุดสระและเล้ียงปลา 1 เดือน ผลการศึกษามาปลาไมตาย รัฐตองมีความจริงใจที่พิสูจนใหชาวบานเห็นเปนรูปธรรม เพราะฟงนักวิชาการพูดอยางเดียวเขาไมม่ันใจ การส่ือสารกับชาวบานตองมีวิธีที่ทําใหเห็นและเขาใจ ถาทําเชนนี้ก็ทําใหชาวบานใหการยอมรับการขยายโรงไฟฟามากข้ึน นี่ เปนบทบาทผูวาที่ตองประสานและใชวิธีส่ือสารกับชาวบาน”39

นอกจากผูวาราชการเปนผูสงสารในการแกปญหาความขัดแยงของประชาชนในพืน้ที่แลว ยังมีการสงสารในเร่ืองของการรณรงคสงเสริมงานดานการอนุรักษธรรมชาติและส่ิงแวดลอม โดยเฉพาะการใหนโยบายไปยังสวนราชการในจังหวัดเร่ืองของการประหยัดพลังงาน โครงการอนุรักษพลังงาน โครงการปลูกปา เปนตน เปนอีกบทบาทหนึ่งของผูวาที่จะชวยกระตุนสงเสริมใหประชาชนตระหนักถึงความสําคัญดานพลังงาน การอนุรักษธรรมชาติและส่ิงแวดลอม ตลอดจนขอควรปฏิบัติเพื่อการประหยัดพลังงาน เพราะผูวาสามารถส่ือสารไปยังหนวยงานดานการปกครอง ไมวาจะเปน นายอําเภอ กํานัน ผูใหญบาน และประสานส่ือสารไปยังหนวยงานอ่ืน ๆ เพื่อใหทุกภาคสวนมีสวนรวมในการรณรงคสงเสริมการประหยัดพลังงาน

เน้ือหาสาร (Message) เนื้อหาของสารในการส่ือสารทางการเมืองเร่ืองพลังงานในอาวไทย ชวงป 2524-2553 สามารถวิเคราะหไดจากนโยบายของรัฐบาลไดดังนี้

39กฤษฎา บุญราช, ผูวาราชการจังหวัดสงขลา, สัมภาษณ 23 มกราคม 2556.

134 การพฒันาอุตสาหกรรมพลังงานในอาวไทยกอใหเกดิประโยชนอยาง “โชติชวงชัชวาล” ตองยอมรับวาพลังงานในอาวไทยนั้นมีสวนอยางมากในการพัฒนาเศรษฐกิจของชาติ ทั้งในการลดการนําเขาเชื้อเพลิง และผลของกระบวนการอุตสาหกรรมปโตรเลียมกอใหเกิด อุตสาหกรรมพลังงาน กาซธรรมชาติที่ถูกแยกใหประชาชนสามารถใชในครัวเรือน นําไปใชในการผลิตไฟฟาปอนเขาสูภาคอุตสาหกรรม โดยเฉพาะอุตสาหกรรมปโตรเคมีและยังจะเกิดอุตสาหกรรมตอเนื่องอ่ืน ๆ อีกมากมายในการเปนวัตถุดิบตอภาคอุตสาหกรรมไมวาจะเปนอุตสาหกรรมรถยนต กอสราง ส่ิงทอ พลาสติก ฯลฯ ที่มีความสําคัญกับการพัฒนาประเทศ ซึ่งหากเปนเม่ือคร้ังที่ประเทศไทยยังไมคนพบกาซธรรมชาติในอาวไทยนั้น จะตองนําเขาจากตางประเทศแทบทั้งส้ิน ปจจุบันประเทศไทยกลับเปนผูสงออกสินคาบางประเภทเนื่องจากมีฐานผลิตที่ประเทศไทย จนทําใหภาคอุตสาหกรรมไทยมีความเจริญเติบโตอยางรวดเร็ว และมีผลตอคา GDP ของประเทศในเวลาตอมา

การคนพบกาซธรรมชาติในอาวไทย ถือเปนจุดกําเนิดการพัฒนาอุตสาหกรรมหนักของประเทศ อยางจริงจังเปนคร้ังแรก รัฐบาลจึงจัดทําโครงการพัฒนาพื้นที่บริเวณฝงทะเลตะวันออก (Eastern Seaboard) และชายฝงทะเลภาคใต (Southern Seaboard) โดยการพัฒนาพื้นที่ชายฝงทะเลตะวันออกไดกําหนดใหจังหวัด ระยองเปน 1 ใน 3 จังหวัด พื้นที่เปาหมายในการพัฒนาอุตสาหกรรมดานกาซธรรมชาติ และพัฒนาไปสูอุตสาหกรรมปโตรเคมี เคมีภัณฑและปุยเคมี ซึ่งเปนอุตสาหกรรมตอเนื่องขนาดใหญที่ใชกาซธรรมชาติเปน วัตถุดิบหลัก และจะเปนหัวหอกในการพัฒนาพื้นที่ฝงทะเลตะวันออก ซึ่งเปนการใชประโยชนจากกาซ ธรรมชาติใหเกิดประโยชนสูงสุด มากกวาการใชประโยชนในการนําไปเผาเปนเชื้อเพลิงในการผลิตไฟฟาเทานั้น จึงทําใหเกิดการพัฒนานิคมอุตสาหกรรมในบริเวณตําบลมาบตาพุด ที่มุงเนนการสรางงานและสราง เมืองอุตสาหกรรมใหมในภาคตะวันออก เปดประตูสูเศรษฐกิจการลงทุนในพื้นที่ใหม เปนเปาหมายของ แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติฉบับที่ 5 ป พ.ศ. 2524-2528 เปนการกระจายความเจริญจากเมืองหลวงไปสูภูมิภาคอยางเปนระบบ

“นโยบายพลังงาน หากพิจารณาก็มีความสําคัญเปนอยางมากในการพฒันาประเทศ แตก็มีผลกระทบดานส่ิงแวดลอม โดยเฉพาะมาบตาพุดก็เปนโครงการตนแบบ เดิมจะสรางที่ภูเก็ต แตประชาชนไมเอาจึงยายมาที่มาบตาพุด จะมีนโยบายขยายพื้นที่อุตสาหกรรมไปที่อ่ืน เชน เซาทเทิรนซีบอรด ก็ข้ึนอยูที่วารัฐบาลจะเอานโยบายดานใดระหวางการทองเที่ยวกับพลังงาน หากพลังงานที่มีความสําคัญและจําเปน ก็ตองมีมาตรการที่จะควบคุม โดยเฉพาะชายฝงภาคใตมี 2 ฝง ฝงอาวไทย ประจวบ

135

ถึงนราธิวาส ฝงอันดามันตั้งแตระนองถึงสตูล แผนพัฒนาเซาเทิรนเร่ิมพรอมกับ มาบตาพุด รัฐตองอธิบายถึงขอดีขอเสียเพราะจะไปกระทบกับนักทองเที่ยวที่ภาคใต หรือประเมินความคุมคา เพราะพื้นที่ในการทําอุตสาหกรรมก็ตองใชพื้นที่พอสมควร ภูเก็ต สมุย ก็รับนักทองเที่ยวไดจํานวนมากอยูแลว การทําอุตสาหกรรมตองทําในทะเล และรายไดกับทองเที่ยวก็สําคัญหากทองเที่ยวดีกวารัฐบาลก็ควรจะชี้แจงตรงนี้ใหชัดเจน ปจจุบันอุตสาหกรรมการทองเที่ยวที่ผานมาสะทอนความยั่งยืนไดดีกวา ผลประโยชนตกถึงคนรากหญาดวย เนื่องจากชาวบานสามารถนําผลิตภัณฑชุมชน OTOP ออกมาจําหนายได คนในชุมชนเกิดรายไดจากการทองเที่ยวภาพลักษณจึงดีกวาอุตสาหกรรมดานพลังงานที่ผลประโยชนกระจุกอยูเฉพาะคนบางกลุม โดยเฉพาะกลุมทุนซึ่งระดับชาวบานอาจไมไดรับประโยชนเทาที่ควร”40 ส่ิงที่สะทอนถึงความเติบโตทางเศรษฐกิจและนําไปสูการจางงานสรางรายได คือ การ

เกิดนิคมอุตสาหกรรม ภายใตการพัฒนาพื้นที่ชายฝงทะเล เร่ิมจากนิคมอุตสาหกรรมมาบตาพุดที่เร่ิมตั้งคร้ังแรกเม่ือป 2532 เปนตนมา โดยการนิคมอุตสาหกรรมแหงประเทศไทย (กนอ.) สังกัดกระทรวงอุตสาหกรรม นับวาเปนนิคมอุตสาหกรรมที่มีโรงงานเปนภาคผลิตที่ใหญที่สุดและมีความสําคัญตอการพัฒนาเศรษฐกิจไทยซึ่งประกอบดวย อุตสาหกรรมปโตรเคมี กาซ เคมีภัณฑ โรงงานไฟฟา โรงกล่ันน้ํามัน และเหล็ก นอกจากนี้นิคมอุตสาหกรรมยังมีหนาที่สนับสนุนใหสิทธิประโยชนจัดส่ิงอํานวยความสะดวกและบริการตาง ๆ แกนักลงทุนอุตสาหกรรม41 นับจากนั้นนิคมอุตสาหกรรม ไดขยายเพิ่มข้ึนเร่ือย ๆ ตามแผนพัฒนาชายฝงทะเลตะวันออกมีข้ึนเปนระยะ ๆ เม่ือรัฐบาลเดินหนาโครงการพัฒนาชายฝงทะเลภาคตะวันออก หรืออิสเทิรนซีบอรด เพื่อเปนแมเหล็กดึงทุนตางชาติ ขาวการคนพบแหลงกาซในอาวไทยจนคนไทยรูสึกโชติชวงชัชวาลไปตาม ๆ กัน ความหนาแนนของโรงงานอุตสาหกรรม ไดขยายไปตามแนวชายฝงตะวันออก โดยเฉพาะในจังหวัดระยอง ชลบรีุ ฉะเชิงเทรา ปราจีนบุรี เชน นิคมอุตสาหกรรมมาบตาพุด ผาแดง ปลวกแดง นิคมพัฒนา เหมราช 1 เหมราช 2 นิคมปนทอง นิคมอมตะ นิคมแหลมฉบัง และนิคมอุตสาหกรรม 304 เปนตน

40นายชูชาติ ออนเจริญ, ผูอํานวยการการทองเที่ยวจังหวัดระยอง, สัมภาษณ

28 สิงหาคม 2555. 41การนิคมอุตสาหกรรมแหงประเทศไทย, กนอ. I-EA-T GROW TOGETHER,

เอกสารประชาสัมพันธ, 2555.

136

ในชวงของ พล.อ.ชาติชาย ชุณหะวัณ ทําใหเศรษฐกิจไทยชวงป 2531-2533 เติบโตมากกวา 10 % จนถูกขนานนามวา “ยุคทอง” เพราะคนไทยสวนใหญ ม่ังคั่งเพิ่มข้ึนโดยถวนหนา การเก็งกําไรขยายวงกวางจาก หุน ที่ดิน ยิ่งพล.อ.ชาติชาย ชุนหะวัณ ประกาศวิสัยทัศนเปล่ียนสนามรบเปนสนามการคายิ่งทําใหคนไทยฝนถึงตัวเลขทางเศรษฐกิจที่จะพุงสูงข้ึนไปอีก และ ความเจริญเติบโตภาคอุตสาหกรรม ความโชติชวงทางภาคอุตสาหกรรมโดยเฉพาะอุตสาหกรรมพลังงานความพยายามนําประเทศไปสูการเปนเสือเศรษฐกิจตัวที่หาแหงเอเชีย หรือประเทศอุตสาหกรรมใหมที่คนไทยรูในนาม นิกส (NICs : newly industrialized countries)42

“พลังงานในอาวไทยนั้นมีสวนสําคัญตอภาคอุตสาหกรรมไมวาจะเปนสารประกอบจากกาซธรรมชาต ิและน้ํามันที่นําไปสูอุตสาหกรรมปโตรเคมี และที่ถูกแปรเปล่ียนเปนพลังงานไฟฟา ปอนโรงงานอุตสาหกรรมตาง ๆ รวมทั้งที่ใชในครัวเรือน แตอยางไรก็ตามพลังงานที่ขุดเจาะข้ึนมาจะถูกนําไปใชประโยชนในภาคอุตสาหกรรมในปริมาณที่มาก และสินคาจากภาคอุตสาหกรรมนําไปพัฒนาประเทศในรูปแบบตาง ๆ กอใหเกิดสินคาและสงออกไปตางประเทศ เกิดการจางงาน และมีผลกับตัวเลขของ GDP และเกี่ยวของกับระบบทุนมหาศาล”43

การกอเกิดโรงแยกกาซจึงเปนอีกตัวบงชี้อยางหนึ่งถึงความโชตชวงชัชวาลอันเนื่องมาจากพลังงานในอาวไทย ซึ่งผูวิจัยไดสรุปขอมูลจากการสัมภาษณนายประทีป เองฉวน44 ผูอํานวยการนิคมอุตสาหกรรมมาบตาพุดที่ไดเลาถึงการสรางโรงแยกกาซธรรมชาติที่ไดจาก อาวไทยโดยมีรายละเอียดดังตอไปนี้ โรงแยกกาซธรรมชาติในประเทศไทยเกิดข้ึนหลังจากที่มีการนํากาซธรรมชาติซึ่งพบในอาวไทยมาใชประโยชน เพื่อทดแทนการใชน้ํามันดิบที่ตองนําเขาจากตางประเทศ ซึ่ง ปตท. ในฐานะผูรับผิดชอบในดานพลังงานของประเทศไทย จึงกอสรางทอสงกาซธรรมชาติจากแหลงผลิตในทะเลมาข้ึนฝงที่ ต.มาบตาพุด อ.เมือง จ.ระยอง และวางทอสงกาซไปยังโรงไฟฟาบางปะกงและพระนครใตของการไฟฟาฝายผลิต (กฟผ.) เพื่อนํากาซฯไปใชเปนเชื้อเพลิงผลิตไฟฟา และไดแยกดําเนินการสรางโรงแยกกาซธรรมชาติ เพื่อนําสวนประกอบที่เปนสารไฮโดรคารบอนที่เปน

42จิตติศักดิ์ นันทพานิช, “ทางสายเปล่ียนแปลงประเทศไทย (1),” บทความจาก

หนังสือพิมพฐานเศรษฐกิจ (8 สิงหาคม 2554). 43สุทธิชัย สุขสีเสน, พลังงานจังหวัดสงขลา, สัมภาษณ 19 ธันวาคม 2555. 44ประทีป เองฉวน, ผู อํานวยการนิคมอุตสาหกรรมมาบตาพุด , สัมภาษณ

18 กุมภาพันธ 2556.

137

ประโยชนมากมาย นับเปนปจจัยสําคัญของการพัฒนาอุตสาหกรรมในพื้นที่ชายฝงทะเลภาคตะวันออก และบริเวณพื้นที่ซึ่งแนวทอสงกาซธรรมชาติผาน โดยเฉพาะอุตสาหกรรมปโตรเคมีและอุตสาหกรรมตอเนื่องอ่ืน ๆ ซึ่งมีลําดับของการดําเนินการสรางโรงแยกกาซที่ไดจากอาวไทย ดังนี้ เร่ิมตนจากการที่ ปตท. ขออนุมัติจากคณะรัฐมนตรีเพื่อดําเนินการกอสรางโรงแยก กาซธรรมชาติข้ึน 2 หนวยที่ ต.มาบตาพุด อ.เมือง จ.ระยอง แตในระยะแรกไดดําเนินการ กอสรางเพียงหนวยเดียวกอน ใชงบประมาณ 7,360 ลานบาท โดยไดกอสรางโรงแยกกาซธรรมชาติหนวยที่ 1 ซึ่งมีกําลังการผลิต 350 ลานลูกบาศกฟุตตอวัน ตั้งแต พ.ศ. 2525 และกอสรางแลวเสร็จในพ.ศ.2527 และเร่ิมดําเนินการอยางเปนทางการในพ.ศ. 2528 โดยไดรับพระมหากรุณาธิคุณ จากพระบาทสมเด็จพระเจาอยูหัวเสด็จพระราชดําเนินทรงประกอบพิธีเปดวันที่ 18 เมษายน พ.ศ. 2528 ตอมาความตองการใชกาซปโตรเลียมเหลว (LPG หรือกาซหุงตม) ไดขยายตัวสูงข้ึนอยางรวดเร็ว คณะรัฐมนตรีจึงอนุมัติให ปตท. กอสรางโรงแยกกาซธรรมชาติ หนวยที่ 2 ข้ึนในบริเวณเดียวกับโรงแยกกาซธรรมชาติ หนวยที่ 1 ใชงบประมาณทั้งส้ิน 2,057 ลานบาท มีกําลัง การผลิต 250 ลานลูกบาศกฟุตตอวัน และสรางแลวเสร็จในตน พ.ศ. 2534 และเนื่องจาก ความตองการใชกาซปโตรเลียมเหลวยังคงขยายตัวอยางตอเนื่อง คณะรัฐมนตรีจึงอนุมัติการสรางโรงแยกกาซธรรมชาติ หนวยที่ 3 ที่มีกําลังการผลิต 350 ลานลูกบาศกฟุตตอวัน ที่ จ.ระยองในบริเวณเดียวกันกับหนวยที่ 1 และหนวยที่ 2

โรงแยกกาซธรรมชาติหนวยที่ 4 ซึ้งกําลังการผลิต 230 ลานบาศกฟุตตอวัน ที่ อ. ขนอม จ.นครศรีธรรมราช ซึ่งเปดดําเนินการอยางเปนทางการใน พ.ศ. 2539 ทั้งสองหนวย เพื่อสนองความตองการใชกาซปโตรเลียมเหลว หรือกาซหุงตมที่เพิ่มข้ึนมากจนตองนําเขามาทดแทนรวมทั้งชวยเสริมสราง ความม่ันคงใหแกอุตสาหกรรมปโตรเคมีในพื้นที่ชายฝงทะเลตะวันออก และดวยความตองการดานวัตถุดิบตั้งตนสําหรับผลิตภัณฑปโตรเคมีที่ มี เพิ่ม ข้ึน ในป 2542 คณะกรรมการ ปตท. จึงมีมติเห็นชอบใหกอสรางโรงแยกกาซธรรมชาติ หนวยที่ 5 ข้ึนที่บริเวณนิคมอุตสาหกรรมมาบตาพุด อ.เมือง จ.ระยอง มีกําลังการผลิต 530 ลานลูกบาศกฟุตตอวัน โดยเปดดําเนินการในเชิงพาณิชยเม่ือเดือนสิงหาคม 2548 อีกทั้งใน พ.ศ. 2548 ไดดําเนินการกอสราง โรงแยกกาซธรรมชาติ หนวยที่ 6 ขนาดกําลังการผลิต 800 ลานลูกบาศกฟุตตอวัน ภายในพื้นที่เดียวกันกับหนวยที่ 1 2 3 และ 5 ใน จ.ระยอง โดยเร่ิมดําเนินการเชิงการเชิงพาณิชยไดเม่ือ ป 2553 นอกจากนี้ยังมีที่อําเภอจะนะ จังหวัดสงขลา รองรับกาซธรรมชาติจากโครงการคารวมไทย-มาเลเซีย อีกหนึ่งแหง รวมประเทศไทยมีโรงแยกกาซธรรมชาติที่รองรับกาซธรรมชาติจากอาวไทยมีทั้งส้ิน 7 แหง (รวมที่จะนะจังหวัดสงขลา)

138

“แนวนโยบายตั้งแตยุคพลเอกเปรม ติณสูลานนท กอใหเกิดอิสเทิรนซีบอรด สืบเนื่องจากที่ประเทศไทยคนพบแหลงกาซธรรมชาติในอาวไทย จึงมีแนวคิดที่จะนํามาใชประโยชน ชวงแรกนํามาใชเปนเชื้อเพลิงผลิตไฟฟา ตอมามีแนวคิดที่จะพัฒนาเปนปโตรเคมีข้ึนมา ประกอบกับประชากรเพิ่มมากข้ึน มีความตองการใชส่ิงของในการอุปโภค บริโภค ส่ิงอํานวยความสะดวกเพิ่มตามมาดวย ในอดีตสวนใหญเราจะนําผลผลิตทางภาคเกษตรไปแลกหรือสงออกแตเราซื้อวัสดุจากตางประเทศ เชน ซื้อเม็ดพลาสติก ซื้อวัสดุหลายอยางจากตางประเทศทําใหเราเสียดุลการคา ในการตั้งโรงแยกกาซคร้ังแรกเม่ือป 2527 สรางนิคมอุตสาหกรรมมาบตาพุดตั้งป 2532 และทําใหมีโรงงานอุตสาหกรรมเขามาในพื้นที่ เนื่องจากเราตองการใชอุตสาหกรรมเปนตัวนําเศรษฐกิจในการพัฒนาประเทศ ถาเรานําพืชภาคการเกษตรไปแลกเหมือนในอดีตไมเพียงพอกับความตองการ และจะทําใหขาดดุลการคามากยิ่งข้ึน จะสงผลกระทบตอความม่ันคงทางเศรษฐกิจยิ่งไปกวานี้ การมีนิคมอุตสาหกรรมรองรับการแยกกาซมาทําใหเกิดอุตสาหกรรมตนน้ํา และขยายไปสูอุตสาหกรรมปลายน้ําที่มีอยูทั่วทุกภูมิภาคของไทย ทั้งกรุงเทพ ปริมณฑล สรางศักยภาพทางเศรษฐกิจไทย ซึ่งเปนผลประโยชนตอประเทศชาติอยางมากในทางเศรษฐกิจ”45

จากบทสัมภาษณของผูอํานวยการนิคมอุตสาหกรรมมาบตาพุด สะทอนใหเห็นประโยชนของพลังงานจากอาวไทย โดยเฉพาะกาซธรรมชาติ ที่สงผลตอความเติบโตทางเศรษฐกิจ ลดการเสียดุลการคากับตางประเทศ และยังทําใหประเทศไทยมีไฟฟาใชทั่วประเทศ ส่ิงสําคัญคือเกิดการอุตสาหกรรมตั้งแตอุตสาหกรรมตนน้ําหรืออุตสาหกรรมปโตรเคมี ที่สงตอสินคาไปยังอุตสาหกรรมปลายน้ําที่อยูในภูมิภาคตาง ๆ ทั้งในกรุงเทพ และปริมณฑล ที่สงใหเกิดการจางงานและสรางส่ิงอํานวยความสะดวกจากวัสดุดังกลาว อันเปนสินคาที่สามารถผลิตไดเองในประเทศไทย สอดคลองกับ ประเสริฐ สลิลอําไพ ผูจัดการฝายส่ือสารองคกร ของ ปตท. ที่มองวาพลังงานในอาวไทยนั้นมีสวนสําคัญตอการพัฒนาประเทศอยางมาก และยังไมเพียงพอกับความตองการของประชาชน

“กาซธรรมชาติในอาวไทยนั้นมีประโยชนอยางมากในการพัฒนาประเทศที่ผานมา ทําใหประเทศไทยโชติชวงชัชวาล และดวยวิถีของคนไทยที่ตองการความสะดวก

45ประทีป เองฉวน, ผู อํานวยการนิคมอุตสาหกรรมมาบตาพุด, สัมภาษณ

19 กุมภาพันธ 2556.

139

รวดเร็ว และการพัฒนาในดานโครงสรางพื้นฐานตาง ๆ ลวนแลวแตใชประโยชนจากอุตสาหกรรมปโตรเคมีทั้งส้ิน เพราะทําใหเกิดกระบวนการผลิต การจางงาน นอกจากนี้นโยบายรัฐบาลเองก็สงผลใหเกิดการใชพลังงานจํานวนมาก โดยเฉพาะภาคอุตสาหกรรม การใชเปนพลังงานกับรถยนต โดยเฉพาะปริมาณรถยนตที่มีเพิ่มข้ึนแตละป จนปจจุบันนี้พลังงานในอาวไทยไมเพียงพอตองซื้อจากตางประเทศ เนื่องจากประเทศไทยนั้นมีภาคอุตสาหกรรมเพื่อการสงออก จึงจะสามารถลดดุลการนําเขา สรางความเชื่อม่ันทางดานเศรษฐกิจของชาติ กาซธรรมชาติที่พบไมเพียงแตใหประชาชนมีไฟฟาใช แตมันยังสงผลตอเศรษฐกิจและสังคมของชาติ รวมถึงภาพลักษณของประเทศดวย”46

การสัมปทานแปลงสํารวจขุดเจาะพลังงานในอาวไทย ประเทศไทยมีการใหสัมปทานเพื่อการสํารวจและขุดเจาะพลังงาน มาแลวทั้งในพื้นที่บนบก และทะเลอาวไทย รวมทั้งฝงทะเลอันดามัน จํานวน 20 คร้ัง โดยคร้ังแรกเม่ือวันที่ 13 กันยายน 2514 ซึ่งมีการเปดใหสัมปทานทั้งบนบก อาวไทย และทะเลอันดามัน การเปดสัมปทานในคร้ังนี้มีผูไดรับสัมปทาน 10 ราย แปลงสัมปทาน จํานวน 22 แปลง สวนคร้ังสุดทายไดดําเนินการเปดสัมปทานเม่ือ 23 พฤษภาคม 2550 สามารถออกสัมปทานได 26 ราย จํานวน 30 แปลง รวมจํานวนผูไดรับการออกสัมปทานทั้งส้ิน 110 ราย แปลงสัมปทาน 157 แปลง และการขอสัมปทานทั้งหมดไดดําเนินการไปแลวเพียง 63 สัมปทาน หรือ 79 แปลง สะทอนใหเห็นวายังมีแปลงสัมปทานที่ยังไมไดดําเนินการสํารวจและขุดเจาะ จํานวน 78 แปลง อันเปนที่นาสังเกตวาสัมปทานที่ขอไวคร้ังแรกตั้งแตป 2514 ไดดําเนินการไปเพียง 6 ราย หรือจํานวน 13 แปลง จากจํานวนแปลงสัมปทานที่รัฐออกใหจํานวน 22 แปลง เกือบรอยละ 50 ที่ยังไมไดดําเนินการสํารวจขุดเจาะหาแหลงพลังงาน ซึ่งขอมูลเหลานี้ไมมีการส่ือสารใหประชาชนทราบวาที่ไมมีการดําเนินการนั้นเปนเพราะเหตุผลใดและผูรับสัมปทานยังมีสิทธิในการดําเนินกิจการอยูหรือไม อยางไรก็ตามอาจมีบางสวนที่เปนพื้นที่ทับซอนกับกัมพูชา ซึ่งเปนเร่ืองเกี่ยวกับการเมืองระหวางประเทศ

46ประเสริฐ สลิลอําไพ, ผูจัดการฝายการส่ือสารองกรค ปตท ., สัมภาษณ

10 ธันวาคม 2555.

140

การรับสัมปทานในทะเลอาวไทยจากอดีตถึงปจจุบันมีจํานวน 29 สัมปทาน จํานวน 63 แปลง แบงเปนพื้นที่สํารวจ 83,432.140 ตารางกิโลเมตร มีพื้นที่ผลิต 16,089.329 ตารางกิโลเมตร นอกจากนี้ยังเปนพื้นที่สงวนอีก 5,168.563 ตารางกิโลเมตร47

ขั้นตอนการขอสัมปทาน การขอสัมปทานสํารวจและขุดเจาะพลังงานจําเปนอยางยิ่งตองส่ือสารใหประชาชน

โดยเฉพาะผูประกอบการดานปโตรเลียม ที่ตองรับรูขอมูล กฎระเบียบที่เกี่ยวของกับการขอสัมปทาน และหนวยงานดําเนินการ ซึ่งมีข้ันตอนดังตอไปนี้ ข้ันที่ 1 หนวยงานของรัฐประกาศพื้นที่ใหสัมปทานเพื่อการสํารวจและขุดเจาะปโตรเลียม เพื่อใหผูประกอบการยื่นหลักฐานขอสัมปทาน โดยการยื่นหลักฐานแสดงการเปนบริษัท ถาเปนบริษัทที่ตั้งอยูในตางประเทศจะตองมีหนังสือรับรองสถานภาพของสถาบันเอกอัครราชทูต สถานทูต หรือกงสุลของประเทศนั้น ๆ ที่ตั้งอยูในประเทศไทย พรอมทั้งชี้แจงรายละเอียดทุน อุปกรณ แจงใหกรมเชื้อเพลิงธรรมชาติ ซึ่งเปนไปตามแบบ ชธ/ป2 (อางอิงกฎกระทรวงวาดวยการกําหนดแบบสัมปทานในภาคผนวก) โดยมีรายละเอียดดังนี้ เขตสัมปทาน หมายถึง บรรดาแปลงสํารวจ พื้นที่ที่มีการผลิต และพื้นที่ที่สงวนไวซึ่งผูรับสัมปทานมีสิทธิประกอบกิจการปโตรเลียมตามสัมปทาน แปลงสํารวจ ใหระบุรายละเอียดเกี่ยวกับแปลงสํารวจวามีจํานวนกี่แปลง แตละแปลงมีรายละเอียดอยางไร และรวมขนาดพื้นที่เปนเทาไร ในกรณีการสํารวจในทะเลการกําหนดชายฝงทะเลใหถือแนว ณ ระดับน้ําทะเลปานกลาง แตเสนแบงไหลทวีปสวนที่อยูในทะเลใหเปนไปตามหลักกฎหมายระหวางประเทศที่ยอมรับโดยทั่วไปและตามสัญญากับตางประเทศ กรณีตองการตอสัมปทานในกรณีที่รับสัมปทานอยูแลวใหขอยื่นคําขอตอสัมปทานตอรัฐมนตรีกอนส้ินระยะเวลาการสํารวจเดิมไมนอยกวา 6 เดือน ข้ันที่ 2 คณะกรรมการรับคําขอ ในคําขอนี้จะตองใหรายละเอียดเกี่ยวกับบริษัทหลักฐานแสดงถึงความเปนบริษัท หลักฐานการเปนอํานาจของผูมีอํานาจลงลายมือชื่อ หลักฐานแสดงวาบริษัทมีทุน มีเคร่ืองมืออุปกรณที่สามารถดําเนินการไดและมีสถาบันที่นาเชื่อถือรับรอง ตลอดจนการใหเหตุผลทางธรณีประกอบโครงการโดยสังเขป ระบุวิธีการและระยะเวลาดําเนินการ เปนตน มีรายละเอียดดังนี้

ขอ 1 คําขอสัมปทานปโตรเลียมใหเปนไปตามแบบ ชธ/ป1 ทายกฎกระทรวงนี้

47กรมเชื้อเพลิงธรรมชาต,ิ 40 ป ของกฎหมายปโตรเลียมไทย, (กรุงเทพฯ: กระทรวง

พลังงาน, 2554), น. 49-51.

141

ขอ 2 ผูขอสัมปทานตองเปนบริษัท โดยมีหลักฐานและโครงการประกอบคําขอสัมปทาน ดังตอไปนี้

(1) หลักฐานแสดงการเปนบริษัท ในกรณีที่ผูขอสัมปทานเปนบริษัทที่ตั้งข้ึนตามกฎหมายตางประเทศตองมีหนังสือรับรองของสถานเอกอัครราชทูต สถานทูต หรือสถานกงสุลของประเทศนั้นซึ่งตั้งอยูในประเทศไทย หรือตองมีหนังสือรับรองของสถานเอกอัครราชทูต สถานทูต หรือสถานกงสุลของประเทศไทย ซึ่งตั้งอยูในประเทศนั้น หรือตองมีหนังสือรับรองของโนตารีปบลิคในประเทศนั้นหรือของบุคคลซึ่งมีอํานาจหนาที่อยางเดียวกับโนตารีปบลิคในกรณีที่ประเทศที่เปนที่ตั้งบริษัทผูขอสัมปทานไมมีโนตารีปบลิค

(2) หลักฐานการเปนผูมีอํานาจลงลายมือชื่อผูกพันบริษัทหรือผูมีอํานาจลงลายมือชื่อแทนบริษัทผูขอสัมปทาน

(3) หลักฐานแสดงวามีทุน เคร่ืองจักร เคร่ืองมือ อุปกรณ และผูเชี่ยวชาญเพียงพอที่จะสํารวจ ผลิต ขาย และจําหนายปโตรเลียม โดยมีสถาบันที่เชื่อถือได ออกหนังสือรับรองวาเปนความจริง

(4) โครงการสํารวจปโตรเลียมพรอมทั้งเหตุผลทางธรณีวิทยาที่สนับสนุนโดยสังเขป โดยระบุวิธีการ และกําหนดเวลาที่จะดําเนินการ ตลอดจนประมาณการคาใชจายในการนั้น ๆ ดวย

ขอ 4 ในกรณีที่ผูขอสัมปทานมีทุน เคร่ืองจักร เคร่ืองมือ อุปกรณ หรือผูเชี่ยวชาญ ไมเพียงพอหรือครบถวน แตมีบริษัทอ่ืนซึ่งรัฐบาลเชื่อถือ รับรองที่จะใหทุน เคร่ืองจักร เคร่ืองมือ อุปกรณ หรือผูเชี่ยวชาญจนเพียงพอที่จะสํารวจ ผลิต ขาย และจําหนายปโตรเลียม ผูขอสัมปทานตองมีหลักฐานแสดงการรับรองที่จะใหทุน เคร่ืองจักร เคร่ืองมือ อุปกรณ หรือผูเชี่ยวชาญและหลักฐานแสดงความสัมพันธในดานทุนหรือการจัดการระหวางบริษัทซึ่งรับรองกับผูขอสัมปทาน

รวมทั้งหลักฐานตามขอ 3 (1) (2) และ (3) ของบริษัทซึ่งรับรองดวย ขอ 5 ผูขอสัมปทานตองเสนอขอผูกพันในดานปริมาณเงินและปริมาณงานสําหรับ

การสํารวจปโตรเลียมในแปลงสํารวจแตละแปลง ดังตอไปนี4้8 (1) ในชวงขอผูกพันชวงที่หนึ่ง ใหเสนอขอผูกพันเปนรายป

48ราชกิจจานุเบกษา เลม 129 ตอนที่ 73 ก. กําหนดหลักเกณฑ วิธีการ และเงื่อนไข

ในการขอสัมปทานปโตรเลียม พ.ศ. 2555, น. 21-22.

142

(2) ในชวงขอผูกพันชวงที่สอง ใหเสนอขอผูกพันเปนจํานวนรวมสําหรับระยะเวลาของชวง ขอผูกพันทั้งชวง ซึ่งหากผูขอสัมปทานไดรับสัมปทาน ผูขอสัมปทานจะตองแบงขอผูกพันดังกลาว เปนรายละเอียด โดยเสนอใหเปนแผนงานตามเงื่อนไขและระยะเวลาที่กําหนดไวในแบบสัมปทาน ขอผูกพันในดานปริมาณเงินและปริมาณงานที่เสนอตามขอนี้จะตองมีความชัดเจน และปริมาณเงินที่เสนอจะตองมีความสัมพันธสอดคลองกับปริมาณงานดวย

ขอ 6 ผูขอสัมปทานจะเสนอใหผลประโยชนพิเศษ เชน การใหเงินทุนการศึกษา เงินอุดหนุน เงินใหเปลาในการลงนามในสัมปทาน หรือเงินใหเปลาในการผลิต นอกเหนือไปจากเงื่อนไขที่ทางราชการไดกําหนดใหเปนผลประโยชนพิเศษไวในการประกาศยื่นคําขอสัมปทานก็ได

ขอ 7 ผูขอสัมปทานตองยื่นคําขอสัมปทาน หลักฐาน โครงการ และขอเสนอตามที่กําหนดตอกรมเชื้อเพลิงธรรมชาติ

ขอ 8 ผูขอสัมปทานตองชําระคาธรรมเนียมคําขอสัมปทาน ขอ 9 เม่ือพนักงานเจาหนาที่กําหนดวัน เวลา และสถานที่ใหผูขอสัมปทานมาลง

ลายมือชื่อ ในสัมปทาน โดยแจงเปนหนังสือใหผูขอสัมปทานทราบแลว ถาผูขอสัมปทานมิ

ไดมาลงลายมือชื่อ ในสัมปทานภายในกําหนดเวลาดังกลาวโดยไมมีเหตุอันสมควร ใหถือวาผูขอ

สัมปทานไมประสงคจะขอรับสัมปทานตอไป ข้ันที่ 3 คณะอนุกรรมการปโตรเลียมพิจารณาคําขอสัมปทาน ซึ่งคณะอนุกรรมการ

ชุดนี้พิจารณาความเปนไปไดจากหลักฐานประกอบคําขอ ข้ันที่ 4 คณะอนุกรรมการพิจารณาขอกฎหมายและรางสัมปทาน เม่ือชุดคําขอผาน

การพิจารณามาแลว อนุกรรมการจัดทํารางสัมปทานตลอดจนรางขอกฎหมายและเงื่อนไขการใหสัมปทานกับผูประกอบการ

ข้ันที่ 5 คณะกรรมการปโตรเลียม พิจารณาขอมูลและขอกฎหมายเกี่ยวกับ รางสัมปทาน เพื่อที่จะเสนอรัฐมนตรีกระทรวงพลังงาน

ข้ันที่ 6 คณะรัฐมนตรีพิจารณาการใหสัมปทาน ข้ันที่ 7 หลังจากมติคณะรัฐมนตรีเห็นชอบใหสัมปทาน รัฐมนตรีกระทรวงพลังงาน

ออกสัมปทานใหกับบริษัทผูขอสัมปทาน ตามแบบ ชธ.ป2 ตามกฎกระทรวง สรุปข้ันตอนการขอสัมปทานไดดังภาพตอไปนี้

143

ภาพที่ 5.1 ข้ันตอนการขอสัมปทาน

การสํารวจขุดเจาะพลังงานในอาวไทยนั้น ภาครัฐไดเปดโอกาสใหภาคเอกชน หรือผูประกอบการขอสัมปทานสํารวจและขุดเจาะพลังงานในอาวไทยนั้น ในกลุมทุนน้ํามันจะดําเนินการตามข้ันตอนของกระทรวงพลังงาน โดยกรมเชื้อเพลิงธรรมชาติ เปนหนวยงานที่มีอํานาจหนาที่ในการดําเนินการเสนอพิจารณาการใหสัมปทาน ตามกฎกระทรวงแบงสวนราชการกรมเชื้อเพลิงธรรมชาติ กระทรวงพลังงาน พ.ศ. 2551 ที่ไดกําหนดอํานาจหนาที่ของกรมเชื้อเพลิงธรรมชาติ ดังนี้49

1. บริหารจัดการในการใหสัมปทาน การสํารวจ การผลิต การเก็บรักษา การขนสง การขาย และการจําหนายปโตรเลียม

2. กําหนดแนวทางการจัดหา การพัฒนา และการจัดการแหลงปโตรเลียม

49กรมเชื้อเพลิงธรรมชาต,ิ อํานาจหนาที่ตามกฎหมาย, (กรุงเทพฯ: กระทรวงพลังงาน,

2555), น. 11.

คณะกรรมการพิจารณาคําขอ

คณะอนุกรรมการพิจารณาคําขอสัมปทาน

คณะอนุกรรมการพิจารณา ขอกฎหมายและรางสัมปทาน

คณะกรรมการปโตรเลียม

รมว. พลังงาน

ครม.

รมว. พลังงาน ออกสัมปทาน

แบบ ชธ.ป2

144

3. วิเคราะห วิจัย และประเมินศักยภาพและปริมาณสํารอง และพัฒนาแหลงเชื้อเพลิงธรรมชาต ิ

4. พิจารณาสิทธิ ประสาน และอํานวยความสะดวกแกผูประกอบการใหเปนไป ตามกฎหมายและขอผูกพันตอรัฐ รวมทั้งจัดเก็บคาภาคหลวงและผลประโยชนอ่ืนใดจากปโตรเลียม

5. กําหนดมาตรฐานการดําเนินงานอาชีวอนามัย ความปลอดภัย และส่ิงแวดลอมในการประกอบกิจการปโตรเลียม

6. ประสานความรวมมือในการสํารวจและพัฒนาแหลงเชื้อเพลิงธรรมชาติในพื้นที่พัฒนารวม พื้นที่ทับซอนกับประเทศเพื่อนบาน และประเทศอ่ืน

7. บริหารจัดการขอมูลสารสนเทศปโตรเลียมและเชื้อเพลิงธรรมชาติอ่ืน ๆ 8. ปฏิบัติการอ่ืนใดตามที่กฎหมายกําหนดใหเปนอํานาจหนาที่ของกรมเชื้อเพลิง

ธรรมชาต ิหรือตามที่กระทรวงพลังงานหรือคณะรัฐมนตรีมอบหมาย กระบวนการดําเนินงานสัมปทานพลังงาน

เม่ือไดรับสัมปทานจากรัฐโดยกรมเชื้อเพลงธรรมชาติแลว กอนทําการสํารวจจะตองทําประชาพิจารณเพื่อรับฟงความคิดเห็นของประชาชนดานส่ิงแวดลอม (EIA) ดานสุขภาพ (HIA) และดานสังคม (SIA) หากการทําประชาพิจารณผานไปดวยดีผูประกอบการจะทําการเจาะสํารวจหาแหลงพลังงานได และนําผลไปวิเคราะห ถึงปริมาณเชื้อเพลงธรรมชาติ ซึ่งอาจจะพบแหลงเชื้อเพลิงพลังงานหรือไมพบก็อาจเปนไปได หลังการสํารวจจะตองทําการปดปากหลุมเจาะใหกลับคืนสูสภาพปกติใหมากที่สุด และเก็บร้ือถอนวัสดุอุปกรณ เพื่อไมใหสงผลกระทบตอวิถีชีวิตของชาวประมง และเปนอันตรายตอสัตวทะเล หากพบแหลงพลังงานเชื้อเพลิงจะตองดําเนินการขุดเจาะเพื่อการผลิต จําเปนอยางยิ่งตองจัดทํารายงานและรับฟงความคิดเห็นของผูมีสวนไดสวนเสียกอนดําเนินการ หากการรับฟงความคิดเห็นเปนไปดวยดีและมีแนวทางแกไขปญหาก็จะไดรับอนุญาตใหทําการเจาะพลังงานได ระบบสัมปทานภายใตพระราชบัญญัติปโตรเลียม มีการเปล่ียนแปลงแกไขอยู 3 คร้ัง กลาวคือ คร้ังแรกในระหวางชวงป 2514-2525 เม่ือไดรับสัมปทานแลวผูรับสัมปทานจะมีเงื่อนระยะเวลาของการทําสัมปทาน โดยแบงเปนระยะเวลาสํารวจ (ชวงผูกพันการสํารวจ) ประกอบดวยชวงที่ 1 มีระยะเวลา 5 ป ชวงที่สองใหระยะเวลา 3 ป และชวงที่สามขอตอเวลาไดอีก 3 ป (5 ป+ 3 ป + ขอตอไดอีก 3 ป รวม 11 ป) สวนระยะเวลาการผลิต (ตองมีพื้นที่ผลิต) ใหเวลา 30 ป ขอขยายเวลาไดอีก 10 ป รวมเปน 40 ป และพื้นที่แปลงสํารวจจะตองดําเนินการระหวางปที่ 1-5 เรียกวาพื้นที่เร่ิมแรก ปที่ 6-8 จะตองดําเนินการใหได 50% เม่ือหมดชวงตอระยะเวลาอีกให

145

ดําเนินการสํารวจและเหลือพื้นที่แปลงสัมปทานเพียง 25% และสามารถสงวนพื้นที่ได 12.5% ของพื้นที่เร่ิมแรก และรายไดของรัฐที่เกิดจากการใหสัมปทานพลังงาน ไดแก คาภาคหลวง (คงที่ 12.5% ) ภาษีเงินไดปโตรเลียม (50%) คร้ังที่สองการแกไขพระราชบัญญัติปโตรเลียม พ.ศ. 2525 ซึ่งไดเพิ่มเงื่อนไขผลประโยชนพิเศษรายปตามประกาศกระทรวงอุตสาหกรรม เม่ือ 5 กุมภาพันธ 2525 เพราะเม่ือ ป 2524 เร่ิมผลิตกาซจากอาวไทย (แหลงเอราวัณ) เม่ือพบแหลงน้ํามัน ราคาน้ํามันเพิ่มสูงข้ึนรัฐจึงมีแนวคิดที่จะเพิ่มผลตอบแทนใหกับรัฐ จึงไดเพิ่มเงื่อนไขผลประโยชนพิเศษรายป (เงื่อนไขนี้นํามาใชตั้งแต 2525-2532) ซึ่งมีรายละเอียดดังนี้ ผลประโยชนรายป เม่ือเสียภาษีเงินได จํากัดใหหักคาใชจายได 20% ของรายไดในรอบป หากหักเกินตองจายสวนเกินใหรัฐ โบนัสรายป จายเพิ่มจากคาภาคาหลวงในอัตรากาวหนา (รอยละ 27.5/ 37.5/ 43.5 ของมูลคาปโตรเลียม) ตามอัตราการผลิตน้ํามันดิบ (ตั้งแต 10,000/20,000/30,000 บารเรลข้ึนไป) คร้ังที่สาม ระบบสัมปทานภายใตพระราชบัญญัติปโตรเลียม พ.ศ. 2532 และ ใชมาถึงปปจจุบัน พระราชบัญญัตินี้ไดกําหนดระยะเวลาของกระบวนการสัมปทาน คือ ระยะเวลาสํารวจ (ชวงขอผูกพันการสํารวจ) ชวงที่หนึ่ง 3 ป ชวงที่สอง 3 ป และชวงที่สามขอตอเวลาไดอีก 3 ป สวนระยะเวลาผลิต (ตองมีพื้นที่ผลิต) จํานวน 20 ป และขอขยายได 10 ป และพื้นที่แปลงสํารวจในชวงปที่ 1-4 ใหเปนพื้นที่เร่ิมแรก ปที่ 5-6 ใหเหลือพื้นที่ 50% ป และปที่ 7-9 เหลือพื้นที่ 25% และสามารถสงวนพื้นที่ได 12.5% รายไดของรัฐ ประกอบดวยคาภาคหลวงอันตรากาวหนา 5-15% ภาษีเงินไดปโตรเลียม 50% ผลประโยชนตอบแทนพิเศษ (SMB) ซึ่งพระราชบัญญัติ ฉบับนี้มีเงื่อนไขเพิ่มเติม ตองเร่ิมผลิตภายใน 4 ป นับจากวันที่ไดพื้นที่ผลิต สงวนพื้นที่ได 5 ป และเพิ่มคาสงวนพื้นที่

“ขบวนการใหไดมาซึ่งสัมปทาน รัฐบาลประกาศ มีการยื่นซองและจองแปลงสัมปทาน ใหรายละเอียดไปวาจะเจาะกี่หลุมเม่ือไรใชระยะเวลาเทาไร ถาไมทําตามกําหนดจะตองมีการยึดเงินมัดจํา มีการจองและวางมัดจําถาไมทําก็ยึด การจองภายใน 2 ป ก็ทําการเจาะ ซึ่งการเจาะก็เปนการสรางงาน และใหขอมูลไปยังกระทรวงพลังงาน ขอมูลดานพลังงานจะถูกแบงใหทั้งเอกชนผูสัมปทานและรัฐไดขอมูลเพื่อเปนฐานขอมูลพลังงาน แตถาเจอก็จะทําการขุดเจาะในข้ันตอนตอไป การเจาะจะทําใหไดขอมูลใหกับรัฐ ถาไมเจาะก็ยึดเงิน ถาเจาะแลวมีน้ํามันก็ขอทํา

146

สัมปทานตอ กอนจะทําอะไรตองรับฟงความคิดเห็นของประชาชน ผลกระทบดานส่ิงแวดลอม (EIA) ดานสุขภาพ (HIA) ดานสังคม (SIA)50 “ในกระบวนการออกสัมปทาน สํารวจ ผลิต ร้ือถอนส่ิงปลูกสรางจากการประกอบกิจการปโตรเลียมทั้งหมด เปนความรับผิดชอบ ของกรมเชื้อเพลิงธรรมชาติ กระทรวงพลังงานทั้งหมดแตเพียงผูเดียว ตาม พรบ.ปโตรเลียม พ.ศ. 2514 โดยในการปดปากหลุมนั้น ปจจุบัน กระทรวงพลังงานกําลังออกประกาศกระทรวงเกี่ยวกับการควบคุมการร้ือถอนส่ิงปลูกสรางจากการประกอบกิจการปโตรเลียม โดยจะควบคุมกระบวนการร้ือถอน เร่ืองเงินและส่ิงแวดลอม โดยในปจจุบันประกาศกระทรวงอยูในข้ันตอนการพิจารณาของกฤษฎีกา”51

ขอผูกพันและหนาท่ีของผูรับสมัปทาน ส่ิงที่เปนขอผูกพันและหนาที่ของผูรับสัมปทาน ใหเปนไปตาม กฎกระทรวง กําหนดแบบสัมปทานปโตรเลียม พ.ศ. 2555 มีดังตอไปนี้52 (1) ผูรับสัมปทานจะตองประกอบกิจการปโตรเลียมตามสัมปทานนี้ดวยความเขมแข็งเทาที่ควร และใชความพยายามอยางสุดกําลังที่จะพัฒนาแหลงปโตรเลียมที่คนพบใหกวางขวางมากที่สุดตามวิธีการปฏิบัติงานปโตรเลียมที่ดี ทั้งนี้ ตองคํานึงอยูตลอดเวลาถึงสถานการณตลาดจําหนายปโตรเลียม โดยผูรับสัมปทาน จะพยายามผลิตปโตรเลียมที่คนพบดวยวิธีการผลิตที่ทันสมัยที่สุดในอัตราที่ม่ันใจไดวาสวนของปโตรเลียมสํารอง ที่คนพบอันอาจผลิต ขาย หรือ จําหนายไดโดยมีกําไรนั้นจะไดรับการผลิตอยางเต็มกําลังความสามารถของตนตลอดอายุสัมปทานนี้ โดยเฉพาะอยางยิ่งผูรับสัมปทานรับจะดําเนินการใหถูกตองตามหลักเทคนิคและวิศวกรรม ที่เหมาะสมในการอนุรักษทรัพยากรปโตรเลียมและในการดําเนินการอ่ืน ๆ ที่ไดรับอนุญาตตามสัมปทานนี้

(2) ผูรับสัมปทานจะใชความพยายามอยางเต็มที่ที่จะไมใชวิธีประกอบกิจการปโตรเลียมใด ๆ ซึ่งขัดตอสาธารณประโยชนหรือกระทบกระเทือนตอเศรษฐกิจหรือประโยชนสุข

50ประพันธ จารุไสลพงษ, ผูอํานวยการฝายปฏิบัติการของ ปตท., สัมภาษณ

22 สิงหาคม 2555. 51นายพรศักดิ์ นามสมภารค, ตําแหนงวิศกรปโตรเลียม กรมเชื้อเพลิงธรรมชาติ,,

สัมภาษณ 20 พฤศจิกายน 2555. 52กฎกระทรวง การกําหนดแบบสัมปทานปโตรเลียม พ.ศ. 2555, น. 9.

147

ของประชาชนและในกรณีที่ การประกอบกิจการปโตรเลียมของผู รับสัมปทานกอใหเกิด ความเสียหายตอสาธารณประโยชนหรือประชาชน ผูรับสัมปทานมีหนาที่บําบัดปดปองและแกไขความเสียหายนั้นโดยทันที เพื่อเปนหลักประกันพันธะในการบําบัดปดปองและแกไข ความเสียหายดังกลาว ผูรับสัมปทานจะตองจัดใหมีการทําประกันภัยกับบริษัทประกันภัยที่มีความม่ันคง ภายในวงเงินที่เหมาะสมกับกิจการของตนโดยความเห็นชอบของอธิบดี และจะตองสงสําเนากรมธรรมประกันภัยและหลักฐานการชําระเบี้ยประกันภัยดังกลาวใหอธิบดีทราบทุกปตลอดอายุของสัมปทานนี้

(3) ผูรับสัมปทานตองจางผูซึ่งมีสัญชาติไทยเพื่อประกอบกิจการปโตรเลียมตามสัมปทานนี้ ในตําแหนงหนาที่ระดับตาง ๆ ใหมากที่สุดเทาที่จะกระทําไดตามคุณสมบัติของบุคคลเหลานั้น อนึ่ง หากยังหาผูซึ่งมีสัญชาติไทยที่มีความชํานาญงานเหมาะสมแกตําแหนงหนาที่ บางตําแหนงมิได ผู รับสัมปทานจะพยายามอยางดีที่ สุดที่จะฝกฝนผูซึ่งมีสัญชาติไทยใหมี ความชํานาญงานมากข้ึนจนเหมาะสมที่จะรับตําแหนงตาง ๆ ทุกระดับ ในกิจการปโตรเลียมไดภายในระยะเวลาอันสมควร

(4) ในการถือเอาประโยชนจากกาซธรรมชาติที่ผลิตได ผูรับสัมปทานตองปฏิบัติตามลําดับกอนหลัง ดังตอไปนี้

(ก) ใชในการอนุรักษทรัพยากรปโตรเลียม โดยเฉพาะอยางยิ่งเพื่อรักษาแรงกดดันในแหลงปโตรเลียมที่ผูรับสัมปทานกําลังผลิตอยู หรือสงไปใหผูรับสัมปทานรายอ่ืนใชเพื่อรักษาแรงกดดัน หรือเพื่อชวย ในการผลิตปโตรเลียมที่ยังตกคางอยูในแหลงปโตรเลียมของผูรับสัมปทานรายอ่ืนนั้น เม่ือไดรับความเห็นชอบจากอธิบดีแลว

(ข) ขายหรือจําหนายภายในประเทศ รวมทั้งขายหรือจําหนายใหแกรัฐบาลเพื่อใชในโครงการใด ๆ ซึ่งรัฐบาลสงเสริม

(ค) สงออกไปขายหรือจําหนายนอกประเทศ (5) ในกรณีที่ผูรับสัมปทานผิดนัดชําระเงินที่ผูรับสัมปทานมีหนาที่ตองชําระใหแกรัฐ

และเงินดังกลาวนั้นมิใชคาภาคหลวง ผลประโยชนตอบแทนพิเศษ หรือภาษีเงินไดปโตรเลียม ผูรับสัมปทานตองเสียดอกเบี้ยสําหรับเงินนั้นในอัตรารอยละสิบหาตอป นับแตวันที่ผิดนัด

นอกจากนี้ กฎกระทรวง ไดกําหนดใหผูรับสัมปทานไดตระหนักถึงความปลอดภัยในการผลิตปโตรเลียมในทะเล ที่ผูรับสัมปทานจะตองดําเนินการดังตอไปนี้ 53

53กฎกระทรวง กําหนดเขตปลอดภัยและเคร่ืองหมาย ในบริเวณที่มีส่ิงติดตั้งและกล

อุปกรณที่ใชในการสํารวจและผลิตปโตรเลียม พ.ศ. 2555, น. 29-30.

148

(1) กําหนดเขตปลอดภัยใหมีระยะไมเกิน 500 เมตร จากสวนนอกสุดของส่ิงติดตั้งหรือ กลอุปกรณ และใหมีการแจงเตือนเม่ือมีผูใดเขาใกลเขตปลอดภัย โดยจัดใหมีแผนที่แสดงเขตปลอดภัยและตําแหนงที่ตั้งของส่ิงติดตั้งและกลอุปกรณ และเก็บรักษาไว ณ ที่นั้นเพื่อแสดงแกพนักงานเจาหนาที่

(2) โคมไฟแสงสีขาวอยางนอยหนึ่งดวง ติดตั้งไวบนส่ิงติดตั้งและกลอุปกรณในตําแหนง ที่สามารถมองเห็นไดรอบทิศทางเม่ือเขาใกล และอยูในระดับความสูงไมนอยกวา 6 เมตร แตไมเกิน 30 เมตร เหนือระดับน้ําข้ึนเต็มที่ปานกลางหนาน้ําเกิด (mean high water springs) โดยมีกําลังสองสวางของแสงไฟอยางนอย 1,400 แรงเทียน และโคมไฟจะตองใหสัญญาณปด-เปด เปนจังหวะเดียวกัน ตามรหัสมอรสอักษร U ทุก 15 วินาที โดยจะตองเปดในเวลากลางคืนหรือในเวลาที่มีอากาศมืดคร้ึมหรือฝนตก เพื่อใหมองเห็นไดในระยะไมนอยกวา 3 ไมลทะเล

(3) โคมไฟแสงสีแดงที่ใหแสงสมํ่าเสมอคงที่ไมกระพริบ มองเห็นไดรอบทิศทางโดยติดตั้งไวบนยอด ของส่ิงติดตั้งและกลอุปกรณ และเปดไวตลอดเวลา เพื่อใหมองเห็นไดในระยะไมนอยกวา 3 ไมลทะเล

(4) อุปกรณอยางนอยดังตอไปนี้ เพื่ อ เปดใช งานในกร ณีที่ทัศนวิ สัยทางอุตุนิยมวิทยามองเห็นไดในระยะนอยกวา 2 ไมลทะเล

(ก) แตรหมอกอยางนอยหนึ่งตัว ติดตั้งไวบนส่ิงติดตั้งและกลอุปกรณ ในระดับความสูงไมนอยกวา 6 เมตร แตไมเกิน 30 เมตร เหนือระดับนาข้ึนเต็มที่ปานกลางหนานาเกิด (mean high water springs) ซึ่งสามารถไดยินไดรอบทิศทาง และใหสัญญาณเปนจังหวะเดียวกันตามรหัสมอรสอักษร U ทุก 30 วินาที

(ข) โคมไฟที่แสงผานหมอกได โดยติดตั้งไวบนยอดของส่ิงติดตั้งและกลอุปกรณ เพื่อใหมองเห็นไดในระยะไมนอยกวา 2 ไมลทะเล

(ค) เคร่ืองสงคล่ืนวิทยุ (5) ปายแสดงชื่อและประเภทของส่ิงติดตั้งและกลอุปกรณอยางนอยหนึ่งปาย โดย

ใชตัวอักษรภาษาไทยและภาษาอังกฤษมีขนาดความสูงไมนอยกวา 30 เซนติเมตร ตัวอักษรสีดําบนพื้นสีเหลืองสะทอนแสง และติดตั้งไวในบริเวณที่สามารถมองเห็นไดงาย

ผูรับสัมปทานตองแจงการกําหนดเขตปลอดภัยและจุดที่ตั้งของเขตดังกลาวเปนหนังสือ

ใหกรมเชื้อเพลิงธรรมชาติทราบลวงหนากอนกําหนดเขตปลอดภัยไมนอยกวาสามสิบวัน และเม่ือมีการเปล่ียนแปลงจะตองแจงใหกรมเชื้อเพลิงธรรมชาติทราบทันที ในกรณีที่ผูรับ

149

สัมปทานตองร้ือถอนส่ิงติดตั้งและกลอุปกรณที่ใชในการเจาะหลุม ทดสอบหลุม และผลิตปโตรเลียม ใหผูรับสัมปทานร้ือถอนร้ัวและเคร่ืองหมายใหหมดภายในสิบหาวันนับแตวันเสร็จส้ินการร้ือถอนส่ิงติดตั้งและกลอุปกรณ และตองมีการบํารุงรักษาร้ัวและเคร่ืองหมายใหคงมีสภาพใชการไดดีอยูเสมอ หากการกําหนดเขตปลอดภัยและเคร่ืองหมายอาจไมเพียงพอตอความปลอดภัยในชีวิตและทรัพยสิน หรืออาจยังไมเหมาะสมตอสภาพของการเจาะหลุม ทดสอบหลุม และผลิตปโตรเลียมในบริเวณใด ใหอธิบดีมีอํานาจส่ังใหผูรับสัมปทานกําหนด แกไข หรือเปล่ียนแปลงระยะของเขตปลอดภัยหรือเคร่ืองหมายเทาที่ไมขัดกับกฎกระทรวงไดดวย

การขอสัมปทานสํารวจและขุดเจาะปโตรเลียมดําเนินการตาม กฎกระทรวง กําหนดหลักเกณฑ วิธีการ เงื่อนไขการขอสัมปทานปโตรเลียม พ.ศ. 2555 กฎกระทรวงวาดวย การกําหนดแบบสัมปทาน พ.ศ. 2555 กฎกระทรวงวาดวยการกําหนดเขตปลอดภัยและเคร่ืองหมายบริเวณที่เปนส่ิงติดตั้งและกลอุปกรณที่ใชในการสํารวจและผลิตปโตรเลียม พ.ศ. 2555 ที่ไดกลาวไปแลวในบางขางตน (รายละเอียดกฎกระทรวงในภาคผนวก) ซึ่งกฎหมายอาศัยอํานาจตามพระราชบัญญัติปโตรเลียม พ.ศ. 2514 และแกไขเพิ่มเติม พ.ศ. 2551 มาตรา 23 แหงพระราชบัญญัติปโตรเลียม พ.ศ. 2514 กําหนดไววา “ปโตรเลียมเปนของรัฐ ผูใดสํารวจหรือผลิตปโตรเลียมในที่ใดไมไดไมวาที่นั้นเปนของตนเองหรือบุคคลอ่ืน ตองไดรับสัมปทาน” ดังนั้น กรมเชื้อเพลิงธรรมชาติในฐานะหนวยงานของรัฐซึ่งมีหนาที่กํากับดูแลการสํารวจและผลิตปโตรเลียมในประเทศ จึงตองดําเนินการในเร่ืองเกี่ยวของกับสัมปทานปโตรเลียมและการอนุมัติอนุญาตการดําเนินการของผูรับสัมปทานใหเปนไปตามกฎหมาย ปจจุบัน ประเทศไทยมีสัมปทานปโตรเลียม จํานวน 63 สัมปทาน ใหสิทธิสํารวจและผลิตปโตรเลียมใน 79 แปลง มีขนาดพื้นที่รวม 225,893 ตารางกิโลเมตร จําแนกออกเปนดังนี้54

สัมปทานในบริเวณอาวไทย จํานวน 29 สัมปทาน 36 แปลง พื้นที่ 104,690 ตารางกิโลเมตร

สัมปทานบนบก จํานวน 33 สัมปทาน 40 แปลง พื้นที่ 76,681 ตารางกิโลเมตร สัมปทานทะเลอันดามัน 1 สัมปทาน 3 แปลง พื้นที่ 44, 521 ตารางกิโลเมตร

54กรมเชื้อเพลิงธรรมชาติ, รายงานประจําป 2554, (กรุงเทพฯ : กระทรวงพลังงาน

2555), น. 44-45.

150 โครงการพัฒนาแหลงพลังงานกาซธรรมชาติรวมไทย-มาเลเซีย

สืบเนื่องเม่ือวันที่ 21 กุมภาพันธ 2522 รัฐบาลไทยโดย ฯพณฯ พล.อ.เกรียงศักดิ์

ชมะนันทน นายกรัฐมนตรี และรัฐบาลมาเลเซีย โดย ฯพณฯ ดาโตะ ฮุสเซน ออนน นายกรัฐมนตรี ไดลงนามในบันทึกความเขาใจการรวมพัฒนาพื้นที่ เหล่ือมลํ้าเปนพื้นที่พัฒนารวม (Joint Development Area หรือ JDA) โดยตั้งเปนองคกรรวมไทย-มาเลเซีย (Malaysia-Thailand Joint Authority หรือ MTJA) เพื่อรวมสิทธิแทนรัฐบาลทั้งสองประเทศ ในการดูแลสํารวจและแสวงหาประโยชนจากทรัพยากรปโตรเลียมในพื้นที่ทับซอนกันประมาณ 7,250 จังหวัดปตตานี ประมาณ 180 กิโลเมตร หรือหางจากจังหวัดสงขลา 260 กิโลเมตร และอยูหางจากเมืองโกตาบารู รัฐกลันตัน ประเทศมาเลเซีย ประมาณ 150 กิโลเมตร ซึ่งการอางสิทธิ์เหนือไหลทวีปในอาวไทยตอนลางไมใชมีเฉพาะไทยกับมาเลเซียเทานั้น เนื่องจากประเทศไทยถูกลอมรอบไปดวยกัมพูชา เวียดนาม ไทย และมาเลเซีย ทั้ง 4 ประเทศจึงอางสิทธิเหนือไหลทวีปเชนกัน ในขอตกลงใหยึดหลักการแบงผลประโยชนอยางเทาเทียมกัน

รัฐบาลนายชวน หลีกภัย ไดมีการร้ือฟนและพัฒนาโครงการตอดวยการใหสิทธิผูประกอบการสํารวจและพัฒนาปโตรเลียม วันที่ 21 เมษายน 2537 องคการรวมไทย-มาเลเซีย ซึ่งมี ปตท. เปนตัวแทนฝายไทย และเปโตนาส เปนตัวแทนของมาเลเซีย ลงนามในสัญญาแบงปนผลผลิตการใหสิทธิสํารวจ และพัฒนาปโตรเลียมกับผูประกอบการ 2 กลุม คือ โดยแบงผลประโยชน 50 : 50 และในวันที่ 7 เมษายน 2541 คณะรัฐมนตรีนายชวน หลีกภัย พิจารณาตามที่กระทรวงอุตสาหกรรมเสนอเร่ือง ไดใหความเห็นชอบซื้อกาซธรรมชาติจากพื้นที่พัฒนารวม และหลักการรวมทุนระหวาง ปตท. กับเปโตนาส ซึ่งรัฐบาลเห็นชอบให ปตท. ซื้อกาซธรรมชาติจากพื้นที่รวมพัฒนารวมไทย-มาเลเซีย (เจดีเอ) และเห็นชอบในโครงการทอสงกาซ ไทย-มาเลเซีย (TTM) และโรงแยกกาซ รวมถึงโครงการใชประโยชนกาซในอนาคตทางภาคใตตอนลางของไทยและภาคเหนือของมาเลเซียจะมีการสรางทอสงกาซในทะเล มีขนาด 34 นิ้ว เร่ิมจากแหลงผลิตกาซธรรมชาติในพื้นที่พัฒนารวมเจดีเอมาข้ึนบกที่อําเภอจะนะ จังหวัดสงขลา ระยะทาง 227 กิโลเมตร และทอสงกาซบนบก มีขนาดเสนผาศูนยกลาง 36 นิ้ว จากอําเภอจะนะ ผานพื้นที่พัฒนาตามแผนแมบทการพัฒนาพื้นที่ 5 จังหวัดชายแดนภาคใต ของสํานักงานพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติ ไปเชื่อมตอกับระบบทอของมาเลเซียทางภาคเหนือของรัฐ Kedah โดยผานจุดชายแดนที่

151

อําเภอสะเดา จังหวัดสงขลา ระยะทาง 97 กิโลเมตร เปนสวนที่อยูในไทย 89 กิโลเมตร ในมาเลเซีย 8 กิโลเมตร 55

ขอตกลงเบื้องตนของสัญญาซื้อขายกาซจากแหลงพัฒนารวมไทย-มาเลเซีย ซึ่งจัดใหมีพิธีการลงนามโดยมีนายชวน หลีกภัย นายกรัฐมนตรีไทย และดาโตะศรี ดร.มหาธีร โมฮัมหมัด นายกรัฐมนตรีมาเลเซีย เปนประธานและสักขีพยาน ระหวางผูซื้อและผูขายในพื้นที่เจดีเอ ที่จังหวัดสงขลา โดยมีเนื้อหาสาระดังนี5้6

สัญญาที่ 1 แปลง A-18 ประกอบดวยองคกรรวมไทย-มาเลเซีย บริษัทเปโตนาส ซาริกาลี (เจดีเอ) จํากัด และบริษัท ไตรตันออยล คอมปะนี ออฟ ไทยแลนด จํากัด เร่ิมผลิตไดในชวงป 2544 มีอัตราการผลิตสูงสุด 390 ลูกบาศกฟุตตอวัน

สัญญาที่ 2 แปลง B-17 และแปลง C-19 ประกอบดวย องคกรรวมไทย-มาเลเซีย บริษัท เปโตนาส ซาริกาลี (เจดีเอ) และบริษัท ปตท.สผ. อินเตอรเนชั่นแนล จํากัด เร่ิมผลิตไดประมาณ ไตรมาสที่ 3 ของป 2545 อัตราการผลิตสูงสุด 250 ลูกบาศกฟุตตอวัน

อยางไรก็ตามการที่รัฐบาลออกมาเรงดําเนินการโครงการซื้อขายกาซในองคกรรวมไทย-มาเลเซีย สรางความไมพอใจใหกับประชาชนในพื้นที่ ดังที่ในวันลงนามในสัญญามีกลุมนักศึกษาเขามาชูปายประท วงและทวงถามรัฐบาลกรณีที่ โครงการดังกลาวไม ไดทํา ประชาพิจารณ57 และมีการตอตานอยางตอเนื่องในเวลาตอมา สําหรับรัฐบาลโดยนายศุภชัย พานิชภักดิ์ รัฐมนตรีวากระทรวงพานิชย กลาววา “การลงนามคร้ังนั้นจะนําไปสูการเจาะสํารวจกาซในอนาคต ซึ่งไทยจะเปนผูใชประโยชนมากกวามาเลเซีย โดยจะรองรับการพัฒนาอุตสาหกรรมที่จะเกิดข้ึนหลังจากสรางโรงแยกกาซ เชน โรงไฟฟา ที่จะสงผลตออุตสาหกรรม ปโตรเคมีอยางครบวงจร และยังเชื่อมโยงไปถึงความรวมมือของสามเหล่ียมเศรษฐกิจอีกดวย”58

แนวทางการดําเนินการสรางทอกาซ ไทย-มาเลเซีย ของ ปตท. นายปติ ยิ้มประเสริฐ ผูจัดการใหญธุรกิจกาซธรรมชาติของ ปตท. กลาววาโครงการหลักที่จะเร่ิมดําเนินการโดยใหเอกชนเปนผูลงทุนทั้งโครงการ คือ การกอสรางทอกาซจากพื้นที่เจดีเอไปข้ึนฝงที่จังหวัดสงขลา มูลคาโครงการ ประมาณ 1200 ลานดลลารสหรัฐ โดยมีแนวทอจากแหลงเจดีเอ มายังชุมทางแหลงเอราวัณ 2 และติดตั้งเคร่ืองเพิ่มความดันระหวางทาง พรอมทั้งวางทอเสนที่ 3 จากระยองไปบาง

55ผูจัดการ (20 เมษายน 2541). 56ผูจัดการ (23 เมษายน 2541). 57มติชน (23 เมษายน 2541). 58ขาวสด (23 เมษายน 2541).

152

ปะกง กําหนดแลวเสร็จในเดือนธันวาคม 2543 ทั้งนี้ ตองเจรจากับมาเลเซีย เพื่อขอชะลอการเร่ิมสงกาซเขาระบบไปอีก 2 ป เนื่องจากการใหเอกชนดําเนินการตองผานความเห็นชอบจากคณะกรรมการที่มีตัวแทนมาจาก 10 กระทรวง ตามพระราชบัญญัติรัฐวิสาหกิจ59 ตอมา นายปติ ยิ้มประเสริฐ ไดชี้แจงรัฐบาลวา โครงการกอสรางทอกาซไทย-มาเลเซีย ไมสามารถเปดโอกาสใหภาคเอกชนเขารวมทุนตามสัญญาแบบบีโอที (Build Operate Transfer) ได เนื่องจากรัฐบาลมาเลเซียโดยบริษัทเปโตนาส ยืนยันวาหากไมใชรวมทุนกับ ปตท. ก็จะไมรวมดําเนินการ60

ดังนั้น ปตท. จึงเปนหนวยงานที่มาเลเซียมีความประสงคจะรวมดําเนินโครงการดวยเทานั้น

มุมมองของประชาชนตอโครงการพัฒนารวมไทย-มาเลเซีย ที่เกิดโครงการวางทอกาซ และสรางโรงแยกกาซธรรมชาติ มีหลายที่หลายประเด็นที่เห็นพองตองกันคือการคัดคานเนื่องจากไมมีการประเมินผลกระทบ หรือมีการกลาวหารัฐบาลวา โครงการทอกาซไทย-มาเลเซีย มี ส.ส. ฝายรัฐบาลในพื้นที่หาผลประโยชนจากโครงการ นายวันชัย พุทธทอง ตัวแทนองคกรพัฒนาเอกชนภาคใต ไดใหขอมูลกับกรุงเทพธุรกิจวา มี ส.ส.ในพื้นที่ที่เปน ส.ส.ในรัฐบาลมีการกวานซื้อที่ดินบริเวณที่เปนทางผานทอกาซไวไมต่ํากวา 3000 ไร หากโครงการนี้เดินหนาตอไปอาจกอใหเกิดความขัดแยงระหวางประชาชนในพื้นที่กับ ปตท. เหมือนกับโครงการของ ปตท. ที่จังหวัดกาญจนบุรีขณะเดียวกันดวยสถานการทางเศรษฐกิจกําลังถดถอยควรมีการทบทวนและเล่ือนการดําเนินโครงการออกไปกอน ดังที่ นายนภดล มัณทะจิตร อธิบดีกรมทรัพยากรธรณี ไดแจงให ปทต. และเปโตนาส ทบทวนแผนการรับซื้อกาซธรรมชาติในโครงการเจดีเอใหม เพราะเศรษฐกิจทั้งสองประเทศกําลับถดถอย ทําใหปริมาณความตองการกาซธรรมชาติลดลง จึงเห็นวาควรมีการทบทวนแผนการดําเนินงานกอนจะมีการตกลงในสัญญาซื้อขาย61 หรือกรณีกลุมศึกษาการใชทรัพยากรธรรมชาติอยางยั่งยืน จังหวัดสงขลา มีความกังวลวาโครงการทอกาซไทย-มาเลเซีย จะทําใหภาคใตเปนเหมือนกับมาบตาพุด และไดแจกจายเอกสารเพื่อใหขอมูลกับชาวบานการตื่นตัวที่จะศึกษาหาขอมูลที่เปนประโยชนตอการตัดสินใจ62

นอกจากนี้ ปตท. จะขอเล่ือนการลางนามในสัญญาซื้อขายกาซธรรมชาติจากเดิมที่กําหนดไวปลายป 2541 เล่ือนไปเปนตนป 2542 แทน เนื่องจากฝายไทยติดขัดในหลายข้ันตอน

59กรุงเทพธุรกิจ (2 มิถุนายน 2541). 60วัฏจักร (10 มิถุนายน 2541). 61กรุงเทพธุรกิจ (31 พฤษภาคม 2541). 62ขาวสด (20 มีนาคม 2542).

153

โดยเฉพาะดานส่ิงแวดลอมตามรัฐธรรมนูญ ป 2540 ภาวะความตองการใชกาซซบเซา ทําให ปตท. ตองเจรจากับบริษัท ไตตันออยส ผูพัฒนาพื้นที่เจดีเอ เพื่อขอเล่ือนการรับซื้อกาซออกไปจากกําหนดเดิมในป 2545 เปนป 2546 หรือ 2547 เปนอยางต่ํา โดยปริมาณรับเร่ิมตนจะรับซื้อเพียง 200 ลานลูกบาศกฟุตตอวัน และใหทยอยเพิ่มข้ึนภายหลัง ทั้งนี้ การเล่ือนรับซื้อกาซจะทําใหโครงการวางทอสงกาซจากแหลงเจดีเอ และโรงแยกกาซที่ ปตท. รวมทุนกับเปโตนาส ในนามของบริษัท ทรานสไทย-มาเลเซีย (TTM ) มูลคา 900 ลานดอลลารสหรัฐ หรือประมาณ 36,000 ลานบาท ตองเล่ือนออกไปอีกประมาณ 1 ป63

จากการที่รัฐบาลของนายชวน หลีกภัย พยายามที่จะผลักดันโครงการรวมไทย-มาเลเซีย ที่ไมมีการรับฟงความคิดเห็นของประชาชน ไดกลายเปนปญหาในโครงการลาชา เพราะกระแสการตอตานมีข้ึนอยางตอเนื่อง และทางออกคือการจัดทําประชาพิจารณเพื่อรับฟง ความคิดเห็น ประเมินผลกระทบของโครงการตามกฎหมายรัฐธรรมนูญกําหนดไว

การทําสัญญาซื้อขายกาซ นายอนันต สิริแสงทักษิณ รองผูจัดการใหญอาวุโส ปตท. กาซธรรมชาติ กลาววา ในเดือนกันยายน 2542 จะมีการลงนามสัญญา 4 ฉบับ ระหวาง ปตท. กับบริษัท เปโตนาส จํากัด ประกอบดวย 1.สัญญาซื้อขายกาซในแปลง A 18 2. สัญญารับซื้อคืนกาซ 3. สัญญาตั้งบริษัทรวมทุนโครงการทอสงกาซ และโรงแยกกาซ และ 4. สัญญาจัดตั้งบริษัทรับซื้อกาซ โดยมีสาระสําคัญ คือ เปโตนาส จะเปนผูรับซื้อกาซไปใชในประเทศกอนป 2544 สวน ปตท. จะเร่ิมรับกาซในป 2547 เนื่องจากภาวะเศรษฐกิจชะลอตัว ทําใหความตองการกาซลดลง เปนการเพิ่มเติมขอตกลงเดิม ที่ ปตท. และ เปโตนาส จะตองรับกาซสัดสวนฝายละ 50% สวนสัญญาตั้งบริษัทรวมทุนระหวาง ปตท. กับเปโตนาส สัดสวนหุนรอยละ 50 ในโครงการสรางทอกาซนั้นแบงเปน 2 สวน คือ การวางทอกาซในทะเลเชื่อมตอกับแหลงกาซในแปลง A 18 กับระบบทอสงกาซของ ปตท. ในแปลง B 17 ความยาวประมาณ 50 กิโลเมตร สวนที่ 2 เปนการเชื่อมทอสงกาซในทะเลจากแปลง A 18 มาข้ึนบกที่ จังหวัดสงขลา และวางทอจากโรงแยกกาซไปเชื่อมกับระบบทอกาซของ เปโตนาสในประเทศมาเลเซีย ที่เร่ิมกอสรางในป 2543 แลวเสร็จในป 2544 และกอสรางโรงแยกกาซขนาด 2 หนวย สามารถแยกกาซไดประมาณวันละ 275-425 ลานลูกบาศกฟุต จะเสร็จในป 2547 มูลคาทั้ง 2 โครงการ รวมประมาณ 30,000 ลานบาท สวนสัญญาบริษัทรวมทุนรับซื้อกาซ ถือหุนฝายละ 50% 64

63วัฏจักร (26 พฤศจิกายน 2541). 64ขาวสด (กันยายน 2542).

154

นายสุวัจน ลิปตวัลลภ รัฐมนตรีวาการกระทรวงอุตสาหกรรม ไดนําเร่ืองการรวมทุนระหวาง ปตท. กับเปโตนาส ใหคณะรัฐมนตรีใหความเห็นชอบ ซึ่งคณะรัฐมนตรีใหความเห็นชอบและอนุมัติโครงการตามที่กระทรวงอุตสาหกรรมเสนอ มีสาระสําคัญดังนี6้5

1. ให ปตท. รวมทุนกับเปโตนาสของมาเลเซียในการวางทอกาซและโรงแยกกาซ วงเงินลงทุน 1,304 ลานเหรียญสหรัฐ โดยจะเปนเงินกูประมาณ 70% หรือเทากับ 760 ลานเหรียญสหรัฐ ที่เหลือเปนเงินลงทุนของทั้งสองฝาย กลาวคือ ฝายละ 137 ลานเหรียญสหรัฐ

2. คณะรัฐมนตรีอนุมัติใหลงนามในสัญญารวมทุน 4 ฉบับ ดังกลาวขางตน 3. ให ปตท. วาจางมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร จัดทํารายงานผลกระทบ

ส่ิงแวดลอม คาดวาจะแลวเสร็จประมาณ เดือนมีนาคม 2543 จากนั้นใหจัดทําประชาพิจารณเพื่อไมใหเกิดปญหากับชุมชนเหมือนโครงการทอกาซไทย-พมา

การรณรงคสงเสริมการประหยัดพลังงานและการลดมลพิษ

ในชวงเวลาตามกรอบระยะเวลาการวิจัย เนื้อหาสารที่ถูกส่ือสารออกมาจากผูรับผิดชอบ และหนวยงานที่เกี่ยวของดานพลังงาน คือ การรณรงคสงเสริมการประหยัดพลังงาน โดยเฉพาะพลังงานมีที่เกิดวิกฤตทําใหราคาแพง สงผลตอวิถีชีวิตของประชาชน จงึทําใหหลายฝายออกมารณรงคและสงเสริมใหประชาชนปรับเปล่ียนพฤติกรรม และหามาตรการเพื่อลดการใชพลังงาน หรือหาพลังงานทดแทน เพื่อลดกระแสภาวะโลกรอน เปนตน ซึ่งมีเนื้อหาในเร่ืองตาง ๆ ดังนี้

การใชกาซธรรมชาติในรถยนต เนื่องจากปริมาณรถที่ใชพลังงานจากน้ํามันมีจํานวนมากข้ึน ประกอบกับกระแสของการใหความสนใจในเร่ืองของมลพิษสารตะกั่วในน้ํามันเบนซิน ทําใหรัฐบาลหันมาสนใจที่จะลดมลพิษในอากาศ นายไพจิตร เอ้ือทวีกุล รัฐมนตรีประจําสํานกนายกรัฐมนตรี และประธานอนุกรรมการนโยบายปโตรเลียม ไดสนองนโยบายรัฐบาลดวยการผลักดันการใชรถดวยกาซธรรมชาติ โดยเร่ิมจากใหรถ ขสมก. ใหหันมาใชกาซธรรมชาติ (ซี.เอ็น.จี.) แทนน้ํามัน เพราะจะทําใหเชื้อเพลิงสะอาดและมีราคาถูกกวาน้ํามันเบนซิน ซึ่ง ปตท. กับ ขสมก. ไดเคยศึกษาไวเ ม่ือป 2525-2529 และไดรับความรวมมือจากรัฐบาลนิวซีแลนด ไดจัดสง

65มติชน (15 กันยายน 2542).

155

เคร่ืองยนตที่ปรับเปล่ียนมาจํานวน 5 คัน พรอมอุปกรณในการปรับเปล่ียนเคร่ืองยนตอีก 6 เคร่ือง โดยมีวัตถุประสงคในการศึกษา คือ66

1. เพื่อแสดงใหเห็นเปนรูปธรรมถึงการใชกาซธรรมชาติ ซี.เอ็น.จี ของรถ ขสมก. วาเปนส่ิงที่เปนไปได

2. เพื่อใหขอมูลเปรียบเทียบในเชิงเศรษฐกิจในการใชกาซธรรมชาติ (ซี.เอ็น.จี) แทนน้ํามันดีเซล และเชื้อเพลิงอ่ืน ๆ

3. เพื่อใหไดขอมูลเพียงพอสําหรับใชประกอบการตัดสินใจ การปรับเปล่ียนเคร่ืองยนต ขสมก. ใหมีจํานวนมากข้ึน

กาซ ซี.เอ็น.จี. มีการเผาไหมที่มีประสิทธิภาพดีกวาเชื้อเพลิงเหลว ปลอยมลภาวะอากาศนอยกวาน้ํามัน และไมมีควันดํา มีการฟุงกระจายในอากาศไดเร็ว เคร่ืองยนตมีอายุการใชงานยาวนานข้ึนเพราะกาซ ซ.ีเอ็น.จี. ไมทําใหน้ํามันหลอล่ืนเจือจาง และยังมีราคาถูกกวาน้ํามันเชื้อเพลิงชนิดอ่ืน ๆ ซึ่งปจจุบันรถ ขสมก. และรถยนตบานมีการใชกาซธรรมชาติ (ซี.เอ็น.จี.) ไดความนิยมมากข้ึน และชวยลดมลพิษในอากาศ

การอนุรักษพลังงาน สพช. ใหการสนับสนุนการวิจัยอนุรักษพลังงานและพลังงานหมุนเวียนใหกับนักศึกษาปริญญาตรี ปริญญาโท และปริญญาเอก เพื่อกระตุนใหมีการศึกษาคนควาเพื่อหาแนวทางลดการใชพลังงาน ไมวาจะเปนโครงการประหยัดพลังงาน โครงการหยุดรถซดน้ํามัน โครางการสงเสริมอนุรักษในหนวยงานของรัฐและเอกชน โครงการสงเสริมการใชพลังงานหมุนเวียน โครงการอนุรักษพลังงานในโรงงานและอาคารทั่วไป เปนตน67

ในป 2548 ราคาน้ํามันตลอดป มีการปรับข้ึนราคาทุกผลิตภัณฑ รัฐบาลไดพยายามจะใหราคาน้ํามันที่ปรับเพิ่มข้ึนสงผลกระทบตอประชาชนใหนอยที่สุด และไดดําเนินการในหลาย ๆ ทาง ทั้งรณรงคและออกมาตรการกระตุนใหประชาชนประหยัดน้ํามันอยางจริงจังอยางตอเนื่อง อาทิ การณรงคประหยัดพลังงาน การพัฒนาพลังงานทดแทนมาใชแทนน้ํามัน ซึ่งไดมีการผลักดันในทุกดาน อาทิ การลดราคาแกสโซฮอลใหต่ํากวาเบนซิน เพื่อจูงใจใหประชาชนหันมาใชเพิ่มข้ึน จากสถานการณพลังงานที่มีราคาเพิ่มข้ึน ไดกอใหเกิดความรวมแรงรวมใจกันของคนไทยในการเขาสู “การรณรงคประหยัดพลังงาน” ซึ่งในป 2548 เปนปที่มีการเร่ิมประหยัดพลังงานอยางจริงจัง และประชาชนยังใสใจเร่ืองพลังงานสูงกวาทุกปที่ผานมา ทําใหลดการใชพลังงานโดยรวมสูงถึง 15.3 ลานบารเรล หรือคิดเปนมูลคาที่ประหยัดไดกวา 34,000 ลานบาท เพราะพบวาประชาชน

66สยามรัฐ (7 เมษายน 2534). 67ผูจัดการรายวัน (23 กันยายน 2545).

156

มีการใชกาซธรรมชาติเอ็น.จี.วี ในรถยนตเพิ่มข้ึน มีรถยนตติดตั้งทั้งส้ินในป 2548 จํานวน 9,901 คัน มีสถานีที่พรอมใหบริการ 50 แหง ทั่วประเทศ ปริมาณการจําหนายเอ็น.จี.วี 7.7 ลานลูกบาศกฟุตตอวัน การใชใบโอดีเซล มีสถานีพรอมใหบริการแลวทั้งส้ิน 16 สถานี อยูในกรุงเทพ 8 แหง และเชียงใหม 8 แหง โดยมีกําลังผลิตรวม 226,000 ลิตรตอวัน การใหแกสโซฮอล พบวา มีปริมาณการใชเพิ่มข้ึนตอเนื่องจาก 0.3 ลานลิตรตอวันในชวงตนป 2548 ปลายป 3.3 ลานลิตรตอวัน และรัฐบาลยังคงสนับสนุนใหแกสโซฮอลราราถูกกวาเบนซิน 95 ทําใหตอมาไดมีโครงการตาง ๆ เกิดข้ึนเพื่อใหเกิดกระตุนเตือนใหองคกร และประชาชนใหความสําคัญตอการอนุรักษพลังงานมากข้ึน กระทรวงพลังงาน จึงไดกําหนดใหป 2549 เปนปทองของการพลังงานทดแทนที่เรงผลักดันและพัฒนาพลังงานทดแทนใหเพิ่มข้ึน โดยเฉพาะการใชแกซโซฮอล ไบโอดีเซล และเอ็น.จี.วี. รวมทั้งการขยายผลการใชเชื้อเพลิงชีวภาพใหเปนรูปธรรมมากข้ึน68 กระทรวงพลังงานมีการผลิตส่ือโฆษณาอยางตอเนื่องทั้งในเร่ืองของการใชพลังงานทดแทน โดยเฉพาะการอนุรักษ และประหยัดพลังงาน ซึ่งทําใหประชาชนมีการตื่นตัวในเร่ืองการอนุรักษพลังงานมากข้ึน

ชองทางการสื่อสารนโยบายพลังงาน (Channel)

การแถลงนโยบาย เนื่องจากนโยบายของรัฐบาลจําเปนจะตองส่ือสารผานกระบวนการทางรัฐสภา ทั้งสภาผูแทนราษฎรและวุฒิสภา ตามพระราชบัญญัติการบริหารราชการแผนดินที่รัฐบาลแตละชุดจะตองมีการแถลงนโยบาย เพื่อใหสมาชิกสภาผูแทนราษฎรเห็นชอบในหลักการกอนที่จะนําไปปฏิบัติ เม่ือสมาชิกสภาผูแทนราษฎรรับรองแลวจึงจะนําไปผลักดันสูการปฏิบัติ ซึ่งการแถลงนโยบายในรัฐสภาจะมีการตอบขอซักถามของสมาชิกสภาในเร่ืองตาง ๆ ตลอดจนแนวทางการดําเนินการ และการแถลงนโยบายจะมีการถายทอดผานสถานีวิทยุโทรทัศน เม่ือนโยบายไดรับความเห็นชอบ หรือไดรับการรับรองจากสมาชิกสภา กระทรวงพลังงานหรือหนวยงานที่เกี่ยวของจะนํานโยบายไปปฏิบัติตามภารกิจของหนวยงานตาง ๆ ที่เกี่ยวของ จากนั้นผูบริหารจะนําไปส่ือสารกับเจาหนาที่ระดับปฏิบัติการตอไป สื่อโทรทัศน ที่มีบทบาทในการส่ือสารนโยบาย โครงการตาง ๆ ของกระทรวงพลังงานหรือหนวยงานที่เกี่ยวของ ดังเชนการที่รัฐบาลส่ือสารผานส่ือโทรทัศนในลักษณะของ สปอตโฆษณาใหเห็นความสําคัญของการนํากาซธรรมชาติจากอาวไทยมาใชในการพัฒนาประเทศวา “โชติชวงชัชวาล” หรือคําขวัญของการปโตรเลียมแหงประเทศไทย (ปตท.) ซึ่งเปน

68กรุงเทพธุรกิจ (23 มกราคม 2549).

157

หนวยงานที่ทําหนาที่ในการแสวงหาพลังงานเพื่อสรางความม่ันดานพลังงานวา “พลังไทย เพื่อไทย” เปนตน ส่ิงเหลานี้คือสโลแกนที่มาจากนโยบายพลังงานในยุคแรก ๆ ของการคนพบพลังงานธรรมชาติในอาวไทย นอกจากนี้ส่ือมวลชน ยังเปนชองทางในการตีแผขอมูลที่เปนปญหาหรือผลกระทบอันเนื่องจากนโยบายของรัฐ ในลักษณะของการเปนกระบอกเสียงใหกับชาวบาน เชน กรณีกาซร่ัวจากโรงงานอุตสาหกรรม ผลกระทบดานส่ิงแวดลม การเรียกรองความเปนธรรม การชุมนุมประทวง เปนตน ส่ือโทรทัศนจึงเปนชองทางการส่ือสารทั้งการดําเนินงานโครงการ ขณะเดียวกันก็เปนชองทางในการสะทอนผลกระทบกลับไปยังรัฐบาลไดดวยเชนกัน เพื่อใหแกไขตอปญหาตาง ๆ ที่เกิดข้ึน ส่ือโทรทัศน นับเปนส่ือที่มีอิทธิพลและเขาถึงกลุมเปาหมายไดในวงกวางเพราะทุกครอบครัวจะมีโทรทัศนไวรับขอมูลขาวสาร ซึ่งมีจํานวน 6 ชอง แบงเปนชองสําหรับส่ือสารทั่วไป เชน ชอง 3, 5, 7, 9 สวนใหญชองเหลานี้จะนําเสนอขอมูลทั้งขอมูลขาว และเร่ืองที่เกี่ยวกับ ความบันเทิง ซึ่งแตละชองก็จะมีลําดับผังรายการของตนเอง เปนชองที่ไดรับความนิยมจากประชาชนมาก เพราะมีรายการที่หลากหลาย และแตละรายการรับคาโฆษณาเพื่อสนับสนุนรายการ ยังมีอีกสวนที่เปนชองของรัฐบาลไวสําหรับการนําเสนอขอมูลของภาครัฐ คือ สถานี NBT หรือสถานีโทรทัศนชอง 11 นอกจากนี้ยังมีทีวีสาธารณะ คือ ไทยพีบีเอส ซึ่งเปนสถานีโทรทัศนที่พัฒนามาจากไอทีวีเดิม เปนสถานีโทรทัศนที่เปดโอกาสใหคนไทยทุกระดับที่มีความสามารถดานการทํารายการโทรทัศนที่สรางสรรคสังคมไดมีโอกาสไดใชความสามารถ มุงเนนการใหความรูที่หลากหลายเพื่อสาธารณะชน ส่ือโทรทัศนจะเปนชองทางการส่ือสารที่ประชาชนสามารถเลือกชมรายการที่ตัวเองชอบ อยางไรก็ตามรายการที่เกี่ยวกับพลังงานโดยตรงนั้นไมมีเผยแพร แตจะเปนรายการขาวที่มีการส่ือสารเร่ืองพลังงานตามสถานการณของกระแสสังคม เชน การชุมนุมตอตานโครงการยิ่งมีความรุนแรงก็จะยิ่งเปนที่สนใจของส่ือมวลชน หรือการเกิดอุบัติภัยจากอุตสาหกรรมพลังงาน หรือการโฆษณาเกี่ยวกับพลังงาน โดยเฉพาะเร่ืองของการรณรงคการประหยัดพลังงาน เปนตน หนังสือพิมพ เปนอีกส่ือประเภทหนึ่งที่ไดรับความนิยมและสามารถใหรายละเอียดขาวไดมากเพราะไมมีเวลาเปนตัวกําหนด แตอาจจะเขาถึงประชาชนไดนอยกวา เพราะตองซื้อทุกวัน และโดยพฤติกรรมของชาวบานไมชอบอานขาวหนังสือพิมพนอกจากผูที่ทํางานดานวิชาการ และส่ือสารมวลชนที่จะสนใจเปนพิเศษ จุดเดนของส่ือหนังสือพิมพนั้นสามารถนําเสนอบทความทางวิชาการจากนักวิชาการ วิเคราะหขาวสารตาง ๆ ไดมาก ซึ่งปจจุบันหนังสือพิมพมีหลายฉบับมิอาจสรุปไดหมด มีทั้งหนังสือพิมพที่ส่ือขอมูลเกี่ยวกับการเมืองหรือเรียกวาหนังสือพิมพแนวการเมือง เชน มติชน สยามรัฐ ผูจัดการ เดอะเนชั่น บานเมือง แนวหนา คมชัดลึกเปนตน

158

หนังสือพิมพแนวสังคมหรือชาวบาน เชน ไทยรัฐ เดลินิวส ขาวสด ไทยโพสท เปนตน แนวเศรษฐกิจ เชน ฐานเศรษฐกิจ กรุงเทพธุรกิจ เปนตน สวนใหญการนําเสนอขาวเกี่ยวกับพลังงานจะเปนไปตามกระแสสังคม และบทความเกี่ยวกับพลังงาน ซึ่งก็จะตามกระแสสังคมดวยเชนกัน วาเปนประเด็นใด เชน วิกฤตพลังงาน หรือพลังงานกับปญหาส่ิงแวดลอม ราคาน้ํามันเชื้อเพลิง เปนตน ซึ่งประเด็นขาวอาจจะไมตางจากส่ือโทรทัศนแตความรวดเร็วสูโทรทัศนไมได ลักษณะของขอมูลทางหนังสือพิมพจึงออกมาในลักษณะของบทความที่ใหรายละเอียดขอมูลที่นาเชื่อถือไดดี สื่อของหนวยงาน หนวยงานดานพลังงานไมวาจะเปนกระทรวงพลังงาน หรือ ปตท. จะมีการผลิตส่ือทั้งในรูปแบบของส่ือส่ิงพิมพ และส่ือออนไลน เพื่อเปนชองทางการใหขอมูลดานพลังงานที่เกี่ยวของกับบทบาทและภารกิจในการส่ือสารองคกรของตนเอง และมีส่ือส่ิงพิมพ ดังนี้ วารสารนโยบายพลังงาน เปนวารสารที่จัดทําข้ึนโดยสํานักงานนโยบายและแผนพลังงาน (สนพ.) กระทรวงพลังงาน เปนส่ือส่ิงพิมพรายสามเดือน และมีการเผยแพรมาแลวจํานวน 89 ฉบับ และนับตั้งแตฉบับที่ 35 (มกราคม-มีนาคม 2540) เปนตนมาจนฉบับสุดทายมีการเผยแพรขอมูลทางอินเตอรเน็ตดวย เนื้อหาสาระในวารสารแนวนโยบายดานพลังงาน ความรูเกี่ยวกับพลังงาน พลังงานทางเลือกในชุมชน การสัมภาษณผูบริหาร หรือผูเชี่ยวชาญดานพลังงานในแตละดาน และกิจกรรมโครงการของสํางานนโยบายและแผนพลังงาน วารสาร Energy Plus คือวารสารราย 3 เดือน ของกระทรวงพลังงาน ที่จัดทําข้ึนเพื่อใชเปนส่ือในการรายงานความกาวหนา ความเคล่ือนไหว ดานพลังงาน ประชาสัมพันธนโยบายดานพลังงาน ที่เกี่ยวของกับความเปนอยูของประชาชน ตลอดจน เผยแพร และถายทอดเทคโนโลยีดานพลังงานที่ทันสมัยและเปนประโยชน วารสาร Energy Plus เร่ิมฉบับแรกตั้งแต (มกราคม-มีนาคม 2547) จนถึงปจจุบัน หนวยงานคาดหวังวา วารสาร Energy Plus จะสามารถตอบโจทยดานพลังงาน พรอมทั้งเปนชองทางใหการนําองคความรูที่ไดจากวารสารไปใชใหกอเกิดประโยชนสูงสุดในชี วิตประจําวันได และสามารถดาวนโหลดจากเว็บไซตของกระทรวงพลังงานที่ www.energy.go.th วารสารรักษพลังงาน คือ วารสารรายเดือน จัดทําข้ึนโดยกรมพัฒนาพลังงานทดแทนและอนุรักษพลังงาน ฉบับลาสุดเปนฉบับที่ 81 (มีนาคม 2556) เนื้อหาของวารสารเปนความรูดานการอนุรักษพลังงาน และความรูเกี่ยวกับพลังงานทดแทน นอกจากนี้ขอมูลเกี่ยวกับกิจกรรมและโครงการของกรมพัฒนาพลังงานทดแทนและอนุรักษพลังงาน นอกจากเผยแพรเปน

159

ส่ิงพิมพแลวยังสามารถเผยแพรทางอินเตอรอีกชองทางหนึ่งดวย ผูสนใจสามารถดาวนโหลดเอกสารทางอินเตอรเน็ตไดฟรี ที่ www.dede.go.th วารสารสื่อพลัง เปนวารสารของ ปตท. ที่มีการจัดทํามาเปนเวลานานซึ่งปนี้ (2556) เปนปที่ 21 ในลักษณะของวารสารราย 3 เดือน วารสารส่ือพลัง เนื้อหาสวนใหญ ปตท. มุงเนนนําเสนอการดําเนินชีวิตของคนที่ในสังคมที่ส่ือใหเห็นพลังของการตระหนักถึงทรัพยากร การรักษาธรรมชาติและส่ิงแวดลอม การลดภาวะโลกรอน เชน เร่ืองของปาชุมชน การอนุรักษดินและน้ํา เปนตน และกิจกรรมสรางสรรคตาง ๆ ของ ปตท. ดานพลังงาน วารสารสื่อชุมชน เปนวารสารของ ปตท. ราย 3 เดือน ที่มีเนื้อหาเกี่ยวกับการสงเสริมเด็กและเยาวชนดานการทําความดีเพื่อสังคม การรับผิดชอบตอสังคมดานส่ิงแวดลอม และการใหความรูเกี่ยวกับการอยูใกลแหลงอุตสาหกรรมพลังงาน พลังทางเลือกเพื่อโลกสีเขียว เปนตน มีการจัดทําวารสารมาเปนเวลา 10 ป และในป 2556 เขาสูปที่ 11 นับวาเปนส่ือส่ิงพิมพที่มีมายาวนานของ ปตท.อีกอยางหนึ่ง วารสารของหนวยงานหลักในการดําเนินการดานพลังงานมีหลายลักษณะ ที่ยกตัวอยางมาขางตนเปนเพียงวารสารที่มีการจัดทําและเผยแพรอยางตอเนื่อง นอกจากนี้ยังมี ส่ือส่ิงพิมพอ่ืนที่จัดทําข้ึนตามวาระตาง ๆ เพื่อใหความรูกับประชาชน ทั้งในดานสถานการณพลังงาน แตในระยะหลังจะเนนเร่ืองการรักษาสภาพแวดลอม การอนุรักษพลังงาน การทําโครงการรวมกันระหวางชุมชนกับผูประกอบการ เปนตน

สื่ออินเตอรเน็ต เปนอีกชองทางหนึ่งของการส่ือสารดานพลังงาน และหนวยงานที่รับผิดชอบทุกหนวยงานจะมีเว็บไซตของหนวยงานโดยเฉพาะเว็บไซตของกระทรวงพลังงาน คือwww.energy.go.th เนื้อหาของเว็บไซตของกระทรวงพลังงาน ไดนําเสนอสวนที่เปนโครงสรางของกระทรวง ผูบริหาร นโยบายและยุทธศาสตรพลังงาน ตลอดจนความรูเร่ืองพลังงานและขอดานมูลพลังงาน ตลอดจนวารสารในรูปอิเล็กทรอนิกสบุก ที่ผูสนใจสามารถเขาชมได และยังสามารถเชื่อมตอไปยังหนวยงานตาง ๆ ที่เกี่ยวของ69

เว็บไซตของกรมเชื้อเพลิงธรรมชาติ (www.dmf.go.th) เนื่องจากกรมเชื้อเพลิงธรรมชาติเปนหนวยงานที่ดําเนินการเร่ืองการใหสัมปทานเนื้อหาสวนใหญเปนเร่ืองเกี่ยวกับขอมูลการสัมปทาน กฎระเบียบการขอสัมปทาน และมีบทบาทในการผลักดันใหเกิดการเจาะสํารวจ ขอมูลดานการสํารวจพลังงาน แหลงพลังงานของประเทศ ตลอดจนขอมูลดานการสํารองพลังงาน นอกจากนี้ยังมี “รายการพลังงานวันนี”้ ที่เปนรายการวิเคราะหสถานการณพลังงานเพิ่ม

69กระทรวงพลังงาน, สืบคนเม่ือวันที่ 24 มีนาคม 2556, จาก www.energy.go.th.

160

ชองทางใหประชาชนไดรับชมรายการไดทางอินเตอรเน็ต และยังมีสปอตโฆษณาของกรมเชื้อพลังธรรมชาติเกี่ยวกับการลดอุบัติเหตุจากการขนสงพลังงาน การลดและประหยัดพลังงาน นับวาเปนเว็บไซตนี้เปนแหลงขอมูลดานการจัดการพลังงานที่ดีแหลงหนึ่ง70

เว็บไซตของกรมพัฒนาพลังงานทดแทนธรรมชาติและส่ิงแวดลอม (www.dede.go.th) เนื้อหาของขอมูลที่เผยแพรสวนใหญจะเปนเร่ืองของพลังงานทดแทน เชน พลังงานแสงอาทิตย พลังงานลม พลังงานขยะ ไบโอดีเซล พลังงานชีวมวล ฯลฯ และเร่ืองของการอนุรักษพลังงาน เชน อาคารและที่อยูอาศัย รถยนตอนุรักษพลังงาน อาคารสํานักงาน หลอดไฟอนุรักษพลังงาน และการดูแลการใชพลังงานของอุตสาหกรรมขนาดกลางและขนาดเล็ก ตลอดจนขอมูลวิชาการดานการวิจัยคนควาพลังงาน เปนตน71

เว็บไซตของการปโตรเลียมแหงประเทศไทย (ปตท.) (www.pttplc.com) เนื่องจาก ปตท. เปนหนวยงานที่ไดรับผิดชอบดานการจัดหา พัฒนาและจําหนายพลังงาน เปนองคกรพลังงานแหงชาติที่จะตองสรางความม่ันคงดานพลังงานของชาติ และเกี่ยวของกับธุรกิจพลังงาน เนื้อหาของขอมูลที่เผยแพรมีทั้งขอมูลดานธุรกิจพลังงาน ราคาพลังงาน ขอมูลดานประวัติและพัฒนาการพลังงานของไทย การวิจัยและเทคโนโลยีของ ปตท.72 นอกจากนี้ยังมีบริษัทในเครือของ ปตท. ที่มีบทบาทในการสํารวจขุดเจาะพลังงาน คือ ปตท.สํารวจและผลิตปโตรเลียม จํากัด (มหาชน) หรือ ปตท.สผ. มีเว็บไซต คือ www.pttpet.com ขอมูลสวนใหญเกี่ยวกับการสํารวจและผลิตปโตรเลียม การลงทุนดานพลังงาน และกิจกรรมความรับผิดชอบตอสังคม เปนตน73

แหลงเผยแพรขอมูลตาง ๆ เหลานี้ไมวาจะเปนกฎหมายที่เกี่ยวของกับการสํารวจขุดเจาะพลังงาน โครงการรณรงคการประหยัดพลังงาน การใหสัมปทาน แบบฟอรมตาง ๆ ชองทางอินเตอรเน็ตเพิ่มความสะดวกใหการสืบคนขอมูลเกี่ยวกับพลังงาน อยางไรก็ตามชองทางนี้

70กรมเชื้อเพลิงธรรมชาต,ิ สืบคนเม่ือวันที่ 24 มีนาคม 2556, จาก www.dmf.go.th. 71กรมพัฒนาพลังงานทดแทนธรรมชาติและส่ิงแวดลอม, สืบคนเม่ือวันที่ 24 มีนาคม

2556, จาก www.dede.go.th , 72การปโตรเลียมแหงประเทศไทย (ปตท.), สืบคนเม่ือวันที่ 25 มีนาคม 2556 จาก

www.pttplc.com. 73ปตท. สํารวจและผลิตปโตรเลียม (ปตท.สผ.), สืบคนเม่ือวันที่ 25 มีนาคม 2556,

จาก www.pttpet.com,

161

เหมาะสมกับชนชั้นที่มีความรูดานอินเตอรเน็ต กลุมนักวิชาการ แกนนําชุมชน ซึ่งเปนชองทางที่ไมเหมาะกับชาวบานทั่วไป การทําประชาพิจารณ เปนชองทางการส่ือสารที่มีความสําคัญมากในปจจุบัน และการทําประชาพิจารณยังเปนเงื่อนไขของการดําเนินโครงการดานพลังงาน หรือเปนขอกําหนดใหผูประกอบการจัดทํากิจกรรมเพื่อรับฟงความคิดเห็นของผูมีสวนไดสวนเสีย (Stakeholders) วาจะมีผลกระทบตอสังคม และธรรมชาติส่ิงแวดลอมอยางไร หรือขอกังวลในเร่ืองใด และใหประชาชนไดแลกเปล่ียนขอมูล หรือหาแนวทางปองกันปญหารวมกัน กอนอ่ืนผูวิจัยขอกลาวถึงกฎหมายที่มีสวนผลักดันใหเกิดการทําประชาพิจารณ เพื่อเปนการรับฟงความคิดเห็นซึ่งการส่ือสารสองทาง และจะนําไปสูการลดปญหาความขัดแยง การวิเคราะหผลกระทบส่ิงแวดลอมเปนเคร่ืองมือในการปองกันผลกระทบที่อาจเกิดข้ึนจากการพัฒนาโครงการ ทั้งผลกระทบที่เกิดข้ึนกับส่ิงแวดลอมตอสังคมและประชาชนทั่วไป การวิเคราะหผลกระทบส่ิงแวดลอมของประเทศไทย เร่ิมตนเม่ือมีการตราพระราชบัญญัติสงเสริมและรักษาสภาพส่ิงแวดลอมแหงชาติ พ.ศ. 2518 และโดยอาศัยอํานาจตามพระราชบัญญัติดังกลาว ในป พ.ศ. 2524 ไดมีการประกาศกระทรวงวิทยาศาสตรเทคโนโลยี และการพลังงาน กําหนดประเภทและขนาดของโครงการที่ตองจัดทํารายงานการวิเคราะหผลกระทบส่ิงแวดลอม 10 ประเภท ตอมาในป พ.ศ. 2535 ไดมีการตราพระราชบัญญัติสงเสริมและรักษาคุณภาพส่ิงแวดลอมแหงชาติ พ.ศ. 2535 และมีการออกประกาศกําหนดใหโครงการพัฒนารวม 22 ประเภท ตองจัดทํารายงานการวิเคราะหผลกระทบส่ิงแวดลอม ซึ่งมีผลใหมีการใชการวิเคราะหผลกระทบส่ิงแวดลอมเปนเคร่ืองมือที่สําคัญประการหนึ่งในการปองกันผลกระทบส่ิงแวดลอมกวางขวางยิ่งข้ึนโดยกระบวนการวิเคราะหผลกระทบส่ิงแวดลอมไดมีการพัฒนามาอยางตอเนื่อง รัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2550 ไดกลาวถึงสิทธิของประชาชนเกี่ยวกับการรับรูขอมูลขาวสารและการมีสวนรวมของประชาชนในการดําเนินกิจกรรมตาง ๆ ไวหลายมาตรา ตัวอยางที่สําคัญ เชน74 มาตรา 56 ซึ่งบัญญัติวาบุคคลยอมมีสิทธิไดรับทราบและเขาถึงขอมูลหรือขาวสารสาธารณะในครอบครองของหนวยราชการ หนวยงานของรัฐ รัฐวิสาหกิจ หรือราชการสวนทองถิ่น

74สํานักวิเคราะหผลกระทบส่ิงแวดลอม, แนวทางการมีสวนรวมของประชาชนและ

การประเมินผลกระทบส่ิงแวดลอมทางสังคมในกระบวนการวิเคราะหผลกระทบส่ิงแวดลอม, พิมพคร้ังที่ 5, (กรุงเทพฯ: สํานักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและส่ิงแวดลอม, 2552).

162

เวนแตการเปดเผยขอมูลหรือขาวสารนั้นจะกระทบตอความม่ันคงของรัฐ ความปลอดภัยของประชาชนหรือสวนไดเสียอันไดความคุมครองของบุคคลอ่ืนหรือเปนขอมูลสวนบุคคล มาตรา 57 ซึ่งบัญญัติวาบุคคลยอมมีสิทธิไดรับขอมูล คําชี้แจงและเหตุผลจากหนวยราชการ หนวยงานของรัฐ รัฐวิสาหกิจหรือราชการสวนทองถิ่น กอนการอนุญาตหรือการดําเนินโครงการหรือกิจกรรมใดที่อาจมีผลกระทบตอคุณภาพส่ิงแวดลอม สุขภาพอนามัย คุณภาพชีวิตหรือสวนไดเสียสําคัญอ่ืนใดเกี่ยวกับคนหรือชุมชนทองถิ่น และมีสิทธิแสดงความคิดเห็นของตนตอหนวยงานที่เกี่ยวของเพื่อนําไปประกอบการพิจารณาในเร่ืองดังกลาว มาตรา 66 ซึ่งบัญญัติวาบุคคลซึ่งรวมกันเปนชุมชน ชุมชนทองถิ่นหรือชุมชนทองถิ่นดั้งเดิมยอมมีสิทธิอนุรักษหรือฟนฟูจารีตประเพณี ภูมิปญญาทองถิ่น ศิลปวัฒนธรรมอันดีของทองถิ่นและของชาติ มีสวนรวมในการจัดการการบํารุงรักษาและการใชประโยชนจากทรัพยากรธรรมชาติส่ิงแวดลอม ทั้งความหลากหลายทางชีวภาพอยางสมดุลและยั้งยืน มาตรา 67 ซึ่งบัญญัติวาสิทธิของบุคคลที่จะมีสวนรวมของรัฐและชุมชนในการอนุรักษ บํารุงรักษาและการไดประโยชนจากทรัพยากรธรรมชาติและความหลากหลายทางชีวภาพ และในการคุมครอง สงเสริมและรักษาคุณภาพส่ิงแวดลอม เพื่อใหดํารงชีพอยูไดอยางปกติและตอเนื่องในส่ิงแวดลอมที่จะไมกอใหเกิดอันตรายตอสุขภาพอนามัย สวัสดิภาพ หรือคุณภาพชีวิตของตน ยอมไดรับความคุมครองตามความเหมาะสม การดําเนินโครงการหรือกิจกรรมที่อาจกอใหเกิดผลกระทบตอชุมชนอยางรุนแรงทั้งทางดานคุณภาพส่ิงแวดลอม ทรัพยากรธรรมชาติและสุขภาพ จะกระทํามิได เวนแตจะไดศึกษาและประเมินผลกระทบตอคุณภาพส่ิงแวดลอมและสุขภาพของประชาชนและผูมีสวนไดเสียกอนรวมทั้งไดใหองคการอิสระซึ่งประกอบดวยผูแทนองคการเอกชนดานส่ิงแวดลอมและสุขภาพ ใหความเห็นประกอบกอนมีการดําเนินการดังกลาว มาตรา 290 ซึ่งบัญญัติวาองคกรปกครองสวนทองถิ่นยอมมีอํานาจหนาที่สงเสริมและรักษาคุณภาพส่ิงแวดลอมตามที่กฎหมายบัญญัต ิ

(1) การจัดการการบํารุงรักษาและการใชประโยชนจากทรัพยากรธรรมชาติและส่ิงแวดลอมที่อยูในเขตพื้นที่

(2) การเขาไปมีสวนรวมในการบํารุงรักษาทรัพยากรธรรมชาติและส่ิงแวดลอมที่อยูนอกเขตพื้นที่ เฉพาะในกรณีที่อาจมีผลกระทบตอการดํารงชีวิตของประชาชนในพื้นที่ของตน

(3) การมีสวนรวมในการพิจารณาเพื่อริเร่ิมโครงการหรือกิจกรรมใดนอกเขตพื้นที่ซึ่งอาจมีผลกระทบตอสุขภาพส่ิงแวดลอมหรือสุขภาพอนามัยของประชาชนในพื้นที ่

(4) การมีสวนรวมของประชาชนในทองถิ่น

163

นับตั้งแตมีรัฐธรรมนูญ 2550 ประชาชน รวมทั้งองคการพัฒนาเอกชนไดมีบทบาทในการรับฟงความคิดเห็นตอการดําเนินงานของรัฐและเอกชน โดยเฉพาะโครงการที่มีขนาดใหญหลายโครงการพบวามีประเด็นขอขัดแยงซึ่งหาขอยุติไดยาก แนวคิดที่สําคัญในการแกปญหา ความขัดแยงคือการใหประชาชนเขามามีสวนรวมในการพัฒนาโครงการตั้งแตข้ันตนของการพัฒนาโครงการ รวมทั้งไดรับทราบและใหขอคิดเห็นเกี่ยวกับการวิเคราะหผลกระทบส่ิงแวดลอมและมาตรการปองกันแกไขผลกระทบส่ิงแวดลอมของโครงการเพื่อประกอบการพิจารณาของหนวยงานที่เกี่ยวของตอไป

แนวทางการมีสวนรวมของประชาชนและการประเมินผลกระทบส่ิงแวดลอมทางสังคมในกระบวนการวิเคราะหผลกระทบส่ิงแวดลอมนี้ ไดพัฒนาข้ึนเพื่อใหการวิเคราะหผลกระทบส่ิงแวดลอมในปจจุบันเปนการศึกษาที่ใหความสําคัญตอความคิดเห็นของประชาชน ความหวงใยเกี่ยวกับผลกระทบส่ิงแวดลอมที่อาจเกิดข้ึนตอตน ชุมชนและสังคมมากข้ึน

ประเภทและขนาดของโครงการหรือกิจการที่อาจกอใหเกิดผลกระทบตอชุมชนอยางรุนแรง ทั้งทางดานคุณภาพส่ิงแวดลอม ทรัพยากรธรรมชาติและสุขภาพ ตามประกาศกระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและส่ิงแวดลอม เร่ือง กําหนดประเภท ขนาด และวิธีปฏิบัติ ที่สวนราชการ รัฐวิสาหกิจ หรือเอกชน จะตองจัดทํารายงานการวิเคราะหผลกระทบส่ิงแวดลอม พ.ศ.2553 ลง วันที่ 31 สิงหาคม 2553 และฉบับที่ 2 ลง วันที่ 19 พฤศจิกายน 2553 มีดังตอไปนี้75

75 สํานักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและส่ิงแวดลอม, โครงการหรือ

กิจการที่ตองทํารายงานวิเคราะหผลกระทบส่ิงแวดลอม, (พิมพคร้ังที่ 2). กรุงเทพฯ : หางหุนสวนจํากัด บี.วี.ออฟเซ็ต., 2555, น.13-19.

164

ตารางที่ 5.1 ประเภทโครงการที่จะดําเนนิการจัดทําการรับฟงความคิดเห็น

ลําดับ ประเภทของโครงการหรือกจิการ ขนาด หลักเกณฑ วิธีการ

ระเบียบปฏิบัต ิ1. การถมทะเล หรือทะเลสาบ นอก

แนวเขตชายฝงเดิม ยกเวนการถมทะเลที่เปนการฟนฟูสภาพชายหาด

ตั้งแต 300 ไร ข้ึนไป

ใหเสนอในข้ันขออนุมัต ิหรือขออนุญาตโครงการ

2. การทําเหมือนแรตามกฎหมาย วาดวยแร ดังตอไปนี ้2.1 เหมืองแรใตดิน เฉพาะที่

ออกแบบใหโครงสรางมีการยุบตัวภายหลังการทําเหมืองโดยไมมีค้ํายันและไมมีการใสคืนวัสดุทดแทน เพื่อปองกันการยุบตัว

2.2 เหมืองแรตะกั่ว เหมืองแรสังกะสี หรือเหมืองแรโลหะอ่ืนที่ใชไชยาไนดหรือปรอทหรือตะกั่วไนเตรต ในกระบวนการผลิตหรือเหมืองแรโลหะอ่ืนที่มีอารเซโนไพไรต(arsenopyrite) เปนแรประกอบ (associated mineral)

2.3 เหมืองแรถานหิน เฉพาะที่มารลําเลียงแรถานหินออนอกพื้นที่โครงการดวยรถยนต

ทุกขนาด

ทุกขนาด

ขนาดตั้งแต 200,000 ตัน/เดือน

หรือตั้งแต

ใหเสนอในข้ันขอประทานบัตร ใหเสนอในข้ันขอประทานบัตร ใหเสนอในข้ันขอประทานบัตร

165

ตารางที่ 5.1 (ตอ)

ลําดับ ประเภทของโครงการหรือกจิการ ขนาด หลักเกณฑ วิธีการ ระเบียบปฏิบัต ิ

3.

2.4 เหมืองแรในทะเล นิคมอุตสาหกรรมตามกฎหมายวา

การนิคมอุตสาหกรรมหรือโครงการที่มีลักษณะเชนเดยีวกับนคิมอุตสาหกรรม ดังตอไปนี ้

3.1 นิคมอุตสาหกรรม หรือโครงการที่มีลักษณะเชนเดยีวกับนคิมอุตสาหกรรมที่จัดตั้งข้ึนเพื่อรองรับอุตสาหกรรมปโตรเคมี ตาม 4 หรืออุตสาหกรรมถลุงแรเหล็ก ตาม 5.1 หรือ 5.2 แลวแตกรณี มากกวา 1 โรงงานข้ึนไป

3.2 นิคมอุตสาหกรรม หรือโครงการที่มีลักษณะเชนเดยีวกับนคิมอุตสาหกรรม ที่มีการขยายพืน้ทีเ่พื่อรองรับอุตสาหกรรมถลุงแรเหล็ก ตาม 5.1 หรือ 5.2

240,000 ตัน/ป ข้ึนไป

ทุกขนาด

ทุกขนาด

ทุกขนาด

ใหเสนอในข้ันขอประทานบัตร ใหเสนอในข้ันขออนุมัต ิหรือขออนุญาตโครงการ ใหเสนอในข้ันขออนุมัต ิหรือขออนุญาตโครงการ

166

ตารางที่ 5.1 (ตอ)

ลําดับ ประเภทของโครงการหรือกจิการ ขนาด หลักเกณฑ วิธีการ ระเบียบปฏิบัต ิ

4. อุตสาหกรรมปโตรเคมี ดังตอไปนี้ 4.1 อุตสาหกรรมปโตรเคมีข้ันตน

(upstream petrochemical industry)

ทุกขนาด หรือที่มีการขยายกําลังผลิตตั้งแตรอยละ 35 ของกําลังการผลิตเดิม ข้ึนไป

- ใหเสนอในข้ันขออนุญาตกอสรางเพื่อประกอบกิจการหรือข้ันขออนญุาตประกอบกจิการ หรือในข้ันขอขยายแลวแตกรณ ี

4.2 อุตสาหกรรมปโตรเคมีชั้นกลาง (intermediate petrochemical industry) ดังตอไปนี ้

4.2.1 อุตสาหกรรมปโตรเคมีข้ัน

กลาง (intermediate petrochemical industry)ที่ผลิตสารเคมี หรือใชวัตถุดบิที่เปนสารเคมีซึง่เปนสารกอมะเร็งกลุม 1

4.2.2 อุตสาหกรรมปโตรเคมีข้ันกลาง (intermediate petrochemical industry) ที่ผลิตสารเคมีหรือใชวัตถดุิบที่เปนสารเคมีซึง่เปนสารเคมีซึ่งเปนสารกอมะเร็งกลุม 2A

ขนาดกําลังการผลิต 100 ตัน/วันข้ึนไปหรือที่มีการขยายขนาดกําลังผลิตรวมกันแลมากกวา 100 ตัน/วันข้ึนไป ขนาดกําลังการผลิต 700 ตัน/วันข้ึนไป หรือที่มีการขยาย

ขนาดกําลังผลิตรวมกันแลวมากกวา 700 ตัน/วันข้ึนไป

- ใหเสนอในข้ันขออนุญาตกอสรางเพื่อประกอบกิจการหรือข้ันขออนญุาตประกอบกจิการ หรือในข้ันขอขยายแลวแตกรณ ี

- ใหเสนอในข้ันขออนุญาต

กอสรางเพื่อประกอบกิจการหรือข้ันขออนญุาตประกอบกจิการ หรือในข้ันขอขยายแลวแตกรณ ี

167

ตารางที่ 5.1 (ตอ)

ลําดับ ประเภทของโครงการหรือกจิการ ขนาด หลักเกณฑ วิธีการ ระเบียบปฏิบัต ิ

5. อุตสาหกรรมถลุงแร หรือหลอมโลหะ ดังตอไปนี้ 5.1 อุตสาหกรรมถลุงแรเหล็ก 5.2 อุตสาหกรรมถลุงแรเหล็กที่มี

การผลิตถาน coke หรือที่มีกระบวนการ sintering

5.3 อุตสาหกรรมถลุงแร ทองแดง

ทองคํา หรือสังกะสี

ที่มีปริมาณแรปอน(input)เขาสูกระบวนการผลิตตั้งแต 1,000 ตัน/วันข้ึนไป หรือที่มีปริมาณแรปอน (input) เขาสูกระบวนการผลิตรวมกันตั้งแต 1,000 ตัน/วัน ข้ึนไป ทุกขนาด ที่มีปริมาณแรปอน(input)เขาสูกระบวนการผลิตตั้งแต 1,000 ตัน/วันข้ึนไป หรือที่มีปริมาณแรปอน (input) เขาสูกระบวนการผลิตรวมกันตั้งแต 1,000 ตัน/วัน ข้ึนไป

- ใหเสนอในข้ันขออนุญาต

กอสรางเพื่อประกอบกิจการหรือข้ันขออนญุาตประกอบกจิการ หรือในข้ันขอขยายแลวแตกรณ ี

- ใหเสนอในข้ันขออนุญาต

กอสรางเพื่อประกอบกิจการหรือข้ันขออนญุาตประกอบการ หรือในข้ันขอขยายแลวแตกรณ ี

- ใหเสนอในข้ันขออนุญาตกอสรางเพื่อประกอบกิจการหรือข้ันขออนญุาตประกอบกจิการ หรือในข้ันขอขยายแลวแตกรณ ี

168

ตารางที่ 5.1 (ตอ)

ลําดับ ประเภทของโครงการหรือกจิการ ขนาด หลักเกณฑ วิธีการ ระเบียบปฏิบัต ิ

5.4 อุตสาหกรรมถลุงแรตะกั่ว 5.5 อุตสาหกรรมหลอมโลหะ

(ยกเวน เหล็ก และอลูมิเนียม)

5.6 อุตสาหกรรมหลอมตะกั่ว

ทุกขนาด ขนาดกําลังการผลิต (output) ตั้งแต 50 ตัน/วัน ข้ึนไป หรือมีกําลังการผลิตรวมกันตั้งแต 50 ตัน/วัน ข้ึนไป ขนาดกําลังการผลิต(output)ตั้งแต 10 ตัน/วัน ข้ึนไป หรือมีกําลังการผลิตรวมกันตั้งแต 10 ตัน / วัน ข้ึนไป

- ใหเสนอในข้ันขออนุญาตกอสรางเพื่อประกอบกิจการหรือข้ันขออนญุาตประกอบกจิการ หรือในข้ันขอขยายแลวแตกรณ ี

- ใหเสนอในข้ันขออนุญาตกอสรางเพื่อประกอบกิจการหรือข้ันขออนญุาตประกอบกจิการ หรือในข้ันขอขยายแลวแตกรณ ี

- ใหเสนอในข้ันขออนุญาต

กอสรางเพื่อประกอบกิจการหรือข้ันขออนญุาตประกอบกจิการ หรือในข้ันขอขยายแลวแตกรณ ี

6. การผลิต กําจัด หรือปรับแตงสาร กัมมันตรังสี

ทุกขนาด

ใหเสนอในข้ันขออนุมัต ิหรือขออนุญาตโครงการ

7. โรงงานปรับคุณภาพของเสียรวม หรือโรงงานประกอบกจิการเกี่ยวกับการฝงกลบส่ิงปฏิกูลหรือวัสดุที่ไมใชแลว ตามกฎหมายวาดวยโรงงานที่มีการเผาหรือฝงกลบของเสียอันตราย ยกเวนการเผาในหมอเผาซเีมนตที่ใชของเสียอันตรายเปนวัตถุดบิทดแทน หรือใชเปนเชื้อเพลิงเสริม

ทุกขนาด

ใหเสนอข้ันขออนุญาตกอสรางเพื่อประกอบกจิการ หรือข้ันขออนุญาตประกอบกิจการ แลวกรณ ี

169

ตารางที่ 5.1 (ตอ)

ลําดับ ประเภทของโครงการหรือกจิการ ขนาด หลักเกณฑ วิธีการ ระเบียบปฏิบัต ิ

8. โครงการระบบขนสงทางอากาศ ที่มีการกอสราง ขยาย หรือเพิ่มทางว่ิงของอากาศยาน ตั้งแต 3,000 เมตร ข้ึนไป

ใหเสนอในข้ัน ขออนุมัติหรือ ขออนุญาตโครงการ

9. ทาเทยีบเรือ 1) ที่มีความยาวหนาทาที่เรือเขาเทียบได (berth length) ตั้งแต 300 เมตร ข้ึนไป หรือที่มีพื้นที่หนาที่ทา ตั้งแต 10,000 ตารางเมตร ข้ึนไป ยกเวนทาเรือที่ชาวบานใชสอยในชีวิตประจําวันและ การทองเทยีว

ใหเสนอในข้ัน ขออนุมัติหรือ ขออนุญาตโครงการ

2) ที่มีการขุดลอกรองน้ําตั้งแต 100,000 ลูกบาศกเมตร ข้ึนไป 3) ที่มีการขนถายวัตถุอันตรายหรือกากของเยอันตรายซึ่งเปนสารกอมะเร็งกลุม 1 มีปริมาณรวมกันตั้งแต 25,000 ตัน/เดือน ข้ึนไป หรือมีปริมาณรวมกันทั้งปตั้งแต250,000 ตัน/ป ข้ึนไป

ใหเสนอในข้ัน ขออนุมัติหรือ ขออนุญาตโครงการ ใหเสนอในข้ัน ขออนุมัติหรือ ขออนญุาตโครงการ

10. เข่ือนเก็บกักน้ํา หรืออางเก็บน้ํา 1) ที่มีปริมาตรเก็บกกัน้ําตั้งแต 100 ลานลูกบาศกเมตรข้ึนไป หรือ

ใหเสนอในข้ันขออนุมัติหรือขออนุญาตโครงการ

170

ตารางที่ 5.1 (ตอ)

ลําดับ ประเภทของโครงการหรือกจิการ ขนาด หลักเกณฑ วิธีการ ระเบียบปฏิบัต ิ

2) ที่มีพื้นทีเ่ก็บกักน้ําตั้งแต 15 ตารางกิโลเมตรข้ึนไป

- ใหเสนอในข้ันขออนุมัติหรือขออนุญาตโครงการ

11. โรงไฟฟาพลังความรอน ดังตอไปนี ้11.1 โรงไฟฟาที่ใชถานหินเปน

เชื้อเพลิง 11.2 โรงไฟฟาที่ใชเชื้อเพลิง

ชีวมวล 11.3 โรงไฟฟาที่ใชกาช

ธรรมชาติเปนเชื้อเพลิง ซึ่งเปนระบบพลังความรอนชนิด Combined cycle หรือ cogeneration

11.4 โรงไฟฟานิวเคลียร

ขนาดกําลังผลิดกระแส ไฟฟารวม ตั้งแต 100 เมกะวัตต ข้ึนไป ขนาดกําลังผลิตกระแส ไฟฟารวม ตั้งแต 150 เมกะวัตต ข้ึนไป ขนาดกําลังผลิตกระแส ไฟฟารวม ตั้งแต 150 เมกะวัตต ข้ึนไป ทุกขนาด

- ใหเสนอข้ันขออนุญาต

กอสรางเพื่อประกอบกิจการ หรือข้ันขออนุญาตประกอบกิจการ แลวกรณ ี

- ใหเสนอข้ันขออนุญาตกอสรางเพื่อประกอบกิจการ หรือข้ันขออนุญาตประกอบกิจการ แลวกรณ ี

- ใหเสนอข้ันขออนุญาตกอสรางเพื่อประกอบกิจการ หรือข้ันขออนุญาตประกอบกิจการ แลวกรณ ี

- ใหเสนอข้ันขออนุญาตกอสรางเพื่อประกอบกิจการ หรือข้ันขออนุญาตประกอบกิจการ แลวกรณ ี

171

นอกจากนี้ยังมีประเภทและขนาดโครงการหรือกิจการตามประกาศพื้นที่คุมครองส่ิงแวดลอมตามมาตรา 44 (3) แหงพระราชบัญญัติสงเสริมและรักษาคุณภาพส่ิงแวดลอมแหงชาติ โครงการที่ตั้งอยูในเขตพื้นที่ที่ประกาศเปนเขตพื้นที่คุมครองส่ิงแวดลอม มีการกําหนดประเภทและขนาดของโครงการหรือกิจการใหมีการศึกษาและจัดทํารายงานผลกระทบส่ิงแวดลอมเบื้องตน (IEE) รายละเอียดตามตารางที่ 3 หรือรายงานการวิเคราะหผลกระทบส่ิงแวดลอม (IEA) รายละเอียดตามตารางที่ 5.1 ซึ่งในปจจุบันมีประกาศกระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและส่ิงแวดลอม เร่ืองกําหนดเขตพื้นที่คุมครองส่ิงแวดลอม 6 ฉบับ ดังนี้76 1. ประกาศกระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและส่ิงแวดลอม เร่ือง กําหนดเขตพื้นที่และมาตรการคุมครองส่ิงแวดลอมในทองที่อําเภออาวลึก อําเภอเมืองกระบี่ อําเภอเหนือคลอง อําเภอคลองทอม และอําเภอเกาะลันตา จังหวัดกระบี ่ 2. ประกาศกระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและส่ิงแวดลอม เร่ือง กําหนดเขตพื้นที่และมาตรการคุมครองส่ิงแวดลอมในบริเวณพื้นที่จังหวัดกระบี่ พ.ศ. 2553 3. ประกาศกระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและส่ิงแวดลอม เร่ือง กําหนดเขตพื้นที่และมาตรการคุมครองส่ิงแวดลอมในทองที่ อําเภอบางละมุง และอําเภอสัตหีบ จังหวัดชลบุ รี พ.ศ. 2553 4. ประกาศกระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและส่ิงแวดลอม เร่ือง กําหนดเขตพื้นที่และมาตรการคุมครองส่ิงแวดลอมในทองที่อําเภอคุระบุรี อําเภอตะกั่วปา อําเภอทายเหมือง อําเภอทับปุด อําเภอเมืองพังงา อําเภอตะกั่วทุง และอําเภอเกาะยาว จังหวัดพังงา 5. ประกาศกระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและส่ิงแวดลอม เร่ือง กําหนดเขตพื้นที่และมาตรการคุมครองส่ิงแวดลอมในบริเวณพืน้ที่อําเภอบานแหลม อําเภอเมืองเพชรบุรี อําเภอทายาง และอําเภอชะอํา จังหวัดเพชรบุรี อําเภอหัวหิน และอําเภอปราณบุรี จังหวัดประจวบคีรีขันธ พ.ศ. 2553 6. ประกาศกระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและส่ิงแวดลอม เร่ือง กําหนดเขตพื้นที่และมาตรการคุมครองส่ิงแวดลอมในบริเวณพื้นที่จังหวัดภูเก็ต พ.ศ. 2553 จากกลไกขางตน สะทอนใหเห็นวาการประชาพิจารณเปนชองทางการส่ือสารที่จะทําใหประชาชนไดรับรูขอมูลจากผูประกอบการ ขณะเดียวกันประชาชนก็เปนผูใหขอมูลในเร่ืองที่

76สํานักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและส่ิงแวดลอม, โครงการหรือ

กิจการที่ตองทํารายงานวิเคราะหผลกระทบส่ิงแวดลอม, พิมพคร้ังที่ 2, (กรุงเทพฯ : หางหุนสวนจํากัด บี.วี.ออฟเซ็ต, 2555), น. 20.

172

อาจจะไดรับผลกระทบอันเนื่องมาจากการดําเนินงาน ซึ่งการส่ือสารในลักษณะนี้จะทําใหผูสงสารและผูรับสารไดแลกเปล่ียนขอมูลระหวางกัน และนําไปจัดทําเปนขอตกลงหากเกิดปญหา ซึ่งจะทําใหลดปญหาที่อาจจะเกิดข้ึนในอนาคต หรือถาหากมีเหตุการณที่เกิดข้ึนก็จะมีแนวทางแกไขที่หาทางออกไวรวมกันแลว ดังนั้นการทําประชาพิจารณจึงเปนชองทางที่จะนําไปสูการลดความขัดแยงในพื้นที่ได

การศึกษาจะเนนปจจัยหรือองคประกอบทางส่ิงแวดลอมที่สําคัญที่อาจมีผลกระทบตอหรืออาจไดรับผลกระทบจากโครงการ ไดแก

1) ทรัพยากรส่ิงแวดลอมทางกายภาพ ดําเนินการรวบรวมขอมูลดานสภาพภูมิศาสตร สภาพภูมิอากาศ และคุณภาพอากาศ ธรณีวิทยา สมุทรศาสตร คุณภาพน้ําทะเล ลักษณะและคุณภาพตะกอนพื้นทะเล

2) ทรัพยากรส่ิงแวดลอมทางกายภาพ ดําเนินการรวบรวมขอมูลดานแพลงกตอนพืช แพลงกตอนสัตวและสัตวน้ําวัยออน สัตวหนาดิน ทรัพยากรสัตวน้ํา สัตวทะเลหายากและใกล สูญพันธุ และระบบนิเวศที่ออนไหวและพื้นที่คุมครองส่ิงแวดลอม

3) คุณคาการใชประโยชนของมนุษย ดําเนินการรวบรวมขอมูลดานการประมง การเพาะเล้ียงชายฝง การคมนาคมขนสงทางน้ําและทางบก แนวทอขนสงปโตรเลียมใตน้ํา สายเคเบิลใตทะเล และส่ิงติดตั้งใตทะเล รวมถึงนันทนาการและการทองเที่ยว

แนวทางการรับฟงความคิดเห็น เนื่องจากอาวไทยมีพื้นที่ชายฝงทะเลที่ทอดยาว ดังนั้นจังหวัดที่อยูริมชายฝงทะเล ซึ่งไมสามารถกําหนดพื้นที่ได แตกิจกรรมการรับฟงความคิดเห็นจะเกิดข้ึนจังหวัดใดก็ได ที่สามารถดําเนินการใหมีกิจกรรม สวนใหญจะเกิดข้ึนในจังหวัดที่ไมมีการตอตานที่รุนแรง แตอยางในจังหวัดระยองนั้นเปนชวงที่มีการตอตานอันเนื่องมาจากผลกระทบ จากโครงการอุตสาหกรรมปโตรเคมีจํานวนมาก จึงไมคอยปรากฏเวทีประชาพิจารณรับฟง ความคิดเห็นผลกระทบดานส่ิงแวดลอม สังคมและสุขภาพ แมวาในจังหวัดระยองจะเปนจังหวัดที่มีนิคมอุตสาหกรรมจํานวนมาก

การมีสวนรวมของประชาชนตอการศึกษาผลกระทบส่ิงแวดลอม สังคม และสุขภาพ โครงการไดจัดใหมีกิจกรรมการมีสวนรวมของประชาชน เพื่อใหสอดคลองตามขอกําหนดในรัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักรไทย พ.ศ. 2550 มาตราที่ 57 หมวด 3 สิทธิและเสรีภาพของปวงชนชาวไทย และแนวทางการมีสวนรวมของประชาชนและแนวการประเมินผลกระทบ

173

ส่ิงแวดลอมทางสังคมของสํานักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและส่ิงแวดลอม พ.ศ. 2549 ประชาชนกลุมเปาหมายที่เขารวมกิจกรรมประชาพิจารณ ประกอบดวย 7 กลุม77 คือ

1. กลุมผูไดรับผลกระทบจากโครงการทั้งในดานบวกและลบ 2. หนวยงานที่รับผิดชอบจัดทํารายงานการวิเคราะหผลกระทบส่ิงแวดลอม 3. หนวยงานที่ทําหนาที่พิจารณารายงานการวิเคราะหผลกระทบส่ิงแวดลอม 4. หนวยงานราชการในระดับตาง 5. องคกรเอกชนดานส่ิงแวดลอม องคกรพัฒนาเอกชน สถาบันการศึกษาภายใน

ทองถิ่น และนักวิชาการอิสระ 6. ส่ือมวลชน 7. ประชาชนทั่วไป รูปแบบของกิจกรรมการมีสวนรวมของประชาชน มีวิธีดําเนินการรับฟงความคิดเห็น

จากผูมีสวนไดสวนเสีย ดังเชนกรณีของการทําประชาพิจารณของบริษัท เพิรลออย จํากัด มีรูปแบบดังนี้78 1. การประชุมปรึกษาหารือ โดยจัดประชุมรับฟงความคิดเห็นกลุมผูมีสวนไดเสีย ประกอบดวย หนวยงานราชการที่เกี่ยวของ สมาคมประมง หนวยงานที่เกี่ยวของกับการทองเที่ยว องคกรเอกชน สถาบันการศึกษา และส่ือมวลชน ผูนําชุมชน และประชาชนทั่วไป ในจังหวัดประจวบคีรีขันธ 2. การประชุมกลุมยอย เปนการรับฟงความคิดเห็นกลุมผูมีสวนไดเสีย ประกอบดวย กลุมประมง ตัวแทนการทองเที่ยว กลุมอนุรักษส่ิงแวดลอม ผูนําชุมชน โดยมีวัตถุเพื่อรับฟง ขอกังวลตาง ๆ ที่มีตอโครงการที่อยูในจังหวัดประจวบคีรีขันธ 3. การสํารวจความคิดเห็นดวยแบบสอบถาม สวนนี้มีเก็บขอมูลจากหลายจังหวัด เชน อําเภอชะอํา จังหวัดเพชรบุรี อําเภอหัวหิน อําเภอปรานบุรี จังหวัดประจวบคีรีขันธ และอําเภอสัตหีบ จังหวัดชลบุรี

77บริษัท เพิรลออย (อาวไทย) จํากัด, เอกสารประกอบกิจกรรมการมีสวนรวมของ

ประชาชน คร้ังที่ 1 โครงการเจาะสํารวจปโตรเลียม ระยะที่ 2 แปลงสํารวจ G3/8, สิงหาคม 2554, น. 15.

78บริษัท เพิรลออย ออฟซอร จํากัด, รายงานผลการวิเคราะหผลกระทบส่ิงแวดลอมโครงการเจาะสํารวจปโตรเลียมในทะเล (ระยะที่ 2) แปลงสํารวจหมายเลข G2/48, กันยายน 2554.

174

อยางไรก็ตาม การทําประชาพิจารณหรือการรับฟงความคิดเห็นในมุมมองของชาวบาน สวนใหญมองวาการรับฟงความคิดเห็นเปนกระบวนการที่เปนสวนประกอบในการดําเนินโครงการ ไมไดมีความจริงใจที่จะรับฟงความคิดเห็นจริง ๆ จากประชาชน หรือผูที่ใหขอมูลอาจจะไมใชตัวแทนของชาวบานจริง ๆ

“การทําประชาพิจารณมีความเปนกลางสวนหนึ่ง แตสวนใหญจะเกณฑคนมาทําประชาพิจารณมากกวา ยังไมชัดเจนในจุดนั้น และการขุดเจาะน้ํามันเขามีการไปศึกษามากอนแลว หรือมีการสํารวจมา กําหนดจุด วางจุดเรียบรอยมากอนแลวคอยมาทําประชาพิจารณ หนวยงานราชการที่เขารวมกิจกรรมประชาพิจารณสวนใหญจะเปนเทศบาล องคกรปกครองสวนทองถิ่น สมาคมชุมนุมตาง ๆ และมีแกนนําไมกี่คน โดยภาพรวมแลวการรับฟงยังไมทั่วถึง”79 “การรับฟงความคิดเห็นดานส่ิงแวดลอมบางคร้ังเรามีหลายเวที เวลาเสนอไปเหมือนกับเปนองคประกอบใหครบถวนกระบวนการของผูประกอบการเทานั้น เราหรือชาวบานกลายเปนเคร่ืองมือใหโครงการไดเขาสูข้ันตอนการประชาพิจารณ ทําใหองคประกอบของการดําเนินงานครบถวนและจะไดดําเนินการข้ันตอนอ่ืน ๆ ตอไป ขอมูลที่ได ไมไดตอบสนองของชุมชนอยางจริงจังรับฟง แลวก็หาย การวิเคราะหปญหาผลกระทบตองลงมาพื้นที่จริง สัมผัสจริง การมาพูดใหฟงชาวบานไมเขาใจ มีแตภาษาวิชาการ ความเปนจริง ความจริงใจที่จะลงมาชุมชนนอยมาก ตองมาสัมผัส กล่ิน เสียง ฝุน ซึ่งสัมผัสไดโดยไมตองพูดเปนวิชาการ บริษัทที่มาประเมินเอาขอเท็จจริง การลงมาคร้ังเดียว ชุมชนจะไมไดอะไรเลย”80

การใหขอมูลของจําลอง ผองสุวรรณ สอดคลองกับจเร ปานเหลือ ผูปฏิบัติการบนฐานเจาะกาซและน้ํามันในอาวไทย ซึ่งเปนบริษัทเอกชน ไดกลาวถึงภาครัฐไมมีหนวยงานไปตรวจสอบ และอาจเปนไปไดวาการทําประชาพิจารณจะทํากรณีที่สํารวจไปและพบแหลงพลังงานแลวจึงมาทําประชาพิจารณในภายหลัง โดยเฉพาะในพื้นที่ที่ติดกับมาเลเซีย

“ในประเด็นของการทําประชาพิจารณ ผูประกอบการมีการสํารวจไปกอนที่จะทําประชาพิจารณ ยังมีอีกในบางพื้นที่ตอกับมาเลเซียเพราะมีแรงดันมากเนื่องจากอุปกรณที่ใชในอาวไทยโดยปกติแลวหลุมขุดเจาะจะไมมีความดันมากนักจึงใช

79ภานุ วรมิตร, ผูอํานวยการการทองเที่ยวแหงประเทศไทยจังหวัดสุราษฎรธานี ,

สัมภาษณ 2 พฤศจิกายน 2555. 80จําลอง ผองสุวรรณ, ประธานชุมชนมาบยา, สัมภาษณ 19 กุมภาพนัธ 2556.

175

อุปกรณจากประเทศเกาหลีซึ่งมีราคาถูกลงทุนนอย หากจะนําวัสดุอุปกรณจากทางยุโรปเขามาใชผูประกอบการก็จะใชเปนเงื่อนไขที่ตองลงทุนสูงเปนกรณีพิเศษมีผลตอการเก็บภาษีซึ่งอาจเกินความเปนจริงเนื่องจากไมมีหนวยงานตรวจสอบจากภาครัฐ อีกกรณีที่ทําความอึดอัดคับแคนใจเกิดข้ึนกับคนไทยที่ทํางานบนฐานเจาะกาซและน้ํามันในอาวไทยคือการมีฐานปฏิบัติการอยูในเขตพื้นที่มาเลเซียแตในความเปนจริงแลวหลุมเจาะอยูในพื้นที่ของประเทศไทยซึ่งมีอยูมากผูที่ทํางานก็เห็นกันอยูแตไมมี ผูซึ่งมีอํานาจไปดําเนินการอะไร ผลประโยชนไปตกอยูกับใครที่ไหนรัฐบาลควรที่จะมีคําตอบใหกับสาธารณชน นอกจากนี้ ยังมีประเด็นเร่ืองบุคลากรกรณีธุรกิจรวมไทยมาเลเซียจากแหลง JDA ผูปฏิบัติการของมาเลเซียมีรายไดประมาณ 300,000 บาทตอเดือน ในขณะที่คนไทยรับเฉล่ียที่ 150,000 บาทตอเดือน”81

การตรวจสอบการทําประชาพิจารณไมมีหนวยงานของรัฐที่รับผิดชอบโดยตรง สวนใหญก็จะนําขอมูลมาจากสวนราชการที่เกี่ยวของกับส่ิงแวดลอม และสัตวทะเล แตปญหาก็คือเปนขอมูลเกา ๆ นานมาแลวที่หนวยงานภาครัฐรวบรวมไวก็เปนขอมูลที่ไมทันสมัย หรือไมเปนปจจุบัน สวนใหญจะตรวจสอบหลักฐานจากเอกสารที่บริษัทรายงานเขามาหากดูแลววาเอกสารครบถวนรูปแบบถูกตองถือวาสมบูรณโดยมิไดลงพื้นที่ไปสังเกตการณจริง

“วิธีการศึกษาผมไมไดไปดแูตเราดูจากเอกสาร มันมีหลักฐานประกอบจากเอกสาร ภาคผนวกก็จะมีรายงานการประชุมผูเขารวมประชุมอะไรเหลานี้ สวนของผมอาจไปเปนบางคร้ังและจะเปนการทําประชาพิจารณคร้ังที่ 2 ตอนนี้ไมมีหนวยงานไหนของรัฐเขาไปตรวจสอบดูแลการศึกษาของบริษัทที่ปรึกษามารับทําการศึกษาผลกระทบดานส่ิงแวดลอมใหกับบริษัทผูขอสัมปทานเทาที่ทราบบริษัทเหลานั้นจะเอาขอมูลของกรมประมงซึ่งเปนหนวยงานราชการเม่ือป 2545 มาอางอิง ซึ่งเปนขอมูลเกามาก หากใกลฝงหนอยก็ใชของกรมมลพิษที่ศึกษา ยังไมมีหนวยงานตรงที่ลงไปกํากับในการศึกษา”82

81นายจเร ปานเหลือ, ผูปฏิบัติการบนฐานเจาะกาซและน้ํามันในอาวไทย, สัมภาษณ

1 มกราคม 2556. 82สมชาย ตะสิงหษะ, นักวิชาการชํานาญการพิเศษ, สัมภาษณ 30 มกราคม 2556

176

ผูรับสาร (receiver) นโยบายพลังงานนั้นเกี่ยวของกับคนในหลายระดับ เพราะกระบวนการดานพลังงานมีหลายข้ันตอนนับตั้งแตกระบวนการสํารวจเจาะหาพลังงานที่อยูในอาวไทยซึ่งเปนสวนตนน้ําของกระบวนการผลิตพลังงาน การนําพลังงานธรรมชาติที่พบมาเขาสูกระบวนการอุตสาหกรรม เชน อุตสาหกรรมปโตรเลียม ไฟฟา โรงแยกกาซ ข้ันตอนนี้เปนสวนของกลางน้ํา และสวนสุดทายคือปลายน้ําเปนสวนที่นําผลิตภัณฑไปใชประโยชนทั้งผูบริโภคและอุตสาหกรรมอ่ืน ๆ ผูวิจัยขอสรุปผูรับสารนโยบายพลังงานมีดังตอไปนี้ ผูประกอบการ คือ ผูประกอบการดานอุตสาหกรรมพลังงาน เพราะผูรับสารกลุมนี้จะเปนผูเสนอโครงการเพื่อขอสัมปทานกับภาครัฐ ในการประกอบธุรกิจการเจาะสํารวจ การเปดโรงงานอุตสาหกรรมรองรับพลังงาน โรงกล่ันน้ํามัน โรงแยกกาซ โรงไฟฟา กลุมอุตสาหกรรมปโตรเคมี เปนตน นโยบายของรัฐบาลมีผลกระทบตอผูประกอบการ กลุมนี้จะเปนผูรับสารที่นําไปสูการเกิดกิจกรรมโครงการตาง ๆ ตอบสนองนโยบายของรัฐบาล ผูรับสารที่เปนขาราชการ กับผูประกอบการจะมีความสัมพันธกัน การบริหารประเทศในอดีตประชาชนไมมีสวนรวม อาจเนื่องมาจากระบบหรือกฎหมายไมเอ้ือให จึงทําใหผูรับสารทั้งสองกลุมนี้มีการเอ้ือประโยชนตอกัน อยางไรก็ตามผูรับสารกลุมนี้เปนกลุมที่มีบทบาทสําคัญในการพัฒนาประเทศ โดยเฉพาะ GDP ที่มีฐานมาจากอุตสาหกรรมพลังงาน หรือกลุมอุตสาหกรรมปโตรเคมี อยางไรก็ตามผลกระทบจากโครงการตาง ๆ ไดสงผลกระทบตอส่ิงแวดลอมและสุขภาวะของประชาชนในพื้นที่อุตสาหกรรมดวยเชนกัน ประชาชน แบงออกเปน 2 กลุม กลุมแรก คือ ประชาชนที่อยูในพื้นที่ของอุตสาหกรรมพลังงาน และอีกกลุมคือประชาชนทั่วไป มีรายละเอียดดังนี ้

1. กลุมประชาชนท่ีอยูในพื้นท่ีโครงการอุตสาหกรรมพลังงานในอาวไทย ซึ่งเปนกลุมประชาชนที่ไดรับผลกระทบโดยตรงจากโครงการ ในพื้นที่ชายฝงอาวไทยมีพื้นที่ครอบคลุม 17 จังหวัด นับตั้งแตจังหวัดตราดทอดยาวไปถึงนราธิวาส หรืออาจกลาวไดวาประชาชนที่อยูในพื้นที่ชายฝงทะเลตะวันออกตามนโยบายพัฒนาพื้นที่ชายฝงตะวันออก (Eastern Seaboard) โดยเฉพาะในจังหวัดระยอง ชลบุรี ปราจีนบุรี ที่ตองรับรูกับส่ิงที่เกิดข้ึนในพื้นที่ไมวาจะเปนเร่ืองของการคมนาคมขนสง โรงงานตาง ๆ ที่เกิดข้ึนซึ่งประชาชนในพื้นที่จะตองรับรู เพราะอุตสาหกรรม ที่เกิดข้ึนจะตองกระทบตอวิถีชีวิตของชาวบาน ขณะเดียวกันการพัฒนาอุตสาหกรรมในพื้นที่ชายฝงทะเลตะวันออกที่มีมาอยางตอเนื่อง สงผลใหมีนิคมอุตสาหกรรมจํานวนมาก ไมวาจะเปนนิคมอุตสาหกรรมมาบตาพุด ปลวกแดง เหมราช ฯลฯ พื้นที่จังหวัดฉะเชิงเทรา หรือที่จังหวัดปราจีนบุรี

177

ประชาชนที่อยูในพื้นที่เหลานี้มีโอกาสที่จะไดรับผลกระทบทั้งทางบวกและทางลบ เพราะไมวาจะเปนทอสงกาซธรรมชาติเสนแรกจากอาวไทยสูบนบกก็เกิดข้ึนที่จังหวัดระยอง โรงแยกกาซหนวยแรกก็อยูที่จังหวัดระยอง จากนั้นมีโรงไฟฟาและโรงงานอุตสาหกรรมตอเนื่องอ่ืน ๆ ตามมา และ มีความเจริญเติบโตอยางรวดเร็ว

“โครงการพัฒนามาบตาพุด หรือยุคแรก ประชาชนรับรูขอมูลนอย และประโยชนของอุตสาหกรรมพลังงานจากระยอง เปนเสนเลือดของคนทั้งประเทศ ประชาชนที่นี้จะตอตานการสรางหรือการขยายคอนขางยาก เพราะทุกวันนี้เปนเมืองอุตสาหกรรมไปแลว แตประชาชนคนพื้นที่จริง ๆ ไดเรียนรูวิถีการดําเนินงานของรัฐที่ปลอยปละละเลย ผูบริหารนิคมอุตสาหกรรมที่ควรจะเปนแหลงขอมูลที่เปนขอเท็จจริง หรือความจริง กลับเอ้ือประโยชนใหผูประกอบการ ดังนั้นชาวมาบตาพุด จึงเปนกลุมที่มีความตื่นตัวมากที่จะรับรูขอมูลขาวสาร และยังแสวงหาความรูเพิ่มเติม โดยเฉพาะขอมูลเกี่ยวกับสารเคมี เราเองมีความรูนอยมาก ขาดองคความรู และปจจัยที่จะผลักดันใหชุมชนมีการรวมกลุม เคล่ือนไหวอยางไร ขาดความเชื่อม่ันจากกลุมโรงงาน เพราะมันขัดกับความจริง อากาศเราไดกล่ินแตเวลากลุมโรงงาน นักวิชาการ มาเปนชั่วระยะเวลาส้ัน ๆ แลวก็รายงานวาปลอดภัย แตชาวบานอยูประจําไมสามารถรูไดวาอันตรายมันรายแรงขนาดไหน”83 ประชาชนที่อยูตามแนวพื้นที่ชายฝงทะเลภาคใต ภายใตนโยบายการพัฒนาพื้นที่

ชายฝงทะเลภาคใต (Southern Seaboard) โดยเฉพาะการกอสรางโรงไฟฟาที่จะนะ ทาเรือน้ําลึกจังหวัดสงขลา การกอสรางทอสงกาซไทย-มาเลเซีย และโรงแยกกาซ ที่ไดรับการตอตานมาโดยตลอด แมวาพลังงานจะมีประโยชนอยางมหาศาลตอประเทศ แตสําหรับประชาชนในพื้นที่อาจจะไมใชส่ิงที่พวกเขาตองการ เพราะผลกระทบที่อาจจะเกิดข้ึนตอวิถีชีวิต และกระทบตอส่ิงแวดลอม เพราะไดเกิดรูปแบบของปญหาอยางที่อุตสาหกรรมมาบตาพุด จังหวัดระยอง จึงทําใหประชาชนที่อยูในพื้นที่เปาหมายของโครงการอุตสาหกรรมพลังงานจึงตองสนใจขอมูลขาวสารมากกวาประชาชนทั่วไปที่อยูหางไกลจากที่ตั้งของโครงการ ดังกรณีการคัดคานโครงการทอกาซไทย-มาเลเซีย และโรงแยกกาซ ที่สะทอนใหเห็นถึงบทบาทผูรับสารที่อยูในพื้นที่อุตสาหกรรมพลังงาน ขวัญสรวง อติโพธิ ไดเขียนไวในบทความ “ทางแพรงชื่อจะนะ” ทางหนังสือพิมพมติชน

83จําลอง ผองสุวรรณ, ประธานชุมชนมาบยา มาบตาพุด, สัมภาษณ 19 กุมภาพันธ

2556.

178

“การทําสัญญาเจาะกาซจากหลุมแลวแบงเงินกับฝร่ัง การตั้งบริษัท รวมทุนไทย-มาเลย ทําโครงการเดินทอกาซมาข้ึนฝง การตัดสินใจเลือกบริเวณเอากาซข้ึนบกและทําโรงแยกกาซจากเจ็ดตัวเลือก จนวันที่นายกชวน หลีกภัย เซ็นสัญญากับมหาธีร ผูกมัดเปนพันธสัญญาระหวางประเทศ ทั้งหมดนี้คนที่จะตองมีชีวิตอยูกับโครงการคือคนอําเภอจะนะหากแตวาคนจะนะไมรูเร่ือง และไมมีสวนรวมอะไรทั้งส้ิน นี่เปนความถูกตองในชั้นแรก คนอําเภอจะนะที่จะตกที่นั่งซวยเพื่อชาติเพื่อสวนรวมนั้นนาจะมีสิทธิถามถึงความจําเปนและความถูกตองชอบธรรมของโครงการมากที่สุด ซึ่งในกรณีนี้โครงการทอกาซจะเต็มไปดวยความไมโปรงใส มีคําถามหรือปญหาติดตัวเต็มไปหมด นับตั้งแตคําถามวามาเลยมีกาซเปนของตนเองจํานวนมหาศาล ทําไมถึงตองเรงรีบมารวมใชกาซจากแหลงเจดีเอกับไทย มิหนําซ้ําแหลงเจดีเอนี้อยูคอนมาทางไทยมาก ทําไมถึงไปทําสัญญาแบงกับเขา 50-50 หรือถามถึงความโปรงใสของการทําสัญญา ทาง ส.ว. เคยเรียกมาดูก็ปรากฏวามีขีดมีฆาอยูเต็มไปหมด เพราะถือวาเปนความลับทางธุรกิจ และทายที่สุด ในตอนเร่ิมตนโครงการไปแลว สภาพัฒนเคยแจงแกชาวบานวา จะมีโครงการพัฒนาอุตสาหกรรม ปนัง-สงขลาข้ึนมารองรับกาซที่ข้ึนบก แตมาภายหลังก็ปฏิเสธ ทําไมรูไมชี้ไมพูดถึงอีกตอไป อยูดี ๆ มาโกหกถึงบานอยางนี้รับไมได”84 จากบทความสะทอนใหเห็นวาผูรับสารที่อยูในพื้นที่อุตสาหกรรมนั้น มีความสนใจ

ขอมูลขาวสาร และตองการมีสวนรวมในการดําเนินโครงการ ควรรับฟงความคิดเห็นของชาวบานในพื้นที่อุตสาหกรรมอยางจริงใจ เพื่อลดความขัดแยง แตตองการขอเท็จจริงจะไดมีแนวทางการแกปญหารวมกันหากเกิดปญหาข้ึนในอนาคต โดยเฉพาะการสงผลกระทบตอส่ิงแวดลอม เกิดปญหามลพิษ อุบัติภัยสารเคมี และสงผลตอสุขภาพอนามัยของประชาชน ประชาชนจึงเปนผูรับสารที่เฝาระวังถึงผลกระทบที่อาจจะเกิดจากนโยบายของรัฐ นอกจากเปนผูรับสารแลวประชาชนยังเปนผูสงสารในฐานะผูไดรับผลกระทบทั้งทางบวกทางลบไปยังหนวยงาน ภาครัฐที่เกี่ยวของ และส่ือมวลชนใหรับทราบถึงผลกระทบที่เกิดข้ึนอีกทางหนึ่งดวย การพัฒนาชายฝงทะเลตะวันออกนอกจากจะเปนรูปแบบของการพัฒนานิคมอุตสาหกรรมแลว ยังเปนรูปแบบของปญหาที่เกดิข้ึนทาํใหโครงการตาง ๆ ที่เกี่ยวกับอุตสาหกรรมปโตรเคมีเกิดข้ึนในพื้นที่อ่ืน ๆ ไดยาก เพราะเห็นตนแบบผลกระทบที่จังหวัดระยอง และหลังจากมีรัฐธรรมนูญป 2550 ที่เปดโอกาสใหประชาชนในการประเมินผลกระทบดานส่ิงแวดลอม ดานสังคม และสุขภาวะ ดังนั้น นโยบายของรัฐที่จะเกิด

84มติชน (29 มีนาคม 2545).

179

โครงการอุตสาหกรรมปโตรเลียมจึงเปนที่สนใจของประชาชนในพื้นที่อุตสาหกรรม ทําใหคอยติดตามขาวสารและศึกษาหาขอมูลกันเพิ่มข้ึน 2. กลุมประชาชนท่ัวไป ผูรับสารที่เปนประชาชนกลุมนี้ สวนใหญจะติดตามขาวสารโดยทั่วไปที่เกี่ยวของกับวิถีชีวิตประจําวันของตนเอง เชน ราคาน้ํามัน สถานการณพลังงาน ความรูดานการอนุรักษพลังงาน หรือพลังงานทางเลือก สําหรับประชาชนเชนการสรางบานแบบไหนจึงเปนบานอนุรักษพลังงาน การเลือกใชรถยนตอนุรักษพลังงาน และประหยัดพลังงานดังนั้นสวนประชาชนทั่วไป นั้นเปนผูรับขอมูลดานสถานการณพลังงานที่ เปนปจจุบัน พลังงานมีความสําคัญตอการพัฒนาประเทศ แตละประเทศมีความตองการพลังงานสูงมาก เพราะพลังงานเปนปจจัยสําคัญในการดําเนินการอ่ืน ๆ ทําใหพลังงานมีราคาสูง เนื่องดวยความที่เปนส่ิงที่มีคาและหาไดยาก จึงมีราคาสูง โดยเฉพาะน้ํามันในชวงระยะหลังที่ราคาเปล่ียนแปลงอยูบอยคร้ัง ประชาชนจึงสนใจขอมูลดานสถานการณและราคาน้ํามันสงผลตอวิถีชีวิตประจําวันของประชาชนทั่วไป

ผลกระทบ (Effect)

ผลจากการส่ือสารทางการเมืองเร่ืองพลังงานในอาวไทย ชวงป พ.ศ. 2524-2553

รัฐบาลจะมุงเนนการส่ือสารถึงประโยชนมหาศาลจากการนําพลังงานจากอาวไทยมาใช โดยเฉพาะชวงแรกของการคนพบแหลงพลังงานในอาวไทย ที่รัฐบาลจะใชกลไกของรัฐในการชี้นําเพื่อใหประชาชนในประเทศเห็นถึงประโยชนพลังงานธรรมชาติ ทั้งประโยชนที่เกิดข้ึนในครัวเรือนโดยเฉพาะการมีไฟฟาใชในชนบท มีกาซหุงตมใชแทนไมที่เปนการทําลายปาไม พลั งงานธรรมชาติที่อุตสาหกรรมตนน้ําที่สงผลใหเกิดอุตสาหกรรมกลางน้ํา เชน โรงแยกกาซธรรมชาติ โรงไฟฟา อุตสาหกรรมปโตรเคมี เปนตน ผลผลิตจากอุตสาหกรรมกลางน้ํานําไปสูอุตสาหกรรมปลายน้ํา เชน อุตสาหกรรมรถยนต ส่ิงทอ พลาสติก เปนตน ที่ทําใหประเทศไทยมีวัสดุอุปกรณใชในการอุตสาหกรรมอ่ืน ๆ และส่ิงอํานวยความสะดวกในการดําเนินชีวิตประจําวัน ซึ่งรัฐบาลใชชองทางในการส่ือสารผานส่ือบุคคลที่เปนนักการเมือง ผูนําทางการเมือง ส่ือมวลชนที่ส่ือสารนโยบายของรัฐบาลไปยังประชาชน และผูประกอบการอุตสาหกรรม ลักษณะการส่ือสารจะเปนการส่ือสารทางเดียว การส่ือสารของรัฐบาล ในอดีตนั้นสัมฤทธิ์ผลเพราะคน สวนใหญเชื่อวาการอุตสาหกรรมพลังงานในอาวไทยสงผลดีตอประเทศ ทําใหเกิดการพัฒนามาอยางตอเนื่อง ในขณะที่ผลจากการส่ือสารดานลบที่เกิดจากการส่ือสารที่ไมครอบคลุมขอมูลโดยที่ภาครัฐคอยปดกลบขอมูลดานผลกระทบจากอุตสาหกรรมเอาไว ประกอบกับอุตสาหกรรมพลังงานเปนเร่ืองที่หางไกล

180

กับความรูของประชาชน ที่สวนใหญจะประกอบอาชีพในภาคเกษตรและอาชีพประมง จึงไมไดเขาใจกระบวนการของอุตสาหกรรม และผลกระทบที่เกิดข้ึนซึ่งผูที่มีสวนเกี่ยวของไมเคยกลาวถงึไมวาจะเปนภาครัฐและผูประกอบการอุตสาหกรรม เม่ือเวลานานเขาปญหาจากอุตสาหกรรมเร่ิมสงผลกระทบกับวิถีชีวิตของประชาชนในพื้นที่ ปญหาส่ิงแวดลอม ฝุน กล่ิน เสียง ซึ่งเปนปญหาทางกายภาพที่ประชาชนสามารถสัมผัสไดดวยตนเอง จนทําเกิดความสงสัยในขอเท็จจริงที่รัฐบาลไดส่ือสาร สะทอนใหเห็นการส่ือสารของรัฐบาลขาดความนาเชื่อถือ และทําใหประชาชนแสวงหาขอมูลความรูดานพลังงานมากข้ึน เปนที่มาของการรองเรียนและตอตานโครงการของภาครัฐ โดยเฉพาะโครงการดานพลังงานและดํารงอยูในปจจุบัน ทําใหส่ือมวลชนใหความสนใจในประเด็นผลกระทบที่เกิดจากอุตสาหกรรมพลังงาน มีการศึกษาวิจัยจากนักวิชาการดานผลกระทบจากอุตสาหกรรม การวิเคราะหขอมูลผลกระทบจากการส่ือสารทางการเมืองเร่ืองพลังงานในอาวไทย ชวงป 2524-2553 สามารถแยกได 5 ประเด็น ไดแก ผลกระทบดานส่ิงแวดลอม ผลกระทบสุขภาพ ผลกระทบดานผลประโยชน ผลกระทบดานความขัดแยงทางสังคม ผลกระทบจากการทําประชาพิจารณ และผลกระทบตอการทองเที่ยว ซึ่งในแตละประเด็นมีรายละเอียดดังนี้

ผลกระทบดานสิ่งแวดลอม

ผลกระทบดานส่ิงแวดลอมอันเนื่องมาจากอุตสาหกรรมปโตรเคมี เหรียญมักมีสองดานเสมอ อุตสาหกรรมพลังงานที่นําไปสูกระบวนการปโตรเคมีที่มีตนกําเนิดจากอาวไทยแมจะมีประโยชนมหาศาล แตกระบวนการที่เกี่ยวกับอุตสาหกรรมก็สงผลกระทบตอสภาพแวดลอมทั้งทางตรงและทางออม และยิ่งหากผูรับผิดชอบไมแกไขหรือปลอยปละละเลยยิ่งสะสมปญหาจนขยายเปนวงกวาง ไมวาจะเปนส่ิงแวดลอมทางทะเล มลพิษทางอากาศ ดินและน้ํา เปนตน อุตสาหกรรมพลังงานท่ีมีผลกระทบตอสิ่งแวดลอมทางทะเล ดวยกระบวนการของอุตสาหกรรมพลังงานที่มาจากใตทะเลอาวไทยตองใชวัสดุอุปกรณขุดเจาะสํารวจเพื่อคนหาแหลงพลังงานในเบื้องตน นั้นหมายถึงตองมีการวัดความส่ันสะเทือนของพื้นธรณี โดยการสํารวจปโตรเลียมจะเร่ิมจากการขอสัมปทานเพื่อสํารวจหาแหลงปโตรเลียมในอาวไทยจากกรมเชื้อเพลิงธรรมชาติ กระทรวงพลังงาน โดยข้ันตอนของการสํารวจนั้นจะแบงออกเปน การสํารวจทางธรณีวิทยา เพื่อสํารวจหาวามีชั้นหินที่เปนแหลงกักเก็บปโตรเลียมอยูหรือไมและอยูที่ไหน รวมทั้งเก็บตัวอยางหินเพื่อการวิเคราะหหาอายุและสารตนกําเนิดปโตรเลียม และ การสํารวจทางธรณีฟสิกส เปนการวัดคล่ืนความไหวสะเทือนผานชั้นหิน (Seismic Survey) โดยการสรางคล่ืนสะทอนจากการจุดระเบิดเพื่อใหเกิดคล่ืนความส่ันสะเทือนว่ิงไปกระทบชั้นหินใตทองทะเลและใตดิน แลว

181

สะทอนกลับข้ึนมาบนผิวโลกเขาเคร่ืองรับสัญญาณ จากนั้นเคร่ืองรับสัญญาณจะบันทึกเวลาทีค่ล่ืนความส่ันสะเทือนสะทอนกลับข้ึนมาจากชั้นหิน ณ ที่ระดับความลึกตางกัน ซึ่งระยะเวลาที่คล่ืนความส่ันสะเทือนเดินทางกระทบชั้นหินที่เปนตัวสะทอนคล่ืนไดและขอมูลที่ไดจากการคํานวณจะถูกนํามาเขียนเปนแผนที่แสดงถึงตําแหนงและรูปรางลักษณะโครงสรางของชั้นหินเบื้องลางได โดยผลธรณีฟสิกสดังกลาวจะถูกนํามาเขียนบนแผนที่แสดงตําแหนงและรูปรางลักษณะโครงสรางใตทะเลเพื่อจะไดเลือกโครงสรางที่เหมาะสมที่สุดเพื่อกําหนดพื้นที่เปาหมายสําหรับการเจาะสํารวจตอไป การศึกษาชั้นหินภายใตพื้นพิภพ วิธีการที่ใชอยูทั่วไปมี 3 วิธ ีคือ85

1. Seismic Method วิธีนี้วัดการสะทอนกลับของคล่ืนส่ันสะเทือนที่กระทําตอผิวโลก (Shock Waves) เนื่องจากชั้นหินแตละชั้นมีความแข็งและความหนาแนนไมเทากัน การสะทอนกลับของคล่ืนส่ันสะเทือนจะเกิดข้ึน ณ รอยเชื่อมระหวางชั้นหินที่ตางชนิดกัน หากชั้นหินหนามาก เวลาที่ใชในการสะทอนกลับของคล่ืนก็ยิ่งนาน สําหรับบนบกการทําคล่ืนส่ันสะเทือนทําไดงาย ๆ โดยการทิ้งกอนน้ําหนักที่หนักมากจากที่สูงลงสูพื้นดิน สําหรับในทะเลก็มักใชอากาศความดันสูงเปนตัวสรางคล่ืนส่ันสะเทือน คล่ืนสะทอนกลับถูกรับไวโดยตัว Geophone ซึ่งจะถายทอดสัญญาณผานเคร่ืองขยายสัญญาณแลวเขาสูเคร่ืองบันทึกกราฟ จากกราฟนักธรณีวิทยาสามารถวิเคราะหลักษณะโครงสรางและสวนประกอบของชั้นหินภายใตพิภพได

2. Gravity Method เนื่องจากโครงสรางและสวนประกอบของชั้นหินภายใตพิภพมีผลตอสนามแรงดึงดูดของโลกดวย ดังนั้นเม่ือใชเคร่ือง Gravimeter วัดคาแรงดึงดูดของโลกไดแลวนํามาหักคาเบี่ยงเบนอันเกิดจากอิทธิพลจากตําแหนง (Latitude) และความสูง (Elevator) ออก ก็จะไดคาแรงดึงดูดของโลกซึ่งจะเปล่ียนแปลงตามโครงสรางและสวนประกอบของชั้นหินภายใตพิภพ นักธรณีวิทยาก็สามารถนํามาใชวิเคราะหเพื่อศึกษาโครงสราง สวนประกอบของชั้นหินภายใตพื้นพิภพได

3. Magnetic Method โครงสรางและสวนประกอบของชั้นหินภายใตพิภพก็มีผลความเบี่ยงเบนของสนามแมเหล็กโลกที่วัดโดยใช Magnetometer มาหักลบเอาความเบี่ยงเบนอันเกิดจากตําแหนงบนโลก (Latitude and Longtitude) ออกแลวคาที่เหลือก็เปนคาความเบี่ยงเบนอันเกิดจากอิทธิพลของโครงสรางและสวนประกอบของชั้นหินได เม่ือไดศึกษาโครงสรางและ

85Siam Global Lubricant Co.,Ltd., การสํารวจและขุดเจาะ, สืบคนเม่ือวันที่

24 มีนาคม 2556, จาก http://www.sgl1.com.

182

สวนประกอบของชั้นหินแลวนักธรณีวิทยาก็พอที่จะบอกคราว ๆ ไดวาบริเวณนั้น ๆ นาจะมีแหลงน้ํามันอยูหรือไม

หากจะเทียบการสํารวจหาแหลงน้ํามันกับการตรวจวิเคราะหโรคในทางการแพทยแลว วิธีสํารวจโดย Gravity และ Magnetic Method นี้เปรียบเสมือนการซักถามอาการจากคนไข แลวพยายามวิเคราะหโรคจากขอมูลที่ได สวนวิธีสํารวจโดย Seismic Method ก็เปรียบเสมือนการถายภาพเอ็กซเรยคนไข อยางไรก็ตามคําตอบที่แนนอนก็คงตองไดมาจากการขุดเจาะสํารวจ

ในการขุดเจาะสํารวจหลุมแรกนักธรณีวิทยาและวิศวกรน้ํามันจะเลือกบริเวณซึ่งคิดวาเปนใจกลางของบอน้ํามันใตพื้นพิภพ ในระหวางการขุดเจาะจะมีการนําเอาโคลนเหลวจากหลุมเจาะมาศึกษาวิเคราะหดูรองรอยของน้ํามัน ผลกระทบที่เกิดจากการสํารวจทางธรณีฟสิกสที่เปนการวัดคล่ืนความส่ันสะเทือนของชั้นหิน ข้ันตอนนี้ทําใหเกิดคล่ืนความถี่ที่อาจจะสงผลตอสัตวทะเลที่เคยอยูบริเวณนั้นตองหายไปเพราะแรงส่ันสะเทื้อนที่ทําใหตกใจและตองใชเวลากวาจะกลับมาอีก ขณะเดียวกันหากพบโครงสรางที่เหมาะสมแลว จะตองมีการสํารวจขุดเจาะชั้นหินเพื่อตรวจสอบวามีน้ํามัน หรือ กาซธรรมชาติหรือไม หากพบก็จะทําการขุดเจาะเพื่อนํามาใชในเชิงพาณิชยตอไป ดังที่ นายจักริน เดชสถิตย นักวิชาการพลังงานฝายปฏิบัติการ พลังงานจังหวัดสงขลาไดเลาถงึความแรงของคล่ืนที่ทําใหปลาทะเลหายไป

“การสํารวจพื้นที่ดวยธรณีฟสิกสเปนการวัดคล่ืนจากความส่ันสะเทือนของชั้นหิน การทําการระเบิดเพื่อใหเกิดแรงส่ันสะเทือนในจุดที่คาดวาจะแหลงพลังงาน อาจเปนไดวาแรงส่ันสะเทือนนั้นไปรบกวนวิถีของสัตวทะเล บริเวณดังทําใหปลาหายไปยาวนานถึง 2 เดือน คล่ืนทําลายระบบประสาทของสัตวทะเล ซึ่งอาจเปนการทําลายสภาพแวดลอมโดยตรงแตทิ้งระยะเวลาไวสักระยะหนึ่งก็จะกลับคืนสภาพปกติ และในทองทะเลไมไดมีบริษัทเดียวที่ดําเนินการ และแตละบริษัทก็จะมีการเจาะสํารวจหลายหลุม ยิ่งทําใหสงผลกระทบตอสัตวทะเลมากยิ่งข้ึน แตพลังงานก็สําคัญและมีความจําเปนที่จะตองคนหาเพื่อตอบสนองความจําเปนดานอ่ืน ๆ เชนกัน”86

ซึ่งสอดคลองกับความกังวลของชาวจังหวัดชุมพรที่มีขาววาจะมีการขุดเจาะสํารวจน้ํามันและกาซธรรมชาติในทะเลในพื้นที่จังหวัดชุมพรเพราะเกรงวาจะทําใหปลาหายากหายไป และทํา ปะการังถูกทําลายไปดวย เพราะชุมพรเปนเมืองที่มีทะเลธรรมชาติอันสวยยาม นายพินิจ พิชัยกัลป รองผูวาราชการจังหวัดชุมพร ซึ่งเปนประธานการประชุมสนทนาเพื่อแลกเปล่ียนความ

86จักริน เดชสถิต, สัมภาษณ 23 มกราคม 2556.

183

คิดเห็นในการขุดเจาะน้ํามันและกาซธรรมชาติ ใหสัมภาษณวา บริษัท เดวินเอ็นเนอรยี่ (ไทยแลนด) จํากัด และบริษัท อินเตอรเนชั่นแนล เอ็นไวรอนเม็นทอล จํากัด ไดสงผูแทนเขารวมประชุมกับบรรดาผูนําชุมชนและหัวหนาสวนราชการที่เกี่ยวของที่หองประชุมศาลากลาง จ.ชุมพร ซึ่งผูแทนจากบริษัททั้งสองแจงตอที่ประชุมวา จะมีการขุดเจาะสํารวจ 2 แหง คือ หลุมหงสฟา หางจากฝงปากน้ําตะโก ต.ตะโก อ.ทุงตะโก ประมาณ 14 กิโลเมตร และหลุมขุนทอง หางจากฝง ต.ดานสวี อ.สวี ประมาณ 18 กิโลเมตร ซึ่งหลุมหงสฟาคาดวาจะมีปริมาณน้ํามันสํารองประมาณ 80 ลานบารเรล โดยจะตองมีการทําประชาพิจารณอีกหลายคร้ังกอนที่จะดําเนินการขุดเจาะตั้งแตเดือนกุมภาพันธ – เมษายน 2546 อยางไรก็ตาม ยังไมอยากใหชาวชุมพรหรือกลุมองคกรเอกชน (เอ็นจีโอ) เคล่ือนไหวตอตานใด ๆ ในเร่ืองนี้ เพราะเพิ่งอยูในข้ันตอนการรับฟงความคิดเห็นประชาชนที่เปนเจาของพื้นที่เทานั้น จากการสอบถามบรรดาผูนําชุมชนที่เขารวมประชุมระหวางวันที่ 9-12 กันยายน 2545 สวนใหญวิตกกังวลวาการขุดเจาะดังกลาวอาจสงผลกระทบตอสภาพแวดลอมทางทะเล เชน คุณภาพของน้ําทะเล ฝูงปลาที่หายาก ตลอดจนปะการังทั้งน้ําตื้นและน้ําลึก ซึ่งถือวาเปนทรัพยากรลํ้าคาของจังหวัดชุมพร ถึงแมทางบริษัทที่ไดรับอนุมัติใหดําเนินการจะยืนยันวามีมาตรการในการปองกันผลกระทบอยางรัดกุมก็ตาม ก็ควรมีการศึกษาและทําประชาพิจารณเพื่อรับฟงความคิดเห็นจากชาวชุมพร ใหมากที่สุดเทาที่จะทําได นอกจากนี้ ขณะนี้บริษัทเดวอน เอ็นเนอรยี (ไทยแลนด) จํากัด อยูระหวางชี้แจงใหหนวยงานและประชาชนในพื้นที่เขาใจ กอนจะจัดทํารายงานผลกระทบส่ิงแวดลอมเสนอตอสํานักงานนโยบายและแผนส่ิงแวดลอม (สผ.) หากรายงานผานความเห็นชอบก็จะเขาสูข้ันตอนการขุดสํารวจหาปโตรเลียมตอไป87 มลพิษทางอากาศ ผลกระทบดานส่ิงแวดลอมอันเนื่องมาจากอุตสาหกรรมตอเนื่องดานพลังงาน ซึ่งกาซธรรมชาติจากอาวไทยจะถูกลําเลียงข้ึนไปแยกสวนประกอบและสงตอไปยังโรงงานอุตสาหกรรมตาง ๆ เพื่อนําไปผลิตเปนสินคาหรือเปนวัตถุดิบที่ใชในการผลิตสินคาประเภทตาง ๆ อีกมากมาย อยางที่เรียกวาอุตสาหกรรมปโตรเคมี ไมวาจะเปนปุยเคมี สารกําจัดวัชพืช สังกะสี แกว และใยสังเคราะหหรือการเปนเชื้อเพลิงใหกับกลุมอุตสาหกรรมหนักทั้งหลาย เชน อุตสาหกรรมเกี่ยวกับเหล็ก โรงไฟฟา เปนตน และตัวแบบที่สะทอนปญหาส่ิงแวดลอม อันเนื่องมาจากอุตสาหกรรม คือ มาบตาพุด ที่นี่จะเปนตนแบบของหลายเร่ืองทั้งเ ร่ืองของ ความเจริญเติบโตของภาคอุตสาหกรรมกับปญหาดานส่ิงแวดลอมสุขภาวะและสังคมที่ยากจะแกไขเชนกัน

87มติชน (17 กันยายน 2545).

184

นิคมอุตสาหกรรมมาบตาพุดไดรับการพัฒนาจัดตั้งข้ึนตามนโยบายของรัฐบาล เม่ือ ปพ.ศ.2531 ในการพัฒนาพื้นที่ชายฝงทะเลตะวันออก โดยรัฐบาลไดมอบใหการนิคมอุตสาหกรรมแหงประเทศไทย (กนอ.) ซึ่งเปนรัฐวิสาหกิจ สังกัดกระทรวงอุตสาหกรรมเปนผูรับผิดชอบในการดําเนินการ ปจจุบันนิคมอุตสาหกรรมมาบตาพุดไดเปนฐานการผลิตที่สําคัญของประเทศสําหรับอุตสาหกรรม ประเภท ปโตรเคมี เคมีภัณท เหล็กและโลหะ โรงไฟฟา โรงกล่ันน้ํามัน โรงแยกกาซโดยในเชิงพื้นที่ไดมีการรวมขยายจากนิคมมาบตาพุดเดิมรวมกับเอกชน 4 แหง ทําใหพื้นที่ขยายจาก 8,000 ไร เปน 20,000 ไร การพัฒนาโดยอยูรวมกลุมอุตสาหกรรม ทําใหสามารถเพิ่มประสิทธิภาพ ประหยัดตนทุนการผลิตและขนสง สงผลใหผูประกอบการไทยสามารถแขงขันไดในตลาดโลกจากการพัฒนาภาคอุตสาหกรรมในพื้นที่อยางรวดเร็วและการรวมกลุมของกลุมอุตสาหกรรมในพื้นที่ทําใหประสบกับปญหาการบริหารจัดการดานส่ิงแวดลอมและ อาชีวอนามัย อาทิเชน ผลกระทบดานคุณภาพอากาศ ปญหาเกี่ยวกับสุขภาพ การขาดแคลนทรัพยากรน้ํา ปญหาตาง ๆ เหลานี้สงผลใหเกิดการเรียกรองจากประชาชนใหมีการดําเนินการ แกไขปญหาอยางเปนระบบ และการมีสวนรวมในการรับรู ซึ่งสภาพปญหาที่กอใหเกิดผลกระทบตอส่ิงแวดลอมและคุณภาพชีวิตของชุมชนในพื้นที ่และการนิคมอุตสาหกรรมแหงประเทศไทย (กนอ.) ไดประเมินไว คือ88

ป พ.ศ. 2543-2546 ปญหาเร่ืองกล่ินรบกวน จากโรงงานปโตรเคมี และโรงกล่ัน สืบเนื่องจากพื้นที่ตั้งของโรงงานอยูใกลกับชุมชน โดยขาดพื้นที่กันชน การดําเนินการแกไขไดรับความรวมมือจากหนวยงานตาง ๆ ที่เกี่ยวของดวยดีจน กระทั่งปญหาทุเลาไปเปนอันมาก

ป พ.ศ. 2548 ปญหาเร่ืองภัยแลง เกิดภาวะขาดแคลนน้ําในพื้นที่ สงผลใหเกิด ความระแวงในการแยงใชน้ําระหวางชุมชนกับภาคอุตสาหกรรม ภาครัฐไดประสานการแกไขปญหาและจัดหาแหลงน้ําเพิ่มเติม

ป พ.ศ. 2550 ปจจุบัน ความตองการใหประกาศเขตควบคุมมลพิษ จากผลกระทบดานส่ิงแวดลอมในพื้นที่ อาทิ เชน ปญหาสุขภาพอนามัย ปญหาการปนเปอนในน้ําบอตื้น ปญหาเร่ืองสารประกอบอินทรียระเหยงาย ทําใหองคกรเอกชนเคล่ือนไหว รณรงคใหรัฐบาลพิจารณาประกาศใหพื้นที่มาบตาพุดเปนเขตควบคุมมลพิษ ปญหาดานส่ิงแวดลอมที่ชาวบานสัมผัสไดหรือเปนสวนหนึ่งของชีวิตประจําวันของประชาชนที่อยูในพื้นที่ คือ ฝุน กล่ิน เสียง ส่ิงเหลานี้คือผลกระทบดานส่ิงแวดลอมที่ชาวบานจะ

88การนิคมอุตสาหกรรมแหงประเทศไทย (กอน.), ที่มาปญหาส่ิงแวดลอมมาบตาพุด,

สืบคนเม่ือวันที่ 23 มีนาคม 2556, จาก http://www.ieat.go.th.

185

สัมผัสทุกวันอันเนื่องมาจากภาคอุตสาหกรรมไมสามารถควบคุมได อาจมีหลายสาเหตุ ไมวาจะเปนระบบปองกันไมมีประสิทธิภาพเพียงพอ กระบวนการทํางานไมไดมาตรฐาน หรือการชํารุดทรุดโทรมของอุปกรณ ในกระบวนการผลิต ทําใหเกิดอุบัติภัยดานสารเคมีที่มีใหเห็นอยูบอยคร้ัง ดังเชนอุบัติภัยที่สําคัญ ๆ ในป 2532 สารปรอทร่ัวไหลจากทอสงกาซและโรงแยกกาซของ ปตท. ปนเปอนน้ําทะเล และน้ําบริโภค ป 2537 เกิดเหตุระเบิดบนเรือจากการขนถายเมทานอลจากเรือไปที่ถังเก็บที่ทาเทียบเรือของบริษัท ไทยแทงก เทอรมินัล จํากัด มีผูเสียชีวิตทันที 3 คน ในป 2538 บริษัท ทุนเท็กซ ปโตรเคมีคอน (ประเทศไทย) จํากัด ในนิคมอุตสาหกรรมมาบตาพุด ปลอยน้ํามันไหลทะลักลงทะเลกวา 10 ตัน คราบน้ํามันแผกระจายเปนวงกวางตามแนวชายหาดกวา 10 กิโลเมตร และในปเดียวกันนี้ ไดเกิดการระเบิดในโรงงานไทยโอเลฟนส เนื่องจากน้ํามันเตาร่ัวไหล ในป 2543 ทอสงกาซคารบอนิลคลอไรด (ฟอสจีน) ของโรงงานไทยโพลีคารบอเนต นิคมอุตสาหกรรมผาแดง เกิดร่ัวไหลเปนเวลา 40 นาที มีผูเสียชีวิต 1 คน และมีไดรับผลกระทบเขารักษาในโรงพยาบาล 814 คน89 นอกจากนี้ยังมีเหตุเกิดจากอุบัติเหตุทางรถบรรทุก เชน 6 มีนาคม 2544 รถบรรทุกของบริษัทเชออนเคมิคอล ซึ่งบรรทุกสาร Buta-diene lafinate จํานวน 16 ตัน พลิกควํ่าที่นิคมอุตสาหกรรมมาบตาพุด และกรณีรถบรรทุกกรดซัลฟูริกความจุ 5,000 ลิตร เฉ่ียวชนกับรถบรรทุกกาซคารบอนไดออกไซด ทําใหมีผูบาดเจ็บอันเนื่องมาจากกรดกัดเปนแผลไหมอยางรุนแรง และอุบัติภัยดานสารเคมีจะมีความถี่ เพิ่มข้ึน โดยเฉพาะในมาบตาพุด ในชวงปลายป 2550- ตนป 2551 พบวา เหตุการณเกิดข้ึนถึง 4 คร้ัง ดังนี้90

คร้ังที่ 1 เม่ือวันที่ 28 พฤศจิกายน 2550 เกิดเหตุทอและถังแกสแอมโมเนียระเบิดที่บริษัท แพรกซแอร (Praxair) ซึ่งเปนโรงงานผลิตน้ําแข็งแหง ทําใหบานเรือนและอาคารเสียหายจากแรงระเบิด

คร้ังที่ 2 วันที่ 27 กุมภาพันธ 2551 ที่บริษัท ไทยออรแกนิกสเคมิคัลส (TOCC) บริษัทในเครือ อดิตยา เบอรลา เคมิคัลส เกิดเหตุกาซคลอรีนร่ัวไหล

คร้ังที่ 3 วันที่ 11 มิถุนายน 2551 ที่บริษัท พีทีที ฟนอล บริษัทในเครือของ ปตท. เกิดเหตุสารเคมีร่ัวไหลในปริมาณมากระหวางทดลองเดินเคร่ือง ทําใหคนงานที่ไดรับผลกระทบถูกนําสงโรงพยาบาลถึง 112 คน และมีผูเสียชีวิต 2 คน แตในรายงานของบริษัทไมไดระบุผูเสียชีวิต

89เดชรัต สุขกําเนิด และคณะ, อนาคตระยองเสนทางสูสังคมสุขภาพ, (นนทบุรี:

สํานักงานคณะกรรมการสุขภาพแหงชาติ, 2552), น. 86-87. 90เพิ่งอาง, น, 85.

186

คร้ังที่ 4 วันที่ 15 มิถุนายน 2551 ที่บริษัท พีทีที ฟนอล บริษัทในเครือของ ปตท. เชนเดิม เกิดเหตุสารเคมีร่ัวไหล แตในคร้ังนี้บริษัทไมไดรายงานใหสาธารณชนรับรูขอมูลผลกระทบที่เกิดแตอยางใด นายวีระพงศ ไชยเพิ่ม รองผูอํานวยการนิคมอุตสาหกรรมแหงประเทศไทย (กนอ.) ที่เปนตัวแทนจากนิคมอุตสาหกรรมมาบตาพุด รายงานตอคณะกรรมการ 4 ฝาย เพื่อแกไขปญหามาบตาพุด ไดเปดเผยวา ปญหาของมาบตาพุดกับชุมชนโดยรอบโรงงาน เร่ิมเกิดปญหาอยางชัดข้ึนตั้งแตป 2540 เปนตนมาจะมีปญหาเร่ืองกล่ินจากโรงงาน ตองใชเวลาในการจัดการเกือบ 5 ปถึงดีข้ึน ป 2548 ปญหาการแยงน้ําระหวางประชาชนกับผูประกอบการอุตสาหกรรม และที่กําลังเปนปญญาในปจจุบันคือปญหาสารอินทรียระเหยงายในบรรยากาศ (วีไอซ)ี เกินมาตรฐานตั้งแตป 2549 จนถึงปจจุบัน จนนํามาสูการตั้งกรรมการ 4 ฝายมาแกปญหา ในเร่ืองของสารระเหยในบรรยากาศกลายเปนมลพิษอยูขณะนี้ ไดรวมมือกับกรมควบคุมมลพิษ (คพ.) กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและส่ิงแวดลอม ไดติดตามสารวีโอซี ในบรรยากาศจากแหลงกําเนิด พบวา ในชวงป 2551 พบการร่ัวไหลมากถึง 600 จุด และไดทําการแกไขไปไดระดับหนึ่งแลว ซึ่งเปนการดําเนินการตามแผนลดและขจัดมลพิษระหวางป 2550- 2554 โดยอาศยความรวมมือจากผูประกอบการ จะทําการประเมินปริมาณอีกคร้ังในรอบ 1 ป91 กรณีการเกิดฝนกรด นักวิชาการเผยผลวิจัย “ฝนกรด” มาบตาพุด อยูในระดับออน ยังไมกระทบตอสุขภาพ เชื่อชาวบานเสียชีวิตไมเกี่ยวฝนกรด “สมาคมตอตานโลกรอน - ชาวบานมาบตาพุด” รองศาลปกครองสูงสุด ไตสวนเอกสารเพิ่มจากกรรมาธิการวุฒิสภา 5 ชุด – เอ็นจีโอ จากกรณีกลุมเครือขายประชาชนภาคตะวันออก อางถึงผลกระทบจากฝนกรดสงผลใหนางสุรินทร ขมหงส ชาวชุมชนมาบตาพุดที่ เสียชีวิตนั้น ผศ.สุนทรี ขุนทอง จากคณะทรัพยากรและส่ิงแวดลอม มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร วิทยาเขตศรีราชา หัวหนาโครงการศึกษาการเก็บวิเคราะหตัวอยางการตกสะสมของกรดในพื้นที่ภาคตะวันออกไดรับมอบหมายจากกรมควบคุมมลพิษ (คพ.) กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและส่ิงแวดลอม ใหศึกษาระหวางเดือน ต.ค. 2551 – ต.ค. 2552 พบวาน้ําฝนในเขตพื้นที่ชลบุรี มีภาวะความเปนกรดออนที่ระดับ 4 จากคาปกติของน้ําฝนทั่วไปจะมีคาอยูที่ 5.6 แตยังไมถือวาน้ําฝนในพื้นที่เกิดภาวะความเปนกรดรุนแรง ที่ผานมา ประเทศไทยมีพื้นที่ที่มีภาวะของฝนกรดในระดับวิกฤติ คือ กรณีของแมเมาะ จ.ลําปาง เนื่องจากเคยเกิดปญหากาซซัลเฟอรไดออกไซด และกาซไนโตรเจนไดออกไซด จากการใชถานหินลิกไนตคุณภาพต่ํา จากโรงไฟฟาแมเมาะของการไฟฟาฝายผลิต สงผลกระทบตอชาวบานในพื้นที่แม

91เดลินิวส (7 ธันวาคม 2552).

187

เมาะและถือเปนพื้นที่เดียวที่มีภาวะของฝนกรด ที่นาเปนหวงและสงผลกระทบตอชาวบาน ทําใหเกิดปญหาโรคระบบทางเดินหายใจ เพราะชาวบานยังเจ็บปวย และโรงไฟฟายังติดตามผลกระทบตรงนี้อยูและไดชี้แจงวาภาวะกรดออนไมมีผลกระทบ ผศ.สุนทรี ขุนทอง กลาววา ขณะนี้คงไมสามารถสรุปวาสาเหตุการตายของชาวบาน มาจากภาวะของฝนกรดหรือไม คงตองใหสาธารณสุขในพื้นที่ตรวจสอบหาสาเหตุที่แทจริง ขณะนี้ กรมควบคุมมลพิษ ไดเก็บตัวอยางของน้ําฝนในมาบตาพุดเพื่อตรวจสอบแลว แตยืนวาการเกิดภาวะฝนกรดออน ๆ ไมใชวาเม่ือโดนน้ําฝนแลวจะเกิดอาการลอก หรือสงผลกระทบตอผิวหนังทันทีจากขอมูลที่มีรายงานทั้งในและตางประเทศสวนมากผลกระทบจะทําใหเกดิการเจ็บปวยดวยโรคระบบทางเดินหายใจมากกวา

“จากการศึกษาเบื้องตนของสถาบัน ถาเทียบกับมะนาวหรือน้ําสมสายชู แลวจะมีความเปนกรดมากกวาความเปนฝนกรดแบบออน คือ ที่ระดับ 4 ดังนั้น จึงไมอยากใหชาวบานถึงกับตองหลีกเล่ียงไมโดนฝนเลยแตยอมรับวาปจจุบันน้ําฝนในเขตภาคตะวันออกรวมทั้งในจังหวัดที่มีอุตสาหกรรมสวนมากปนเปอนมลพิษ ทําใหไมสามารถบริโภคน้ําฝนไดเหมือนในอดีตแลว”92 "ถามหาความรับผิดชอบและความสามารถของผูบริหารนิคมเหมราชตะวันออกและนิคมเอเชียรวมถึงผูปฏิบัติงานทั้ง 2 นิคมฯนี้วา ทําไมจึงเกิดเหตุการณข้ึนซ้ําซาก ที่ผานมา โรงงาน ปตท. ฟนอล ในนิคมเหมราชตะวันออกก็เกิดกาซร่ัวเชนเดียวกัน การเกิดเหตุการณสารเคมีร่ัวไหลซ้ําซากมันสะทอนใหเห็นถึงความนากลัวที่เครือขายประชาชนภาคตะวันออกตองไปฟองศาลปกครอง ใหมีการประเมินผลกระทบส่ิงแวดลอมและสุขภาพ เพราะฉะนั้นในชวงระหวางที่มีการกอสรางไดจัดทํารายงานวิเคราะหผลกระทบส่ิงแวดลอมหรือ อีไอเอ ไปแลว เครือขายประชาชนภาคตะวันออก จะไปถามสํานักงานนโยบายและแผนส่ิงแวดลอมวามาตรการระหวางการกอสรางผูใดเปนผูตรวจสอบและติดตาม ตามเงื่อนไข อีไอเอ หรือไม"93 ผลกระทบนํ้าและดิน นอกจากปญหาเร่ืองฝุน เร่ืองกล่ิน และสารอินทรียระเหยเปน

มลพิษทางอากาศแลวยังพบวาอุตสาหกรรมพลังงานกระทบถึงดินและน้ําอีกดวย เพราะการปลอยน้ําเสียที่มีสวนผสมของสารเคมี สงผลใหดินและน้ําเส่ือมไปดวย ปริมาณน้ําทิ้งจากแหลงกําเนิดที่

92สุนทรี ขุนทอง, กรุงเทพธุรกิจ (19 พฤศจิกายน 2552). 93นายสุทธ ิ อัชฌาศัย, “ผูประสานงานเครือขายประชาชนภาคตะวันออก,” กรุงเทพ

ธุรกิจ (19 มิถุนายน 2553).

188

มีจุดปลอยแนนอนในเขตควบคุมมลพิษจังหวัดระยองมีปริมาณกวา 184,500 ลูกบาศกเมตรตอวัน มาจากโรงงานอุตสาหกรรมรอยละ 82 มาจากชุมชนรอยละ 18 และมีปริมาณน้ําที่มีความสกปรก 9,412.45 กิโลกรัมบีโอดตีอวัน ซึ่งกวารอยละ 61 มาจากแหลงกําเนิดประเภทชุมชน และอีกรอยละ 39 มาจากแหลงกําเนิดประเภทอุตสาหกรรม94

ปญหาการสะสมตัวของตะกอนดินปากคลองซากหมากที่เปนคลองระบายน้ําของนิคมอุตสาหกรรมมาบตาพุด ซึ่งมีการตรวจพบการสะสมตัวของตะกอนดินสีดํา ที่มีกล่ินเหม็นผิดปกติในบริเวณปากคลองระบายน้ําและ เปนคลองที่ไหลผานพื้นที่ชุมชนบริเวณตนคลอง (เรียกวาคลองน้ําดํา) และไหลผานนิคมอุตสาหกรรมมาบตาพุด กอนจะไหลลงทะเล โดยพบการสะสมตัวดังกลาวมาตั้งแตเดือนพฤศจิกายน 2550 ทําใหทะเลในอาวประดูมีลักษณะเปนชั้นสี โดยมีสีคลํ้าสลับกับสีออน จากการประเมินดวยภาพถายดาวเทียม พบวาตะกอนดังกลาวครอบคลุมบริเวณกวางออกไปจากปากคลองซากหมากจนถึงเกาะเสม็ด เปนพื้นที่ประมาณ 3.25 ตารางกิโลเมตร และมีปริมาตรเปล่ียนแปลงตามฤดูกาลระหวาง 186,000 ถึง 473,000 ลูกบาศกเมตร สาเหตุการเกิดตะกอนนาจะมาจากการถมทะเลตามโครงการทาเรืออุตสาหกรรมมาบตาพุดระยะที ่2 ทําใหเกิดการเปล่ียนแปลงความสามารถระบายน้ําออกสูทะเลเปดตามปกติ จากผลการตรวจวิเคราะหตะกอนดินดังกลาวพบวา มีปริมาณออรแกนิกคารบอน ปโตรเลียม ไฮโดรคารบอน และโลหะหนัก เชน สารหนู สังกะสี และปรอท ปนเปอนมีคาเกินกวาระดับมาตรฐาน และกอใหเกิดผลกระทบตอส่ิงมีชีวิตในแหลงน้ํา

เนื่องจากพื้นที่อาวประดูมีการทําประมงจับปลาและเล้ียงหอย ตะกอนดินดังกลาวจึงกอใหเกิดความเส่ียงตอสุขภาพอนามัยของประชาชนในพื้นที่และมีผลตอระบบนิเวศ การดําเนินการฟนฟูพื้นที่อาวประดูจึงมีความจําเปนอยางยิ่ง โดยการนิคมอุตสาหกรรมแหงประเทศไทยเปนผูรับผิดชอบ รวมทั้งกําหนดมาตรการระยะส้ันดวยวิธีการขุดลอกและนําดินตะกอนที่ขุดไปจัดการใหถูกตอง สวนมาตรการระยะยาว จะมีการจัดการทําฝายตกตะกอน การนําน้ําทิ้งกลับไปใช และการทําทอลอดในทะเลจากคลองซากหมากควบคูไปกับการฟนฟูในป 2555 เชน การกําหนดระยะที่เหมาะสมสําหรับการเล้ียงหอยแมลงภู การติดตั้งระบบกั้นน้ําในคลองซากหมาก หรือการจัดทําแผนฉุกเฉินโรงงานเพื่อปองกันปญหาสารเคมีร่ัวไหลลงสูคลองซากหมาก รวมทั้ง

94ไทยพับลิกา (Thaipublica), เปดรายงานคุณภาพน้ํามาบตาพุด–พื้นที่ควบคุม

มลพิษ จ.ระยอง (2)…สารพิษปนเปอนทั้งในดิน–น้ําใตดิน–สัตวน้ํา, สืบคนเม่ือวันที่ 23 มีนาคม 2556, จาก http://www.thaipublica.org.

189

ดําเนินการหาที่มาของการปนเปอนสารปโตรเลียมไฮโดรคารบอนในตะกอนดินที่สะสมในอาวประดู ทั้งนี้ เพื่อลดผลกระทบจากกรณีน้ําเสียร่ัวไหลลงสูคลองซากหมาก อันทําใหเกิดผลกระทบตอส่ิงแวดลอมและการประมงในพื้นที่

การปนเปอนสารอินทรียระเหยงายในดินและน้ําใตดิน พบวามีการปนเปอนของโลหะหนักในน้ําใตดิน ไดแก สารหนู เหล็ก แมงกานีส สังกะสี และตะกั่ว เกินกวาคามาตรฐานคุณภาพน้ําใตดินคิดเปนรอยละ 49 และพบวา มีการปนเปอนของสารอินทรียระเหยงายหลายชนิด เชน ไดคลอโรอีเทน ไดคลอโรมีเทน เบนซีน และไวนิลคลอไรด เกินกวามาตรฐานคุณภาพน้ําใตดินคิดเปนรอยละ 17.7 ของบอน้ําใตดินทั้งหมดที่ดําเนินการตรวจวัด ทั้งยังพบวา มีไอสารอินทรียระเหยงายในดินอยูในระดับสูงภายในโรงงานอุตสาหกรรมจํานวนหนึ่ง โดยกําหนดใหผูประกอบการในพืน้ทีท่ี่พบการปนเปอนจัดทํารายงานประเมินความเส่ียง เพื่อหามาตรการฟนฟู รวมทั้งจะมีการตรวจสอบการปนเปอนขยายออกไปยังพื้นที่อ่ืน ๆ ที่อยูโดยรอบนิคมอุตสาหกรรมมาบตาพุด เพื่อบงชี้การปนเปอนเพิ่มเติม และจะบูรณาการขอมูลการปนเปอนที่พบกับผลการตรวจสอบของหนวยงานอ่ืน ๆ ผานทางคณะกรรมการตาง ๆ ที่จะจัดตั้งข้ึนในอนาคต ที่กลาวมาขางตนคือผลกระทบดานส่ิงแวดลอมจากอุตสาหกรรมพลังงาน เนื่องจากระยองเมืองอุตสาหกรรมหลัก และเปนอุตสาหกรรมตอเนื่องที่เกิดจากอุตสาหกรรมพลังงาน ดังนั้นจังหวัดระยองจึงเปนเมืองที่สะทอนใหเห็นผลกระทบอยางชัดเจนและกลายเปนตนแบบของปญหา ที่สงผลตอทัศนคติของประชาชนในพื้นที่อ่ืน ๆ ที่เกิดความกังวลหากมีการขยายอุตสาหกรรมพลังงานไปจังหวัดอ่ืนก็จะพบเห็นประชาชนออกมาตอตาน หรือตองรับฟงความคิดเห็นกันหลายคร้ังกวาโครงการตาง ๆ จะผานไปได ดังที่อําเภอจะนะ จังหวัดสงขลาก็เชนกัน ทุกพื้นที่จะมองวาหากอุตสาหกรรมพลังงานไปถึงชาวบานก็จะประสบปญหาไมตางกับมาบตาพุด จังหวัดระยอง จึงเกิดทัศนคติตอตาน

“ชาวบานไมมีความไววางใจกับ กฟผ.หรอก เพราะวิธีการที่เขามาใหขอมูลและรับฟงความเห็นของชาวบานก็เหมือนกับโครงการทอกาซในตอนแรก ๆ คือการมาชี้แจงขอมูลของ กฟผ. เพื่อใหชาวบานหลงประเด็น คิดตามวาตองมีโรงไฟฟา หากจะเปดเวทีจริง ๆ ตองเชิญนักวิชาการที่มีขอมูลและความคิดเห็นแตกตางกันหลายดาน เพื่อใหชาวบานพิจารณาดู แตนี่เหมือนกับการประชาสัมพันธเฉย ๆ สวนคนที่ว่ิงเตน

190

ให กฟผ. เขามาในพื้นที่ ชาวบานก็รูดีพวกนี้ลวนเปนนายหนาขายที่ดินทั้งนั้น ไมมีชาวบานคนไหนไวใจหรอก” 95 “เจาหนาทีบอกวาทุกอยางควบคุมได ยังไงชาวบานเองก็ไมมีความม่ันใจอยูดี บอกวาใชกาซแลวไมมีมลพิษแตเราก็หวงเร่ืองความรอนที่ระบายออกมา ที่สําคัญคือน้ําหลอเย็นที่ดูดเขาไปทําใหเคร่ืองจักรเย็น เอาไขปลาไขกุงและลูกสัตวเล็ก ๆ เขาไปดวย พวกนี้เจอความรอนก็ตายหลังจากนั้นก็ปลอยลงคลองนาทับอีกคร้ัง ตรงนี้ก็หวงวาจะกระทบตออาชีพประมง” 96 อุตสาหกรรมในเขตพื้นที่ทะเลชายฝงตะวันออก ตามนโยบายการพัฒนาพื้นที่ชายฝง

ทะเลตะวันออก (Eastern Seaboard) ของรัฐบาล สงผลใหไทยใชภาคอุตสาหกรรมนําการพัฒนา มุงเนนการพัฒนาการเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจมาจากกลไกของอุตสาหกรรม โดยเฉพาะอุตสาหกรรมพลังงานจากอาวไทย ความเติบโตอยางตอเนื่องของภาคอุตสาหกรรมโดยเฉพาะที่มาบตาพุด จังหวัดระยอง กลายเปนตนแบบของอุตสาหกรรมที่จะขยายไปยังพื้นที่อ่ืน ๆ ที่เอ้ืออํานวยและอยูในยุทธศาสตรที่เหมาะสม อยางไรก็ตามผลกระทบดานมลพิษและส่ิงแวดลอมนับเปนอีกปญหาที่ทําใหโครงการตาง ๆ ตองไดรับผลกระทบหากไมสามารถควบคุมมลพิษตามเกณฑมาตรฐานที่กําหนดได สงผลกระทบตอส่ิงแวดลอมที่รุนแรง จนทําใหองคกรภาคเอกชนและประชาชนยื่นรองเรียนผูประกอบการในนิคมอุตสาหกรรมมาบตาพุดเหตุการณการชุมนุมประทวง ฟองรอง อยูบอยคร้ัง สุดทายถึงข้ันยื่นฟองตอศาลปกครองสูงสุด97 เนื่องจากนายศรีสุวรรณ จรรยา นายกสมาคมตอตานภาวะโลกรอนและชาวบานที่อาศัยอยูในเขตพื้นที่นิคมอุตสาหกรรมมาบตาพุดและพื้นที่ใกลเคียง จังหวัดระยอง จํานวน 43 คนที่ยื่นฟองคณะกรรมการส่ิงแวดลอมแหงชาติ พรอมหนวยงานที่เกี่ยวของรวม 8 หนวยงาน ตอศาลปกครอง โดยขอใหไตสวนฉุกเฉินและมีคําส่ังคุมครองชั่วคราวรวมทั้งขอใหมีคําส่ังระงับโครงการ หรือกิจกรรมใดที่จะกอสรางใน เขตอําเภอมาบตาพุด จังหวัดระยอง ไวจนกวาศาลจะมีคําพิพากษา นอกจากนี้ยังขอใหศาลเพิกถอนมติคณะรัฐมนตรี เม่ือวันที่ 25 สิงหาคม 2552 ที่อนุญาตใหมีการออกใบอนุญาตแกโรงงาน โดยไมได

95สุไรดะ โตะหลี, ชาวบานควนหัวชาง ตําบลคลองเปรียะ อําเภอจะนะ จังหวัด

สงขลา, ผูจัดการรายวัน (23 ตุลาคม 2541). 96หมิด หมัดแหละ, ชาวบานตรับ ตําบลนาทับ อําเภอจะนะ, ผูจัดการรายวัน

(23 ตุลาคม 2541). 97โพสต Today (7 ธันวาคม 2552).

191

ยึดหลักตามรัฐธรรมนูญมาตรา 67 ที่เกี่ยวกับส่ิงแวดลอม และศาลปกครองมีคําส่ังระงับโครงการชั่วคราว 76 โครงการ98 ผลกระทบดานสุขภาพของประชาชน

นับตั้งแตเกิดโครงการพัฒนาพื้นที่ชายฝงทะเลตะวันออก ซึ่งภาครัฐชี้นําสังคมใหเห็นความสําคัญและประโยชนทางเศรษฐกิจของประเทศ อันเนื่องจากความกาวหนาและการเติบโตของภาคอุตสาหกรรม เกิดนิคมอุตสาหกรรมจํานวนมาก แตในอีกแงมุมหนึ่งไดละเลยและไมตระหนักถึงผลพวงที่อาจจะเกิดข้ึนอันเนื่องมาจากอุตสาหกรรม ไมวาจะเปนทรัพยากรส่ิงแวดลอมถูกทําลาย มลพิษทางอากาศ สารปนเปอนในน้ํา จนทําใหสุขภาพประชาชนออนแอ สังคมวัฒนธรรมเส่ือม นโยบายพัฒนาชายฝงตะวันออก หรืออิสเทิรนซีบอรด (Eastern Seaboard) แมวาจะสงผลตอการพัฒนาเศรษฐกิจของไทย ใหมีการขยายตัวอยางรวดเร็วและความเจริญเติบโตจากการพัฒนาดานอุตสาหกรรม หรือดานวัตถุจนกลายเปนการเกินความสมดุลทําใหเกิดปญหาดานส่ิงแวดลอมและวิถีชีวิตดั้งเดิมของคนในพื้นที่ การที่เรงพัฒนาอุตสาหกรรมแตไมไดคํานึงถึงผลกระทบดานส่ิงแวดลอม ไมวาจะเปนการขยายตัวของเมือง ขยะ มูลพิษทางอากาศทั้งสารเคมีและฝุนละออง ตลอดจนประชากรที่มาจากหลายสังคมที่รวมตัวกันอยูในเมืองอุตสาหกรรม ส่ิงเหลานี้ลวนแลวแตกลายเปนตนแบบปญหาของเมืองอุตสาหกรรมหนัก พอที่จะสรุปประเด็นปญหาที่สะทอนกลับจากการดําเนินการดังนี้ 1. ปญหาสารเคมีที่เกิดจากการร้ัวไหลเนื่องจากผูประกอบการละเลย หรือการที่มีระบบควบคุมไมไดมาตรฐาน สงผลถึงสุขภาวะของชาวบาน ผูวิจัยขอลําดับพัฒนาการของโครงการพัฒนาชายฝงทะเลตะวันออกที่สงผลกระทบตอส่ิงแวดลอมจนเกิดเปนมลพิษทางอากาศ ซึ่งชวงระยะเวลาที่ผานมาไมมีมาตรการควบคุมมลพิษอยางตอเนื่อง นับตั้งแตเร่ิมมีการพัฒนาพื้นที่ชายฝงทะเลตะวันออก ระยะที่ 1 (2525-2535) ภายใตแผนพัฒนา “ระยองอุดมไปดวยทรัพยากรธรรมชาติ ระบบเศรษฐกิจมีความสมดุล” แตผลที่ปรากฏ ณ วันนี้รูสึกวาจะไมสมดุลอยางที่นโยบายไดพูดไว ส่ิงที่เกิดข้ึนภายใตแผนพัฒนาดังกลาว มีการเปดโรงแยกกาซธรรมชาติ เปดนิคมอุตสาหกรรมมาบตาพุด มีการจัดทําผังเมืองระยองในป 2531 และมีการขยายพื้นที่อุตสาหกรรมไปติดกับเขตชุมชนมากข้ึนในป 2534 ชวงที่ 2 (2535-2540) รัฐบาลมีการวางแผนตอเนื่องสูแผนพัฒนาชายฝงทะเล

98ประชาไทย (29 กันยายน 2552).

192

ตะวันออกในระยะที่ 2 สงผลใหมีการสรางโรงงานจํานวนมาก มีการสรางโรงกล่ันน้ํามันในพื้นที่กันชนระหวางอุตสาหกรรมมาบตาพุดกับชุมชน ซึ่งอยูติดกับโรงเรียนมาบตาพุดพันพิทยาคาร จดุนี้เร่ิมปรากฏผลกระทบดานมลพิษ ชาวบาน ครู นักเรียน และพระ ที่อาศัยอยูในชุมชนเร่ิมรองเรียนปญหาผลกระทบมลพิษทางอากาศไปยังหนวยงานที่เกี่ยวของ ชวงป 2541-2545 เปนชวงระยะเวลาที่ทางอุตสาหกรรม หรือหนวยงานที่เกี่ยวของกับโครงการพัฒนาชายฝงตะวันออกไดดําเนินงานตามแผน ระยะที่ 2 มีการขยายโรงงานอุตสาหกรรมเขาไปสูพื้นที่ชั้นในของจังหวัดระยองมากข้ึน โดยเฉพาะขยายไปที่อําเภอปลวกแดง จังหวัดระยอง ทําใหมลพิษจากโรงงานสงผลใหนักเรียนโรงเรียนมาบตาพุดพันพิทยาคาร กวา 100 คน ลมปวยจากกล่ินรบกวนที่มาจากโรงงานปโตรเคมี และโรงกล่ันน้ํามัน รัฐบาลไดแกปญหาโดยการยายโรงเรียนหางจากที่เดิม 5 กิโลเมตร โดยงบประมาณของเทศบาลและใหติดตั้งเคร่ืองปรับอากาศทั่วทั้งโรงเรียน จะเห็นไดวาปญหาดานมลพิษทางอากาศไดสงผลกระทบประชาชนในพื้นที่รอบอุตสาหกรรมนั้นมีมานานแลว ซึ่งสวนใหญรัฐจะแกไขที่ปลายเหตุมากกวาการแกไขปญหาในระยะยาว ในป 2546 ไดขยายพื้นที่อุตสาหกรรมเพิ่มข้ึนอีกและขยายไปสูอําเภอบานฉาง มีการกอสรางโรงไฟฟาถานหินบีแอลซี (BLC) ปญหาที่ตามมาดานมลพิษเพิ่มข้ึนอีก กลุมกรีนพิชและเครือขายองคกรเอกชนตรวจสอบพบสารอินทรียระเหยกอมะเร็ง จํานวน 6 ชนิดที่มีคาสูงกวามาตรฐาน ในป 2548 มีการวางแผนแมบทอุตสาหกรรมปโตรเคมี ระยะที่ 3 หรือเปนการขยายผลโครงการพัฒนาพื้นที่ชายฝงทะเลตะวันออกพรอมกับไดอนุมัติโครงการอุตสาหกรรมเคมีและโรงไฟฟา99 นโยบายรัฐบาลสงผลใหเกิดมลพิษที่สงผลตอสุขภาพของประชาชนที่อยูรอบเขตอุตสาหกรรม จังหวัดที่เปนตนแบบของปญหาและกรณีศึกษามลพิษจากสารเคมีกระทบตอสุขภาพของประชาชนมากยิ่งข้ึน ขณะเดียวกันปญหาดานผลกระทบถูกแกไขอยางลาชา กอกระแสการตอตานอุตสาหกรรมหนักที่จะขยายเพิ่มข้ึนในพื้นที่จังหวัดระยองไดเพิ่มข้ึนเร่ือย ๆ ทําใหหนวยงานภาครัฐ ภาคเอกชน และภาคประชาชน เร่ิมใหความสนใจที่จะศึกษาถึงผลกระทบ ทําใหขอมูลขาวสารเกี่ยวกับปญหาสุขภาพ ไมวาจะเปนสถิติโรงมะเร็ง สถิติการคนพบสารระเหยกอมะเร็งในอากาศ เปนตน

ความเติบโตของอุตสาหกรรมพลังงาน หรืออุตสาหกรรมปโตรเคมีซึ่ ง เปนอุตสาหกรรมหนักอันสงผลตอมลพิษในดานตาง ๆ ทั้งมลพิษทางอากาศ มลพิษทางน้ํา การกัดเซาชายฝง การทิ้งกากของเสียอันตรายรายแรง บงชี้ใหเห็นวา การพัฒนาอุสาหกรรมที่มาบตาพุด ไดสรางรอยบอบช้ําใหกับส่ิงแวดลอมเปนอยางมาก ผลตอเนื่องจากภาวะมลพิษที่สะสมคือผลกระทบตอสุขภาพของประชาชน ซึ่งผลที่เกิดข้ึนมีทั้งผลที่เกิดข้ึนอยางเฉียบพลัน เชน การ

99กรุงเทพธุรกิจ (18 มกราคม 2551).

193

เพิ่มข้ึนของการเจ็บปวยของประชาชนดวยโรคระบบทางเดินหายใจ และโรคทางผิวหนังและเนื้อเยื่อใตผิวหนัง อันเนื่องมาจากการสัมผัสมลพิษและผลกระทบที่ใชเวลาระยะหนึ่งกอนแสดงอาการ จากสถิติของอัตราผูปวยนอกดวยโรคระบบทางเดินหายใจของจังหวัดระยอง เม่ือเทียบกับของภาคกลางและทั้งประเทศ ระหวางป พ.ศ.2527-2548 พบวาในชวงแรกเร่ิมของการพัฒนา อัตราผูปวยนอกดวยโรคดังกลาวในจังหวัดระยองคอยขางใกลเคียง หรือสูงกวาอัตราทั้งประเทศเพียงเล็กนอย เม่ืออุตสาหกรรมเร่ิมขยายตัว จึงพบวา ตัง้แตป พ.ศ. 2536 เปนตนมา พบอัตราของผูปวยในจังหวัดระยองไดเพิ่มสูงกวาอัตราผูปวยของทั้งประเทศและของภาคกลางเปนอยางมาก โดยเฉพาะในป พ.ศ.2547 อัตราผูปวยนอกดวยโรคระบบทางเดินหายใจของจังหวัดระยองไดเพิ่มข้ึนเปน 696.09 คน ตอประชากรพันคน ในขณะที่อัตราของทั้งประเทศไดลดลงอยางตอเนื่องมาตั้งแตป พ.ศ. 2544 อัตราการเจ็บปวยดวยโรคมะเร็ง จากผลการศึกษาของสถาบันมะเร็งแหงชาติในโครงการศึกษาระบาดวิทยาของโรคมะเร็งในประเทศไทย ในป พ.ศ.2540 -2544 พบวา สถิติการเกิดโรคมะเร็งทุกชนิด และโรคมะเร็งเม็ดเลือดขาว (ลูคีเมีย) ที่ปรับคาสูงข้ึนในเขตอําเภอเมืองระยอง (ซึ่งเปนที่ตั้งของนิคมอุตสาหกรรมมาบตาพุด) พบผูปวยโรงมะเร็ง 1824 คนจากประชากรแสนคน และในจํานวนนี้เปนโรงมะเร็งเม็ดเลือดขาวถึง 625 ตอประชากรแสนคน ซึ้งถือเปนสถิติที่สูงที่สุดเม่ือเปรียบเทียบกับอําเภออ่ืน ๆ ในจังหวัดระยอง นอกจากนี้ยังพบวา สถิติการเกิดโรคมะเร็งของอําเภอเมืองสูงกวาอําเภอนิคมพัฒนาถึง 3 เทา สวนในกรณีของโรคมะเร็งเม็ดเลือดขาว สถิติการเกิดโรคของอําเภอเมือง จะสูงกวาอําเภอวังจันทร ถึง 5 เทา ซึงสาเหตุสําคัญประการหนึ่งในการเกิดโรคมะเร็งเม็ดเลือดขาว คือการ ไดรับสารเบนซินเขาสูรางกลายอยางตอเนื่อง เปนตน100 ยิ่งไปกวานั้น สถาบันมะเร็งแหงชาติ ยังทําการศึกษาตอเนื่องถึงสถานการณอุบัติใหมของโรคมะเร็งในป 2540 – 2543 โดยเฉพาะกลุมในเขตอําเภอเมือง เม่ือแยกโรคมะเร็งเปนรายประเภท พบวา โรคมะเร็งปอดมากที่สุด โดยเฉพาะในเพศชายจากเดิมมีคา 10.1 ตอประชากรแสนคน เพิ่มข้ึนเปน รอยละ 25.1 และเพศหญิงจากเดิมมีคาเทากับ 7.5 เพิ่มข้ึนเปนรอยละ 22.3 รองลงมาไดแก มะเร็งตับ มะเร็งหลอดอาหาร และมะเร็งกระเพาะปสสาวะ สําหรับมะเร็ง เม็ดเลือดขาว เพศชายมีคาเดิมเทากับ 4.5 ตอประชากรแสนคนเพิ่มเปน 5.2 และเพศหญิงจากเดิมมีคา 3.4 เพิ่มข้ึนเปน 6 เมือเปรียบเทียบคาอุบัติการณของผูปวยโรคมะเร็งของจังหวัดระยอง กับอีก 8 จังหวัดทําการศึกษา ได แก เชียงใหม ลําปาง นครพนม ขอนแกน อุดรธานี กรุงเทพฯ ประจวบคีรีขันธ และ สงขลา พบวา คาอุบัติการณของผูปวยโรคมะเร็งหลอดอาหาร และมะเร็ง

100ฐานเศรษฐกิจ (4-7 กุมภาพันธ 2550).

194

กระเพาะปสสาวะ สําหรับมะเร็ง เม็ดเลือดขาว และมะเร็งปากมดลูกของจังหวัดระยอง มีคาสูงที่สุดใน 9 จังหวัด สวนคาอุบัติเหตุการณของโรคมะเร็งปอด มะเร็งตับ และมะเร็งเตานม มีคาสูงกวาอีก 7 จังหวัดโดยมีคาอุบัติการณของมะเร็งเพิ่มข้ึน 1–2 เทา สภาบันมะเร็งแหงชาติ เปน ผูทําการศึกษาวิจัยดังกลาวไดแสดความคิดเห็นวา แมปจจัยการเกิดมะเร็งอาจมีหลายสาเหตุ ทั้งจากอาหาร พันธุกรรม พฤติกรรมทางดานสุขภาพ และปจจัยอ่ืน ๆ แตปจจัยส่ิงแวดลอมและมลพิษ ก็เปนปจจัยสําคัญที่สงผลใหแนวโนมความเจ็บปวยดวยโรคมะเร็งเพิ่มข้ึน ซึ่งชาวระยองมีความเส่ียงในเร่ืองสารเคมีมากกวาจังหวัดอ่ืน101 หากวิเคราะหเปรียบเทียบกับขอมูลอัตราผูปวยนอก โรคเนื้องอกและมะเร็งของจังหวัดระยองในชวงป พ.ศ. 2540 – 2548 จะพบวา อัตราผูปวยของจังหวัดระยอง เพิ่มข้ึนอยางรวดเร็วจาก 443 คนตอประชากรแสนคนในป พ.ศ. 2540 เปน 1263.5 คนตอประชากรแสนคน ในป พ.ศ. 2548 หรือเพิ่มข้ึนเกือบ 3 เทา ภายในเวลาเพียง 8 ป เชนเดียวกับอัตราผูปวยนอก อันเนื่องมากจากรูปรางผิดปกติแตกําเนิด การพิการจนผิดรูปแตกําเนิด และโคโมโซมผิดปกติ ในจังหวัดระยอง ก็เพิ่มข้ึนอยางรวดเร็ว จากเดิมทีมีอัตราผูปวยนอกในป พ.ศ. 2540 เทากับ 482 คนตอประชากรแสนคน เพิ่มข้ึนเปน 1638 คนตอประชากรแสนคนในป พ.ศ.2548 หรือเพิ่มข้ึนมากกวา 3 เทาในระยะ 8 ป ซึ่งความผิดปกติเหลานี้ มีความสัมพันธ กับการไดรับสารอินทรียระเหยเชนกัน นอกจากการเจ็บปวยของประชาชนที่อาศัยในพื้นที่รอบนิคมอุสาหกรรมมาบตาพุดแลวคนงานในนิคมอุตสาหกรรม ก็ไดรับผลกระทบทางสุขภาพเชนเดียวกัน จากรายงานการตรวจสุขภาพคนงานของสาธารณสุขจังหวัดระยอง ระบุวา โรงงานที่ เกี่ยวกับสารเคมีอันตราย พบคนงานมีความผิดปกติจํานวนมาก ตัวอยางเชน โรงงาน พี ที ปโตรเคมิคอล มีคนงานที่เกี่ยวของกับสารเคมี 161 คน ผิดปกติ 89 คน โรงงาน ไทยพลาสติกส และเคมีภัณฑ มีคนงานที่เกี่ยวของ 237 คนผิดปกติ 88 คน เปนตน102 ขอมูลดานสุขภาวะเปนอีกประเด็นหนึ่งของการส่ือสารกับชุมชนและสังคมผูมีสวนไดเสียอันเนื่องมาจากอุตสาหกรรมตอเนื่องของอุตสาหกรรมปโตรเคมี โดยเฉพาะที่มาบตาพุดกลายเปนรูปแบบและตนแบบของปญหาที่ส่ังสมมาเปนระยะเวลานานที่รัฐไมไดใหความสําคัญและควบคุมมาตรฐานการผลิต จึงสรางความไมไววางใจของชาวบาน จนเกิดแรงตานการสํารวจขุดเจาะปโตรเลียม เพราะนั่นคือจุดเร่ิมตนของการนําไปสูอุตสาหกรรมหนักที่มีผลตอส่ิงแวดลอมและสุขภาวะของประชาชน ดังที่ผูวาการทองเที่ยวจังหวัดระยองไดใหขอมูลไววา

101กรุงเทพธุรกิจ (17 กุมภาพันธ 2550). 102กรุงเทพธุรกิจ (30 มกราคม 2550).

195

“ปญหาส่ิงแวดลอมในปจจุบันอันเนื่องมาจากนโยบายดานอุตสาหกรรม สังเกตจากขาว ในสภาพพื้นที่ภาคตะวันออกนโยบายดานอุตสาหกรรมสงผลกระทบโดยเฉพาะเร่ืองฝุนละออง ในเขตเมือง ยังนอยอยู สวนใหญจะเปนเขตอุตสาหกรรม แตนโยบายของจังหวัดตองใหความสําคัญและตองจัดโซนนิ่งใหอยู เฉพาะเขตอุตสาหกรรม มลพิษตาง ๆ จะไดควบคุมได ถาควบคุมไดนาจะไมสงผลกระทบที่รุนแรงอะไร กรณีถานหินที่กําลังจะจัดตั้งโรงไฟฟาก็จะมีผลกระทบกับอากาศได หรือการถมทะเล ก็มีผลตอการทําใหกระแสน้ําเปล่ียนและกัดเซาะชายหาดทํามีสารตกคาง ในบางชวงเวลาที่มีการขุดเจาะปโตรเลียมก็จะพบคราบ กอนยางเหนียว ๆ เหมือนยางมะตอยสีดํา ที่ลอยมาและซัดข้ึนชายหาดหลาย ๆ ชายหาด เชน หาดสุชาดา พีเอ็มวาย เหลานี้สงผลกระทบแนนอนเพียงแตเปนบางชวงเวลาโดยเฉพาะฤดูมรสุมเขา ดังนั้น มาตรการในการตรวจสอบตองใหความเขมขนการตรวจสอบควบคุมมลภาวะทั้งดานอากาศ ทะเล ในนิคมหนึ่งผมเคยไปดูนะมีการควบคุมจริงแตก็ไมไดทั้งหมด เม่ือเร็ว ๆ นี้ก็เกิดเหตุร่ัวไหล”103

จากบทสัมภาษณสะทอนใหเห็นถึงผลกระทบดานส่ิงแวดลอมธรรมชาติ แมวาจะมีการควบคุมตรวจสอบก็ยังไมทั่วถึง อาจเนื่องมาจากปริมาณของโรงงานอุตสาหกรรมที่มีมากเกินไป การตรวจสอบของเจาหนาที่รับผิดชอบไมไดมาตรฐาน พื้นที่ชายฝงทะเลตะวันออกเปนพื้นที่ที่ไดรับการขยายอุตสาหกรรมมา นับตั้งแตมีการกอตั้งนิคมอุตสาหกรรมมาบตาพุด ปญหาเร่ือง "สุขภาพ" และ "ความเปนอยู" ของชาวระยองรอบโรงงานอุตสาหกรรมก็เปนเร่ืองที่ถูกมองขาม หรือถูกหยิบจับมาพูดคุยหารือแคสวนเล็ก ๆ ที่สอดแทรกไวใน รายงานการวิเคราะหผลกระทบส่ิงแวดลอม (Environmental Impact Assessment หรือ EIA) ที่แตละโรงงานตองจัดทําใหผานการอนุมัติจากสํานักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและส่ิงแวดลอม (สผ.) กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและส่ิงแวดลอม (ทส.) กอนลงมือดําเนินการเรงเคร่ืองการผลิตซึ่งไมไดทําใหสุขภาวะของคนในพืน้ที่ดีข้ึนอยางที่คนระยองอยากใหเปน และคนในสังคมไทยอยากเห็น

รัฐธรรมนูญ ฉบับป พ.ศ.2550 ระบุไวชัดเจน ใน มาตรา 67 วรรค 2 ที่เพิ่ม "สุขภาพ" เขาไปเปนสวนหนึ่งที่ตองคํานึงถึงในการดําเนินโครงการ หรือกิจกรรมที่อาจกอใหเกิดผลกระทบตอชุมชน เพราะการดําเนินโครงการใด ๆ จะคํานึงถึงส่ิงแวดลอมและทรัพยากรธรรมชาติอยางเดียวไมเพียงพอแลว และใน พ.ร.บ.สุขภาพแหงชาติ พ.ศ.2550 ก็ให

103ชูชาติ ออนเจริญ, ผูวาการทองเที่ยวจังหวัดระยอง, สัมภาษณ 28 สิงหาคม 2555.

196

สิทธิกับบุคคลหรือคณะบุคคล สามารถรองขอใหมีการประเมิน และมีสิทธิรวมในกระบวนการประเมินผลกระทบดานสุขภาพ จากนโยบายสาธารณะไดอีกดวย สงผลใหการดําเนินการประเมินผลกระทบดานสุขภาพจากโครงการขนาดใหญเกิดข้ึนในสังคมไทยอยางที่หลายคนตั้งความหวังไว แต พ.ร.บ.สุขภาพแหงชาต ิ พ.ศ.2550 ก็ถือวายังไมทันเหตุการณกับปญหาสุขภาพของชาวระยองที่เกิดข้ึนเพราะกฎหมายฉบับดังกลาว ก็ยังไมมีกฎหมายลูกเปนหลักเกณฑทีช่ดัเจนพอคลอดเปนสูตรสําเร็จออกมารองรับการคุมครองสุขภาพประชาชนที่อาศัยรอบนิคมอุตสาหกรรม ใหเหลาองคกรเอกชนในนิคมอุตสาหกรรมมาบตาพุดนํามาเปนแบบอยางในการจัดทําโครงการประเมินผลกระทบตอสุขภาพ (Health Impact Assessment) หรือ HIA ปจจุบันชาวมาบตาพุดยังมีปญหาสุขภาพที่ทวีความรุนแรงมากข้ึนทุกวัน ทั้งในเร่ืองความเจ็บปวยดวยสารอินทรียระเหยกอมะเร็งกวา 20 ชนิด ที่ทําใหคนอาศัยรอบนิคมอุตสาหกรรมมาบตาพุดและพื้นที่ใกลเคียง มีสถิติเปนมะเร็งทุกชนิดรวมถึงมะเร็งเม็ดเลือดขาวสูงวาพื้นที่อ่ืน ๆ 3-5 เทา หรือสภาพแวดลอมที่ไมเอ้ือตอการดํารงชีวิตอยางปกติผาสุก พวงดวยความไมเขาใจของคนในชุมชนที่แบงแยกเปนสองฝกสองฝายทางความคิด กับการใหอุตสาหกรรมคงอยูเพื่อปากทอง และขอใหประกาศเปนเขตควบคุมมลพิษเพื่อสุขภาวะอนามัยของคนพื้นถิ่น จนเกิดการกระทบกระทั่งเปนระยะ ๆ104 ผลตอเนื่องจากภาวะมลพิษที่สะสมคือผลกระทบตอสุขภาพของประชาชน ซึ่งผลที่เกิดข้ึนจาก การเพิ่มข้ึนของการเจ็บปวยของประชาชนดวยโรคระบบทางเดินหายใจและโรคทางผิวหนังและเนื้อเยื่อใตผิวหนัง อันเนื่องมาจากสัมผัสมลพษิ ความรุนแรงเร่ืองฝุนละอองที่มีการฟุงกระจายไปทั่วเมืองมาบตาพุดนั้น อาจารยศิริชัย หอมดวงศิริ รองผูอํานวยการโรงเรียนมาบตาพุด ไดเลาถึงความรุนแรงของมลพิษทางอากาศที่ไดประสบดวยตัวเองซึ่งมีความรุนแรงมาก ดังวา

“เร่ืองนี้ผมอาจจะตอบไดไมชัดนักแตเทาที่ดูก็ไมใกลเสียทีเดียว แตดวยรูปแบบของอุตสาหกรรมเวลาผลิตมันก็กระจายไปทั่วมันเกิดจากการเคล่ือนตัวของธรรมชาตินิคมอยูใกลทะเล เชากลางวันกลางคืนก็มีลมบก ลมทะเล คือประมาณวาไมนาจะใชปญหาเร่ืองระยะประชิดเทาไรนัก จากการที่ผมไดศึกษาในขณะนั้นมีทั้งฝุนละอองที่มาติดเส้ือผา อากาศที่หายใจไมใชใชผามาปดจมูกทั่วไปใชไมไดเอาไมอยู แตตองใชตัวกรองอากาศมาใสกรองกอนหายใจ นอกจากนี้ยังมีเศษของวัสดุที่ปลิวมากับลมไมใชแคฝุนละออง มันรุนแรงมากชวงนั้นจนตองยายโรงเรียนมาอยูที่ปจจุบันนี้ การ

104ไทยโพสต (19 กรกฎาคม 2552).

197

ใหความสําคัญกับอุตสาหกรรมจนไมสนใจประชาชนรอบขาง ภาครัฐควรมีการประเมิน หรือใหความจริงใจและความสําคัญกับชาวบานมากวานี้”105

ปญหาสุขภาพนอกจากจะเปนผลกระทบตอชาวบานที่อาศัยอยูในพื้นที่รอบนิคมอุสาหกรรมมาบตาพุดแลว ยังพบวาพนักงานในโรงงานนิคมอุตสาหกรรม ยังไดรับผลกระทบทางสุขภาพเชนเดียวกัน จากรายงานสาธารณสุขจังหวัดระยองที่เขาทําการตรวจสุขภาพของพนักงาน โรงงานที่เกี่ยวกับสารเคมีอันตราย พบวาพนักงานมีความผิดปกติจํานวนมาก เชน106 โรงงาน พีที ปโตรเคมีคอล มีคนงานที่เกี่ยวของกับสารเคมี 161 คน ผิดปกติ 89 คน รงงานไทยพลาสติกส และเคมีภัณฑ มีคนงานที่เกี่ยวของ 237 คน ผิดปกติ 88 คน และโรงงานอะโรเมดิกส ประเทศไทย มีคนงานที่เกี่ยวของ 220 คน ผิดปกติ 150 คน จากขอมูลดังกลาว สอดคลองกับการใหขอมูลของชาวบานที่ไดรับผลกระทบ แมวาทุกวันนี้ก็ยังมีปญหาเร่ือง กล่ิน เสียง ฝุน กระทบวิถีชีวิตชาวบาน และความเส่ียงกรณีเกิดเหตุฉุกเฉินไฟไหม เกิดเหตุระเบิด กาซร้ัวไหล เพราะความไมเอาใจใสของเจาหนาที่ภาครัฐ บอยคร้ังที่มีการพูดคุยกันมันเกิดแนวคิดและการรวมมือกันเฉพาะเวทีการประชุมเทานั้นในทางปฏิบัติแปรเปล่ียนไปตามอิทธิของผูมีอํานาจเหมือนเดิม

“ปญหาในการปฏิบัติมีอยูจริงเพราะผูประกอบการกลัวเสียผลประโยชน เชน ขอตกลงเวลาเกิดเหตุการณตองแจงเหตุใหชุมชนรูเปนอันดับแรกไมใชปลอยใหเกิดจนตองหนีเปนความสับสนชุลมุนจนไมอาจแกไขสาเหตุที่ผูประกอบการไมแจงเหตุเพราะกลัวนักขาวไปขยายและตอรองเรียกเงิน (ถาไมใหกูก็ตีถามึงใหกูก็เงียบ) กลัวเปนขาวทําใหเสียเครดิตกลัวชุมชนเรียกรอง แตส่ิงที่ชาวบานตองการคือ หากเกิดเหตุ ลําดับที่หนึ่งตองทําอยางไร ลําดับที่สอง ลําดับที่สาม จะทําอยางไร หากถึงข้ันตองอพยพชุมชนไหนตองใชเสนทางไหนตองชัดเจนไมเชนนั้นก็เกิดจลาจลหนีไมได ดังตัวอยางกรณีของบริษทัไทยออยสถังน้ํามันระเบิดเกิดไฟไหมเกิดจลาจลทั้งรถทั้งคนแนนไปหมดทุก เสนทางสวนกันไปมาคร้ังนั้นหากถังแกสระเบิดคงเปนโศกนาฏกรรมที่เลวรายที่สุดเพราะผูคนไปกองแออัดอยูบนถนนรอบ ๆ โรงกล่ันไทยออยสหลายหม่ืนคน”107

105ศิ ริ ชัย ห อมดวงศิ ริ , รอง ผู อํานวย การโรง เ รีย นมาบตาพุด , สัมภาษ ณ

11 กุมภาพันธ 2556. 106กรุงเทพธุรกิจ (30 มกราคม 2550). 107ชูเดช จันทรศิริ, ประธานชุมชน ซ.ประปา มาบตาพุด, สัมภาษณ 11 กุมภาพันธ

2556.

198

ขอมูลกรมควบคุมมลพิษ ไดทําการสํารวจสารอินทรียระเหยโดยเก็บจากตัวอยางอากาศมาบตาพุด ในชวงเดือนตุลาคมและเดือนพฤศจิกายน 2548 พบสารระเหยมากวา 40 ชนิด และมีอินทรียระเหยกอมะเร็งถึง 20 ชนิด เม่ือนําไปเปรียบเทียบกับคามาตรฐานของหนวยงานคุมครองส่ิงแวดลอมสหรัฐอเมริกา (US-EPA Region 6 Screening Level) พบวามีสารที่กอมะเร็งสูงกวาคามาตรฐานถึง 19 ชนิด เชน อโครลีน (Acrolein or Propenal) พบสูงกวาระดับเฝาระวังถึง 693 เทา ไตรคลอโรเอทิลีน (Trichloroethylene) สูงกวามาตรฐาน 498 เทา เอทิลิน ไดคลอไรด (Ethylene Dicholoride) สูงกวามาตรฐาน 256 เทา คลอโรฟอรม (Chloroform) สูงกวามาตรฐานถึง 238 เทา ไวนิล คอลไรด (Vinyl Choloride) สูงกวามาตรฐานถึง 45 เทา และเบนซิน (Benzene) สูงกวามาตรฐานถึง 31 เทา108

ปญหามลพิษถูกสะสมมาเปนเวลานาน ทั้งผลกระทบตอส่ิงแวดลอม ผลกระทบตอสุขภาพ เชน ปญหาสุภาพอนามัย ปญหาการปนเปอนในน้ําบอตื้น ปญหาเร่ืองสารประกอบอินทรียระเหย โดยมีผลการศึกษาของสถาบันมะเร็งแหงชาติ มหาวิทยาลัยกรุงเทพ และ กรมควบคุมโรคยืนยันขอมูล ในป 2546 ไดขยายพื้นที่อุตสาหกรรมไปทับซอนหลายชุมชนและขยายไปสูเขตอําเภอบานฉาง ขณะเดียวกันผลการตรวจสอบสารอินทรียระเหยโดยกลุมกรีนพีชและเครือขายองคกรเอกชน ยังสารกอมะเร็งมีคาสูงเกินมาตรฐาน เม่ือปญหานับวันจะทวีความรุนแรงมากข้ึนเพราะรัฐบาลอนุมัติโครงการตามแผนพัฒนาอุตสาหกรรมปโตรเคมี ระยะที่ 3 (2547-2561) ที่กําหนดพื้นที่ที่เหมาะสมสําหรับการพัฒนาอุตสาหกรรมปโตรเคมี ระยะที่ 3 แบงเปน 2 ทางเลือกในกรณี High Case คือ พื้นที่มาบตาพุด และพื้นที่ใกลเคียง สรางคลัสเตอรปโตรเคมีทั้งหมด คือ 33 ผลิตภัณฑ และ 56 โรงงาน109 สะทอนใหเห็นวารัฐบาลยังเห็นความสําคัญภาคอุตสาหกรรมสําคัญกวาผลกระทบวิถีชีวิตของประชาชนในพื้นที่ ซึ่งเปนการกดดนัใหชาวบานและองคกรเอกชน แกนนํารวมตัวกันใชกระบวนการศาลเขามาชวยเหลือ

เ ม่ือวันที่ 1 ตุลาคม 2550 ชาวบานมาบตาพุด จังหวัดระยอง ไดยื่นฟองคณะกรรมการส่ิงแวดลอมแหงชาติตอศาลปกครองระยอง เพื่อใหปฏิบัติหนาที่ตามพระราชบัญญัติสงเสริมและรักษาคุณภาพส่ิงแวดลอม 2535 มาตรา 59 คือ ประกาศใหพื้นที่มาบตาพุดและพื้นที่ใกลเคียงเปนเขตควบคุมมลพิษ จนกระทั่งวันที่ 3 มีนาคม 2552 ศาลปกครองมีคําส่ังให

108เดชรัช สุขกําเนิด และคณะ, มลพิษ สุขภาพ และอุตสาหกรรมที่มาบตาพุด,

(กรุงเทพฯ: มูลนิธินโยบายสาธารณะ, 2550), น. 2. 109ถวิลวดี บุรีกุล และคณะ, แผนแมบทอุตสาหกรรมปโตรเคมีระยะที่ 3 (2547-

2561), (กรุงเทพฯ: สถาบันพระปกเกลา, 2547), น. 193.

199

คณะกรรมการส่ิงแวดลอมแหงชาติประกาศควบคุมมลพิษในพื้นที่มาบตาพุด จังหวัดระยอง เพื่อดําเนินการควบคุมและขจัดมลพิษ

19 มิถุนายน 2552 เครือขายประชาชนภาคตะวันออก ชมรมส่ิงแวดลอม สภาทนายความ สมาคมตอตานสภาวะแวดลอม และสมัชชาองคกรเอกชนดานการคุมครองส่ิงแวดลอมและอนุรักษทรัพยากรธรรมชาติ ไดทําเร่ืองฟองศาลปกครองตอ 8 หนวยงานภาครัฐที่ดําเนินการที่ปฏิบัติหนาที่ไมชอบดวยกฎหมาย ตามมาตรา 67 แหงรัฐธรรมนูญ 2550 และวันที่ 29 กันยายน 2552 ศาลปกครองชั้นตนมีคําส่ังระงับการลงทุน 76 โครงการเปนการชั่วคราว จากนั้นมีการแตงตั้งคณะกรรมการ 4 ฝาย ไดแก ภาครัฐ ภาคเอกชน ภาคประชาชน และภาควิชาการ โดยมีนายอานันท ปนยารชุน เปนประธานเพื่อหาทางออกรวมกัน อยางไรก็ตามในวันที่ 2 กันยายน 2553 ศาลปกครองฯ มีคําตัดสินปลดล็อคโครงการที่ไมเขาขาย 11 โครงการรุนแรงดําเนินการตอไดจากทั้งหมด 76 โครงการสวนอีก 65 โครงการที่เหลือก็ใหชะลอการดําเนินการตอไป แลวใหทําการศึกษาผลกระทบดานส่ิงแวดลอม (อีไอเอ) และผลกระทบดานสุขภาพ (เอชไอเอ) ดูเหมือนวาการตัดสินออกมาเชนนี้ก็สรางความตกใจใหกับภาคเอกชนไดไมนอย และดูเหมือนวาจะเร่ิมมีปญหาบานปลายมากข้ึนเม่ือกลุมผูประกอบการไดรับผลกระทบทางเศรษฐกิจ โดยนายธนิต โสรัตน รองประธานสภาอุตสาหกรรมแหงประเทศไทย (ส.อ.ท.) ไดมีการประเมินวา หากการที่โครงการ 65 โครงการลงทุนตอในมาบตาพุดไมไดจะสรางความเสียหายในแงการลงทุนราว 90,000-100,000 ลานบาท เนื่องจากบางโครงการดําเนินการถึงข้ันใกลเปดกิจการแลว รวมถึงจางแรงงานแลว อีกทั้งโครงการที่ยังคางอยูในทอนั้นสวนใหญจะเปนการลงทุนประเภทเรียลอินดัสตร้ีที่มีตั้งแตตนน้ําถึงปลายน้ํา ซึ่งภาคเอกชนเองก็ยังสับสนวาตอจากนี้จะทําอะไรตอ เพราะตองรอกฎหมายลูกออกมารองรับกอน110 แมวาระหวางนี้ปญหามลพษิมาบตาพุด จังหวัดระยอง กําลังอยูในกระแสการวิพากษวิจารณ แตก็ยังมีเหตุการณปญหากาซร้ัวไหลอยูเร่ือย ๆ

เม่ือ 5 ธันวาคม 2552 เกิดเหตุกาซบิวเทน-วัน (Butene-1) ร่ัวไหลออกเซฟตี้วาลวของเรือ GLOBAL HIME (โกลบอล ไฮม) ขณะจอดเทียบทาโหลดสินคาอยูที่ทาเทียบเรือมาบตาพุด แทงก เทอรมินอล ภายในนิคมอุตสาหกรรมมาบตาพุด อ.เมือง เพื่อนําไปสงที่ประเทศสิงคโปร มีชาวบานสูดดมกาซเขาไปเกิดลมปวยตองเขารับการรักษาที่โรงพยาบาลกรุงเทพระยอง 18 ราย และในชวงเชาวันที่ 6 ธันวาคม 2552 มีชาวบานลมปวยเขารับการรักษาเพิ่มเติมอีก 44 ราย รวมเปน 62 ราย ในจํานวนนี้มี 7 รายอาการหนัก แพทยตองใหนอนพักรักษาตัวเพื่อเฝา ดูอาการอยาง

110ไทยโพสต (4 ธันวาคม 2552).

200

ใกลชิด จากการตรวจสอบพบผูปวยไดรับกล่ินกาซ บิวเทน-วัน มีลักษณะคลายกาซหุงตม หรือกาซแอลพีจี ซึ่งไมใชสารอันตราย แตหากไดรับในปริมาณมากก็ทําใหขาดออกซิเจน และอาจทําใหเสียชีวิตได ซึ่งชาวบานที่ไดรับผลกระทบสวนใหญอยูระหวางการรวมกิจกรรมเฉลิมพระเกียรติ 5 ธันวามหาราช ที่บริเวณศาลากลุมประมงเรือเล็กตากวน อาวประดู ขณะนั้นมีลมพัดแรงทําใหชาวบานไดรับสารดังกลาวมีอาการเวียนศีรษะและอาเจียน111 12 ธันวาคม 2552 เกิดเหตุแกสร่ัวในนิคมมาบตาพุดอีก ตองอพยพคนงานจาละหว่ัน มีผูไดรับกล่ินจนแสบคอ แนนหนาอก วิงเวียนศีรษะ ถูกนําสง รพ.มาบตาพุด 6 คน การนิคมอุตสาหกรรมออกตรวจสอบยังไมพบวาตนเหตุเกิดจากที่ใด คนงานสงสัยทําไมเกิดเหตุติด ๆ กัน มีอะไรแอบแฝงหรือไม ขณะเดียวกันโรงงานบริษัทไออารพีซีก็ปลอยควันดําเต็มทองฟา อางกระแสไฟฟาไมพอตองหยุดกระบวนการผลิตกะทันหันจึงเกิดควันดําข้ึนมา เม่ือเวลา 08.30 น. วันที่ 12 ธันวาคม 2552 คนงานกอสรางใกลโรงไฟฟาโกลว ถนนไอ 5 นิคมอุตสาหกรรมมาบตาพุด อําเภอเมืองฯ จังหวัดระยอง ไดกล่ินเหม็นจากแกส จึงมีการอพยพคนงานกอสรางทั้งหมด รวมทั้งพนักงานโรงงานสยามแผนเหล็กวิลาสและพนักงานในโรงงานที่อยูใกลเคียงกันอยางโกลาหลใหไปอยูเหนือลมเพื่อความปลอดภัย โดยมีคนงาน 6 คนตองถูกนําสงโรงพยาบาลมาบตาพุด ซึ่ง นพ.สุรทิน มาลีหวล ผอ.รพ.มาบตาพุด เปดเผยวา ทั้งหมดมีอาการวิงเวียนศีรษะ แสบคอ แนนหนาอก หลังจากตรวจอาการและใหยาแลวก็อนุญาตใหกลับบานได นอกจากนี้ นายวุฒิชัย รุงเรือง พนักงานโรงงานสยามแผนเหล็กวิลาส กลาววา ทางโรงงานไดประกาศรวมพลเตรียมอพยพพนักงานออกจากโรงงาน เนื่องจากแกสมีกล่ินเหม็นมาก โดยพนักงานไดข้ึนรถยนตหลายคันมารวมตัวกันอยูที่ศูนยราชการ จ.ระยอง รวมกับพนักงานจากโรงงานอ่ืน ๆ รวมประมาณ 200 คน เพื่อใหพนกล่ินแกส และไมทราบวามีกล่ินมาจากโรงงานใด แตเปนที่นาแปลกใจทําไมตองมาเกิดเหตุการณแกสร่ัวติด ๆ กัน ไมทราบวามีอะไรแอบแฝงหรือไม112

กรณีโรงงานผลิตคลอรีนในนิคมเหมราช จังหวัดระยอง กาซร่ัวไหล เม่ือเวลา 13.40 น.ของวันที่ 7 มิถุนายน 2553 เกิดเหตุคลอรีนร่ัว ในนิคมเหมราช จ.ระยอง จุดเกิดเหตุอยูหลัง โรงพยาบาลมาบตาพุด ทางเจาหนาที่กําลังเขาระงับเหตุผูวาส่ังอพยพพนักงานออกนอกพื้นที่แลว เบื้องตนมีรายงานผูปวย 4 คน และอยูในระหวางควบคุมความเสียหาย และยายคนออกจากพื้นที่ดานในทั้งหมด ผูวาราชการจังหวัดระยอง ระบุวาเปนบริษัทผลิตคลอรีน เกิดเหตุถังบรรจุลมจาก

111เดลินิวส (7 ธันวาคม 2552). 112ไทยโพสต (13 ธันวาคม 2552).

201

การลาง เบื้องตนไมขยายวงกวาง แตข้ึนอยูกับกระแสลม ขณะนี้ยังไมสงผลกับชุมชนใกลเคียงรายงานลาสุด เม่ือ 15.00 น. หนวยกูภัยประจําทองที่ พรอมรถพยาบาลไดลําเลียงผูปวยสงโรงพยาบาลแลวกวา 200 คน รายละเอียดเพิ่มจะรายงานใหทราบตอไป สถานการณกาซร่ัว มีรายงานกรณีกาซร่ัวจากถังเก็บของ บริษัท อทิตยาเบอรรา เคมีคอลไทยแลนด จํากัด ตั้งอยูที่ ถนน จี 2 นิคมอุตสาหกรรมเหมราชตะวันออก ต.หวยโปง อ.เมือง จ.ระยอง เปนโรงงานผลิตสารเคมี ฮิติโคโลไฮบิ้น (EPICHLOHYDRIN) (EPH) สารตั้งตนผลิตสารอีพอกซี เรซิน (Epoxy Resins) เบื้องตน การนิคมอุตสาหกรรมมาบตาพุด จังหวัดระยอง แจงเปนสารเคมี โซเดียมไฮเปอรคลอไรด มีผูปวยจากการสูดดมสารเคมี ทั้งผูรับเหมาและพนักงานบริษัท จํานวนมาก ยอดผูปวยเขารักษาตัวที่ ร.พ.มาบตาพุด จนถึงเวลา 18.30 น.จํานวน 259 ราย โดยทาง ร.พ.มาบตาพุด รักษาอาการเบื้องตนแลวนําสงผูมีอาการหนักไปรักษาตอ ร.พ.ระยอง ร.พ.บานคาย ร.พ.บานฉาง รวม 70 คน ซึ่งมีหลายคนตองรักษาอยูหองไอซียู นอกนั้นกลับบานได ทั้งนี้ยอดผูปวยทั้งหมดยังไมสามารถรวมได เนื่องจากมีผูเขารักษาเองในโรงพยาบาลอ่ืน ๆ อีก คาดวาสาธารณสุขจังหวัดระยองจะสามารถระบุตัวเลขทั้งหมดไดในวันพรุงนี้113

8 มิถุนายน 2553 หนังสือพิมพกรุงเทพธุรกิจไดติดตามขาวการร่ัวไหลของโซเดียมไฮโดรคลอไรด ของบริษัท อนิตยาเบอรรา เคมีคอลไทยแลนด ซึ่งเครือขายประชาชนภาคตะวันออก จังหวัดระยอง นําโดยนายสุทธิ อัชฌาศัย ผูประสานงานเครือขายประชาชนภาคตะวันออก เปดแถลงขาวกรณี เกิดเหตุการณถังไฟเบอรกลาส เก็บสาร โซเดียมไฮโดรคลอไรด (องคประกอบที่ไดจากคลอรีน) ในบริษัท อดิตยา เบอรรา เคมิคอล ไทยแลนด จํากัด (ADiTYA BIRLA CHLMICALS THAILAND) นิคมอุตสาหกรรมเหมราชตะวันออก มีนายวีระศักดิ์ เพิ่มแพงพันธ ผูอํานวยการนิคมอุตสาหกรรมเหมราชตะวันออก เปนผูรับผิดชอบ ระหวางเกิดเหตุ นายประทีป เองฉวน ผูอํานวยการนิคมอุตสาหกรรมมาบตาพุด ไมอยูในพื้นที่ทราบจากแหลงขาววาเดินทางไปทัวรตางประเทศกับผูนําชุมชนและขาราชการบางนาย กล่ินสารโซเดียมไฮโดรคลอไรดฟุงกระจายเปนบริเวณกวาง ทําใหมีผูไดรับบาดเจ็บจํานวนเพิ่มมากข้ึนเปน 299 ราย จากขอมูลสะทอนใหเห็นความบกพรองในเชิงบริหารนิคมอุตสาหกรรมที่ภาครัฐเองก็ขาดการดูแล ตรวจสอบใหมีประสิทธิภาพอยางที่ควรจะเปนดังคําใหสัมภาษณผานส่ือมวลชนของผูแทนเครือขายภาคประชาชน ที่เห็นปญหาเกิดข้ึนซ้ําซากแตไรหนวยงานรับผิดชอบอยางจริงจัง ส่ังสมปญหาใหเพิ่มพูนข้ึนเร่ือย ๆ

113กรุงเทพธุรกิจ (7 มิถุนายน 2553).

202

“เหตุการณกาซคลอรีนร่ัวไหลคร้ังนี้ มองวาเปนการติดตั้งอุปกรณที่ไมไดมาตรฐาน ทําใหถังไฟเบอรกลาสเก็บสารดังกลาวแตกและทรุดทําใหถังเก็บลมลงกับพื้นเกิดการร่ัวไหล ทําใหมีผูไดรับบาดเจ็บจํานวนมาก บริษัท อดิตยาเคมิคอล เปนของ ชาวอินเดียไดเกิดเหตุการณแบบนี้หลายคร้ัง ในเบื้องตนอยากจะเห็นการแสดง ความรับผิดชอบ และหนวยงานที่ตองแสดงความรับผิดชอบคือ การนิคมอุตสาหกรรมแหงประเทศไทย และผอ.นิคมอุตสาหกรรมเหมราชตะวันออก ซึ่งมีนายวีระศักดิ์ เพิ่มแพงพันธ เปน ผอ. และในระยะหลังนี้ในนิคมอุตสาหกรรมเหมราชตะวันออก มักจะเกิดเหตุการณบอยคร้ังรวมทั้งนิคมเอเซีย เราตั้งขอสังเกตวาคนที่ทํางานในนิคมเหมราชตะวันออกและนิคมเอเชีย อาจจะขาดประสิทธิภาพในการบริหารจัดการที่ดีพอ รวมทั้งการกํากับตรวจสอบ โดยเฉพาะการกอสรางโรงงานอาจเปนปญหารวมทั้งติดตั้งวัสดุกอสราง ถามหาความรับผิดชอบของโรงงานและความสามารถของผูบริหารนิคมเหมราชตะวันออกและนิคมเอเชียรวมถึงผูปฏิบัติงานทั้ง 2 นิคมฯนี้วา ทําไมจึงมีเหตุการณเกิดข้ึนซ้ําซาก ที่ผานมา โรงงาน ปตท. ฟนอล ในนิคมเหมราชตะวันออกก็เกิดกาซร่ัวเชนเดียวกัน การเกิดเหตุการณสารเคมีร่ัวไหลซ้ําซากมันสะทอนใหเห็นถึงความนากลัวที่เครือขายประชาชนภาคตะวันออกตองไปฟองศาลปกครอง ใหมีการประเมินผลกระทบส่ิงแวดลอมและสุขภาพ เพราะฉะนั้นในชวงระหวางที่มีการกอสรางไดจัดทํารายงานวิเคราะหผลกระทบส่ิงแวดลอมหรือ อีไอเอ ไปแลว เครือขายประชาชนภาคตะวันออก จะไปถามสํานักงานนโยบายและแผนส่ิงแวดลอมวามาตรการระหวางการกอสรางผูใดเปนผูตรวจสอบและติดตาม ตามเงื่อนไขอีไอเอหรือไม"114 นอกจากนี้ยังพบพาหะที่ทําใหสารเขาสูรางกายมนุษยนอกเหนือจากทางอากาศแลว

ยังพบวาแหลงน้ําในเขตจังหวัดระยองไดพบสารปนเปอนที่เปนอันตรายเปนจํานวนมากโดยเฉพาะในเขนเทศบาลมาบตาพุด สาขาวิศวกรรมส่ิงแวดลอม มหาวิทยาลัยรังสิต ไดทําการวิเคราะหน้ําจากบอน้ําตื้นใน 25 ชุมชน รวม 77 ตัวอยาง และน้ําสระกับน้ําบาดาล ในชวงวันที่ 26-27 พฤศจิกายน 2548 และ 4-5 กุมภาพันธ 2549 พบการปนเปอนโลหะหนักเกินคามาตรฐานคุณภาพน้ําอุปโภคบริโภคในชนบท ของคณะกรรมการการบริหารโครงการจัดใหมีน้ําสะอาดในชนบททั่วราชอาณาจักร พ.ศ. 2531 พบสารปนเปอนดังนี้

114สุทธ ิอัชฌาศัย, ผูประสานงานเครือขายประชาชนภาคตะวันออก, กรุงเทพธุรกิจ

(8 มิถุนายน 2553).

203

แคดเม่ียม มีคาเกินมาตรฐาน 6 เทา สังกะสี มีคาเกินมาตรฐาน 10 เทา แมงกานิส มีคาเกินมาตรฐาน 34 เทา ตะกั่ว มีคาเกินมาตรฐาน 37 เทา เหล็ก มีคาเกินมาตรฐาน 151 เทา

ปญหาขยะมูลฝอยของเทศบาลเมืองมาบตาพุด และนิคมอุสาหกรรมในพื้นทีใกลเคียง ก็ประสบปญหามีพื้นทีฝงกลบไมเพียงพอกับปริมาณขยะมูลฝอยที่เกิดข้ึน โดยในป 2548 มีขยะมูลฝอยเกิดข้ึนประมาณ 127 ตัน/วัน แตสามารถรับขยะมูลฝอยไดประมาณ 70 ตัน/ วัน เทานั้น ขอมูลมลพิษในดานตาง ๆ ทั้งมลพิษทางอากาศ มลพิษทางน้ํา การกัดเซาชายฝง การทิ้งกากของเสียอันตรายรายแรง บงชี้ใหเห็นวา การพัฒนาอุสาหกรรมที่มาบตาพุด ไดสรางรอยบอบช้ําใหกับส่ิงแวดลอมและประชาชนในพื้นที่เปนอยางมาก ปญหาขยะลนเมืองสงผลใหเกิดกล่ินเหม็นรบกวน มีการปนเปอนในดินและแหลงน้ําในบริเวณใกลเคียง สงผลใหชาวบานเกิดอาการคันตามรางกายหลังจากใชน้ําที่สูบมาจากบริเวณใกลเคียงที่มีการทิ้งสารเคมี115 นอกจากนี้ ผลกระทบยังลุกลามไปมากการขัดแยงกันของประชาชนในพื้นที่ อยางกรณีปญหาโรงแยกกาซของ ปตท. ในมาบตาพุดที่ศาลพิจารณาใหโรงงานอุตสาหกรรมเปดดําเนินการตอได หลังตรวจสอบและประเมินผลกระทบแลว ดังที่รัฐมนตรีวาการกระทรวงพลังงาน ไดหารือกับ รัฐมนตรีวาการกระทรวงอุตสาหกรรม เคลียรปมปญหาใน “มาบตาพุด” ยันจะออกใบอนุญาตใหโรงแยกกาซฯ ปตท. เดินเคร่ืองตอไปได สวนเครือขายประชาชนภาคตะวันออกจะคัดคานก็สามารถทําไดตามสิทธิ กรณีการออกใบอนุญาตประกอบกิจการโรงแยกกาซธรรมชาติหนวยที่ 6 ของบริษัท ปตท. จํากัด (มหาชน) แลวโดยจากการหารือ นายชัยวุฒิก็เขาใจดีวาเร่ืองนี้เปนเร่ืองเรงดวนและจะพิจารณาออกใบอนุญาตไดภายในสัปดาหนี้ หลังจากกอนหนานี้กระทรวงอุตสาหกรรมไดชะลอการออกใบอนุญาต เพื่อรอพิจารณาพรอมกันทั้งหมด คาดวาหลังจากที่ ปตท. ไดรับใบอนุญาตแลวจะสามารถเดินเคร่ืองได ดานนายวิเชียร ศักดิ์เจริญ ประธานชุมชนมาบขา-อายงอน จังหวัดระยอง กลาววาประชาชน 29 ชุมชน จาก 33 ชุมชน ในพื้นที่มาบตาพุดและแหลมงอบ ใหการสนับสนุนการตั้งโรงแยกกาซของ ปตท. และจะยื่นหนังสือตอผูวาราชการจังหวัดระยอง เพื่อแสดงการไมเห็นดวยกับกลุมเครือขายประชาชนภาคตะวันออก ที่จะนัดชุมนุมวันที่ 30 กันยายน 2553 เพราะถือเปนการสรางความเดือดรอนตอชาวระยอง116

115ฐานเศรษฐกิจ (4-7 กุมภาพันธ 2550). 116แนวหนา (27 กันยายน 2553), น. 9, 10.

204 ผลกระทบดานแบงปนผลประโยชน ประโยชนทางเศรษฐกิจที่เกิดจากอุตสาหกรรมปโตรเคมี โดยเฉพาะมูลคาทางเศรษฐกิจของนิคมอุตสาหกรรมมาบตาพุดที่มีอยางมหาศาล อาจกลาวไดวามาบตาพุดคือเสนเลือดใหญของประเทศ แตประชาชนคนรากหญารอบนิคมอุตสาหกรรมกลับมีคุณภาพชีวิตที่คอนขางแย อุตสาหกรรมพลังงานเกี่ยวของกับรายไดของรัฐ ทั้งจากการขอสัมปทานสํารวจและขุดเจาะ โดยอาศัยกฎกระทรวง และพระราชบัญญัติปโตรเลียม พ.ศ. 2514 และการสัมปทานยังเกี่ยวของกับรายไดเขารัฐจาก คาธรรมเนียม คาภาคหลวง และการจัดสรรประโยชนสูทองถิ่นซึ่งผูมีสวนไดสวนเสียที่พึงจะไดรับ จุดนี้เปนอีกจุดหนึ่งที่การส่ือสารนโยบายดานผลประโยชนที่เกิดจากการทําสัมปทานการสํารวจขุดเจาะพลังงานที่ควรจะเกิดข้ึนกับประชาชนผูมีสวนไดสวนเสียที่เปนประชาชนในพื้นที่อุตสาหกรรมนั้น ยังไมเห็นเปนรูปธรรมเทาที่ควร ดังคําใหสัมภาษณของประธานกลุมรักษอาวไทย

“การมองวาเราตอตาน คือเราเปนเมืองที่สรางรายไดได มีความจําเปนเพียงใดที่จะขุดพลังงานในขณะนี้ รัฐบาลจะตองมีความจริงใจ กรมเชื้อเพลงธรรมชาติ ตองมาพูดคุย รายไดที่เกิดข้ึนจะแบงและจัดสรรอยางไร ทุกวันนี้มองผลประโยชนที่จะไดรับมากกวา แตไมสามารถชี้แจงไดวารายไดที่เกิดข้ึนนําไปใชประโยชนกับทองถิ่นที่ประชาชนผูมีสวนไดสวนเสียในเร่ืองใดบาง มองอยูมิติเดียวแตเร่ืองความสําคัญและจําเปน เพื่อธุรกิจหรืออุตสาหกรรมขนาดใหญ ไมใชชาวบานไมเห็นความสําคัญ แตชาวบานเขาไมม่ันใจตอกลไกของรัฐ วามีความจริงใจแตไหน เพราะบทเรียนมาบตาพุดสะทอนใหเห็นความไมจริงใจตอกัน ปญหาส่ิงแวดลอมเกิดข้ึนไมรูจะแกอยางไร เม่ือถามไปไมมีคําตอบ คาธรรมเนียมตาง ๆ นําคืนสูทองถิ่นอยางไร คืนไปในรูปแบบไหนบาง อีกประการหนึ่ง รายไดการทองเที่ยวกับรายไดจากพลังงาน เอามาประเมินคาน้ําหนักกันวาอะไรที่เปนสําคัญที่สุด ถาทองเที่ยวทํารายไดใหกับชาติและไมทําลายส่ิงแวดลอม ก็นาจะศึกษาการทองเที่ยวในอาวไทยสามารถทํารายไดใหมากกวาพลังงานหรือไมและรายไดการทองเที่ยวมันลงสูชาวบานจริง ๆ แตถารายไดจากพลังงานมันเปนการทําลายและก็หมดไปประโยชนธุรกิจตกอยูกับกลุมทุนเปนสวนใหญ ส่ิงเหลานี้ภาครัฐไมกลาลงมาประเมินอยางจริงจัง” 117 จากขอมูลการสัมภาษณสะทอนใหเห็นวาการส่ือสารดานการนํารายไดจากการให

สัมปทานภาคเอกชนกลับไปพัฒนาทองถิ่นนั้น ไมมีความชัดเจนและภาครัฐเองก็หาคําตอบที่

117รามเนตร ใจกวาง, ประธานกลุมรักษอาวไทย, สัมภาษณ 3 พฤศจิกายน 2555.

205

ชัดเจนใหกับประชาชนไมได ทําใหเกิดกลุมตอตานการขอทําสัมปทานการขุดเจาะพลังงานอยูอยางตอเนื่อง

การชุมนุมตอตานอุตสาหกรรมพลังงาน ซึ่งมีความสําคัญและจําเปนตอประเทศชาติทั้งดานความเจริญทางเศรษฐกิจ และความม่ันคงทางดานพลังงาน นั่นเปนเพียงการมองของประชาชนทั่วไปที่ไดประโยชนแตประชาชนในพื้นที่โดยเฉพาะคนรากหญาอาจไมเห็นดวยเพราะผลกระทบที่เกิดจากอุตสาหกรรมตอคนในพื้นที่ ๆ ทําใหคุณภาพชีวิตอาจไมดีข้ึนเม่ืองบประมาณ กําไรจากอุตสาหกรรมพลังไมไดถกูจัดสรรลงไปเยียวยาประชาชนในพื้นที่ใหมีคุณภาพชีวิตใหดีข้ึน การกํากับดูแลมาตราฐานโรงงานอุตสาหกรรมปโตรเคมี ปญหาจราจร ปญหามลพิษอันเนื่องมาจากการขยายตัวของเมืองอุตสาหกรรม ลวนแลวแตเปนผลกระทบตอคุณภาพชีวิตของประชาชนในพื้นที่ทั้งส้ิน ซึ่งปจจุบันรัฐไดพยายามจะทําการประเมินผลกระทบจากโครงการตาง ๆ ที่จะลงสูพื้นที่ถูกกําหนดเปนเงื่อนไขของการดําเนินโครงการ อยางไรก็ตามกระบวนการดังกลาวอาจเปนเพียงข้ันตอนที่กอใหเกิดโครงการซึ่งการรับฟงความคิดเห็นอาจเปนเพียงแคการจัดตั้งแบบสําเร็จประชาชนไมไดมีสวนรวมอยางแทจริง กลายเปนชนวนของการตอตาน

“ขบวนการใหไดมาซึ่งสัมปทาน รัฐบาลประกาศ มีการยื่นซองและจองแปลงสัมปทาน ใหรายละเอียดไปวาจะเจาะกี่หลุมเม่ือไรใชระยะเวลาเทาไร ถาไมทําตามกําหนดจะตองมีการยึดเงินมัดจํา มีการจองและวางมัดจําถาไมทําก็ยึด การจองภายใน 2 ป ก็ทําการเจาะ ซึ่งการเจาะก็เปนการสรางงาน และใหขอมูลไปยังกระทรวงพลังงาน ขอมูลดานพลังงานจะถูกแบงใหทั้งเอกชนผูสัมปทานและรัฐไดขอมูลเพื่อเปนฐานขอมูลพลังงาน แตถาเจอก็จะทําการขุดเจาะในข้ันตอนตอไป ถาคุณเจาะไดขอมูลใหกับรัฐ ถาไมเจาะก็ยึดเงิน ถาเจาะแลวมีน้ํามันก็ขอทําสัมปทานตอ กอนจะทําอะไรทั้งส้ินตองรับฟงความคิดเห็นของประชาชน ผลกระทบดานส่ิงแวดลอม (EIA) ดานสุขภาพ (HIA) ดานสังคม (SIA) สํารวจ เจาะสํารวจ เจาะ ผลิต แตในตางประเทศไมมีกฎหมายแบบนี้ สําหรับในสวนของ ปตท.เราก็ทํา เพราะเปนการกันไวใหไดเปนมาตรฐาน ไมจําเปนตองทําแตปตท. ก็จะทําเพื่อเปนมาตรฐานของปตท. หากตองการเม่ือไรก็จะมีขอมูลได”118 ในเร่ืองของใหสัมปทานนอกจากเร่ืองของรายไดและการจัดสรรรายไดกลับสูทองถิ่น

หรือผูมีสวนไดสวนเสียแลว ยังมีประเด็นตรวจสอบการร้ือถอนและการปดปากหลุม หลังจาก

118ประพันธ จารุไสลพงศ, ผูอํานวยการฝายปฏิบัติการของ ปตท., สัมภาษณ

22 สิงหาคม 2555.

206

ดําเนินกิจการสํารวจหรือขุดเจาะเรียบรอยแลวนั้น ไมมีหนวยงานใดที่จะยืนยันไดวาผูประกอบการไดทําการถูกตองตามหลักการหรือขอกําหนดที่ใหไวหรือไม ดังที่ผูเขารวมรับฟงความคิดเห็นของบริษัท เพิรล ออย ออฟชอร จํากัด เม่ือวันที่ 20 ธันวาคม 2553 ณ องคการบริหารสวนตําบลแสมสาร อําเภอสัตหีบ จังหวัดชลบุรี ซึ่งผูเขารวมเปนชาวประมง ไดเสนอวาในการออกหาปลาของชาวประมง มีหลายคนที่พบวาซากของแทนขุดเจาะ หรือวัสดุอ่ืน ๆ ซึ่งชาวประมงไมทราบวาเปนหนวยงานใด แตผลคือทําใหเรือของชาวประมงเสียหายและหาคนรับผิดชอบไมได เพราะชาวบานไมรูจักผูประกอบการที่ทิ้งซากวัสดุเหลานี้ไว หรือมีการวางเคเบิ้ลใตน้ําตลอดจนอุปกรณตาง ๆ ไมมีการแจงเตือนชาวประมง หรือไตกงเรือ (กัปตัน) ผูที่ใชวิถีชีวิตในทองทะเล เปนตน119 จากเหตุการณที่ชาวประมงเลาใหที่ประชุมฟง สะทอนใหเห็นถึงไมมีหนวยงานใดไปตรวจสอบหลังการดําเนินการขุดเจาะของผูประกอบการที่รับสัมปทาน และไปสอดคลองกับการใหสัมภาษณของ สุรเดช จิรฐิติเจริญ ประธานกรรมาธิการพลังงานของวุฒิสภา ที่กลาววา

“ในประเด็นการติดตามตรวจสอบการทํางานของผูประกอบการหลังการดําเนินการขุดเจาะแลวในทองทะเลนั้น ไมมีหนวยงานที่ทําหนาที่ติดตามตรวจสอบรองรอยอยางเปนรูปธรรม สวนใหญเราตองเชื่อรายงานของผูประกอบการวาเขาจะยึดข้ันตอนการทํางานตามเงื่อนไข ตองยอมรับภาครัฐขาดการตรวจสอบถึงความเปนจริง อยางไรก็ตามนโยบายพลังงานมีความจําเปนอยางมากตอการพัฒนาประเทศ”120

ส่ิงเหลานี้คือปญหาทางดานการส่ือสารและการตรวจสอบเอาจริงเอาจังตอหนวยงานภาครัฐกับการใหสัมปทานภาคเอกชน การส่ือสารนโยบายดานพลังงานสูประชาชน ยังมีชองวางและรายละเอียดในหลายเร่ืองที่สงผลตอประชาชนจริง ๆ เพราะที่ผานมาการส่ือสารนโยบายดานพลังงานจะเนนการส่ือสารเพื่อส่ือใหประชาชนเห็นแตความสําคัญของพลังงานตอระบบเศรษฐกิจในระดับมหภาค หรือเศรษฐกิจระดับชาติในภาคธุรกิจหรือกลุมทุนขนาดใหญ แตยังขาดการเชื่อมโยงกับชุมชนสังคมวัฒนธรรมในระดับทองถิ่น ในระยะหลัง ๆ จึงทําใหเกิดการตอตานในบางพื้นที่ เพราะการส่ือสารที่พยายามจะปกปดขอมูลบางสวน หรือการส่ือสารที่มุ ง เนนการประชาสัมพันธนโยบายมากกวาการใหขอมูลรอบดาน จึงเปนการส่ือสารทางเดียวเปนสวนใหญ

119ผูวิจัยไดรวมสังเกตการณทําประชาพิจารณ บริษัท เพิรล ออย ออฟชอ จํากัด

ที่ดําเนินการโดยบริษัท ไอเอสอีที(ประเทศไทย) จํากัด, 20 ธันวาคม 2553 โรงแรมเดอะไทด รีสอรท จังหวัดชลบุรี.

120สุรเดช จิรฐิติเจริญ, สัมภาษณ 15 มีนาคม 2555.

207

อยางไรก็ตาม ปจจุบันได มีกฎกระทรวงวาดวยการกําหนดเขตปลอดภัยและเคร่ืองหมายในบริเวณที่มีส่ิงติดตั้งและกลอุปกรณที่ใชในการสํารวจและผลิตปโตรเลียม พ.ศ.2555 ไดกําหนดใหบริเวณที่มีส่ิงติดตั้งและกลอุปกรณที่ใชในการเจาะหลุมและทดสอบหลุมปโตรเลียมในทะเล ผูรับสัมปทานตองกําหนดเขตปลอดภัยและจัดใหมีเคร่ืองหมายตามหลักเกณฑ เชน กําหนดเขตปลอดภัยใหมีระยะไมเกิน 500 เมตร จากสวนนอกสุดของส่ิงติดตั้งหรือกลอุปกรณและใหมีการแจงเตือนผูเขาใกลเขตปลอดภัย ติดตั้งโคมไฟสีแดงที่ใหแสงสมํ่าเสมอคงที่ไมกระพริบใหมองเห็นไดรอบทิศและในระยะทางไมนอยกวา 3 ไมลทะเล และผูรับสัมปทานตองรักษาอุปการณแสดงเขตปลอดภัยใหคงสภาพใชการใหไดดีอยูเสมอ121 รายละเอียดดังกฎกระทรวงในภาคผนวก

นอกจากนี้ ส่ิงที่สะทอนกลับอีกประการคือการแบงสรรผลประโยชน ธุรกิจหรือภาคอุตสาหกรรมพลังงานนั้นเกี่ยวของกับทุนจํานวนมาก ผลกําไรจํานวนมาก รัฐไดประโยชนจํานวนมาก เปนเสนเลือดสําคัญของคนไทย แตชาวบานไมเคยรับรูวาประโยชนเหลานั้นไปตกอยูที่ใด แตประชาชนในพื้นที่ที่เปนเมืองอุตสาหกรรมกลับมีคุณภาพชีวิตที่แย เกิดความไมเทาเทียมกัน และโดยจากการสังเกต การพูดถึงเร่ืองการแบงสรรผลประโยชน ไมมีการพูดถึงแมแตในเวทีประชาพิจารณผูประกอบการจะมุงเนนถึงวัตถุประสงคเพื่อสํารวจหาแหลงพลังงาน พูดถึงแตพื้นที่และระยะเวลาดําเนินการ ถาไมทําโครงการจะสงผลตออุตสาหกรรมอยางไร รัฐจะสูญเสียประโยชนอะไรบาง ซึ่งก็เปนเร่ืองของภาคอุตสาหกรรม ไมใชประโยชนของประชาชนอยางแทจริง ในเวทีประชาพิจารณไมสามารถตอบคําถามเร่ืองผลประโยชนไดวาใครไดประโยชนอะไรบาง รัฐไดเทาไร ผูประกอบการไดเทาไร ตางชาติไดเทาไร และถาทําโครงการไปแลวจะสูญเสียอะไรบาง ขอมูลเหลานี้ไมไดถูกนํามาใหชาวบานเปนขอมูลเพื่อตัดสินใจ จึงเปนที่มาของปญหาความขัดแยงในพื้นที่ ดังที่จิรชัย เชาวลิตร นักวิชาการอิสระไดใหขอมูลไววา

“รัฐบาลไมมีความจริงใจตอประชาชนอยางแทจริง ประชาพิจารณพูดแตเ ร่ืองผลกระทบหรือไมอยางไรแตไมพูดกันเร่ืองผลประโยชน โดยพูดคุยเร่ืองเทคนิค ภาษาคนละเร่ืองกับชาวบาน เพราะชาวบานฟงไปไมรูเร่ือง ภาษาวิทยาศาสตร วิศวะ ภาษาเทคนิคการขุดเจาะ คนที่เคยสรางโครงการในอดีตไมวาจะเปนการไฟฟา ก็ดี ปตท.ก็ดี ทุกวันนี้เปนผูบริหารจึงไมงอประชาชน ผูบริหารระดับสูงไมรับรูปญหาเทากับผูปฏิบัติการ เพราะผูปฏิบัติการยุคกอนการประชาพิจารณไมไดทํา

121ราชกิจจานุเบกษา เลมที่ 129 ตอนที่ 73 ก. กฎกระทรวงกําหนดเขตปลอดภัยและ

เคร่ืองหมายในบริเวณที่มีส่ิงติดตั้งและกลอุปกรณที่ ใชในการสํารวจและผลิตปโตรเลียม พ.ศ. 2555, น. 27-31.

208

การประชาพิจารณเปนเร่ืองของประชาชนถูกหลอก เขาจัดเพื่อใหเกิดกระบวนการซึ่งเปนข้ันตอนของการดําเนินการกิจกรรมในการสํารวจ และการขุดเจาะหาพลังงาน เขาพูดเฉพาะวาจะเจาะอยางไร เจาะเม่ือไร แตเร่ืองผลประโยชนไมมีการกลาวถึง ผลประโยชนตกอยูที่บริษัทที่ปรึกษา ผลประโยชนภาครัฐ และผูประกอบการ ในลักษณะกินรวบ ไมกินแบง แลวประชาชนที่อาศัยอยูในพื้นที่ซึ่งเปนผูที่จะตองรับผลกระทบจะยอมรับ สนับสนุนไดอยางไร”122 เชนเดียวกับ จําลอง ผองสุวรรณ ชุมชนมาบยาชาวมาบตาพุดที่ใหขอมูลไวคลาย

กับ จิรชัย เชาวลิตร ในประเด็นเร่ืองผลประโยชนจากนโยบายที่กลับคืนสูพื้นที่ ในระบบสาธารณูปโภค จัดสภาพแวดลอมของชุมชนใหนาอยู และปลอดภัยในขณะที่ผูวิจัยนั่งสัมภาษณอยูนั้นกล่ินเหม็นจะโชยมากับกระแสลมเปนระยะและชวงเวลาสัมภาษณใชเวลาประมาณ 45 นาทีที่โตะหนาบานของจําลอง ผองสุวรรณซึ่งตองทําความสะอาดโดยการเช็ดโตะ 2 คร้ังเพราะ มีฝุนสีดําลอยมาตกลงบนโตะที่นั่งคอนขางมาก

“หากมาบตาพุดเปนเลือดเสนใหญของประเทศไทย และสรางความเจริญใหกับประเทศ มีความสําคัญตออุตสาหกรรม ตอเศรษฐกิจของประเทศ แลวทําไมรัฐบาลไมทําใหคุณภาพชีวิตที่เปนชาวบานคนดั้งเดิมดีกวาที่เปนอยู ดูถนนหนทางก็ไมใชดีอะไร การชดเชยที่ไดรับไมมีความคุมทุน ชาวบานยังลําบาก คาภาษีที่เก็บไปนาจะมาพัฒนาใหชาวบานไดรับความสะดวก จัดวางผังเมืองใหงายตอการจัดการ ทุกวันนี้นิคมอุตสาหกรรมลอมชาวบาน เพราะมีนิคมตั้ง 5 แหง ลมเหนือ ลมใต เรารับมลพิษหมดเลย ไมสามารถหลีกเล่ียงได ความรุนแรงของผลกระทบดานสุขภาพที่ทุกคนไดรับ บอยคร้ังที่นักวิชาการ และส่ือมวลชนเขามาหาขอมูลกอ็ยากใหมาสัมผัสในพื้นที่จริง ๆ และไดขอฝากไปทุกเวทีที่มีการพุดคุย สําหรับประชาชนที่นี่หากเปนไปไดไมขอใหมีโรงงาน”123

จากการวิเคราะหขอมูลดานผลกระทบจากอุตสาหกรรมพลังงาน พบวา นโยบายดานพลังงานสงผลใหเกิดผลกระทบดานส่ิงแวดลอมโดยเฉพาะแหลงน้ํา มลพิษ ที่สงผลถึง สุขภาวะของประชาชน ผลประโยชนจากความโชติชวงชัชวาลไมไดกระจายไปยังประชาชน หรือทองถิ่นอยางแทจริง แตกลับไปอยูกับนักธุรกิจและภาครัฐ นอกจากนี้กระบวนการข้ันตอน

122จิรชัย เชาวลิตร, สัมภาษณ 8 มกราคม 2556. 123จําลอง ผองสุวรรณ, ประธานชุมชนมาบยา, สัมภาษณ 20 กุมภาพันธ 2556.

209

บางอยาง โดยเฉพาะการทําประชาพิจารณกลับกลายเปนชองทาง หรือกระบวนการที่นําไปสูองคประกอบของการดําเนินโครงการแตไมไดนําไปสูการปฏิบัติอยางแทจริง ผลกระทบดานความขดัแยงทางสังคม ผลกระทบดานความขัดแยงเห็นผลเปนรูปธรรมมากที่สุดความขัดแยงที่เกิดข้ึนภาคใต อันเนื่องมาจากกาตอตานโครงการของรัฐบาลที่เกี่ยวกับอุตสาหกรรมปโตรเลียม สวนหนึ่งเพราะเห็นรูปแบบจากจังหวัดระยอง หรือชุมชนมาบตาพุด จังหวัดระยะอง วาผลกระทบอุตสาหกรรมที่สงผลตอส่ิงแวดลอม สุขภาพและสังคมวัฒนธรรมดั้งเดิม โครงการพัฒนาพื้นที่ชายฝงตะวันออก หรืออิสเทิรนซีบอรด กับการพื้นที่ชายฝงทะเลภาคใต หรือเซาเทิรนซีบอรด(Southern Seaboard) โครงการเซาทเทิรนซีบอรดจะมีพัฒนาการและกาวหนาไดชามาก เซาเทิรนซีบอรดเปนโครงการพัฒนาขนาดใหญ หรือ “เมกะโปรเจค” ที่คนไทยไดยินชื่อนี้มานานและไดผลักดันมาหลายรัฐบาล ภายใตโครงการก็จะมีโครงการยอย ๆ ที่เปนองคประกอบหลายโครงการ ซึ่งมีปจจัยหลายดานที่ทําใหการขับเคล่ือนลาชา สวนหนึ่งมาจากปจจัยทางการเมือง และ อีกสวนมาจากปจจัยจากพื้นที่ โดยเฉพาะการคัดคานโครงการที่เกี่ยวกับอุตสาหกรรมพลังงาน ที่จะนําไปสูอุตสาหกรรมปโตรเคมี แผนพัฒนาพื้นที่ชายฝงทะเลภาคใต ประกอบดวย 6 แผนงานหลัก ไดแก

1) สรางเสนทางเศรษฐกิจใหม คือ ถนนหมายเลข 44 ที่กําหนดไว 3 สาย โดยสายแรก คือ สายระนอง-ชุมพร-บางสะพาน สายที่ 2 คือ สงขลา-สตูล และสายที่ 3 คือ กระบี่-ขนอม (นครศรีธรรมราช) ซึ่งสายกระบี-่ขนอม สรางเสร็จตั้งแตป 2546

2) พัฒนาเขตนิคมอุตสาหกรรม แปรรูปสินคาเกษตรครบวงจรบนเสนทางเศรษฐกิจใหม

3) พัฒนาฐานอุตสาหกรรมน้ํามันและปโตรเคมี 4) พัฒนาทาเรือน้ําลึก 5) พัฒนาศูนยกลางใหบริการกระจายสินคาและระบบโลจิสติกส (logistics) ระดับ

โลก ตอนปลายของสะพานเศรษฐกิจทั้งสองฝงทะเล 6) พัฒนาเชื่อมโยงการทองเที่ยวภาคใตในเชิงนิเวศและวัฒนธรรม จากโครงการที่กลาวมาขางตนหลายโครงการถูกชะงักเพราะประชาชนในพื้นที่ไม

ยอมรับ จนกระทั้งรัฐบาลไดจัดทําแผนพัฒนาอุตสาหกรรมปโตรเคมี ระยะที่ 3 (พ.ศ. 2547-2561) ทําใหรัฐบาลมีจุดมุงหมายการขยายพื้นที่อุตสาหกรรมจากมาบตาพุดมาที่ภาคใต มีเปาหมาย

210

ขยายการผลิตใหเพิ่มมากข้ึน และจดักลุมการผลิตปโตรเคมีใหเขมแข็งโดยใชวิธีขยายการผลิตในพื้นที่นิคมอุตสาหกรรมมาบตาพุดเดิม และเสนอพื้นที่สําหรับพัฒนาอุตสาหกรรมปโตรเคมีเพิ่มเติม และมีเปาหมายอยูที่ อําเภอสิชล จังหวัดนครศรีธรรมราช และอําเภอใกลเคียง ซึ่งอยูในพื้นที่แลนดบริดจ และใกลกับถนนสาย 44 (กระบี-่ขนอม)124

โครงการเซาทเทิรนซีบอรด ที่รัฐบาลกําลังขับเคล่ือนมี 3 โครงการสําคัญ กลาว คือ125 1. โครงการกอสรางทาเรือนํ้าลึกปากบาราและโครงการทาเรือนํ้าลึกสงขลา

แหงท่ี 2 โครงการทาเรือน้ําลึกปาบารามีแผนกอสรางทาเรือที่บานปากบารา อําเภอละงู จังหวัดสตูล ขณะที่โครงการทาเรือน้ําลึกแหงที่ 2 มีแผนกอสรางที่บานสวนกง ตําบลนาทับ อําเภอจะนะ จังหวัดสงขลา โดยจะมีโครงการสะพานเศรษฐกิจ หรือแลนบริดจ เปนเสนทางเชื่อมทาเรือน้ําลึกจากสองฝงทะเล เปนโครงขายคมนาคมเต็มรูปแบบ ทั้งถนน เสนทางรถไฟ และระบบทอสงน้ํามัน โครงการนี้ผานการศึกษาและผลักดันมากจากหลายรัฐบาล โดยสภาพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติ (สศช.) ตั้งเปาใหภาคใตเปนทางเลือกในการรองรับการขยายตัว ของอุตสาหกรรมปโตรเคมี โดยนํากาซจากอาวไทยข้ึนมาใชเปนวัตถุดิบในอุตสาหกรรมตอเนื่อง จึงตองพัฒนาระบบ โลจิสติกส ใหเปนศูนยกลางการขนสงสวนภูมิภาค เชื่อมโยงฝงทะเลอันดามันกับฝงอาวไทยตอนลาง ดวยระบบคมนาคมที่ทันสมัยและไดมาตรฐาน แผนการกอสรางทาเรือน้ําลึกชายฝงทะเลอาวไทยตอนลางเพื่อเชื่อมตอกับทาเรือน้ําลึกฝงอันดามันนั้นเปาหมายอยูที่จังหวัดสงขลา เนื่องจากอยูในโซนพัฒนาของกลุมจังหวัดชายแดนประกอบดวย สงขลา ปตตานี ยะลา และนราธิวาส โดยสภาพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติ (สศช) วิเคราะหวาพื้นที่นี้มีโครงสรางพื้นฐานรองรับอยางเพียงพอ ประกอบดวย ทาอากาศยานนานาชาติหาดใหญ ระบบรถ ทาเรือน้ําลึกสงขลาแหงที่ 1 เข่ือนบางลาง โรงแยกกาซจะนะ (เปด 475 ลานลูกบาศกฟุตตอวัน) โรงไฟฟาจะนะ (700 เมกกะวัตต) ศูนยธุรกิจการคาอําเภอหาดใหญ และมีมหาวิทยาลัยถึง 8 แหง อยางไรก็ตามโครงการกอสรางทาเรือน้ําลึกทั้งสองแหงถูกตอตานจากประชาชนในพื้นที่ และองคกรภาค ประชาสังคม โดยเฉพาะโครงการที่บานสวยกง ตําบลนาทับ อําเภอจะนะ เคยผานการจัดสัมมนาระดมความคิดเห็นกันมาแลวหลายคร้ังมีการนําเสนอขอมูล การกัดเซาะของน้ําทะเลบริเวณชายหาดฝงอาวไทย ที่อยูในข้ันวิกฤต เพื่อคัดคานโครงการดังกลาว อยางไรก็ดีภาคเอกชนในพื้นที่ไดใหการสนับสนุนโครงการนี้อยางสุดตัว เพราะเห็นวาถาโครงการสะพานเศรษฐกิจสงขลา-สตูล ไมเกิดข้ึนจะทําใหการพัฒนาเศรษฐกิจในสามจังหวัดชายแดนภาคใต ซึ่งมีปญหาการกอความไม

124ปกรณ พึ่งเนตร, แกะรอยนโยบายสาธารณะเซาทเทิรนซีบอรด, น. 2-3. 125เพิ่งอาง, น. 4-5.

211

สงบอยูในภาวะชะงักงัน โดยเฉพาะโครงการผลักดันใหจังหวัดปตตานีเปนศูนยกลางอุตสาหกรรมอาหารฮาลาลจะเกิดข้ึนไมไดเลย ถาไมมีโครงการสะพานเศรษฐกิจ สงขลา-สตูล

2. โครงการกอสรางโรงไฟฟาถานหิน แผนงานกอสรางทั้งระบบมีจํานวน 8 โรง เพื่อจัดหาไฟฟาปอนใหกับภาคอุตสาหกรรมอยางเพียงพอไมติดขัด พื้นที่สําคัญที่มีแผนจะกอสรางคือ อําเภอสะบายอย จังหวัดสงขลา จํานวน 1 โรง และในจังหวัดนครศรีธรรมราช 2 โรง กรณีที่อยูจังหวัดนครศรีธรรมราชสถานที่กอสรางบริเวณชายฝงทะเลน้ําลึก เพื่อความสะดวกในการขนสงถานหิน ตองมีสายสงไฟฟาแรงสูงและแหลงน้ําขนาดใหญ การคมนาคมสะดวก ปจจุบันมีการสํารวจสถานที่สําหรับกอสราง 2 แหง คือ อําเภอหัวไทร และอําเภอทาศาลา นอกจากโรงไฟฟา ถานหิน ยังมีโรงไฟฟาจากกาซธรรมชาติซึ่งกอสรางและเดินเคร่ืองอยูแลว ที่อําเภอขนอม จังหวัดนครศรีธรรมราช โดยในอําเภอเดียวกันนี้ยังมีโรงแยกกาซธรรมชาติอีกแหงหนึ่งดวย สวนที่อําเภอ สิชล มีความพยายามผลักดันใหกอสรางโรงไฟฟาชีวะมวล แตถูกประชาชนในพื้นที่ตอตาน จนโครงการถูกพักไป

3. โครงการสํารวจขุดเจาะปโตรเลียมในอาวไทย รัฐบาลอนุญาตใหบริษัทขามชาติหลายบริษัทไดสิทธิในการสํารวจบอน้ํามันและแหลงกาซธรรมชาติในทะเล แปลงสํารวจโครงการนี้สวนใหญอยูนอกชายฝง จังหวัดนครศรีธรรมราชและจังหวัดสุราษฎรธานี โดยมีพื้นที่สํารวจหลายพันตารางกิโลเมตร อยางไรก็ดีขอบแปลงสํารวจหลายจุดอยูใกลกับอําเภอเกาะสมุย จังหวัดสุราษฏรธานี และสถานที่ทองเที่ยวทางธรรมชาติที่ข้ึนชื่อ จึงถูกตอตานจากประชาชนในทองถิ่น และผูประกอบการธุรกจิทองเที่ยวในพื้นที่คอนขางรุนแรง นอกจากนี้ยังมีโครงการกอสรางทาเรือและศูนยสนับสนุนการปฏิบัติงานสํารวจและผลิตปโตรเลียมในอาวไทยของบริษัทเชฟรอนประเทศไทยสํารวจและผลิต จํากัด ที่ปากน้ําคลองกลาย บานบางสาน ตําบลกลาย อําเภอ ทาศาลา จังหวัดนครศรีธรรมราช ที่กลาวมาขางตนเปนโครงการหลักที่ถูกวางไวตามแผนพัฒนาพื้นที่ชายฝงทะเลภาคใต ที่รัฐบาลแตละยุคตองการจะเห็นพัฒนาการและความกาวหนา จะทําใหประเทศไทยเพิ่มศักยภาพดานอุตสาหกรรมของไทยมีกาวทันกับสากลและเพิม่มูลคาทางเศรษฐกิจของไทยไดมากยิ่งข้ึน การส่ือสารทางการเมืองเร่ืองอุตสาหกรรมพลังงานในอาวไทย โครงการเซาเทิรนซีบอรด มีผลกระทบเร่ืองความขัดแยงหรือการตอตานโครงการ ตางจากมาบตาพุดที่ผลกระทบสวนใหญเปนปญหาส่ิงแวดลอมที่สงผลตอสุขภาพของประชาชน ปญหาของมาบตาพุดจึงเปนส่ิงที่ประชาชนทางภาคใตหวาดกลัว และความไมชัดเจนของขอมูล ทําใหโครงการหลายโครงการถูกตอตานมาเปนเวลายาวนาน โดยเฉพาะโครงการเกี่ยวกับปโตรเคมี เชน โครงการทอกาซไทย-

212

มาเลเซีย และโรงแยกกาซ และการสํารวจขุดเจาะพลังงานเพราะจะเปนชองทางใหเกิดอุตสาหกรรมหนักในพื้นที่ การตอตานโครงการกอสรางทอสงกาซไทย-มาเลเซีย และการสรางโรงแยกกาซธรรมชาต ิ นับตั้งแตรัฐบาลของนายชวน หลีกภัย ไดหยิบยกโครงการรวมคาไทยกับมาเลเซีย ในพื้นที่เหล่ือมลํ้าเปนพื้นที่พัฒนารวม (Joint Development Area หรือ JDA) ซึ่งเปนโครงการที่เร่ิมตั้งแตสมัยของ พล.อ.เกรียงศักดิ์ ชมะนันท เปนนายกรัฐมนตรี จากนั้นไดเกิดกระแสการตอตานมาโดยตลอด โดยเฉพาะการไมชอบมาพากลในหลายประเด็นที่เปนขอสงสัยและรัฐบาลใหคําตอบไมได ไมวาจะเปนเร่ืองความจําเปนเรงดวนของโครงการ ความไดเปรียบหรือเสียเปรียบกับมาเลเซียในการแบงผลประโยชนกัน และไมมีการรับฟงความคิดเห็นของโครงการที่อาจจะเกิดผลกระทบตอประชาชนในพื้นที่ และขอกังวลของชาวบานที่กลัวพื้นที่ภาคใตที่มีทรัพยากรธรรมชาติ ที่สวยงามจะไดรับผลกระทบจากอุตสาหกรรมปโตรเคมีที่จะตามมาหลังจากโครงการทอกาซและโรงแยกกาซสรางเสร็จ ทําใหภาคประชาชนลุกข้ึนมาเรียกรองใหรัฐบาลทบทวนการผลักดันโครงการดังกลาวอยางตอเนื่อง

โครงการทอสงกาซไทย–มาเลเซียไดรับความเห็นชอบจากคณะรัฐมนตรี (รัฐบาล นายชวน หลีกภัย) เม่ือวันที่ 7 เมษายน 2541 พิจารณาตามที่กระทรวงอุตสาหกรรมเสนอ เร่ือง “ขอความเห็นชอบซื้อกาซธรราชาติจากพื้นที่พัฒนารวม และหลักการรวมทุนระหวาง ปตท. กับ เปโตรนาส ในโครงการทอสงกาซไทย–มาเลเซีย (TTM) และโครงการใชประโยชนกาซในประเทศไทยและมาเลเซีย กอนจะมีมติ ดังนี ้

1. เห็นชอบให ปตท. ซื้อกาซธรรมชาติจากพื้นที่พฒันารวมไทย- มาเลเซีย (เจดีเอ) จากกลุมผูขาย และให ปตท. เขารวมกับเปโตรนาสในฐานะกลุมผูซื้อเพื่อลงนามในขอตกลงหลักการซื้อขายกาซธรรมชาติ (Gas Sale Agreement – Heads of Agreement) กับกลุมผูขายตอไป

2. เห็นชอบในหลักการรวมทุนระหวาง ปตท. กับเปโตรนาส ในโครงการทอสงกาซธรรมชาติ Trans – Thai – Malaysia โครงการโรงแยกกาซ รวมถึงโครงการใชประโยชนกาซในอนาคตในภาคใตตอนลางของไทย และภาคเหนือของมาเลเซีย

3. เห็นชอบในการยกเลิกขอตกลงความรวมมือในบันทึกแสดงเจตจํานง (Memorandum of Intent หรือ MOI) ระหวาง ปตท. กับเปโตรนาส และใหใชขอตกลงตาม Heads of Agreement (HOA) ที่ไดลงนามแลวเม่ือวันที่ 19 กันยายน 2540 แทน

4. เห็นชอบให ปตท. ทําการศึกษารายละเอียดความเหมาะสมของโครงการ ซึ่งจะประกอบดวยการสํารวจแนวทอสงกาซ ที่ตั้งโรงแยกกาซ การศึกษาของเขตความเหมาะสมทาง

213

เทคนิค และการจัดทํารายงานการศึกษาผลกระทบส่ิงแวดลอม (อีไอเอ) การจัดหาแหลงเงินทุน ตามหลักการรวมทุน และนําเสนอ คณะรัฐมนตรีอนุมัติตามลําดับทั้งนี้ ในกรณีที่ ปตท. ไมไดรับการพิจารณาจัดสรรงบลงทุนของรัฐวิสาหกิจตามหลักการของ IMF ให ปตท. พิจารณาหาผูรวมทุนแทนภายใตสิทธิของ ปตท. ตามหลักการรวมทุนตอไปได และใหหนวยงานของรัฐที่เกี่ยวของใหการสนับสนุน ไดแก คณะกรรมการสงเสริมการลงทุน และหนวยงานที่เกี่ยวของกับการวางทอกาซ และกอสรางโรงแยกกาซ

จากนั้นไดมีการบันทึกขอตกลงกันเม่ือวันที ่22 เมษายน 2541 โดยมีนายชวน หลีกภัย นายกรัฐมนตรี และดาโตะศรี ดร.มหาธีร โมฮัมหมัด นายกรัฐมนตรีมาเลเซีย เปนประธานและสักขีพยานในพิธีลงนามขอตกลงเบื้องตนของสัญญาซื้อขายกาซธรรมชาติระหวางผูซื้อและผูขายในพื้นที่พัฒนารวมไทย - มาเลเซีย (เจดีเอ) ที่จังหวัดสงขลา126 จากนั้นเปนตนเกิดกระแสการตอตานโครงการมาโดยตลอด ดังเหตุการณตอไปนี้

วันที่ 14 มีนาคม 2542 นายประสาท มีแตม อาจารยคณะวิทยาศาสตร มหาวิทยาลัย สงขลานครินทร วิทยาเขตหาดใหญ ในฐานะตัวแทน “กลุมศึกษาการใชทรัพยากรธรรมชาติอยางยั่งยืน สงขลา” กลาววา ในโอกาสที่จะครบ 1 ป การลงนามสัญญารวมทุนระหวาง ปตท. กับมาเลเซีย ทางกลุมจะเขายื่นหนังสือตอนายชวน หลีกภัย นายกรัฐมนตรีเรียกรองใหยกเลิกโครงการดังกลาว เนื่องจากประเทศไทยกําลังประสบภาวะวิกฤตเศรษฐกิจ ไมควรจะไปกูเงินตางประเทศจํานวนมหาศาลเพื่อมาลงทุนในโครงการที่ยังไมมีความจําเปนเชนนี้127 สวนนายสนิท กุลเจริญ ประธานคณะกรรมาธิการส่ิงแวดลอม สภาผูแทนราษฎร กลาววา หากมีโรงแยกกาซที่ จังหวัดสงขลา เกรงวาจะเกิดปญหาเชนเดียวกับที่นิคมอุตสาหกรรมมาบตาพุด จังหวัดระยอง ปตท. จึงควรชี้ประเด็นของปญหาและมาตรการปองกันผลกระทบใหชัดเจนเพื่อปองกันปญหาที่จะเกิดข้ึนในอนาคต เพราะปญหาที่มาบตาพุดรัฐบาลไมสามารถแกปญหาผลกระทบตาง ๆ ทั้งส่ิงแวดลอม สังคมวัฒนธรรม และปญหาสุขภาพที่เกิดจากการไดรับผลกระทบจากโครงการ ที่มีตอคุณภาพชีวิตของประชาชนในพื้นที่และสะสมมาเปนเวลานานยากที่จะเยียวยาได128

สถาบันการศึกษาไดออกมาเ รียกรองให รัฐบาลมีการทบทวนและมีการทํา ประชาพิจารณ ศ.น.พ.วันชัย วัฒนศัพท ผอ.สถาบันสันติศึกษา มหาวิทยาลัยขอนแกน กลาววา การที่รัฐบาลอนุมัติให ปตท. เซ็นสัญญากับเปโตรนาสของประเทศมาเลเซีย โดยที่ยังไมมีการทํา

126ผูจัดการ (23 เมษายน 2541). 127ขาวสด (15 มีนาคม 2542). 128มติชน (15 สิงหาคม 2542).

214

ประชาพิจารณ จะทําใหเกิดความขัดแยงในชุมชนและสังคมข้ึน จึงอยากขอรองตอ ปตท. วา แมวารัฐบาลจะอนุมัติแลว ปตท. สามารถชะลอการเซ็นสัญญาออกไปกอนไดหรือไม เพื่อใหมีการพูดคุยกันระหวางผูไดประโยชนและผูไดรับผลกระทบใหเขาใจกอนลงมือดําเนินการจะเปนทางออกใหกับทุกฝาย129 เชนเดียวกับทางมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร วิทยาเขตหาดใหญ ไดมีการประชุมวิชาการระหวางนักวิชาการ องคกรเอกชน และตัวแทนชาวบาน เพื่อทําหนังสือยื่นตอนายชวน หลีกภัย ขณะที่รับประทานอาหารที่สโมสรขาราชการของมหาวิทยา ใหทบทวนมติคณะรัฐมนตรีอีกคร้ัง แตไดรับการยืนยันจากนายชวน หลีกภัย วาโครงการดังกลาวมีมติขณะที่ตนไปตางประเทศแตโครงการนาจะถูกตองและมีประโยชนตอสวนรวม 130

ชาวบานวัดทุงฆอ อําเภอนาหมอม จังหวัดสงขลา ไดสอบถามนายสุพล ทับทิมเจริญ ผูจัดการฝายสังกัดใหญผูจัดการใหญ ปตท.กาซธรรมชาติ ในการเขาชี้แจงโครงการทอกาซและ โรงแยกกาซไทย-มาเลเซีย วาโครงการยังไมอนุมัตใิหกอสราง เพียงแตอนุมัติใหรวมทุนเทานั้น สวนการกอสรางตองศึกษาและทําประชาพิจารณกอน หากไมผานการกอสรางจะไมเกิดข้ึน แตเหตุใดจึงมีเจาหนาที่ของ ปตท. มาปรับสภาพพื้นที่และขุดหลุม พรอมที่จะกอสราง ซึ่งสรางความไมพอใจใหกับชาวบานและเปนส่ิงที่ไมเปนไปตามข้ันตอน ซึ่งควรจะรอผลการประชาพิจารณกอน สะทอนใหเห็นวาไมมีความจริงใจกับชาวบาน131 ขณะที่นางภินันท โชติรสเศรณี รองประธานกลุมอนุรักษกาญจน ยื่นหนังสือถึงประธานกรรมาธิการส่ิงแวดอม สภาผูแทนราษฎร เรียกรองใหทบทวนโครงการทอกาซไทย-มาเลเซีย โดยไดยกตัวอยางความเสียหายจากโครงการทอกาซไทย-พมา ที่จังหวัดกาญจนบุรี เพราะเปนความผิดพลาดในการบริหารงานของรัฐบาล

วันที่ 8 ตุลาคม 2542 กลุมรักษทะเล จังหวัดสงขลา นําโดยนายสุไลมาน หมัดยุโสะ จัดเวทีสาธารณะ เร่ือง “อะไรจะเกิดข้ึนเม่ือมีโรงแยกกาซและอุตสาหกรรมตอเนื่อง” ที่โรงเรียนบานตล่ิงชัน อําเภอจะนะ จังหวัดสงขลา มีนายสุพล ทับทิมจรูญ ผูจัดการฝายสังกัดผูจัดการใหญ ปตท.กาซธรรมชาติ ดูแลกรรมสิทธิ์ที่ดินและส่ิงแวดลอม น.พ.เกรียงศักดิ์ หลิวจันทรพัฒนา นักวิชาการจากมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร นายธีรวัฒน นิยามดวง ตัวแทนชุมชนมาบตาพุด จังหวัดระยอง ผูที่สนใจประมาณ 400 คน และมีตัวแทนจากบริษัท เปโตรนาส เขารวมสังเกตการณ ซึ่ง น.พ.เกียรติศักดิ์ หลิวจันทรพัฒนา กลาววา พื้นที่โครงการเปนของไทยถึง 70% แตทําไมตองแบงผลประโยชนกันคนละคร่ึง และผลกระทบดานส่ิงแวดลอมในรัศมี

129ขาวสด (16 กันยายน 2542). 130มติชน (19 กันยายน 2542). 131มติชน (21 กันยายน 2542).

215

5 กิโลเมตร จากแนวทอกาซ ควรพิจารณาวาคุมกันหรือไม สะทอนใหเห็นความคุมคาดานการลงทุนระหวางไทยกับมาเลเซีย ที่รัฐบาลควรมีการทบทวน132

นายดนัย ดนันติโย ที่ปรึกษาทนายความภาค 9 จังหวัดสงขลา กลาวถึงกรณี นายชวน หลีกภัย นายกรัฐมนตรี จะเดินทางไปเปนสักขีพยานรวมกับนายมหาเธร โมฮัมหมัด นายกรัฐมนตรีของประเทศมาเลเซีย ที่รัฐเคดาห ประเทศมาเลเซีย ในวันที่ 30 ตุลาคม 2542 วา เร่ืองดังกลาวถือวาผิดกฎหมายรัฐธรรมนูญ เพราะกิจการที่กระทบตอส่ิงแวดลอมจะตองผาน การทําประชาพิจารณกอน การทําสัญญาใด ๆ ที่หม่ินเหมตอเร่ืองอาณาเขตของประเทศ เชน การแบงปนผลประโยชนกันคร่ึงตอคร่ึง ควรจะใหรัฐสภาใหความยินยอมตามรัฐธรรมนูญ มาตรา 224 วรรค 2 ตนจึงจะเขาพบนายสัก กอแสงเรือง นายกสภาทนายความ เพื่อเสนอใหสภาทนายความ ลงพื้นที่ชี้แจงตอประชาชน และใหความรูดานกฎหมายตาง ๆ เพื่อใชในการใชสิทธิเรียกรองความชอบธรรมใหชาวบาน ขอสังเกต คือ การทําประชาพิจารณยังไมเสร็จส้ินแตมีการลงนามในสัญญาไดอยางไร133 วันที่ 30 ตุลาคม 2542 นายชวน หลีกภัย นายกรัฐมนตรี พรอมดวยนายสุวัจน ลิปตพัลลภ รัฐมนตรีวาการกระทรวงอุตสาหกรรม ม.ร.ว.สุขุมพันธุ บริพัตร รัฐมนตรีวาการกระทรวงตางประเทศ และเจาหนาที่ระดับสูงของ ปตท. เดินทางไปประเทศมาเลเซีย เพื่อรวมเปนสักขีพยานในการเซ็นสัญญารวมทุนระหวาง ปตท. กับเปโตรนาส ของมาเลเซีย เม่ือ เดินทางมาถึงดานพรมแดนไทย – มาเลเซีย บริเวณบานจังโหลน ตําบลสํานักขาม อําเภอสะเดา จังหวัดสงขลา มีประชาชนจาก 4 อําเภอ ที่ทอกาซพาดผาน รวมทั้งนักศึกษา นักวิชาการและเอ็นจีโอ ประมาณ 500 คน ยืนเขาแถวประทวง และทันทีที่รถของนายกรัฐมนตรีเคล่ือนมาถึงบริเวณชุมชน กลุมผูคัดคานโครงการตางกรูกันเขามาลอมรอบรถยนตของนายกรัฐมนตรี เพื่อจะยื่นหนังสือคัดคาน ทําใหขบวนรถของนายกรัฐมนตรีตกอยูทามกลาง วงลอมของผูชุมนุม เม่ือสถานการณเปนเชนนั้น นายชวน หลีกภัย จึงออกมาจากรถเพื่อรับหนังสือคัดคานจากผูชุมนุมแตถูกโหใส จนตองกลับเขาไปในรถอีกคร้ัง และพยายามเคล่ือนรถไปเร่ือย ๆ แตผูชุมชนก็ยังรุมลอมไปตลอดทาง จนกระทั่งขบวนรถขยับเขาไปในเขตแดนประเทศมาเลเซีย พล.ต.ท.ธีรวุฒิ บุตรศรีภูมิ ผบช.ภ.9 จึงตะโกนบอกผูชุมนุมวาเขาเขตประเทศมาเลเซียแลว ทั้งหมดจึงยอมเลิกรา จากนั้นขบวนรถของนายกรัฐมนตรี มุงหนาไปที่บานพักรับรองที่ทางมาเลเซียจัดไวตอนรับ เพื่อพบกับนายกรัฐมนตรีของมาเลเซียตามกําหนดการ134 และภายหลัง

132มติชน (9 ตุลาคม 2542). 133ขาวสด (28 ตุลาคม 2542). 134เดลินิวส (31 ตุลาคม 2542).

216

การลงนามสัญญา นายชวน หลีกภัย ไดกลาววา โครงการความรวมมือนี้ จะเปนตัวอยางที่ดีใหประเทศอ่ืนทั่วโลกที่มีเขตทับซอนในทะเลนําไปใชเปนแบบอยาง ซึ่งมีอยูหลายประเทศที่จะตองดําเนินการเชนนี้135

หลังจากการลงนามสัญญารวมทุนระหวาง ไทย-เมเลเซีย ประชาชนเร่ิมออกมาตอตานเพราะรัฐบาล โดยเฉพาะนายชวน หลีกภัย เปนนายกรัฐมนตรีที่มาจากภาคใตมีคนใตใหการสนับสนุนแตไมรับฟงความคิดเห็นประชาชน จึงเกิดกลุมตาง ๆ ออกมาตอตานที่มีความรุนแรงข้ึนเร่ือย ๆ

31 ตุลาคม 2542 กลุมองคกรเครือขายคนรักทะเล อําเภอจะนะ จังหวัดสงขลา ออกแถลงการณคัดคานกรณีที่นายชวน หลีกภัย นายกรัฐมนตรี เซ็นสัญญาโครงการทอกาซและโรงแยกกาซไทย – มาเลเซีย ระหวาง ปตท. กับเปโตรนาส ทั้ง ๆ ที่ยังไมไดศึกษาผลกระทบใด ๆ จึงขอเรียกรองใหรัฐบาลยุติโครงการดังกลาว มิฉะนั้นทางกลุมจะรวมตัวกันตอตานโครงการนี้ใหถึงที่สุด ขณะที่นายชวน หลีกภัย ไดกลาวตอบโตในงานสัมมนาพรรคประชาธิปตยภาคอีสาน จังหวัดอุบลราชธานีวา ผูที่ออกมาประทวงไมใชคนในพื้นที่ จึงไมตองเปนหวง เพราะรัฐบาลยึดประโยชนของประชาชนเปนหลัก และโครงการนี้มีการเร่ิมตนมานานแลวตั้งแตสมัยของ พล.อ.เกรียงศักดิ์ ชมะนันท และในรัฐบาลนี้ไดมีความกาวหนาซึ่งนาจะภาคภูมิใจมากกวา136

สหพันธนิสิตนักศึกษา 7 องคกร ประกอบดวย สหพันธนักศึกษาทักษิณ องคการบริหาร องคการนักศึกษา มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร วิทยาเขตปตตานี (มอ.ปตตานี) สภานักศึกษา มอ.ปตตานี พรรคกิจประชา พรรคพิทักษสิทธิ์ พรรคศรีตรัง และชมรมอาสาพัฒนาชนบท มอ. ออกแถลงการณคัดคานโครงการทอกาซไทย – มาเลเซีย โดยระบุวา โครงการดังกลาว ถูกปดบังและบิดเบือนขอมูลโดย ปตท. และรัฐบาล ทั้ง ๆ ที่โครงการยังไมผานการทําประชาพิจารณและการศึกษาผลกระทบส่ิงแวดลอม แตกลับมีการเซ็นสัญญา ซึ่งจะกลายเปน ขอผูกมัดในการกอสราง ทางกลุมจึงขอประณามนายชวน หลีกภัย นายกรัฐมนตรี ที่เซ็นสัญญาโดยไมฟงเสียงประชาชน เปนการดูถูกความคิดประชาชนในพื้นที่137 ชาวบานติดปายผืนผา แผนปาย และโปสเตอรที่กลุมประมงพื้นบาน ตอตานนายชวน หลีกภัย ที่จะเดินทางไปบรรยายที่ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร วิทยาเขตหาดใหญ ซึ่งเจาหนาที่ตํารวจไดเขาไปเก็บปายตาง ๆ และนักศึกษา วิทยาเขตปตตานี เขายื่นหนังสือเรียกรอง 2 ประเด็น คือ เรียกรองใหยกเลิกการทํา

135ขาวสด (31 ตุลาคม 2542). 136ขาวสด (1 พฤศจิกายน 2542). 137มติชน (3 พฤศจิกายน 2542).

217

ประมงปนไฟปลากะตัก และโครงการทอกาซไทย – มาเลเซีย โดยเรียกรองใหขอโทษกรณีที่ใหสัมภาษณวา คนที่คัดคานทอกาซไมใชคนในพื้นที่138

วันที่ 8 พฤศจิกายน 2542 การปโตเลียมแหงประเทศไทย (ปตท.) สงนายวิชัย กุสลานันท หัวหนาหนวยประชาสัมพันธโครงการวางทอสงกาซไทย– มาเลเซีย เขารวมประชุมกับชาวบานหมู 2 – 3 ตําบลปริก อําเภอสะเดา จังหวัดสงขลา ซึ่งเปนพื้นที่ที่ทอกาซจะพาดผาน โดยการรวมประชุมคร้ังนี้ ฝาย ปตท. อางถึงเฉพาะประโยชนของโครงการที่ชาวบานจะไดรับ แตเม่ือชาวบานสอบถามถึงอันตรายที่อาจเกิดข้ึนจากการกอวินาศกรรม เจาหนาที่ ปตท. ก็ชี้แจงวาทอกาซมีความหนามาก การระเบิดหรือกอการรายจะทําใหเกิดความเสียหายเล็กนอย และไมเปนอันตราย แตหากเกิดอันตรายข้ึนในทุกกรณี ก็จะมีเงินจายชดเชยให โดย ปตท. ทําประกันไวแลวถึง 1,200 ลานบาท สวนเครือขายพลเมืองสงขลา นําโดย น.พ.อนันต บุญโสภณ พรอมดวย นายนฤพนธ อ่ินมณี นายณรินทร จุยศุขะ และ น.ส.ศุภวรรณ ชนะสงคราม 3 แกนนําม็อบประมงพื้นบาน และม็อบทอกาซไทย – มาเลเซีย ที่ถูกเจาหนาที่ตํารวจรุมทําราย รวมกันแถลงขาวถึงเหตุการณที่ เกิดข้ึน โดยมีเจาหนาที่ตํารวจนอกเคร่ืองแบบประมาณ 15 นาย มาสังเกตการณ ขณะที่แกนนําที่ถูกทํารายทั้งสามคน ยืนยันวาจะไมดําเนินคดีกับเจาหนาที่ตํารวจ เพราะทราบวาไดรับคําส่ังจากผูบังคับบัญชา และเพื่อไมใหเกิดความขัดแยงตอกัน แตที่รูสึกเสียใจคือขณะเกิดเหตุ พ.ต.อ.ถาวร ภูมิสิงหราช รอง ผบก.ภ.จังหวัดสงขลา ก็ยืนอยูดวย แตไมไดหามปรามผูใตบังคับบัญชา อีกทั้งยังมีพฤติกรรมเหมือนส่ังการ มีการยึดกลอง ใสกุญแจมือ และเตะดวยรองเทาบูต139 การแสดงการตอตานไดเกิดข้ึนอยางตอเนื่อง เร่ิมมีการใชความรุนแรง และจนถึงข้ันมีการปะทะกัน ระหวางตํารวจกับชาวบานเม่ือวันที่ 20 ธันวาคม 2545 จนถึงข้ันตองฟองรองกัน ประชาชนเตรียมยื่นฟองตํารวจตอศาลปกครองเรียกคาเสียหายกวา 2 ลานบาท กรณีตํารวจปะทะชาวบาน 20 ธันวาคม 2545 กลุมชาวบานผูคัดคานโครงการทอกาซไทย – มาเลเซีย นําโดยนางอาริสา หมานหละ แกนนํากลุมคัดคานโครงการทอกาซ พรอมดวยชาวบานกลุมคัดคานและนักศึกษาจากสหพันธนิสิตนักศึกษาแหงประเทศไทย เปดการแถลงขาวกรณี ที่บริษัท ทรานส ไทย-มาเลเซีย จํากัด ตองการจะแลกเปล่ียนในการใชดําเนินโครงการทอกาซไทย – มาเลเซีย วา ชาวบานไมยอมที่จะใหมีการแลกเปล่ียน หรือถอนสิทธิของที่ดินสาธารณประโยชนใหไปเปนของบริษัท ทรานสไทย – มาเลเซียเพราะขัดตอหลักการศาสนาอิสลามที่วาดวยกรณีที่ดินวะกัฟ ซึ่ง

138มติชน (พฤศจิกายน. 2542). 139ขาวสด (9 พฤศจิกายน. 2542).

218

เปนที่ดินที่ไมสามารถแลกเปล่ียนหรือซื้อขายได การกระทําดังกลาวถือวาเปนการหม่ินหลักศาสนา ชาวบานตองการใหตรวจสอบที่ดินทั้งหมดที่แทจริงมีกี่ไรเพราะยังไมมีการสํารวจอยางชัดเจนกอนที่บริษัททรานสไทย – มาเลเซีย กําลังจะโอนไปใชที่ดินดังกลาว และในวันที่ 22 ธันวาคม 2545 นี้สภาทนายความนําโดยนายดนัย อนันตโย พรอมดวยแกนนํากลุมคัดคานโครงการทอกาซ รวมถึงชาวบานที่ไดรับบาดเจ็บและทรัพยสินเสียหายจากเหตุการณปะทะกับเจาหนาที่ตํารวจเม่ือวันที่ 20 ธันวาคม 2545 จะไปยื่นฟองตอศาลปกครอง เพื่อเรียกรองคาเสียหายมูลคากวา 2 ลานบาท ทั้งมีการยืน่อุทธรณตอศาลปกครอง วาตํารวจทําเกินกวาเหตุ แตศาลปกครองยกฟอง โดยอางวาไมเกี่ยวกับคดีทางศาลปกครองแตเปนคดีอาญา140 โครงการทอกาซไทย-มาเลเซีย เปนโครงการที่สงผลกระทบตอประชาชนมายาวนาน อยางไรก็ตามรัฐบาลไดพยายามหาทางแกไขดวยการรับฟงความคิดเห็นมากข้ึน และในที่สุดไดดําเนินการกอสรางสําเร็จและสามารถเดินเคร่ืองไดเม่ือป 2549 ตามมาดวยโรงไฟฟาและโครงการอ่ืน ๆ ที่จะเกิดข้ึนโดยเฉพาะการสํารวจหาแหลงพลังงานอยางตอเนื่อง กรณีการตอตานการสํารวจขุดเจาะพลังงานทางภาคใตในอาวไทย เม่ือวันที่ 14 สิงหาคม 2553 นายรามเนตร ใจกวาง ประธานเครือขายรักษอาวไทย พรอมตัวแทนชาวบานเกาะสมุย เกาะพะงัน เกาะเตา และใกลเคียง จ.สุราษฎรธานี เขายื่นหนังสือคัดคานโครงการขุดเจาะสํารวจน้ํามันหรือปโตรเลียมในพื้นที่อาวไทย บริเวณโดยรอบพื้นที่การทองเที่ยว จ.สุราษฎรธานี ตอนายชวน หลีกภัย ประธานสภาที่ปรึกษา พรรคประชาธิปตย ที่บานพักเลขที่ 168 ถนนวิเศษ ต.ทับเที่ยง อ.เมือง จ.ตรัง โดย นายรามเนตร ใจกวาง กลาววา ตามที่กรมเชื้อเพลิงธรรมชาติ กระทรวงพลังงาน และหนวยงานที่เกี่ยวของ ไดอนุมัติใหขุดเจาะสํารวจปโตรเลียมในพื้นที่โดยรอบแหลงทองเที่ยว เชน เกาะสมุย เกาะพะงัน เกาะเตา และอุทยานแหงชาติ หมูเกาะอางทอง ประกอบดวยแปลงสัมปทานที่ไดขออนุญาตขุดเจาะสํารวจกอนป 2553 ที่เปนของบริษัท เซฟรอนปโตรเลียม (ประเทศไทย) จํากัด และของบริษัท เพิรลออย จํากัด (กลุมอมตะ) นอกจากนั้นยังมีแปลงสัมปทานที่ขออนุญาตขุดเจาะสํารวจใหม ป 2553 ที่อยูในข้ันตอนศึกษาผลกระทบส่ิงแวดลอม (อีไอเอ) และมีหลุมเจาะใกลเกาะสมุย เกาะพะงัน เกาะเตา อีก 2 บริษัท คือ แปลงสัมปทาน B8/38 ของบริษัท ซาลามานเตอร เอนเนอรยี่ จํากัด (บัวหลวง) และของบริษัท นิวคอสตอล (ประเทศไทย) จํากัด ระยะหางจากชายฝงประมาณ 150–200 เมตร ซึ่งเครือขายรักษอาวไทยเห็นวา การอนุมัติใหขุดเจาะสํารวจไปแลว 2 บริษัท คือ บริษัท เพิรล ออยฯ และบริษัท เซฟรอนฯ เปนการอนุมัติโดยไมถูกตองตามเจตนารมณรัฐธรรมนูญ 2550 เพราะ

140กรุงเทพธุรกิจ (22 ธันวาคม 2546).

219

ประชาชนคนในพื้นที่ไมตองการใหขุดเจาะนั้น หากในอนาคตจะสรางความสูญเสียตอความหลากหลายทางชีวภาพ สงผลตอธุรกิจทองเที่ยวและเส่ียงตอผลกระทบจากตะกอน คราบน้ํามัน สงกล่ินเหม็นและของเสียจากการผลิต ที่ผานมาทําหนังสือรองเรียนไปยังนายกรัฐมนตรี และหนวยงานเรียกรองใหทบทวนยกเลิกแปลงสัมปทานแตมิไดมีการตอบรับ141 สอดคลองกับแกนนําชุมชนที่เห็นวาโครงการสํารวจขุดเจาะพลังงานจะทําลายส่ิงแวดลอมและกระทบตออุตสาหกรรมการทองเที่ยวที่เปนแหลงรายไดหลักของชาวบาน หากเปนอุตสาหกรรมพลังงานผลประโยชนจะไมไดตกอยูที่ชาวบานและจะเปนของนักธุรกิจ หรืออุตสาหกรรมขนาดใหญ เม่ือวันที่ 16 สิงหาคม 2553 ผูส่ือขาวรายงานความคืบหนาการคัดคานโครงการสํารวจและขุดเจาะน้ํามันในอาวไทย หางจากเกาะสมุย 42 กิโลเมตร จากเกาะพะงัน 65 กิโลเมตร ซึ่งกอนหนานี้ไดมีการระดมผูคัดคาน 5 หม่ืนคน จับมือลอมรอบเกาะสมุยเพื่อเปนสัญลักษณในการคัดคาน การยื่นหนังสือถึงนายชวน หลีกภัย ประธานสภาที่ปรึกษาพรรคประชาธิปตยมาแลวนั้น ลาสุดทางเครือขายรักษอาวไทยไดกระจายไปยังแหลงทองเที่ยวที่เปนหมูเกาะ และพื้นที่ใกลเคียงที่คาดวาจะไดรับผลกระทบเพื่อใหขอมูลกับชาวบานอยางตอเนื่อง โดยเฉพาะในพื้นที่ อ.เกาะพะงัน นายประสพ ทวยเจริญ ประธานชมรมกํานันผูใหญบานอําเภอเกาะพะงัน และประธานเครือขายรักษอาวไทยเกาะพะงัน พรอมดวยนายก อบต. กํานัน ผูใหญบาน และผูประกอบการทองเที่ยว ไดตระเวนใชรถยนตติดเคร่ืองกระจายเสียงออกประชาสัมพันธ และแจกใบปลิว รณรงคตอตานโครงการขุดเจาะสํารวจปโตรเลียมในอาวไทย บริเวณรอบเกาะพะงัน เพื่อเปนการแสดงออกในการรวมพลังตอตานโครงการดังกลาว142 นอกจากนี้ชมรมกํานันผูใหญบานอําเภอเกาะพะงัน จะรวมกับเครือขายรักษอาวไทย จัดเวทีปราศรัยในวันที่ 28 สิงหาคม ที่ลานเอนกประสงคทําทาเทียบเรือทองศาลา และจะมีการรวมพลังประสานมือคัดคานคร้ังใหญในวันที่ 29 สิงหาคม โดยจะมีชาวบานจาก อําเภอเกาะสมุย และกลุมตาง ๆ ไปสมทบไมนอยกวาการแสดงพลังที่เกาะสมุย ดานนายพงศ สองเมือง กํานันตําบลเกาะพะงัน กลาววา จะเชิญชวนชาวบานในพื้นที่ทั้ง 17 หมูบาน มารับฟงการปราศรัยเพื่อใหความรูความเขาใจถึงผลกระทบที่จะเกิดข้ึนจากการขุดเจาะน้ํามัน ที่อาจสรางความเสียหายตอสภาพแวดลอมทางธรรมชาต ิ นายประสพ ทวยเจริญ ประธานเครือขายรักษอาวไทยเกาะพะ

141มติชน (15 สิงหาคม 2553). 142คมชัดลึก (17 สิงหาคม 2553).

220

งัน กลาววา ชมรมกํานันผูใหญบานอําเภอเกาะพะงัน ตองการเรียกรองใหรัฐบาลยกเลิกการใหสัมปทานแกบริษัทจุดเจาะน้ํามันในอาวไทย เพื่อไมใหกระทบการทองเที่ยว ดานนักวิชาการส่ิงแวดลอมรายหนึ่งในมหาวิทยาลัยราชภัฎสุราษฎรธานี ระบุวา หากมองถึงผลกระทบทางส่ิงแวดลอมตอการขุดสํารวจขุดเจาะน้ํามัน จะตองมีผลกระทบเกิดข้ึนอยูแลว แมจะมีการวางระบบเปนอยางดี ยกตัวอยางประเทศที่เจริญแลวทางยุโรป อเมริกา ก็ยังมีปญหาเกี่ยวกับเร่ืองอุตสาหกรรมน้ํามันในขณะที่ประเทศไทยเองกฎหมายไมได เขมแข็งเทาที่ควรเชื่อไดวาเปอรเซ็นตที่มีปญหาจะตองตามมาแน143 ผลกระทบดานการทําประชาพิจารณ ผลกระทบจากการทําประชาพิจารณ คือ การรับฟงความเห็นของประชาชนตอผลกระทบจากโครงการของรัฐ การดําเนินการอุตสาหกรรมดานพลังงานมีเงื่อนไขตามกฎหมายรัฐธรรมนูญที่จะตองมีการประเมินผลกระทบกอนที่จะดําเนินการ ทั้งดาน ผลกระทบดานส่ิงแวดลอม สังคมและวัฒนธรรม และดานสุขภาวะ ซึ่งกอนรัฐธรรมนูญป 2540 และรัฐธรรมนูญ ป 2550 นั้นกระบวนการประชาพิจารณยังไมมีเปนรูปธรรมและยังไมเปนการมีสวนรวมของประชาชนอยางแทจริง กลาวคือ ผูมีสวนไดสวนเสียไมไดเขารวมแสดงความคิดเห็นเทาที่ควร ทําใหขอมูลการประเมินผลกระทบไมสอดคลองกับปญหาที่เปนจริงของคนในพื้นที่ ดังนั้นการทําประชาพิจารณจากโครงการพลังงานที่ผูวิจัยไดวิเคราะหขอมูลจากการรายงานผลการรับฟงความคิดเห็นของประชาชานตอโครงการดานพลังงานในอาวไทย ที่ไดจาก สํานักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและส่ิงแวดลอม กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและส่ิงแวดลอม จํานวน 6 โครงการ และที่ผูวิจัยไดเขาไปมีสวนรวมสังเกตการณในเวทีการรับฟงความคิดเห็น พอจะสรุปผลกระทบจากการทําประชาพิจารณไดดังตอไปนี้ โครงการทอกาซธรรมชาติไทย-มาเลเซีย ของบริษัท ทรานสไทย-มาเลเซีย (ประเทศไทย) จํากัด ทําการศึกษาผลกระทบส่ิงแวดลอม โดยมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร เปนผูดําเนินการ และมีพื้นที่ดําเนินโครงการ ประกอบไปดวย อําเภอจะนะ อําเภอนาหมอม อําเภอหาดใหญ และอําเภอสะเดา จังหวัดสงขลา โครงการนี้เปนโครงการที่อยูในความสนใจของประชาชนเพราะมีการตอตาน ทักทวง จากประชาชนมาโดยตลอด โดยเฉพาะการลงนามในสัญญารวมทุนระหวาง ปตท. กับบริษัท เปโตนาส ของประเทศมาเลเซีย สะทอนใหเห็นถึงความไม

143คมชัดลึก (17 สิงหาคม 2553).

221

จริงใจของรัฐนายบาลชวน หลีกภัย ขณะนั้น ขอเรียกรองตาง ๆ ที่ปรากฏตามขาวส่ือมวลชน จึงมีการทําประชาพิจารณตามมาในภายหลัง และมีขาวเกี่ยวกับการทําประชาพิจารณคือ พรรคประชาธิปตยจัดงานเล้ียงตรงกับการทําประชาพิจารณทอกาซไทยมาเลเซีย ที่เทศบาลนครหาดใหญ และมีการสงหนังสือเชิญสมาชิกเขารวมงาน มีการหารถรับสงถึงบาน มีการเกณฑชาวบานมาใหมากเพื่อใหการทําประชาพิจารณเกิดความชอบธรรม จนทําใหชาวบานบางสวนรูทนัและออกมาโวยวายที่ถูกอางชื่อหนุนทอกาซไทย-มาเลเซีย และยังมีบางคนที่ไมมีชื่ออยูในจังหวัดสงขลาก็ยังมีชื่อปรากฏในการเขารวมประชาพิจารณ หรือกรณีของนางโสภี แกวเดิม ชาวบานนาหมอม เปนใบไมสามารถพูดไดก็ยังมีชื่อรวมเปนผูแสดงความเห็นในการประชาพิจารณทั้งที่เจาตัวไมเคยรับทราบเร่ืองดังกลาว ยังมีกรณีของนายประเสริฐ หอเพ็ชร และนางดาวเรือง หอเพ็ชร สองสามีภรรยาที่กลาววาไมเคยรวมลงชื่อการประชาพิจารณ เพราะสวนตัวคือฝายตอตานโครงการมาตลอด แตกลับมีชื่อปรากฏในรายชื่อผูเขารวมประชาพิจารณ นับเปนการแอบอางรายชื่ออยางนาเกลียด นอกจากนี้ยังมีอีกหลายรายที่มีชื่อไปปรากฏเพื่อใหไดจํานวนผูเขารวมประชุมที่นาเชื่อถือ144 นอกจากนี้ นพ.อนันต บุญโสภณ เครือขายพลเมืองสงขลา แกนนําในการคัดคานโครงการ ถูกขมขูดวยการวางพวงหรีดไวหนาบาน ทําใหชาวบานที่เขาใหกําลังใจและบอกใหตอสูตอไป นายพินิจ อินอุทัย แกนนําชาวบานทุงฆอ อําเภอนาหมอม จังหวัดสงขลา ไดใหขอมูลกับหนังสือพิมพขาวสดถึงกรณี นพ.อนันต บุญโสภณ ถูกขมขูวา

“ที่ผานมาโครงการใหญเม่ือเกิดปญหากับชาวบานผูดําเนินโครงการมักจะใชวิธีการสรางความไมชอบธรรมใหกับชาวบานดวยวิธีการตาง ๆ เชน สรางความแตกแยก การหวานผลประโยชน ทําใหเกิดความรุนแรง หรือเกิดการกระทบกระทั่งและใชวิธีการทางกฎหมาย สวนการทําประชาพิจารณที่เกิดข้ึน ถาม ปตท. วาทําถูกตองตามรัฐธรรมนูญ 2540 มาตรา 56 หรือ มาตรา 59 หรือไม ซึ่ง ปตท. ตอบวาทําถูกตองตามระเบียบสํานักนายกรัฐมนตรี ป 2539 เม่ือตอบมาเชนนี้ถือวาคงจะพูดกันไมรูเร่ืองเพราะถามอยางตอบอยาง เหมือนกับที่ ปตท. มีเจตนาอําพราง เชนมีโครงการไปแลวแตมาทําประชาพิจารณในภายหลัง”145 กลุมศึกษาการใชทรัพยากรธรรมชาติอยางยั้งยืน ทําจดหมายเปดผนึกถึงนายชวน หลีกภัย นายกรัฐมนตรี กรณี การวางพวงหรีดขมขู นพ.อนันต บุญโสภณ โดยระบุ

144ขาวสด (25 กรกฎาคม 2543). 145นายพินิจ อินอุทัย, บทสัมภาษณในขาวสด, 25 กรกฎาคม 2543.

222

วาจากกรณีนพ.อนันต บุญโสภณ ราษฎรอาวุโสของจังหวัดสงขลา และนักเคล่ือนไหวตอตานทอกาซ และโรงแยกกาซไทย-มาเลเซีย ไดรับหรีดดําที่บานพักเม่ือเชาตรูของวันที่ 21 กรกฎาคม 2543 นับวาเปนการขมขูประชาชนซึ่งเปนฝายที่ไมเห็นดวย กับโครงการที่ริเร่ิมโดยภาครัฐ เหตุการณที่เกิดข้ึนสอดรับกับโครงการประชาพิจารณที่จะมีข้ึนในวันที่ 29-30 กรกฎาคม 2543 นอกจากนี้ยังขอใหทบทวนการใชทหารทําการประชาสัมพันธทอสงกาซและโรงแยกกาซไทย-มาเลเซีย อีกทั้ง นพ.อนันต บุญโสภณ ไดเปนวิทยากรรวมในการสัมมนาเร่ือง “ทอกาซและโรงแยกกาซไทย-มาเลเซีย ใครไดใครเสีย” จัดโดยสภาอาจารยมหาวิทยาลัย สงขลานครินทร เม่ือวันที่ 19 กรกฎาคม 2543 หลังจากนั้นเพียงวันเดียวก็ไดรับพวงหรีดจากผูไมหวังดี146

ประเด็นการสรางความขัดแยงในการดําเนินโครงการอันเนื่องมาจากโครงการทอกาซไทย-มาเลเซีย เกิดจากการใหขอมูลจากรัฐบาล และ ปทต. ไมมีความชัดเจน โดยเฉพาะในประเด็นดังตอไปนี้ 1. ขอสงสัยเร่ืองผลประโยชนของประเทศ การซื้อขายกาซคร้ังนี้เปนประโยชนกับประเทศจริงหรือ เพราะขณะนั้นประเทศไทยยังไมมีความตองการใชกาซธรรมชาติจากแหลงจีดีเอ ดังจะเห็นไดจากสัญญาที่วาในชวง 5-6 ปแรก มาเลเซียไดรับผลประโยชนจากกาซทั้งหมด 2. ขอสงสัยเร่ืองการแบงผลประโยชนปโตรเลียมในการรวมพัฒนาพื้นที่เหล่ือมลํ้าเปนพื้นที่พัฒนารวม (จีดีเอ) แบบแบง 50:50 อาจไมเปนธรรมเพราะพื้นที่จีดีเอ อยูในเขตประเทศไทยเปนสวนใหญ ควรแบงผลประโยชนไทย 70% และมาเลเซีย 30% 3. ขอสงสัยเร่ืองการจัดทําประชาพิจารณ การซื้อขายกาซและการรวมทุนโครงการทอสงกาซ และโรงแยกกาซไทย-มาเลเซีย ดําเนินการโดยไมมีการจัดทําประชาพิจารณ ไมยอมใหประชาชนมีสวนรวม ซึ่งคําตอบในประเด็นขอสงสัยดังกลาวไมสรางความชัดเจนใหกับประชาชน อีกทั้งยังเปนการสวนทางกับการกระทํา เปนการอธิบายแบบตีสํานวนชวนใหนารําคาญ เชน “การซื้อขายกาซเปนการซื้อขายสินคาไมใชโครงการจึงไมตองทําประชาพิจารณ” หรือ “การลงนามไมเกี่ยวกับการทําประชาพิจารณวางทอแตเปนการซื้อขายกาซ” หรือกรณีที่ถูกชาวบานถามวา เม่ือมีการซื้อขายกันอยางนี้แลว แสดงวาอยางไรก็ตองทําโครงการนี้ใชหรือไม คําตอบจากนายกรัฐมนตรี คือ

146นายพินิจ อินอุทัย, บทสัมภาษณในขาวสด, 25 กรกฎาคม 2543.

223

“ไมใช ถาทําประชาพิจารณแลวไมไดรับการอนุมัติการเซ็นสัญญาก็ไมเปนผล”147 คําถามและคําตอบเหลานี้สรางความสับสนใหกับประชาชน โดยเฉพาะประชาชนที่อยูในพื้นที่แนววางทอกาซไมสามารถไดความกระจาง และไมทราบวาประโยชนที่จะเกิดข้ึนในพื้นที่มีอะไรบาง ส่ิงเหลานี้กลายเปนผลกระทบที่เกิดข้ึนและทําใหการทําประชาพิจารณมีปญหาอยางตอเนื่อง

ผลจากการเขารวมสังเกตการณในเวทีการทําประชาพิจารณ ของผูวิจัยโครงการเจาะสํารวจปโตรเลียม (ระยะที่ 2) ของบริษัท เพิรล ออย (อาวไทย) จํากัด แปลงสํารวจหมายเลข G3/48 บริษัท เชฟรอน จํากัด และโครงการเจาะสํารวจปโตรเลียมแปลงสํารวจในทะเลอาวไทย หมายเลข G5/43 และโครงการผลิตปโตรเลียมในพื้นที่ผลิตบัวบาน (สวนขยาย) บริษัท ซีอีซี อินเตอรเนชั่นแนลลิมิเตด (ประเทศไทย) จากขอสังเกตการดําเนินกิจกรรมพบประเด็นที่นาสนใจคือ

ผูเขารวมประชุมรับฟงความคิดเห็น สวนใหญเปนประชาชนที่ไดรับการประสานงานจากหนวยงานภาครัฐเชิญเขารวม เชน พลังงานจังหวัด อุตสาหกรรมจังหวัด หอการคาจังหวัด องคการบริหารสวนทองถิ่น กองทัพเรือ ผูวาราชการจังหวัด หรือรองผูวาราชการจังหวัด เปนประธานในการประชุม เปนตน ทําใหตัวแทนของประชาชนอาจไมเปนตัวแทนที่เปนผูมีสวนไดเสียอยางแทจริง เพราะเปนแกนนําที่มาจากสายการทํางานกับสวนราชการ ไมกลาที่จะแสดงความคิดเห็นอยางตรงไปตรงมา และมีแนวคิดในการสนับสนุนโครงการหรืออาจไดรับผลประโยชนจากโครงการ บุคคลเหลานี้จะมีหนังสือเชิญเขาประชุมจากบริษัทที่ปรึกษาการศึกษาผลกระทบ

การรับฟงความคิดเห็น กระบวนการดําเนินงานสวนใหญเปนการรับฟงการอธิบายการดําเนินการ หรือชี้แจงผลการศึกษาของบริษัทที่ปรึกษาวาไมมีผลกระทบที่มีนัยสําคัญอะไรตอส่ิงแวดลอม ในลักษณะของการชี้นํามากกวาการรับฟงการวิพากษวิจารณ นอกจากนี้ยังใชคําศัพททางวิชาการ หรือศัพทเทคนิค ในการส่ือสารอาจทําใหผูเขารวมแมจะเปนผูนําขององคกรก็ตามยังอาจไมเขาใจถึงความหมายที่แทจริง สอดคลองกับความคิดเห็นของผูวาราชการจังหวัดระยอง

ประชาพิจารณเปนการฟงความคิดเห็นวาแตไมใชมติ การทําประชาพิจารณ โดย หลักของประชาพิจารณเปนหลักการที่ดีแตใชในประเทศไทยกลับกลายเปนเอามาเปนการลงมติวาผานไมผาน ประชาพิจารณเปนการใหขอมูล ใหความรูตอประเด็นนั้น ๆ เขาไปฟงและเลือกส่ิงที่ไปดวยกันได การทําประชาพิจารณตอไปตองมีขอกําหนดวาไมมีผลทําใหเกิดการเปล่ียนแปลง หรือกอใหเกิดการขัดแยง ใหเปน

147มติชน (6 พฤศจิกายน 2542).

224

ประโยชนตอการศึกษา ไมใชประโยชนทางการเมือง หรือประโยชนอยางใดอยางหนึง่ รับเงินมาทําและจงทําความเขาใจประชาพิจารณ กับประชามติ อยาสับสน ความจริงเวทีประชาพิจารณสามารถใชชองทางไดหลายทาง เชน โทรศัพทมาแสดงความคิดเห็นก็ได แตปจจุบันเปนการส่ือสารถึงแคตัวแทนขอมูลไปไมถึงชาวบานจริง ตอไปชุมชนหรือหมูบานจะตองมีอนุยาโตตุลาการ หาคนที่มีองคกรเพื่อชุมชนหันมาเปนตัวแทน ที่สามารถตัดสินใจแทนชุมชน เปนคนที่เปนผูนําทางความคิด เปนตัวแทนของชาวบานจริง ๆ มารวมประชาพิจารณ”148

การทําประชาพิจารณเปนในลักษณะของการใหขอมูลที่ผูดําเนินการตองการจะเปดเผย แตมีขอมูลที่ผูเขารวมประชาพิจารณตองการรูบริษัทที่ปรึกษาที่ดําเนินการจัดการไมสามารถใหขอมูลที่ผูเขารวมรับฟงได ดังเชน กรณีที่ผูวิจัยในฐานะที่เขารวมสังเกตการณไดสอบถามถึง กรณีหลังจากขุดเจาะสํารวจ หรือผลิตแลว มีการเก็บวัสดุอุปกรณและมีการปดปากหลุมอยางไร ใครจะเปนผูตรวจสอบวามีการเก็บวัสดุและปดปากหลุมขุดเจาะถูกตองตามเงื่อนไขที่ใหไวหรือไมอยางไร ซึ่งใหขอมูลตอบวาไมมีหนวยงานรับผิดชอบโดยตรง สะทอนใหเห็นวาการดําเนินงานของผูประกอบการ และหนวยงานของรัฐที่รับผิดชอบยังมีชองวางที่จะทําใหเกิดขอผิดพลาดซึ่งอาจจะสงผลกระทบตอวิถีชีวิตของประชาชนในพื้นที่ได หรือกรณีที่มีการถามถึงในสภาพความเปนจริงขณะที่ทําประชาพิจารณอยูนั้น สภาพของโครงการไดดําเนินการไปแลวหรือไม ซึ่งผูใหขอมูลมิอาจตอบคําถามเหลานี้ได สอดคลองกับจเร ปานเหลือ ที่กลาววาผูประกอบการบางสวนไดทําการสํารวจไปกอนที่จะทําประชาพิจารณ 149 การทําประชาพิจารณจึงเปนกระบวนการของการทํารายงานใหโครงการไดรับความเห็นชอบ

“การดําเนินการเร่ืองพลังงานของภาครัฐมีแนวทางการส่ือสารอยางไร มันมีขอมูลรอบดานหรือไม สวนใหญขอมูลไมชัดเจนทําประชาพิจารณก็ทําแบบหยาบ ๆ ภาพรวมถาพูดถึงเร่ืองพลังงานรัฐบาลจะหยุดก็เปนเร่ืองยาก เพราะมันเปนเร่ืองที่ทํามากอนแลว ระยะหลัง กรณีที่เกาะสมุย การสัมปทานและมีปญหาเพราะภาครัฐและผูประกอบการไมสามารถใหขอมูลได เชนมีประเด็นการสอบถามใน 3 เร่ือง คือ 1. ระยะทางหางเทาไรก็ไมสามารถใหคําตอบได 2. เวลาทําวิจารณตองใหชาวบานไดรับทราบขอมูล 3. แนวทางการปองกันความเสียหายที่จะเกิดข้ึน มีอะไรบางตองส่ือสารและตอบคําถามใหกับชาวบานได ที่มันมีปญหาที่สมุยเพราะภาครัฐก็ตอบ

148นายเสนีย จิตตเกษม, ผูวาราชการจังหวัดระยอง, สัมภาษณ 1 ตุลาคม 2555. 149จเร ปานเหลือ, สัมภาษณ 1 มกราคม 2556.

225

ไมได การเจาะหรือการดูด การส่ือสารตองทําอยางไร วิธีการแกปญหาความขัดแยง คือ การเจรจา ทุกปญหาตองมีการเจรจากัน เพื่อหาทางออก การทําประชาพิจารณ คือ ความคิดเห็น ไมใชมติ หรือขอยุติ แตบริษัทผูประกอบการเขาใจวามันคือมติ”150 สถานท่ีในการทําประชาพิจารณ สวนใหญจะดําเนินการที่โรงแรม หรือสถานที่

ราชการ ซึ่งเปนพื้นที่ปด ที่ประชาชนโดยทั่วไปที่ไมไดรับเชิญเขารวมไมได โดยเฉพาะประชาชนที่อยูในพื้นที่ดําเนินการของโครงการจริง ๆ อาจจะไมทราบวามีการทําประชาพิจารณโครงการ เพราะสถานที่จัดประชาพิจารณไมไดอยูในพื้นที่ดําเนินการ เชน กรณีโครงการเจาะสํารวจปโตรเลียมในทะเล ของบริษัท เพิรล ออย ออฟซอร จํากัด มีพื้นที่ดําเนินการที่ทะเลอาวไทย ใกลพื้นที่จังหวัดประจวบคีรีขันธ แตกลับมาทําประชาพิจารณที่โรงแรมเดอะไทด รีสอรท จังหวัดชลบุรี ซึ่งเปนไปไดยากที่ชาวจังหวัดประจวบคีรีขันธจะเดินทางมารวมใหขอมูลที่เวทีประชาพิจารณ151

กระบวนการทําประชาพิจารณในเวทีเปด กลาวคือ เวทีในพื้นที่ดําเนินโครงการ พบวา มีการสรางกระบวนการกอนการทําประชาพิจารณที่มีแบบแผนไวลวงหนา ซึ่งผูวิจัยไดรวมดําเนินการทําประชาพิจารณ โดยใหผูที่อยูในพื้นที่เขาไปทํางานในบริษัทผูประกอบการ เชนกรณี บริษัท ซีอีซี อินเตอรเนชั่นแนลลิมิเตด (ประเทศไทย) จํากัด เดิมคือ บริษัท นิวคอสตอล (ประเทศไทย) จํากัด ที่เคยถูกตอตานจากประชาชนมากอน และไดเปล่ียนชื่อภายหลัง เพื่อใหประชาชนที่อยูในพื้นที่เห็นประโยชนในการสรางงานใหกับลูกหลาน และลดความขัดแยง ไมตอตานโครงการที่จะเขามาดําเนินการ ชี้นําใหเห็นวาประชาชนเปนสวนหนึ่งของบริษัท หรือหากมีการคัดคานจะทําใหลูกหลานไดรับผลกระทบตอความม่ันคงดานการงาน เม่ือถึงเวลาทําประชาพิจารณทางผูประกอบการมีการสนับสนุนงบประมาณในการจัดกิจกรรม เพื่อใหเกิดการแบงปน เชน สนับสนุนทางการเงินไปกับผูนําเพื่อไปจัดสรรในลักษณะของผลกําไรสหกรณหมูบาน ซึ่งชาวบานจะมารวมตัวรวมลงชื่อกันในวันทําประชาพิจารณ บริษัทที่ปรึกษา จัดเจาหนาที่ลงไปใหคําชี้นําโครงการ และตอบแบบสอบถามเพื่อแสดงความคิดเห็นตอโครงการ ซึ่งแบบสอบถามแบง ออกเปน 2 ชุด

150รามเนตร ใจกวาง, ประธานกลุมรักษอาวไทย/นายกเทศมนตรีเกาะสมุย,

สัมภาษณ 3 พฤศจิกายน 2555. 151ผูวิจัยไดรวมสังเกตการณทําประชาพิจารณ บริษัท เพิรล ออย ออฟชอ จํากัด ที่

ดําเนินการโดยบริษัท ไอเอสอีที (ประเทศไทย) จํากัด , 17 ธันวาคม 2553 โรงแรมเดอะไทด รีสอรท จังหวัดชลบุรี.

226

เพื่อใชเก็บรวบรวมขอมูล 2 คร้ัง (คร้ังที่ 1 และ คร้ังที่ 2) แตการทําประชาพิจารณคร้ังนั้นใหประชาชนตอบพรอมกันทั้งสองคร้ัง

นอกจากนี้ ยังพบวาการทําประชาพิจารณไดกลายเปน เค ร่ืองมือเพื่อ เปนสวนประกอบของดําเนินโครงการของผูประกอบ เนื่องจากผูดําเนินการทําประชาพิจารณเปนบริษทัที่ผูประกอบการจางมาใหดําเนินการจัดกิจรรมรับฟงความคิดเห็นทั้งในเร่ืองของทําประชาพิจารณ การเก็บรวบรวมขอมูลดวยแบบสอบถาม หรือสัมภาษณ และวิเคราะหขอมูลจากเอกสารของหนวยงานตาง ๆ ซึ่งประชาพิจารณเปนเพียงข้ันตอนแตไมไดใหความสําคัญกับขอมูลจากคนทกุหมูเหลาของผูมีสวนไดเสีย ดังที่ จิรชัย เชาวลิต นักวิชาการอิสระ ไดสะทอนการทําประชาพิจารณ ไววา

“ประชาพิจารณเปนเร่ืองที่ประชาชนถูกหลอก จัดเพื่อใหเกิดกระบวนการ เพราะเปนข้ันตอนหนึ่งของการดําเนินกิจรรมโครงการ สวนใหญเนื้อหาจะพูดถึงความเปนมาโครงการ พื้นที่ดําเนินการ พูดวิธีการเจาะสํารวจ ระยะเวลาในการดําเนินโครงการ แตไมพูดถึงผลกระทบจากโครงการ หรือประโยชนที่เกิดกับประชาชนมีอะไรบางไมมีการกลาวถึง”152 ผลจากการวิเคราะหขอมูลจากรายการผลกระทบส่ิงแวดลอม ผูวิจัยการวิเคราะห

รายงานผลการประเมินผลกระทบส่ิงแวดลอม จากสํานักนโยบายและแผนธรรมชาติและส่ิงแวดลอม กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและส่ิงแวดลอม ซึ่งเปนหนวยงานที่มีบทบาทในการกํากับและติดตามการประเมินผลกระทบส่ิงแวดลอมของผูประกอบการอุตสาหกรรมดานพลังงาน จํานวน 6 โครงการ ประกอบดวย ดังนี้

1. โครงการเจาะสํารวจปโตรเลียมในทะเล (ระยะที่ 2) ของบริษัทเพิรล ออย ออฟซอร จํากัด แปลงสํารวจ หมายเลข G2/48 ทําการศึกษาโดย บริษัท ไอเอสอีท ี(ประเทศไทย) จํากัด สงรายงานวันที่ 1 กันยายน 2554

2. โครงการทอสงกาซไทย-มาเลเซีย ของบริษัท ทรานสไทย-มาเลเซีย (ประเทศไทยจํากัด) จํากัด ทําการศึกษาโดยมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร สงรายงานวันที่ 10 มกราคม 2545

3. โครงการพัฒนากาซธรรมชาติแหลงปลาทอง ระยะที่ 2 ของบริษัท เชฟรอน ประเทศไทย สํารวจและผลิต จํากัด ดําเนินการโดยบริษัท ยูไนเต็ดแอนนาลิสตแอนดเอ็นจิเนียร่ิง คอนซัลแตนท จํากัด สงรายงานวันที่ 29 มกราคม 2552

152จิรชัย เชาวลิต, สัมภาษณ 8 มกราคม 2556.

227

4. โรงแยกกาซธรรมชาติ หนวยที่ 4 ตําบลทองเนียน อําเภอขนอม จังหวัดนครศรีธรรมราช ของ บริษัท ปตท. จํากัด (มหาชน) ดําเนินการโดย บริษัท แอรซอฟ จํากัด สงรายงานวันที่ 16 พฤศจิกายน 2554

5. โครงการเจาะสํารวจปโตรเลียมแปลงสํารวจในทะเลอาวไทย หมายเลข G5/50 ของบริษัท นิวคัสตอล (ประเทศไทย) จํากัด ดําเนินการโดยบริษัท โรเอ็นเทคโนโลยีจํากัด สงรายงานวันที่ 1 กันยายน 2551

6. โครงการขุดเจาะสํารวจปโตรเลียม แปลงสํารวจหมายเลข B8/38 ของบริษัท ซาลามานเดอร เอนเนอรยี่ (บัวหลวง) ลิมิเต็ด จํากัด ดําเนินการโดยบริษัท อินเตอรเนชั่นแนล เอ็นไวรอนเม็นทอล แมนเนจเม็นท จํากัด สงรายงานวันที่ 30 มีนาคม 2555

จากการวิเคราะหรายงานผลการประเมินผลกระทบของโครงการขางตน มีขอสรุปที่เปนขอกังวลจากรายงานการทําประชาพิจารณ ดังนี้

ดานสิ่งแวดลอม สวนใหญประชาชนมีขอวิตกกังวลวาเม่ือมีโครงการเกิดข้ึนแลวจะทําใหเกิดผลกระทบ

1. มลพิษทางน้ํา สารพิษในแหลงน้ํา ทําใหสัตวน้ําลดลง ซึ่งอาจจะกระทบตอวิถีชีวิตของชาวบานในอนาคตโดยเฉพาะชาวประมง และสารพิษในน้ําจะสงผลตอสุขภาพของประชาชนที่ใชแหลงน้ําในการดําเนินชีวิตประจําวัน

2. มลพิษทางอากาศ เนื่องจากอุตสาหกรรมพลังงานมีผลตอการเกิดอุตสาหกรรมอ่ืน ๆ ไมวาจะเปนโรงไฟฟา โรงแยกกาซ และมีโอกาสที่จะสรางมลพิษทางอากาศ ทั้งฝุนละออง ควันพิษ เปนตน

3. ผลกระทบที่เชื่อมโยงภายหลังการเกิดข้ึนจากอุตสาหกรรมตอเนื่อง เชน อุตสาหกรรม ปโตรเคมี ทําใหมีการปลอยสารพิษออกสูอากาศ และมีอุบัติภัยสารระเหยที่มีผลตอสุขภาพประชาชนในพื้นที่ เชนเดียวกับมาบตาพุด

ดานคุณภาพชีวิตและการใชประโยชน 1. ผลกระทบตอการประกอบอาชีพของชาวประมงขาดเล็ก 2. ผลกระทบตออาชีพการเล้ียงนกเขาชวา 3. ความม่ันคงในการตั้งถิ่นฐานของชุมชน เม่ือมีเขตอุตสาหกรรม 4. ความปลอดภัยในทรัพยสินหลังเกิดโครงการ

ดานการพัฒนาโครงการ 1. เหตุผลและความจําเปนของโครงการ บางสถานการณสภาวะทางเศรษฐกิจของ

ประเทศยังไมมีความพรอมและจําเปน เชน สภาวะเศรษฐกิจถดถอยยังไมมีความจําเปนที่จะใชพลังงาน

228

2. มีการศึกษาทางเลือกในการดําเนินโครงการ เชน กรณีโครงการทอกาซไทย-มาเลเซีย และโรงแยกกาซ ไดมีการศึกษาในประเทศมาเลเซียหรือไม

“การขุดเจาะกับการทําสัมปทาน จะขุดเจาะเลยไมไดถาไมไดตองรับฟงความคิดเห็น ตองทําตามขอกฎหมาย และการรับฟงความคิดเห็นของชาวบานไมไดหมายความวารับหรือไมรับ ความเขาใจไมตรงกัน การรับฟงความคิดเห็นดานกิจกรรมพลังงานเปนการรับฟงความคิดเห็นเร่ืองความหวงใย วา หวงใยเร่ืองอะไร ใหศึกษาเร่ืองอะไรเพิ่ม เชน หวงพื้นที่ทํากิน หวงเร่ืองตะกอน การทองเที่ยว พื้นที่ปลาวางไข (กรมประมง) ทางส่ิงแวดลอมหวงเร่ืองตะกอน เปนตน จะตองทําการศึกษาดูวาส่ิงเหลานี้หาทางแกไขอยางไร กระทบหรือไม แลวเอาขอหวงใยทั้งหมดไปศึกษาหาขอมูล แลวเอาขอมูลมาชี้แจง มีวิธีการทําอยางไร มีแนวทางปองกันอยางไร สผ. ก็จะนําขอมูลไป ใหพูดกันดวยเหตุและผลและพูดกันเพื่อหาทางออก” 153

ผลกระทบดานการทองเท่ียว ดวยพื้นที่ชายฝงทะเลอาวไทย มีธรรมชาติที่สวยงามทั้งชายฝงตะวันออก และชายฝงภาคใต รายไดหลักของไทยสวนหนึ่งมาจากการทองเที่ยว นโยบายดานพลังงานกับนโยบายดานพลังงานจึงมีความขัดแยงในเชิงนโยบายระหวางกัน ในสวนของภาคตะวันออกมีสวนผลไมเปนการทองเที่ยวเกษตร สวนภาคใตมีทะเล และหมูเกาะที่สวยงาม อุตสาหกรรมการทองเที่ยวเปนผลประโยชนที่เกิดกับคนระดับรากหญา ชาวบานขายสินคาได ทํางานอยูกับพื้นที่ได และมีธรรมชาติที่ปลอดภัย หากมีอุตสาหกรรมปโตรเคมีเขาไปยังพื้นที่จะทําใหเกิดผลกระทบและจะทําลายสภาพแวดลอม อยางเชน ทะเลทางภาคตะวันออกของไทย และอุตสาหกรรมจะเต็มไปดวยประชาชนยายถิ่นเกิดปญหาดานวัฒนธรรมตามมา ปญหาสังคมเพิ่มข้ึน ความวิตกกังวลจึงเกิดการตอตานจากภาคอุตสาหกรรมการทองเที่ยว โดยเฉพาะแหลงทองเที่ยวทางภาคใตที่ชาวบานมีความเขมแข็งออกมาตอตานอยางตอเนื่อง

นโยบายการทองเที่ยวของภาคตะวันนอมีกลยุทธ คือ การสงเสริมการขายสําหรับลูกคาในประเทศ ในภาคอีสานและภาคเหนือ เชื่อมโยงกับกัมพูชา ถาเปนอีสานใตโดยเร่ิมจากโคราช และอุบลราชธานีเชื่อมโยงไปยังปากเซ จําปาศักดิ์ กลยุทธการสรางการรับรูอัตลักษณ เชน โครงการระยอง จันทร สีสันตะวันออก หรือโครงการส่ือมวลชนสัมพันธ การทองเที่ยวเชิงเกษตร และการทองเที่ยวเชิงธรรมชาติ หาดทราย ชายทะเล นโยบายการทองเที่ยวกับพลังงาน ปญหา

153รอหยา จันทรรัตนา, สัมภาษณ 7 พฤศจิกายน 2555.

229

ส่ิงแวดลอมในปจจุบันอันเนื่องมาจากนโยบายดานอุตสาหกรรม สังเกตจากขาว ในสภาพพื้นที่ภาคตะวันออกนโยบายดานอุตสาหกรรมสงผลกระทบโดยเฉพาะเร่ืองฝุนละออง ในเขตเมือง ยังนอยอยู สวนใหญจะเปนเขตอุตสาหกรรม แตนโยบายของจังหวัดตองใหความสําคัญและตองจัดโซนนิ่งใหอยูเฉพาะเขตอุตสาหกรรม มลพิษตาง ๆ จะไดควบคุมได และไมสงผลตอพื้นที่ของการทองเที่ยว ถาควบคุมไดนาจะไมสงผลกระทบที่รุนแรงอะไร กรณีถานหินที่กําลังจะจัดตั้งก็จะมีผลกระทบอากาศได หรือการถมทะเล ก็มีผลตอการทําใหกระแสน้ําเปล่ียนและกัดเซาะชายหาดทํามีสารตกคาง154

ความขัดแยงเชิงนโยบาย การสรางพลังงาน หรือการขุดเจาะพลังงาน ในบริเวณเกาะสมุย เกาะพงัน ทาง ททท. ไมเห็นดวย เพราะเราเห็นจากเม็กซิโก แนวคิดการอนุรักษส่ิงแวดลอม กับความตองการพลังงานเพื่อพัฒนาประเทศชาติ มีแนวคิดคนละข้ัว การทองเที่ยวก็มีความสําคัญเพราะเปนที่มาของรายไดหลักของชาติเชนกัน และยังมีผลกระทบเชิงนิเวศนนอยกวาอุตสาหกรรมดานพลังงาน ซึ่งทางออกที่ไปดวยกันคือการพื้นที่ขุดเจาะที่หางไกลแหลงทองเที่ยวจริง ๆ สําหรับประเทศไทย เกาะสมุย เกาะพงัน เปนแหลงทองเที่ยวสําคัญ หรือที่ชุมพร ก็หางจากชายหาด และการวางทอเคเบิลใตน้ํานาจะดูขนาดทอที่ไมใหญมาก เชน ของสวีเดน โยนลงทะเลเปนการทําลายปะการัง ทําลายแหงทองเที่ยวที่มีคุณคา155 อุตสาหกรรมพลังงานกับการทองเที่ยว มีความขัดแยงหรือไมอยางไร การพัฒนาตองมองความสมดุล กลาวคือสมดุลเพื่อใหเกิดการพัฒนาตอไปได ถาเนนเร่ืองใดเร่ืองหนึ่งจะกระทบตออีกส่ิงหนึ่ง ถาเนนอุตสาหกรรมมากไปก็ไมได เนนเกษตรมากไปก็จะทําใหเกิดการวางงาน หรือเนนทองเที่ยวมากไปอุตสาหกรรมหนักตาง ๆ ก็มีความจําเปนเพราะตองพัฒนาสินคาอ่ืน ภาพรวมจะทําอยางไรใหพอดี คือ อุตสาหกรรมที่นําเขามาก็ตองพอดีไมทําใหส่ิงแวดลอมเปล่ียนแปลง ระบบที่อธิบายไดชัดเจน สามารถที่จะควบคุมขจัดได บางอยางหลีกเล่ียงไมไดจะมีวิธีการเฝาระวังและขจัดอยางไรจึงจะทําใหประชาชนมีความเชื่อม่ัน แตสําหรับระยองโรงงานที่จะมาตั้งที่ระยองจะตองมีการตรวจสอบจากตางชาติอยูแลว มาดวยทุนระหวางประเทศ เขามีระบบควบคุมเร่ืองส่ิงแวดลอมอยูแลว ประเด็นที่ 2 มองระดับพื้นที่ จะทําอยางไรใหเปนเมืองอุตสาหกรรม Eco town สรางใหเปนเมืองที่งายตอการควบคุม แยกสวนที่

154ผูอํานวยการการทองเที่ยวจังหวัดระยอง, สัมภาษณ 28 สิงหาคม 2555. 155ภานุ วรมิตร, สัมภาษณ 2 พฤศจิกายน 2555.

230

เปนที่อยูอาศัย มีระบบผังเมือง ระบบขนสง ถาทําไดในแงของไมโครจะพัฒนาไดอยางเหมาะสม ไมกระจัดกระจาย ถาทําผังเมืองดีอุตสาหกรรมเติบโตไดอยางมีทิศทาง สามารถมีระบบการศึกษา โรงพยาบาล มีความทันสมัยที่ไมเกิดมลภาวะ156

การวิเคราะหผลกระทบจากอุตสาหกรรมพลังงานในอาวไทย ชวงป 2524-2553 จะเห็นไดวาอุตสาหกรรมสงผลกระทบตอส่ิงแวดลอมและมีผลตอสุขภาพของประชาชน โดยเฉพาะประชาชนที่อยูในเขตอุตสาหกรรมมาบตาพุด ภายใตนโยบายพัฒนาพื้นที่ชายฝงภาคตะวันออก หรืออิสเทิรนซีบอรดที่เปนศูนยรวมและการขยายตัวของภาคอุตสาหกรรมแตขาดการกํากับดูแลใหไดมาตรฐาน ปญหาการขยายตัวของเมืองนําไปสูปญหาขยะ ฝุนละออง สารระเหยในอากาศที่อาจนําไปสูการเปนโรคมะเร็งซึ่งจากสถิติและงานวิจัยที่ผูวิจัยไดนํามาอางอิงในขางตนนั้น เมืองอุตสาหกรรมอยางมาบตาพุดเปนศูนยรวมของมลพิษที่กระทบตอวิถีชีวิตของประชาชนในพื้นที่จนนําไปสูการฟองรองของประชาชนและเรียกรองใหประกาศเปนเขตพื้นที่ควบคุมมลพิษ กรณีของมาบตาพุดกลายเปนรูปแบบปญหาอันเนื่องมาจากอุตสาหกรรมปโตรเคมี และมีผลตอทัศนคติของประชาชนในพื้นที่อ่ืนที่มีแผนการขยายอุตสาหกรรมปโตรเคมีไปถึงโดยเฉพาะพื้นที่แถบชายฝงทะเลภาคใตภายใตนโยบายเซาทเทิรนซีบอรด จึงทําใหประชาชนออกมาตอตานโครงการตาง ๆ ที่จะลงสูพื้นที่ภาคใตไมวาจะเปนโครงการกอสรางทอสงกาซ โรงแยกกาซ โรงไฟฟา และการสํารวจขุดเจาะพลังงานประชาชนจะออกมาตอตานใหปรากฏเปนขาวอยูตลอดเวลา ส่ิงเหลานี้สะทอนใหเห็นผลกระทบอันเนื่องมาจากอุตสาหกรรมพลังงานในอาวไทยในชวงป 2524 - 2553

156ผูวาราชการจังหวัดระยอง, สัมภาษณ 1 ตุลาคม 2555.

231

บทท่ี 6

สรุป อภิปรายผล และขอเสนอแนะ

การวิจัยเร่ือง “กระบวนการส่ือสารทางการเมืองเร่ืองพลังงานในอาวไทย: กรณีศึกษา ในชวงป พ.ศ. 2524-2553” โดยมีวัตถุประสงคการวิจัย เพื่อศึกษาบริบททางการเมืองและเศรษฐกิจที่สงผลถึงการส่ือสารทางการเมืองเร่ืองพลังงาน และเพื่อศึกษากระบวนการส่ือสารทางการเมืองเร่ืองพลังงานในอาวไทย ในชวงป พ.ศ. 2524-2553 ซึ่งเปนชวงระยะเวลาเกือบ 3 ทศวรรษในการพัฒนาอุตสาหกรรมดานพลังงาน เพื่อวิเคราะหกระบวนการส่ือสารที่ประกอบดวย ผูสงสาร (Sender) เนื้อหาสาร (Message) ชองทางการส่ือสาร (Channel) ผูรับสาร และผลกระทบจากการส่ือสาร (Effect) เปนกรอบการวิจัยในคร้ังนี้

การวิจัยในคร้ังนี้ใชวิธีการวิจัยเชิงคุณภาพ เก็บรวบรวมขอมูลจากการวิเคราะหเอกสารตาง ๆ ส่ือส่ิงพิมพ ขอมูลในระบบออนไลน รวมทั้งการสัมภาษณเชิงลึก (In-depth Interview) บุคคลที่เกี่ยวของกับการดําเนินการพลังงาน เชน ผูแทนจากหนวยงานภาครัฐ กระทรวงพลังงาน ปตท. การนิคมอุตสาหกรรมแหงประเทศไทย นักวิชาการ ผูวาราชการในพื้นที่ที่เปนพื้นที่เปาหมายการกอตั้งนิคมอุตสาหกรรมพลังงาน ภาคเอกชน (NGO) หนวยงานปกครองสวนทองถิ่น ประชาชน และประชาชนผูไดรับผลกระทบ รวมจํานวน 18 คน นอกจากนี้ยังไดรวบรวมขอมูลการสังเกตแบบไมมีสวนรวม และแบบมีสวนรวมในการรับฟงความคิดเห็นการประเมินผลกระทบดานส่ิงแวดลอมและธรรมชาติของบริษัทผูประกอบกิจการดานอุตสาหกรรมพลังงาน ตามวัตถุประสงคการวิจัย รวมสรุปผลการวิจัยไดดังนี้

สรุปผลการวิจัย บริบททางการเมืองและเศรษฐกิจ ชวงป 2524-2553

บริบททางการเมืองและเศรษฐกิจ เปนปจจัยสําคัญตอการส่ือสารทางการเมืองเร่ืองพลังงาน

เพราะนโยบายกับสภาพทางเศรษฐกิจในแตละชวงเวลา หรือในแตละชวงรัฐบาลจะทําใหมีการส่ือสารดวยเนื้อหาของสารที่แตกตางกันตามบริบททางการเมืองและเศรษฐกิจขณะนั้น ในชวงระยะเวลาเกือบ 3 ทศวรรษ ในบริบททางการเมือง ประเทศไทยมีการเปล่ียนแปลงผูนํารัฐบาล หรือมีนายกรัฐมนตรี มากถึง 12 คน โดยเร่ิมจากสมัยของรัฐบาลเอกเปรม ติณสูลานนท ถึงรัฐบาลนายอภิสิทธิ ์เวชชาชีวะ

232

และมีการทํารัฐประหาร 2 คร้ัง คือ การยึดอํานาจจากรัฐบาลพลเอกชาติชาย ชุณหะวัณ โดย รสช. เม่ือป 2534 และการยึดอํานาจจาก พ.ต.ท.ทักษิณ ชินวัตร โดย คมช. เม่ือ 19 กันยายน 2549 ซึ่งผูวิจัยขอสรุปบริบททางการเมืองที่เกี่ยวของกับการส่ือสารพลังงานที่มีความโดดเดนพอสรุปบริบทไดดังนี้ ชวงระหวางรัฐบาลพลเอกเปรม ติณสูลานนท ถึง รัฐบาลของพลเอกชาติชาย ชุณหะวัณ (พ.ศ. 2523-2534) เปนชวงที่อุตสาหกรรมพลังงานไดเกิดการขยายตัวอยางเปนลําดับ เนื่องจากนโยบายดานการพัฒนาเศรษฐกิจดวยอุตสาหกรรมและมุงเนนการนําพลังงานจากอาวไทยมาพัฒนาอุตสาหกรรม ไมวาจะเปนโรงกล่ัน โรงแยกกาซ กอเกิดอุตสาหกรรมปโตรเคมี และโรงงานอุตสาหกรรมอ่ืน ๆ ที่ไดรับอานิสงจากอุตสาหกรรมพลังงาน การบริหารประเทศของพลเอกเปรม ติณสูลานนท มีนโยบายเพื่อนําพลังงานทุกรูปแบบภายในประเทศมาใชประโยชนเพื่อการพัฒนาประเทศ และลดการนําเขาพลังงานจากตางประเทศซึ่งในอดีตประเทศไทยนําเขา 100% นับตั้งแตประเทศไทยคนพบพลังงานในอาวไทย รัฐบาลจึงมีความพยายามที่จะนําพลังงานมาเขาสูกระบวนอุตสาหกรรมปโตรเลียม และสงตอไปยังโรงไฟฟาเพื่อสรางพลังงานไฟฟาปอนไปยังโรงงานอุตสาหกรรมตาง ๆ ทั่วไประเทศ และมีความคาดหวังวาพลังงานในอาวไทยจะนําประเทศไทยใหเกิดความเจริญรุงเรืองเทาเทียมนานาประเทศ ดังวลี “โชติชวงวัชวาล” และผลักดันองคกรดานพลังงานของไทยใหเปนผูดําเนินการผลิตและการจําหนายพลังงานอยางการปโตรเลียมแหงประเทศไทย ( ปตท. ) รัฐบาลไดกําหนดแผนพัฒนาชายฝงตะวันออก(Eastern Seaboard) ระยะที่ 1 (2524-2537)1 ทําใหมีการสรางโรงแยกกาซธรรมชาติในเชิงพาณิชยข้ึนเปนคร้ังแรก คือ แหลงกาซธรรมชาติเอราวัณ เม่ือป พ.ศ. 2524 นั่นคือการกอเกิดอุตสาหกรรมที่เปนตนน้ําของกระบวนการอุตสาหกรรมปโตรเลียม และเกิดระบบเชื่อมโยงพลังงานเขาสูโรงงานอุตสาหกรรม โดยการปโตรเลียมแหงประเทศไทย (ปตท.) ไดมีการลงทุนวางทอสงกาซธรรมชาติใตทะเลที่ยาวที่สุดในโลกในขณะนั้น (425 กิโลเมตร) จากแหลงเอราวัณมาข้ึนฝงที่จังหวัดระยองและเร่ิมใชกาซธรรมชาติในโรงไฟฟาบางปะกงเปนคร้ังแรก นําไปสูการตั้งนิคมอุตสาหกรรมมาบตาพุด ภายใตแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติ ฉบับที่ 6 (พ.ศ. 2525-2529) มีเปาหมายกระจาย ความเจริญจากเมืองหลวงไปสูภูมิภาคอยางเปนระบบโดยมีพื้นที่เปาหมายกําหนดใหพื้นที่บริเวณระหวางสัตหีบ–เขตเทศบาลเมืองระยอง เนื้อที่ทั้งส้ินประมาณ 123,750 ไร เปนเมืองอุตสาหกรรมที่ทันสมัยและเปนที่ตั้งของ “อุตสาหกรรมหลัก” เชน อุตสาหกรรมแยกกาซ อุตสาหกรรมปโตรเคมี

1สํานักงานคณะกรรมการสุขภาพแหงชาติ, อนาคตระยองเสนทางสูสังคมสุขภาพ,

พิมพคร้ังที่ 2, (นนทบุรี: บริษัท คุณาไทย จํากัด, 2552), น. 14.

233

อุตสาหกรรมโซดาแอช อุตสาหกรรมเหล็กและเหล็กกลา อุตสาหกรรมปุยเคมี เปนตน นอกจากนี้ในรัฐบาลพลเอกเปรม ติณสูลานนท มีปรับปรุงระบบการบริหารนโยบายพลังงานใหมีเอกภาพ เม่ือวันที่ 8 กันยายน 2529 ใหมีการจัดตั้งคณะกรรรมการนโยบายพลังงานแหงชาติ โดยมีนายกรัฐมนตรีเปนประธาน และมีสํานักงานคณะกรรมการนโยบายพลังงานแหงชาติ (สพช.) และสํานักเลขาธิการนายกรัฐมนตรี ทําหนาที่เปนฝายเลขานุการเพื่อทําหนาที่กําหนดนโยบาย และมาตรการตาง ๆ ทางดานพลังงาน แมวาพลเอกเปรม ติณสูลานนท จะใชเวลาในการบริหารประเทศติดตอกันมาเปนเวลานานกวา 8 ป แตระยะหลังชวงปลายสมัยของการบริหารประเทศ เร่ิมถูกตอตานเพราะเปนผูนําประเทศที่ไมไดมาจากการเลือกตั้ง ไดรับการขนานนามวาเปนยุคประชาธิปไตยคร่ึงใบ จากนั้นไดประกาศวางมือทางการเมือง เขาสูรัฐบาลพลเอกชาติชาย ชุณหะวัณ ไดประกาศนโยบาย “เปล่ียนสนามรบเปนสนามการคา” 2 ดวยการประสานงานใหมีการเจรจารวม ระหวางเขมร 4 ฝาย เพื่อยุติการสูรบ และมีแนวคิดที่สําคัญ คือ เร่ืองการเปล่ียนสนามรบเปนสนามการคา คือการสง สัญญาณท างการทูตเพื่ อทําใหประเ ทศที่ มี อุดมการณและระบอบ การปกครองที่ตางกัน หันมารวมมือกันในดานที่ไมมีความขัดแยงกันได นั่นก็คือ ทางดานเศรษฐกิจ ซึ่งทําใหทุกประเทศในอินโดจีนหันมาเจรจาหารือกับไทยดานการคา การลงทุน สงผลใหเกิดการหล่ังไหลเขามาลงทุนอุตสาหกรรมปโตรเลียมของกลุมทุนภายนอกประเทศ ทําใหนิคมอุตสาหกรรมมาบตาพุด ไดรับการพัฒนาข้ึนในป 2532 โดยองคกรรัฐวิสาหกิจ คือ การนิคมอุตสาหกรรมแหงประเทศไทย สังกัดกระทรวงอุตสาหกรรม เพื่อแกปญหาและพัฒนาประเทศไปสูการขยายตัวทางเศรษฐกิจโดยรวม มีแนวความคิดในการกระจายความเจริญไปสูภูมิภาคอยางเปนระบบมากข้ึน ทําใหภาคอุตสาหกรรมขยายตัวอยางรวดเร็วโดยเฉพาะอุตสาหกรรมอสังหาริมทรัพย และอุตสาหกรรมปโตรเลียม ทําใหเศรษฐกิจขยายตัวอยางตอเนื่อง เม่ือเศรษฐกิจขยายตัวทําให ความตองการพลังงานมีเพิ่มข้ึนโดยเฉพาะความตองการไฟฟาของภาคอุตสาหกรรมเพิ่มข้ึน และอุตสาหกรรมหนัก เพราะตองการพัฒนาประเทศใหเปนประเทศอุตสาหกรรมใหม (NIC) ความตองการพลังงานจึงเปนไปอยางกาวกระโดด และไดมีนโยบายใหยกฐานะสํานักงานคณะกรรมการพลังงานแหงชาติ (สพช.) เปนหนวยงานที่ มีฐานะเปนกรม สังกัดสํานักนายกรัฐมนตรี ทําหนาที่เปนสํานักงานเลขานุการของคณะกรรมการนโยบายพลังงานแหงชาติ รัฐบาลจึงไดพิจารณาที่จะดําเนินการแปรสภาพการบริหารงานของรัฐวิสาหกิจใหเปนเชิงธุรกิจเพื่อใหการบริหารงานมีความคลองตัวและมีประสิทธิภาพมากข้ึน และสนับสนุนภาคเอกชนใหเขา

2ลิขิต ธีรเวคิน, วิวัฒนาการการเมืองการปกครอง, พิมพคร้ังที่ 10, (กรุงเทพฯ:

มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร, 2550), น. 221.

234

มามีสวนรวมในการดําเนินงาน เพื่อแบงเบาภาระทางดานการเงินของภาครัฐ ซึ่งรวมถึงการแปรสภาพรัฐวิสาหกิจดานพลังงาน ชวงรัฐบาลนายอานันท ปนยารชุน ถึง รัฐบาลนายชวน หลีกภัย (2534-2538) เปนชวงบริบททางการเมืองที่มีไมมีเสถียรภาพมากนัก และมีการเปล่ียนแปลงผูนําอยูบอยคร้ัง ซึ่งในยุคของอานันท ปนยารชุน ไดสานตอโครงการจากรัฐบาลพลเอกชาติชาย ชุณหะวัณ อาทิ คณะรัฐมนตรีเห็นชอบเม่ือวันที่ 20 สิงหาคม 2534 คือยกฐานะ สํานักงานคณะกรรมการนโยบายพลังงานแหงชาติ (สพช.) เปนหนวยงานถาวรระดับกรมสังกัดสํานักนายกรัฐมนตรี รับผิดชอบงานดานนโยบายพลังงาน เพื่อใหเกิดความคลองตัว และมีประสิทธิภาพสูง และ การเปดโรงกล่ันน้ํามันใหมเพิ่มจากโรงกล่ันไทยออยส เปน เอสโซ คาลเท็กช เชลล โดย ปตท. เขารวมถือหุน ชวงนี้ทําใหมีผูคาหนาใหมเขาดําเนินกิจการคาสงและคาปลีก ยังเปนการใชปโตรเลียมจากอาวไทยมายังโรงกล่ันระยองเชนเดิม ยุคนี้ เปนยุคที่ ปตท. มีความแข็งแกรงมากเพราะการเขาไปถือหุนกับผูประกอบการหลายแหง3 เม่ือเขาสูรัฐบาลนายชวน หลีกภัย 1 (2535-2538) ไดมีนโยบายดานการกระจายอํานาจสูทองถิ่น สวนนโยบายเศรษฐกิจ เนนการพัฒนาอุตสาหกรรมเปาหมายที่จะชวยสรางงานในทองถิ่นใชวัตถุดิบในประเทศมากอใหเกิดมูลคาเพิ่ม การพัฒนาอุตสาหกรรมตอเนื่อง สงเสริมใหมีการกระจายการตั้งโรงงานอุตสาหกรรมที่ใชวัตถุดิบและใชแรงงานออกไปสูภูมิภาคและชนบทมากข้ึน รวมทั้งจัดตั้งนิคมอุตสาหกรรมในสวนภูมิภาคสนับสนุนใหสถาบันการเงินเพิ่มวงเงินสินเชื่อใหแกอุตสาหกรรมในตางจังหวัดโดยเฉพาะอุตสาหกรรมขนาดยอมและอุตสาหกรรมในครัวเรือนตลอดจนการประกอบการคาดานวิศวกรรมทั้งที่เปนการสรางหรือซอมเคร่ืองยนตกลไกขนาดเล็ก ทําใหเศรษฐกิจประเทศไทยขยายตัวเหมือนดังฟองสบู ความตองการพลังงานของภาคอุตสาหกรรมมีเพิ่มข้ึน คณะรัฐมนตรีไดมีมติเม่ือวันที่ 5 ตุลาคม 2535 มอบหมายใหการปโตรเลียมแหงประเทศไทย (ปตท.) ดําเนินการเรงรัดการจัดหากาซธรรมชาติทั้งจากแหลงสัมปทานในอาวไทยและจากแหลงตางประเทศเพื่อตอบสนองความตองการที่เพิ่มข้ึน และในป พ.ศ. 2537 ไดมีการลงนามในสัญญาแบงปนผลผลิต บนหลักการการแบงผลประโยชนอยางเทาเทียมกัน ฝายละ 50% ในวันที่ 21 เมษายน 2537 มีการดําเนินการทําสัญญาคูคา ระหวาง PTTIPL หรือ ปตท.สผ. (ฝายไทย) กับ Petronas Carigail (ฝายมาเลเซีย) เปนตน4 รัฐบาลชวน หลีกภัย สมัยแรกนี้ไดบริหารประเทศเปนเวลา 2 ป 7 เดือน ก็ขาดเสถียรภาพเพราะความขัดแยง

3บัณรส บัวคล่ี, “ปโตรเลียมไทย: จากฝร่ังครอบงําสูขูดรีดกันเอง (3),” ผูจัดการ

(16 เมษายน 2555). 4ไทยโพสต (2 พฤษภาคม 2542).

235

กับพรรครวมรัฐบาล กรณีปญหาการดําเนินการปฏิรูปที่ดิน (สปก. 4-01) จนถูกเปดอภิปราย ไมไววางใจจากฝายคาน ทําใหนายชวน หลีกภัย ยุบสภาใหมีการเลือกตั้งทั่วไป นายบรรหาร ศิลปอาชา เปนนายกรัฐมนตรี และการเมืองชวงนี้มีกระแสการเรียกรองใหปฏิรูปการเมือง เพื่อดําเนินการแกไขกฎหมายที่มีความลาหลัง เปนเหตุใหแกไขรัฐธรรมนูญทั้งฉบับดวยการสรรหาสภารางรัฐธรรมนูญ (สสร.) เพื่อจัดทํารางรัฐธรรมนูญที่มีความเปนประชาธิปไตย ซึ่งยังไมทันดําเนินการรางรัฐธรรมนูญความแปรปรวนทางการเมือง นายบรรหาร ศิลปอาชา ประกาศยุบสภาหลังจากถูกอภิปรายเกี่ยวกับขอสงสัยความเปนคนตางดาวซึ่งขาดสิทธิธรรมความเปนคนไทยและการดํารงตําแหนงนายกรัฐมนตรี หลังการเลือกตั้งทําใหพรรคความหวังใหมของพลเอกชวลิต ยงใจยุทธ ไดคะแนนมาเปนอันดับหนึ่งไดเปนแกนนําจัดตั้งรัฐบาล ผลงานที่เกิดข้ึนในรัฐบาลนี้ คือ รัฐธรรมนูญ 2540 อยางไรก็ตาม พลเอกชวลิต ยุงใจยุทธ ตองพบกับปญหาเศรษฐกิจฟองสบูแตก ไมสามารถแกปญหาได สุดทาย พลเอกชวลิต ยงใจยุทธ ตัดสินใจลาออกจากตําแหนงนายกรัฐมนตรี 5 จากนั้นทําใหพรรคประชาธิปตยที่มีคะแนนเสียงมาเปนอันดับสองรองจากพรรคความหวังใหม ไดจัดตั้งรัฐบาลผสมทําใหนายชวน หลีกภัย กลับมาเปนนายกรัฐมนตรีอีกสมัยที่ 2 อยางไรก็ตามในชวงรัฐบาลพลเอกชวลิต ยงใจยุทธ ไดมีมติคณะรัฐมนตรี เม่ือวันที่ 13 สิงหาคม 2539 กําหนดให ปตท. จัดทําแผนการจัดหากาซธรรมชาติระยะยาวและแผนการลงทุนระยะยาวของระบบทอกาชธรรมชาติเพื่อเสนอตอคณะกรรมการนโยบายพลังงานแหงชาติ (กพช.) ดําเนินการเรงรัดการจัดหากาซธรรมชาติ ทั้งจากแหลงสัมปทานในอาวไทยและจากแหลงตางประเทศ เพื่อตอบสนองความตองการที่เพิ่มข้ึน6 การกลับมาเปนรัฐบาลในสมัยที่สองของพรรคประชาธิปตย ไดมีนโยบายแกไขปญหาเศรษฐกิจที่เกิดจากภาวะฟองสบูแตก ดวยการดําเนินการกูเงินจากกองทุนการเงินระหวางประเทศ (IMF) เพื่อมาพยุงปญหาดานเศรษฐกิจ และสภาวะเศรษฐกิจที่มีเงื่อนไขของ IMF ทําใหรัฐบาลตองออกกฎหมาย 11 ฉบับ เพื่อปรับสภาพการประกอบธุรกิจใหสอดคลองกับเศรษฐกิจโลกในยุคของการคาเสรี ซึ่งกฎหมายดังกลาวไดถูกวิพากษวิจารณวาเปนกฎหมายขายชาติ โดยเฉพาะ กฎหมายอาชีพคนตางดาว ซึ่งทําใหเกิดการครอบงําทางเศรษฐกิจ ขายปลีก ขายสง การเปนเจาของกิจการ สถาบันการเงิน ส่ือ รวมทั้งธุรกิจดานพลังงาน และกฎหมายเกี่ยวกับการเชาอสังหาริมทรัพยซึ่งสิทธิการเชาจะเปนทรัพยสินที่เปนบุคคลตางดาว

5ลิขิต ธีรเวคิน, วิวัฒนาการการเมืองการปกครองไทย, พิมพคร้ังที่ 10, (กรุงเทพฯ:

มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร, 2550), น. 224-226. 6สํานักงานนโยบายและแผนกระทรวงพลังงาน, แผนแมบทระบบทอสงกาซธรรมชาติ

(ฉบับที่ 2) ของ ปตท., (กรุงเทพฯ: สํานักงานนโยบายและแผนกระทรวงพลังงาน, 2539).

236

สามารถที่จะเชาได 50 ป และตอไดอีก 50 ป ซึ่งกฎหมายเหลานี้เปดโอกาสใหทรัพยสินของชาติตกไปอยูในมือของตางชาติไดงายข้ึน7 และในเร่ืองพลังงานในรัฐบาลนายชวน หลีกภัย 2 นี้ ไดสานตอโครงการการซื้อขายกาซธรรมชาติในพื้นที่รวมคาไทย-มาเลเซีย และเกิดโครงการทอสงกาซ และโรงแยกกาซ ทามกลางกระแสการตอตานของคนในทองถิ่น แตก็ไมสามารถที่จะทัดทานการดําเนินการของรัฐบาลได นายชวน หลีกภัย ไดเปนสักขีพยานในการทําการลงนามสัญญาระหวางปโตรนาส ของประเทศมาเลเซีย และ ปตท. ของไทย ทั้ง ๆ ที่ไมไดศึกษาผลกระทบทางส่ิงแวดลอมและธรรมชาติ ชวงนี้เปนชวงที่ภาคประชาชนออกมาชุมนุมประทวงตอตานการขุดเจาะสํารวจแหลงพลังงานอยูตลอดเวลา บริบททางการเมืองและเศรษฐกิจภายในรัฐบาล พ.ต.ท.ทักษิณ ชินวัตร (2544-2549) ในสมัยแรกของการบริหารงาน ตองยอมรับวาเปนการบริหารประเทศที่ไดรับความนิยมในภาคประชาชนเนื่องจากนโยบายประชานิยม และเปนรัฐบาลที่มีความเปนเอกภาพในการบริหาร รัฐบาลมีความเขมแข็ง เพราะเปนรัฐบาลที่มีความเขมแข็งในรัฐสภา ภายใตการดําเนินงานของรัฐบาล พ.ต.ท.ทักษิณ ชินวัตร ที่สงผลตอการเปล่ียนแปลงทั้งระบบ ซึ่งก็รวมถึงหนวยงานดานพลังงาน คือ การปฏิรูประบบราชการ มีการปรับยุบหนวยงานและจัดตั้งกระทรวงเพื่อใหเกิดความคลองตัวในการดําเนินงาน และเปนการกอใหเกิดกระทรวงพลังงาน ซึ่งเปนกระทรวงที่รับผิดชอบดานการพลังงานของชาติ โดยมีหนวยงานในกํากับของกระทรวงพลังงาน สถาบันบริหารกองทุนพลังงาน การไฟฟาฝายผลิตแหงประเทศไทย บริษัท ปตท. จํากัด (มหาชน) คณะกรรมการกํากับกิจการพลังงาน กรมเชื้อเพลิงธรรมชาติ กรมธุรกิจพลังงาน กรมพัฒนาพลังงานทดแทนและอนุรักษพลังงาน และสํานักงานนโยบายและแผนพลังงาน พยายามผลักดันการแปรรูปรัฐวิสาหกิจ และนํา ปตท. เขาตลาดหลักทรัพย เนื่องจากในชวงเวลาดังกลาว ไดเกิดวิกฤตพลังงาน ทําใหราคาน้ํามันมีการปรับราคาสูงอยางตอเนื่องกระทบวิถีชีวิตของประชาชน จึงทําใหรัฐบาลมีความจําเปนตองใชเงินทุนสํารองน้ํามันมาใชพยุงราคาน้ํามัน จึงทําใหรัฐบาลตองนําหุนของ ปตท. เพิ่มทุนดวยการกระจายหุนเขาสูตลาดหลักทรัพยแหงประเทศไทยเพื่อระดมทุนใหสูงข้ึน เพิ่มขีดความสามารถใหการแขงขันและพัฒนาพลังงานตอไป เพราะ ปตท. เปนองคกรที่ดําเนินการดานพลังงานอยางครบวงจรที่มีศักยภาพ และสรางความม่ันคงดานพลังงานของชาต ิ

ในรัฐบาลของพ.ต.ท.ทักษิณ ชินวัตร การจัดทําแผนแมบทอุตสาหกรรมปโตรเคมี ระยะที่ 3 (พ.ศ. 2547-2561) นอกจากนี้นโยบายของ พ.ต.ท.ทักษิณ ชินวัตร รัฐบาลไดขยายอุตสาหกรรมเพิ่มข้ึนและมุงเปาหมายมาฟนโครงการพัฒนาพื้นที่ชายฝงทะเลภาคใต หรือ

7ลิขิต ธีรเวคิน, วิวัฒนาการการเมืองการปกครองไทย, น. 224-226.

237

เซาทเทิรนซีบอรด (Southern Seaboard) มีกลยุทธที่สําคัญคือ ขยายพื้นที่อุตสาหกรรมและการขนถายสินคาขามคาบสมุทรระหวางอาวไทยกับทะเลอันดามัน หรือนโยบายการสรางสะพานเศรษฐกิจ (Land Bridge) แมวาการบริหารประเทศของ พ.ต.ท.ทักษิณ ชินวัตร จะไดรับความนิยมจากประชาชน แตระยะหลังในสมัยที่ 2 ไดรับการตอตานจากกลุมนักวิชาการ และกลุมพันธมิตรประชาชนเพื่อประชาธิปไตย เพราะเห็นวาการบริหารประเทศสงผลใหเกิดการทุจริตคอรัปชั่น มีการออกมาชุมนุมตอตานอยางตอเนื่อง และมีกลุมที่ใหการสนับสนุนออกมาปกปอง ทําใหสถานการณทางการเมืองเกิดความวุนวายนํากลับไปสูวงจรอุบาท (vicious cycle) อีกคร้ังโดยไดใชเปนเหตุผลในการทํารัฐประหาร 19 กันยายน 2549 โดย คมช. จากนั้นไดใหพลเอกสุรยุทธ จุลานนท มาดํารงตําแหนงนายกรัฐมนตรี เพื่อจัดทํารัฐธรรมนูญใหมและใหมีการเลือกตั้งใหม ผลการเลือกตั้งพรรคพลังประชาชน โดยมีนายสมัคร สุนทรเวช เปนหัวหนาพรรค เปนพรรคการเมืองที่ไดสานตอแนวทางการเมืองของพรรคไทยรักไทย และถูกกลาวหาวาเปนนอมินีของ พ.ต.ท.ทักษิณ ชินวัตร ทําใหกลุมพันธมิตรประชาชนเพื่อประชาธิปไตยออกมาตอตานอยางยาวนานถึงข้ันยึดทําเนียบรัฐบาล หลังจากบริหารประเทศไดไมนานก็ถูกศาลรัฐธรรมนูญตัดสินวาเปนผูที่ขาดคุณสมบัติเปนนายกรัฐมนตรีอันเนื่องมาจากจัดทําอาหารผานรายการโทรทัศน เปนเหตุใหพรรคพลังประชาชน สนับสนุนนายสมชาย วงศสวัสดิ์ เปนนายกรัฐมนตรี ยิ่งไดรับการตอตานรุนแรงข้ึนเพราะ นายสมชาย วงศสวัสดิ ์มีฐานะเปนนองเขยของ พ.ต.ท.ทักษิณ ชินวัตร และนายกรัฐมนตรีที่ไมมีทําเนียบใหทํางาน อยางไรก็ตามพรรคพลังประชาชนถูกศาลรัฐธรรมนูญส่ังยุบพรรคทําให นายสมชาย วงศสวัสดิ์ ที่เปนกรรมการพรรคตองถูกยุติบทบาททางการเมือง ทําใหพรรคประชาธิปตยรวมพรรคการเมืองตาง ๆ เพื่อสนับสนุนนายอภิสิทธิ์ เวชชาชีวะ เปนนายกรัฐมนตรี บริบทการบริหารรัฐบาลนายอภิสิทธ ิเวชชาชีวะ ยังมีปญหาเศรษฐกิจที่ไดรับผลจากวิฤตเศรษฐกิจของโลก ประกอบกับปญหาความขัดแยงทางการเมืองภายในประเทศ เม่ือพรรคประชาธิปตยเปนรัฐบาลกลุมพันธมิตรประชาชนเพื่อประชาธิปไตยยุติบทบาทการชุมนุม แตมีกลุมแนวรวมประชาธิปไตยตอตานเผด็จการแหงชาติ (นปช.) ออกมาตอตานรัฐบาลอภิสิทธิ์อยางตอเนื่องทําใหการบริหารงานเปนไปอยางไมคลองตัวเทาที่ควร หรืออีกนัยหนึ่งเหมือนวาไมไดบริหารประเทศเปนเพียงหวงเวลาในการแกปญหาทางการเมืองเทานั้น ปญหาเร่ืองผลกระทบดานส่ิงแวดลอมและสุขภาพของประชาชนในนิคมอุตสาหกรรมมาบตาพุด จนทําใหแผนพัฒนาอุตสาหกรรมปโตรเคมีถูกตอตาน ชาวบานมีการยื่นฟองรองหนวยงานที่เกี่ยวของจนทําใหศาลปกครองตองมีคําส่ังระงับโครงการบางโครงการ กระทบตอภาคอุตสาหกรรมที่ลงทุนไปแลวจํานวนมาก ผลกระทบจากนิคมอุตสาหกรรมมาบตาพุด ทําใหโครงการตาง ๆ ที่จะเกิดข้ึนจึงถูกสกัดกั้น เชน การตอตานการจัดทําแผนพัฒนากําลังผลิตไฟฟา (2551-2564) เปนตน

238

หากวิเคราะหบริบททางการเมืองและเศรษฐกิจ ที่สงผลตอการส่ือสารทางการเมืองแลวพบวา ในชวงรัฐบาล พลเอกเปรม ติณสูลานนท ถึงรัฐบาลพลเอกชาติชาย ชุณหะวัณ เปนชวงที่มุงใชพลังงานจากอาวไทยที่อยูในอาณาเขตประเทศไทย และประเทศเพื่อนบาน พลังงานใน อาวไทยไดสงผลใหเกิดอุตสาหกรรมตอเนื่องและขยายตัวทางเศรษฐกิจสูง กระแสของการตอตานจากภาคประชาชนนั้นมีนอย เม่ือถึงรัฐบาลชวน 1 เปนตนมาจนถึงรัฐบาลชวน 2 นั้น ประชาชนพื้นที่ อุตสาหกรรมปโตรเคมีโดยเฉพาะมาบตาพุด จังหวัดระยอง เร่ิมมีการตอตานโรงงานอุตสาหกรรมเนื่องจากปญหามลพิษ ทั้งฝุนละออง กล่ิน และสารเคมี ซึ่งโรงงานขาดการควบคุมมาตรฐานอุตสาหกรรมจึงเกิดกระแสการตอตานอยางตอเนื่อง และในชวงรัฐบาล พ.ต.ท.ทักษิณ ชินวัตร เปนตนมาจนถึงรัฐบาลนายอภิสิทธิ์ เวชชาชีวะ เปนชวงของกระแสปญหาส่ิงแวดลอมโลก และการอนุรักษพลังงาน ตลอดจนการแสวงหาพลังงานทดแทน เนื่องจากพลังงานจากธรรมชาตินั้นมีราคาคอนขางสูง และกําลังจะหมดไป รัฐบาลจึงมีนโยบายดานการอนุรักษพลังงาน และ การแกปญหาผลกระทบดานส่ิงแวดลอมอันเนื่องมากจากโครงการของรัฐบาล และเปดโอกาสใหประชาชนมีสวนรวมมากข้ึน โดยสรุปการส่ือสารทางการเมืองเร่ืองพลังงานมีปจจัยดานบริบททางการเมืองและเศรษฐกิจในรัฐบาลแตละรัฐบาลมีอิทธิพลตอการสรางสาร และส่ือไปยังผูรับสาร ในยุคที่ตองการใชพลังงานเพื่อพัฒนาเศรษฐกิจของประเทศ และทดแทนการนําเขา และอุตสาหกรรมอาจเปน ส่ิงทาทายในขณะนั้น และใชอุตสาหกรรมนําการพัฒนาการส่ือสารไปยังประชาชนจะงายกวายุคที่มีกระแสของผลกระทบ และการใชสิทธิตามระบอบประชาธิปไตยมีมากข้ึน ประกอบกับในระยะหลังการทองเที่ยวเปนธุรกิจที่สรางรายไดใหกับประเทศไดมากข้ึน การพัฒนาการทองเที่ยวโดยเฉพาะการทองเที่ยวทางธรรมชาติที่เปนที่นิยมของชาวตางชาติ ทําใหเกิดความขัดแยงทางนโยบาย บริบทเหลานี้จึงเปนอิทธิพลตอการส่ือสารทางการเมืองเร่ืองพลังงานที่รัฐบาลแตละรัฐบาลจะมีโครงการและแนวทางการส่ือสารที่แตกตางกันออกไป กระบวนการสื่อสารทางการเมืองเร่ืองพลังงานในอาวไทย ชวงป พ.ศ. 2524-2553 ในการวิเคราะหกระบวนการส่ือสารทางการเมืองเร่ืองพลังงานในอาวไทย ผูวิจัยใชกรอบแนวคิดการวิจัยของเดวิด เค เบอรโล (David K. Berlo) ผสมกับแนวคิดของฮาโรลด ลาสเวลล (Harold Lasswell) เปนกรอบในการวิเคราะห ประกอบดวย ผูสงสาร (Sender) เนื้อหาสาร (Massage) ชองทางการส่ือสาร (Channel) และผูรับสาร (Receiver) และผลกระทบ (Effect) จากการส่ือสาร สรุปไดดังนี ้

239

ผูสงสาร (Sender) ในกรอบระยะเวลาของการวิจัยในคร้ังนี้ ตั้งแตป พ.ศ. 2524-2553 เปนชวงระยะเวลาที่ยาวนานและจากการวิเคราะหขอมูลพบวา ผูที่ทําหนาที่สงสารเร่ืองพลังงานในอาวไทย ประกอบดวย รัฐบาล การแถลงนโยบายและโครงการดานพลังงานที่มีการส่ือสารไปยังหนวยงานตาง ๆ ที่เกี่ยวของ และประชาชน สวนราชการที่เกี่ยวของ โดยเฉพาะกระทรวงพลังงาน การปโตรเลียมแหงประเทศไทย (ปตท.) หนวยงานที่มีหนาที่ดําเนินการดานสํารวจหาแหลงพลังงาน และพัฒนาเพื่อความม่ันคงดานพลังงานของชาติ ผูวาราชการจังหวัด ผูที่ทําหนาที่สงสารไปยังประชาชน และกลุมผูที่มีความขัดแยงกันอันเนื่องมาจากอุตสาหกรรมดานพลังงาน เปนตน ซึ่งผูวิจัยขอกลาวถึงผูสงสารที่เปนรัฐบาล คือ รัฐบาลทุกรัฐบาลในฐานะฝายบริหารจะตองมีการแถลงนโยบายตอสภา และไดรับความเห็นชอบจากสภาจึงจะสามารถนํานโยบายไปบริหารประเทศไดอยางชอบธรรม ดังนั้น รัฐบาลจึงเปนผูสงสารในระดับนโยบายและมีความสําคัญตอทิศทางการดําเนินงานดานพลังงาน ซึ่งแตละรัฐบาลก็จะมีนโยบายที่มีจุดเดนแตกตางกันไปตามบริบททางการเมืองและเศรษฐกิจในแตละชวงรัฐบาล ดังเชน รัฐบาลของพลเอกเปรม ติณสูลานนท ที่มีชวงระยะเวลาการบริหารประเทศยาวนานถึง 8 ป 5 เดือน และเปนผูสงสารที่มุงเนนการนําเอาพลังงานจากอาวไทยใชประโยชนตอประเทศและทดแทนการนําเขาน้ํามันและวัตถุดิบดานอุสาหกรรม ดังคําขวัญที่วา “โชติชวงชัชวาล” กลาวคือ การนําพลังงานจากอาวไทยมาพัฒนาประเทศใหมีความเจริญกาวหนา ประเทศไทยมีไฟฟาใชกันโดยทั่วไปในทุกภูมิภาค และมีการสรางทอสงกาซธรรมจากแหลงเอราวัณมายังโรงกล่ันของ ปตท. ที่มาบตาพุดจังหวัดระยอง และไดเปนประธานเปดวาลวสงกาซ ณ สถานีสงกาซของ ปตท. เปนคร้ังแรกเม่ือวันที่ 12 กันยายน 2524 จากนั้นไดมีการสรางโรงแยกกาซ หนวยที่ 1 และสามารถเปดใชงานไดในป 2527 เปนตน และในรัฐบาลของพลเอกเปรม ติณสูลานนท มีรัฐมนตรีที่มีความรู ความสามารถดานพลังงานคนสําคัญ คือ ร.ท.ศุลี มหาสันทนะ รัฐมนตรีประจําสํานักรัฐมนตรี รับผิดชอบดูแลเร่ืองพลังงานในขณะนั้น ซึ่งเปนผูที่ผานประสบการณจากบริษัทน้ํามันขามชาติอยางเอสโซสแตนดารด (ประเทศไทย)จํากัด ไมวาจะเปนการสํารวจ การผลิต และการวิจัยคุณภาพน้ํามัน ตลอดจนการจัดตั้งสถานบริการ จึงทําใหรัฐบาลดําเนินงานดานพลังงานเปนไปดวยความเรียบรอย เขาสูรัฐบาลพลเอกชาติชาย ชุณหะวัณ ไดสานตอนโยบายดานเศรษฐกิจตอจากรัฐบาลของพลเอกเปรม ติณสูลานนท ดวยคําขวัญของรัฐบาลที่วา “เปล่ียนสนามรบเปนสนามการคา” และไดใชความสามารถในการประสานการเจรจาเพื่อยุติการสูรบระหวางเขมร 4 ฝาย เปนการใชการทูตเพื่อใหประเทศที่ ความขัดแยงกันหันมารวมมือกันในดานเศรษฐกิจแทนการสูรบกันโดยที่ไมไดเกิดประโยชนกับฝายใดเลย โดยที่พลเอกชาติชาย ชุณหะวัณ และมีเปาหมายจะพัฒนาประเทศไทยใหมีความกาวหนาทางเศรษฐกิจ ตองการพัฒนาประเทศใหเปนประเทศอุตสาหกรรมใหม (NIC) เพื่อที่จะเปนเสือ

240

ทางดานเศรษฐกิจในภูมิภาคเอเชีย มุงพัฒนาพื้นที่ชายฝงทะเลโดยเฉพาะอีสเทิรนซีบอรด ทําใหการขยายตัวภาคอุตสาหกรรมเติบโตอยางรวดเร็ว ประกอบกับในรัฐบาลนี้ไดนายกร ทัพพะรังสี ที่ไดรวมงานดานพลังงานมาตั้งแตรัฐบาลพลเอกเปรม ติณสูลานนท มาแลว สามารถที่จะสานตองานดานพลังงานไดอยางตอเนื่อง และไดใชกลไกของประเทศเพื่อนบานเขารวมทุนในการพัฒนาอุตสาหกรรมพลังงานรวมกันกับไทย ซึ่งนายกร ทัพพะรังสี มีแนวคิดตองการใหราคาน้ํามันเปนไปตามกลไกการตลาด แบบการคาเสรี รัฐไมตองไปกําหนดหรือควบคุมราคา จะทําใหราคาน้ํามันและผลิตภัณฑปโตรเลียมดําเนินการไปบนพื้นฐานของความเปนจริงทางการตลาด จึงไดมีการยกเลิกการควบคุมราคาน้ํามันที่มีการดําเนินการไวตั้งแตรัฐบาลพลเอกเปรม ติณสูลานนท นายชวน หลีกภัย นายกรัฐมนตรี เปนอีกหนึ่งผูนํารัฐบาลที่มีวาทะทางการเมืองที่คมคาย และเปนนักการเมืองที่มีภาพลักษณของความซื่อสัตยสุจริต ดําเนินการอยูบนหลักการ นิติธรรม และสังกัดพรรคการเมืองมาโดยตลอด มีฐานการเมืองที่สนับสนุนที่เขมแข็งอยูภาคใต โดยเฉพาะจังหวัดตรัง ซึ่งรัฐบาลนายชวนไดมีบทบาทในการบริหารประเทศ 2 สมัย ไมติดตอกัน กลาวคือ ชวงป พ.ศ. 2535-2538 และสมัยที่สอง คือ พ.ศ. 2540-2543 ในฐานนะรัฐบาลไดมีบทบาทสํารวจกาซธรรมชาติในพื้นที่ทับซอน (Joint Development Area : JDA) โดยเฉพาะการผลักดันใหมีความเชื่อมโยงกับโครงการพัฒนาพื้นที่ชายฝงทะเลภาคใต ในรัฐบาลของนายชวน หลีกภัย ผูที่มีบทบาทสําคัญในการขับเคล่ือนนโยบายและนับเปนผูสงสารในนามของรัฐบาลที่สําคัญ คือ นายศุภชัย พาณิชภักดิ์ รองนายกรัฐมนตรี ในรัฐบาลชวน หลีกภัย สมัยแรก ไดมีบทบาทในการผลักดันนโยบายเขตเศรษฐกิจสามเสาไทย-มาเลเซีย-อินโดนีเซีย (Northern Growth Triangle) เพื่อตองการผลักดันโครงการรวมพัฒนาแหลงพลังงานกาซธรรมชาติ และอุตสาหกรรมปโตรเคมี เปนหลัก นอกจากนี้ยังมีนายวีระ สุสังกรกาญจน รัฐมนตรีชวยวาการกระทรวงอุตสาหกรรม และนายสาวิตต โพธิวหก รัฐมนตรีประจําสํานักนายกรัฐมนตรีที่มี สวนเกี่ยวของกับการส่ือสารนโยบายดานพลังงานของรัฐบาลนายชวน หลีกภัย ตอมาในรัฐบาล พ.ต.ท.ทักษิณ ชินวัตร นับเปนรัฐบาลที่มีความเปนเอกภาพในการบริหารประเทศมากที่สุดและ มีเสียงสนับสนุนจากประชาชนมากที่สุดในประวัติศาสตรการเลือกตั้งของไทย ไดรับเลือกใหดํารงตําแหนงบริหารประเทศติดตอกันถึง 2 สมัย และมีคําขวัญในการบริหารวา “คิดใหม ทําใหม เพื่อไทยทุกคน” สะทอนใหเห็นถึงการปฏิรูประบบราชการใหมเพื่อใหเกิดความคลองตัวเพราะมีบางหนวยงานที่มีลักษณะงานทับซอนกัน เชนเดียวกับกระทรวงพลังงานในอดีตมีหนวยงานดานพลังงานกระจายอยูในสังกัดกระทรวงตาง ๆ ถึง 9 กระทรวง จึงทําใหลดเหลือเพียงกระทรวงเดียว คือ กระทรวงพลังงาน ดําเนินการดานพลังงานอยางครบวงจร มีรัฐมนตรีวาการกระทรวงพลังงานคนแรก คือ นายพงศเทพ เทพกาญจนา และไดปรับเปล่ียนมาเปนนายแพทยพรหมมินทร เลิศสุรีย

241

เดช และนายวิเศษ จูภิบาล ตามลําดับ ในรัฐบาล พ.ต.ท.ทักษิณ ชินวัตร ไดมุงเนนการมุงฟนฟูโครงการพัฒนาพื้นที่ชายฝงทะเลภาคใต หรือเซาเทิรนซีบอรด โดยใชกลยุทธขยายพื้นที่อุตสาหกรรมและการขนถายสินคาขามมหาสมุทรระหวางอาวไทยกับทะเลอันดามัน หรือนโยบายการสรางสะพานเศรษฐกิจ (land bridge) นอกจากนี้ทามกลางสภาวะวิกฤตน้ํามัน ทําใหรัฐบาลตองนําแปรรูปองคกร ปตท. โดยการนําหุนเขาสูตลาดหลักทรัพยเพื่อระดมทุนมากอบกูเงินกองทุนน้ํามันที่รัฐบาลนํามาพยุงราคา ซึ่งรัฐบาลตองตัดสินใจขณะนั้นแมวาจะมีการวิพากษวิจารณก็ตาม ชี้ใหเห็นถึงความกลาตัดสินใจของรัฐบาล พ.ต.ท.ทักษิณ ชินวัตร จากนั้นการเมืองมีการเปล่ียนแปลงอยูตลอดเวลา อันเนื่องมาจากความขัดแยงทางความคิดทําใหมีการเปล่ียนผูนําบอยคร้ัง จนกระทั้งถึงในรัฐบาลอภิสิทธิ์ เวชชาชีวะ เปนรัฐบาลผสมที่เกิดจากสถานการณทางการเมืองไมปกติ เนื่องจากการยุบพรรคพลังประชาชน พรรคประชาธิปตยไดใชโอกาสในการรวมพรรคการเมืองอ่ืนเพื่อสนับสนุนนายอภิสิทธิ์ เวชชาชีวะ เปนนายกรัฐมนตรี นับเปนรัฐบาลที่ไดรับการตอตานจากกลุมประชาธิปไตยตอตานเผด็จการ (นปช.) ไดมีรัฐมนตรีวาการกระทรวงพลังงาน คือ นายแพทยวรรณรัตน ชาญนุกูล ซึ่งเปนรัฐมนตรีจากพรรครวมใจไทยพัฒนา จากขอมูลขางตนสะทอนใหเห็นวารัฐบาลนับเปนผูสงสารที่มีความสําคัญเพราะรัฐบาลคือผูกําหนด และผลักดันใหหนวยงานภายใตกระทรวงตาง ๆ โดยรัฐมนตรีแตละกระทรวงนําไปปฏิบัติเพื่อใหเกิดผลเปนรูปธรรม และรัฐบาลแตละรัฐบาลจะมีจุดเดนในการบริหารแตกตางกันไป หนวยงานหลักที่มีบทบาทในการดําเนินการดานพลังงาน โดยเฉพาะกระทรวงพลังงาน ที่มีบทบาทภารกิจในการกํากับดูแลการดําเนินงานดานพลังงานโดยมีรัฐมนตรีวาการกระทรวงพลังงานในแตละสมัยเปนผูสงสารไปยังหนวยงานปฏิบัติการใหดําเนินการ และยังมีเจาหนาที่ซึ่งเปนตัวแทนของกระทรวงพลังงานในระดับจังหวัด (พลังงานจังหวัด) เปนเจาหนาที่ระดับปฏิบัติการเพื่อส่ือสารดานขอมูลขาวสารจากสวนกลางไปยังระดับพื้นที่ นอกจากนี้คือ การปโตรเลียมแหงประเทศไทย เปนอีกหนวยงานที่เปนผูสงสารดานพลังงาน เพราะมีภารกิจในการดูแลความม่ันคงทางดานพลังงานของชาติ เพื่อรองรับความตองการของประชาชนอยางตอเนื่อง ไมใหเกิดการขาดแคลน ทั้งดานการสํารวจขุดเจาะพลังงาน การดําเนินการธุรกิจพลังงาน ตลอดจนการรณรงคดานการอนุรักษพลังงาน สวนผูวาราชการจังหวัดในพื้นที่จังหวัดชายฝงทะเลอาวไทย นั้นเปนผูสงสารในฐานะนักปกครองดูแลบําบัดทุกขบํารุงสุขใหกับประชาชนในพื้นที่จังหวัดที่รับผิดชอบ ผูวาราชการจังหวัดเปนผูบริหารสูงสุดในระดับจังหวัด ซึ่งอุตสาหกรรมพลังงานนั้นมีทั้งสวนที่เปนประโยชนตอประเทศชาติ อีกมุมหนึ่งมีผลกระทบตอประชาชนในพื้นที่ที่ดําเนินการอุตสาหกรรมปโตรเลียม ผูวาราชการจังหวัดจึงตองเปนผูที่สงสารไปยังประชาชนในหลายดานเพื่อใหประชาชนเขาใจถึงการดําเนินการดานพลังงาน สวนหนึ่งยังตองทําหนาที่รับฟง

242

ความคิดเห็นของประชาชนดานผลกระทบที่เกิดจากโครงการ หรือการแกปญหาความขัดแยงในพื้นที่ ดังนั้นผูวาราชการนอกจากจะเปนผูสงสารไปยังประชาชนแลวยังเปนตัวกลางในการสงขอมูลในระดับพื้นที่ไปยังรัฐบาล หรือหนวยงานราชการในสวนกลางสําหรับโครงการที่มีปญหาในระดับจังหวัด เน้ือหาสาร (Message) การส่ือสารทางการเมืองเร่ืองพลังงานในอาวไทยในชวง ป พ.ศ. 2524-2553 เนื้อหาสารที่มุงเนนใหเห็นถึงเร่ืองของประโยชนจากพลังงานในอาวไทยที่กอใหเกิดความโชติชวงชัชวาล โครงการพัฒนาแหลงพลังงานกาซธรรมชาติรวมไทย-มาเลเซีย และการรณรงคการอนุรักษพลังงาน โดยมีรายละเอียดดังนี้ ดานประโยชนจากพลังงานในอาวไทย กอนที่จะคนพบและนําพลังงานในอาวไทยมาใชประโยชนนั้น ประเทศไทยนําเขาน้ํามันและวัตถุดิบเพื่อการอุตสาหกรรม 100% เม่ือมีการน้ําพลังงานจากอาวไทยทั้งที่เปนน้ํามันและกาซธรรมชาติข้ึนมาใช ทําใหประเทศไทยลดการน้ําเขาน้ํามันและวัตถุดิบเพื่อการอุตสาหกรรมจากตางประเทศ และยังสามารถผลิตสินคาสงออกไปขายยังตางประเทศไดอีกดวย พลังงานในอาวไทยสงผลใหเกิดสายพานอุตสาหกรรมสําคัญอยาง ครบวงจร ตั้งแตตนน้ํา กลางน้ํา และปลายน้ํา กลาวคือ พลังงานจากอาวไทยถูกสงข้ึนบนบกเพื่อที่จะปอนเขาสูโรงกล่ัน และโรงไฟฟา และแยกสวนประกอบจากกาซธรรมชาติ นําไปสูโรงงานอุตสาหกรรม ปโตรเคมี และอุตสาหกรรมผลิตชิ้นสวน วัสดุอุปกรณ ไมวาจะเปนอุตสาหกรรมเหล็ก ปุย อุตสาหกรรมรถยนต อุตสาหกรรมพลาสติก อุตสาหกรรมส่ิงทอ เพื่อนําไปใชประโยชนตาง ๆ ของการพัฒนาประเทศ จนทําใหประเทศไทยมีฐานผลิตดานอุตสาหกรรมที่สําคัญในภูมิภาคเอเชยี สงผลใหเกิดความเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจ และการขยายของภาคอุตสาหกรรม แถบชายฝงทะเลดังที่ปรากฏตามนโยบายภายใตโครงการพัฒนาพื้นที่ชายฝงทะเลภาคตะวันออก หรืออิสเทิรนซีบอรด และโครงการพัฒนาพื้นที่ชายฝงทะเลภาคใต หรือเซาทเทิรนซีบอรด นิคมอุตสาหกรรมโดยเฉพาะในพื้นที่จังหวัดระยอง ชลบุรี ฉะเชิงเทรา ปราจีนบุรี และเปนที่รูจักกันโดยทั่วไปคือนิคมอุตสาหกรรมมาบตาพุด การขยายตัวของภาคอุตสาหกรรมทําใหสามารถสงสินคาออกตางประเทศได ทําใหการขยายตัวทางเศรษฐกิจโดยเฉพาะในรัฐบาลของ พลเอกชาติชาย ชุณหะวัณ มีความเจริญเติบโตทุกปมากวา 10% จนไดรับการยอมรับวาเปนยุคทองของคนในชวงนั้น8 ส่ิงเหลานี้คือเนื้อหาของสารที่ผูสงสารโดยเฉพาะรัฐบาลแตละรัฐบาลไดพยายามเสนอใหประชาชนรับรูและเปนเหตุผลของการดําเนินโครงการพลังงานมาโดยตลอด

8จิตติศักดิ์ นันทพานิช, “ทางสายเปล่ียนแปลงประเทศไทย (1),” หนังสือพิมพ

ฐานเศรษฐกิจ (8 สิงหาคม 2554).

243

ดานการสัมปทานแปลงสํารวจขุดเจาะพลังงานในอาวไทย เนื่องจากพลังงานมีความสําคัญตอการพัฒนาประเทศ การเปดโอกาสใหมีการศึกษาสํารวจแหลงพลังงานยิ่งมีมากข้ึน การใหสัมปทานจึงเปนเนื้อหาที่ภาครัฐจะตองส่ือสารไปยังผูประกอบการอุตสาหกรรมพลังงาน ตาง ๆ ไดรับทราบถึงข้ันตอน กระบวนการดําเนินการ ในเร่ืองสัมปทานเปนเนื้อหาสารที่ประชาชนเขาถึงไดยาก เพราะผูจะดําเนินการไดนั้นตองเปนผูประกอบการนิติบุคคลที่มีความม่ันคงดานงบประมาณการลงทุนและอุปกรณ นั้นหมายความวาเร่ืองอุตสาหกรรมพลังงานเปนเร่ืองที่หางไกลจากชาวบานมาก ซึ่งตรงกันขามกับผลกระทบจากการดําเนินการของโครงการที่ใกลตัวประชาชนคนในพื้นที่โดยมิอาจหลีกเล่ียงเชนกัน การใหสัมปทานการขุดเจาะสํารวจพลังงานคร้ังแรกเกิดข้ึนเม่ือ 13 กันยายน 2514 รวมการใหสัมปทานเจาะสํารวจพลังงานทั้งบนบกและทะเล จนถึงปจจุบัน มีจํานวนทั้งส้ิน 110 สัมปทาน จํานวน 157 แปลง อยางไรก็ตามเฉพาะการใหสัมปทานในเขตทะเลอาวไทย มีจํานวน 29 สัมปทาน จํานวน 63 แปลง และมีพื้นที่ทั้งส้ิน 104,690 ตารางกิโลเมตร แบงเปนพื้นที่สํารวจ 83,432.140 ตารางกิโลเมตร พื้นที่ผลิต 16,089.329 ตารางกิโลเมตร9 การส่ือสารเนือ้หาการสัมปทานจะมีการส่ือในประเด็นของข้ันตอนการขอสัมปทาน และจะตองมีการประเมินผลกระทบดานส่ิงแวดลอม (EIA) ดานสังคม (SIA) และดานสุขภาพ (HIA) ตลอดจนขอผูกพันและหนาที่ของผู รับสัมปทาน ซึ่ง ส่ือสารในลักษณะของกฎหมาย โดยเฉพาะพระราชบัญญัติปโตรเลียม ที่มีพัฒนาการแกไขปรับปรุงมาเปนระยะ ๆ ดานโครงการพัฒนาแหลงกาซธรรมชาติรวมไทย-มาเลเซีย เปนอีกเนื้อหาของสาร ที่ส่ือออกมาสูสาธารณะชน ยุคนี้จะเร่ิมเปนยุคของการแสวงหาแหลงพลังงานในทะเลที่เปนพื้นที่ทับซอนตะเข็บชายแดนกับประเทศเพื่อนบาน หรือการลงทุนรวมกับประเทศเพื่อนบาน เพราะประเทศไทยมีความตองการพลังงานสูง ทําใหรัฐบาลนายชวน หลีกภัย นําแนวนโยบายรวมพัฒนาพื้นที่เหล่ือมลํ้าเปนพื้นที่พัฒนารวม (Joint Development Area หรือ JDA) โดยตั้งเปนองคกรรวมไทย-มาเลเซีย (Malaysia-Thailand Joint Authority หรือ MTJA) ซึ่งไดเร่ิมดําเนินการไวในสมัย พล.อ.เกรียงศักดิ์ ชมะนันทน นายกรัฐมนตรี มาพัฒนาตอโดยมีเนื้อหาของสารในประเด็น การแบงปนผลประโยชนฝายละ 50 : 50 ผูลงทุนที่เปนตัวแทนฝายไทย คือ การปโตรเลียมแหงประเทศไทย (ปตท.) และตัวแทนฝายมาเลเซีย คือ บริษัท เปโตนาส และการดําเนินการสรางทอกาซ และโรงแยกกาซ ไทย-มาเลเซีย โครงการดังกลาวไดถูกส่ือมาทามกลางการตอตาน นับตั้งแตระยะแรกของโครงการประชาชนเห็นวาเปนชวงระยะเวลาที่ไมเหมาะสม เพราะประเทศไทยยังประสบ

9กรมเชื้อเพลิงธรรมชาติ, 40 ปของกฎหมายปโตรเลียมไทย, (กรุงเทพฯ: กระทรวง

พลังงาน, 2554), น. 49-51.

244

ปญหาวิกฤตเศรษฐกิจ ไมคุมคากับการลงทุน ความไมชอบมาพากลในการเรงรีบดําเนินโครงการ ขาดการประเมินผลกระทบดานส่ิงแวดลอม เปนตน อยางไรดีรัฐบาลไดพยายามแกไขปญหา และดําเนินการโครงการดังกลาวมาอยางตอเนื่อง และใชระยะเวลาในการดําเนินงานยาวนานเพราะกระแสตอตานในพื้นที่ นอกจานี้ยังมีเนื้อหาของสารในเร่ืองของการรณรงคการอนุรักษพลังงาน ในระยะหลังที่เกิดวิกฤตพลังงาน ทุกฝายไดใหความสําคัญกับการอนุรักษพลังงาน การประหยัดพลังงาน หรือการหาพลังงานทดแทน และการลดมลพิษทางอากาศ เชน การใชกาซธรรมชาติ ในรถยนต การสนับสนุนการวิจัยอนุรักษพลังงานและพลังงานหมุนเวียน ชองทาง (Channel) การสื่อสาร การส่ือสารทางการเมืองเร่ืองพลังงานในอาวไทย มีชองทางที่หลากหลายดวยกลไกของหนวยงานตาง ๆ ประกอบดวย การแถลงนโยบายผานสภาที่มีการถายทอดผานสถานีโทรทัศน และส่ือโทรทัศนไดนําเสนอขาวสารดานพลังงานทุกชอง ไปยังประชาชน และเปนส่ือที่สามารถเขาถึงประชาชนไดจํานวนมากกวาส่ือประเภทอ่ืน ส่ือหนังสือพิมพ ส่ือวารสารของหนวยงานดานพลังงานไมวาจะเปนวารสารของกระทรวงพลังงาน วารสารของ ปทต. เชน วารสารนโยบายพลังงาน วารสาร Energy Plus วารสารรักษพลังงาน วารสารส่ือพลัง วารสารส่ือชุมชน เปนตน ชองทางการเผยแพรขอมูลที่เปนเว็บไซตของกระทรวงพลังงาน ปตท. กรมเชื้อเพลิงธรรม เพื่อเผยแพรเอกสารในรูปแบบอิเล็กทรอนิกส ที่สามารถสืบคนไดตลอดเวลา ตลอดจนการประชาสัมพันธโครงการตาง ๆ ของหนวยงานที่เกี่ยวของ นอกจากนี้ยังมีการทําประชาพิจารณ และเปนชองทางที่สําคัญมากสําหรับการส่ือสารดานพลังงานในปจจุบันเพราะมีการกําหนดใหประเมินผลกระทบดานส่ิงแวดลอมจากโครงการ เพื่อเปนการรับฟงความคิดเห็นของผูมีสวนไดสวนเสีย (Stakeholders) วาจะมีผลกระทบตอสังคม และธรรมชาติส่ิงแวดลอมอยางไร หรือขอกังวลในเร่ืองใด และใหประชาชนไดแลกเปล่ียนขอมูล หรือหาแนวทางปองกันปญหารวมกันกอนที่จะดําเนินการใด ๆ ของโครงการ เนื่องจากที่ผานมาการดําเนินโครงการในอดีตขาดการมีสวนรวมของประชาชน จึงทําใหเกิดปญหาที่สะสมและยากที่จะแกไข การทําประชาพิจารณจึงเปนแนวทางการส่ือสารที่เปนการส่ือสารสองทาง ทั้งผูกําหนดนโยบายและภาคประชาชนในพื้นที่ที่โครงการดําเนินการ ตามเจตนารมณของรัฐธรรมนูญ พุทธศักราช 2550 ไดกลาวถึงสิทธิของประชาชนเกี่ยวกับการรับรูขอมูลขาวสารและการมีสวนรวมของประชาชนในการดําเนินกิจกรรมตาง ๆ เชน มาตรา 67 ซึ่งบัญญัติวาสิทธิของบุคคลที่จะมีสวนรวมของรัฐและชุมชนในการอนุรักษ บํารุงรักษาและการไดประโยชนจากทรัพยากรธรรมชาติและความหลากหลายทางชีวภาพ และในการคุมครอง สงเสริมและรักษาคุณภาพส่ิงแวดลอม เพื่อใหดํารงชีพอยูไดอยางปกติและตอเนื่องในส่ิงแวดลอมที่จะไมกอใหเกิดอันตรายตอสุขภาพอนามัย สวัสดิภาพ หรือคุณภาพชีวิตของตน ยอมไดรับความคุมครองตามความเหมาะสม เปนตน

245

ผู รับสาร ( receiver) ผู รับสารที่ เกี่ยวกับพลังงานในอาวไทย ประกอบดวย ผูประกอบการ ธุรกิจดานอุตสาหกรรมพลังงาน ทั้งดานเจาะสํารวจ โรงกล่ันน้ํามัน โรงแยกกาซ ผูประกอบดานอุตสาหกรรมปโตรเลียมมีความตองการที่รับรูขอมูลจากรัฐบาลเพื่อเสนอโครงการ หรือการขอสัมปทาน เพราะอุตสาหกรรมพลังงานมีการเชื่อมโยงกับแผนการดําเนินดานอุตสาหกรรมของชาติ ผูรับสารอีกกลุม คือ ประชาชน แยกเปนประชาชนที่อยูในพื้นที่ดําเนินโครงการ ซึ่งประชาชนกลุมนี้จําเปนตองรับขอมูลขาวสารเกี่ยวกับโครงการ และเปนประชาชนที่ไดรับผลกระทบจากโครงการดานพลังงาน ที่โครงการอาจจะมีทั้งผลกระทบเชิงบวกและผลกระทบเชิงลบ เชน ปญหาส่ิงแวดลอม ปญหาสังคมวัฒนธรรม และปญหาสุขภาพ จึงเปนกลุมที่ใหความสนใจในเนื้อหาของสารมากกวาประชาชนทั่วไป สวนอีกกลุมประชาชนทั่วไป เปนผูที่ตองการรับรูสภาวะพลังงานของชาติ ราคาน้ํามัน ราคากาซ ที่เกี่ยวของกับการดําเนินชีวิตประจําวัน หรือความรูเกี่ยวกับการอนุรักษพลังงาน พลังงานทดแทน ที่เปนความรูที่กําลังเปนที่สนใจของประชาชนทั่วไปในขณะนี้ ผลกระทบจากการสื่อสาร (Effect) จากการศึกษากระบวนการส่ือสารทางการเมืองเร่ืองพลังงาน ดําเนินโครงการดานพลังงานแมวาจะมีประโยชนตอประเทศแตการดําเนินโครงการสงผลกระทบตอวิถีชีวิตประชาชนในพื้นที่เปนพื้นที่ดําเนินโครงการตาง ๆ ผลกระทบตอส่ิงแวดลอม เนื่องจากอุตสาหกรรมพลังงานนําไปสูอุตสาหกรรมปโตรเคมีที่อาจจะมีทั้งทั้งน้ําเสียที่มีสวนผสมสารเคมีปลอยลงน้ําดินและน้ํา และสงผลกระทบตอส่ิงมีชีวิตและประชาชนที่บริโภคน้ํา มลพิษทางอากาศจากฝุนละออง สารเคมีระเหยในอากาศ ปญหากล่ิน และการเกิดอุบัติภัยสารเคมีที่เกิดข้ึนบอยคร้ังอันเนื่องมาจากความบกพรองของผูประกอบการ และการกํากับดูแลของหนวยงานภาครัฐที่รับผิดชอบไมไดเอาจริงเอาจังกับภาระหนาที่ที่ควรจะเปน จากปญหาส่ิงแวดลอมที่กลาวมาไดนําไปสูปญหาสุขภาวะของประชาชน ซึ่งโครงการที่สะทอนปญหาได คือ โครงการพัฒนาอิสเทิรนซีบอรด โดยเฉพาะมาบตาพุดที่เปนนิคมอุตสาหกรรมขนาดใหญประกอบดวยโรงงานอุตสาหกรรมปโตรเคมีจํานวนมาก ไดสงผลกระทบตอประชาชนรอบโครงการ มาบตาพุดไมไดเปนเพียงตนแบบของพัฒนาการอุตสาหกรรม แตขณะเดียวกันไดกลายเปนตนแบบของปญหาดานผลกระทบที่มีการส่ังสมปญหามาเปนเวลานาน ที่ภาคอุตสาหกรรมไมไดใหความสําคัญกับสังคมรอบนอกอยางเทาที่ควร จึงเปน ตัวสะทอนปญหาโครงการอันเนื่องมาจากนโยบายรัฐบาล อาทิ พบผูปวยเปนโรคมะเร็งเพิ่มข้ึน สังคมและวัฒนธรรมดั้งเดิมเปล่ียนไป ทําใหชาวบานออกมาตอตานโครงการอยูตลอดเวลาใน

246

ระยะหลัง ๆ และการแกปญหาของรัฐบาลไมไดกระทําอยางจริงจังตอเนื่อง กรณีประชาชนที่ไดรับผลกระทบจากโครงการดานพลังงาน เชน โรงเรียนมาบตาพุด ที่มีอยูดังเดิมแตมีโรงกล่ันน้ํามันมาตั้งติดกับโรงเรียนโดยไมมีแนวกันชน ทําใหโรงเรียนประสบปญหาดานฝุนละออง เสียง และกล่ิน สงผลตอสุขภาพของนักเรียนและครูผูสอน รัฐบาลแกปญหาโดยยายโรงเรียนไปสรางที่อ่ืนหางจากที่เดิมประมาณ 5 กิโลเมตร นอกจากนี้ยังมีการตรวจสอบพบสารอินทรียระเหยกอมะเร็งมากกวา 20 ชนิด10 สุดทายทําใหชาวบานและองคกรเอกชนใชกลไกของศาลดวยการยื่นฟองคณะกรรมการพลังงานส่ิงแวดลอมแหงชาติ และหนวยงานที่เกี่ยวของ รวม 8 หนวยงาน จนทําใหศาลปกครองมีคําส่ังระงับโครงการเปนการชั่วคราว 67 โครงการในเขตอุตสาหกรรมมาบตาพุด และจัดใหมีคณะกรรมการรวม 4 ฝาย เพื่อแกไขปญหาโดยมีนายอานันท ปนยารชุน เปนประธานคณะกรรมการ และชาวบานมีการนําพระราชบัญญัติ สุขภาพมาเปนกลไกของการแกไข ภาคประชาชนมากข้ึน การเกิดความขัดแยงและตอตานที่ มีความรุนแรงในพื้นที่ เปนอีกผลกระทบโดยเฉพาะในพื้นที่เซาทเทิรนซีบอรด จากปญหามาบตาพุดกลายเปนความกังวลของพื้นที่อ่ืน ๆ ที่ไมตองการใหมีอุตสาหกรรมปโตรเคมีเกิดข้ึนเพราะกลัวสภาพสังคมจะเปนเหมือนมาบตาพุด โดยเฉพาะการตอตานโครงการทอสงกาซ และโรงแยกกาซ ไทย-มาเลเซีย ตั้งแตรัฐบาลนายชวน หลีกภัย เปนตนมาจนปจจุบันภาคอุตสาหกรรมไมสามารถเกิดข้ึนไดในภาคใต ทําใหประเทศไทยไมไดใชพลังงานจากโครงการรวมไทย-มาเลเซีย และสุดทายตองสงกาซไปขายใหมาเลเซีย นับเปนการลงทุนจํานวนมากที่ไมไดเกิดกับประเทศไทย สะทอนใหเห็นการไมยอมรับโครงการภาครัฐ และความไมไววางใจรัฐบาลหรือบุคลากรของรัฐตอการกํากับดูแล และการจัดสรรผลประโยชนที่เกิดความไมเปนธรรม การพัฒนาเซาทเทิรนซีบอรดจึงไมสามารถเกิดข้ึนไดเหมือนกับทางอิสเทิรน ซีบอรด สวนปญหาผลกระทบดานการทําประชาพิจารณ ชาวบานชี้ใหเห็นวาการทําประชาพิจารณเปนเพียงข้ันตอนที่นําไปสูการดําเนินโครงการ ไมไดเกิดจากการรับฟงความคิดเห็นอยางมีสวนรวมที่แทจริง

10 ไทยโพสต (19 กรกฎาคม 2552).

247

การอภิปรายผล

จากการวิจัยเร่ือง “การส่ือสารทางการเมืองเร่ืองพลังงานในอาวไทย ในชวง ป พ.ศ. 2524-2553” สามารถอภิปรายผลไดดังนี ้ อุตสาหกรรมพลังงานเปนเร่ืองผลประโยชนของชนช้ันนํา

พลังงานเปนปจจัยสําคัญในการพัฒนาประเทศ และเกี่ยวของกับความม่ันคงของชาติ ดังนั้นการแสวงหาแหลงพลังงานเพื่อนํามาใชพัฒนาประเทศจึงมีความสําคัญและจําเปน อยางไรกต็ามธุรกิจพลังงานมีความเส่ียงเกี่ยวของกับลงทุนที่สูงเนื่องจากแหลงพลังงานอยูใตผืนดินแผนน้ํา จึงตองใชอุปกรณที่มีความทันสมัยและราคาสูง นักวิเคราะหขอมูลที่มีความรูความสามารถในการวิเคราะหทางธรณีวิทยา ขณะเดียวกันก็ใหผลกําไรสูงดวยเชนกัน การขุดเจาะพลังงานในอาวไทย คืออุตสาหกรรมตนน้ําที่จะนําไปสูอุตสาหกรรมกลางน้ํา และอุตสาหกรรมปลายน้ําอีกมากมาย ที่ทําใหภาคอุตสาหกรรมขยายตัวสงผลใหเศรษฐกิจเติบโตไปดวย เพราะภาคอุตสาหกรรมจะทําใหเกิดการสรางงานสรางรายไดในภาคประชาชน พลังงานคือกลไกที่จะขับเคล่ือนการพัฒนาประเทศและยกฐานะทางเศรษฐกิจของชาติ เม่ือภาคอุตสาหกรรมขยายตัวประกอบกับการเปล่ียนแปลงการดํารงชีวิตของคนไทยในทิศทางที่พึ่งพาการใชพลังงานในดานตาง ๆ มากข้ึน สงผลใหประเทศไทยมีความตองการใชพลังงานเพิ่มสูงข้ึนอยางตอเนื่อง จึงเกี่ยวของกับผลประโยชนที่อาจจะตกอยูกับกลุมคนบางกลุม โดยเฉพาะกลุมนักการเมืองและนักธุรกิจ กลายเปนกลุมผลประโยชนจากนโยบายสาธารณะโครางการขนาดใหญจะตองไดรับความเห็นชอบจากคณะรัฐมนตรีและรัฐบาลที่จะตองใหการรับรองหรือเปนสักขีพยานในการรวมทุนของกลุมระหวางประเทศ หรือการกูยืมเงินจากสถาบันการเงินเพื่อดําเนินโครงการที่รัฐบาลกําหนดไว จํานวนงบประมาณบางโครงการอาจจะเปนพันลานบาท หรือบางโครงการมีมูลคาหลายหม่ืนลานบาท จํานวนเงินดังกลาวจะทําใหกลุมที่มีอํานาจใชกลไกการบริหารเพื่อแสวงหาประโยชนใหกับกลุมตัวเอง ซึ่ง เดวิด ทรูแมน (David Truman)11 ไดกลาวถึงกลุมที่รวมตัวกันเพื่อวัตถุประสงคและผลประโยชนคลายคลึงกันมาทํากิจกรรมรวมกัน ผลประโยชนจากพลังงานในอาวไทยจึงเปนความสัมพันธของกลุมคน 2 กลุม โดยมีส่ือมวลชนเปนชองทางการส่ือสารในดานที่เปนขอมูลเชิงบวกกับกลุมผลประโยชนที่เปนชนชัน้นาํของสังคมที่อิทธิพลพยายามชี้ใหเห็นประโยชนของพลังงานที่จะเกิดข้ึนกับประเทศชาติดังจะเห็น

11David Truman, The Government Process, (New York: Alfired A Knopt, 1951).

248

ในวาทกรรมทางการเมืองวา “โชติชวงชัชวาล” หรือ “น้ําไหลไฟสวางทางสะดวก” หรือ “การพัฒนาพลังงานคือการพัฒนาชาติ” เปนตน วาทกรรมดังกลาวชี้ใหเห็นถึงการนําพลังงานจากอาวไทยโดยเฉพาะกาซธรรมชาติ ไปปอนสูโรงไฟฟา เพื่อผลิตไฟฟาใหประชาชนไดมีไฟฟาใชในครัวเรือน อุตสาหกรรมปโตรเคมีอ่ืน ๆ ตามมาอีกมากมาย สามารถนําวัสดุอุปกรณที่ผลิตจากอุตสาหกรรมกลางน้ํา ไปสูอุตสาหกรรมปลายน้ํา เชน อุตสาหกรรมผลิตรถยนต อุตสาหกรรมปุย น้ําแข็งแหงเคมีภัณฑตาง ๆ ลวนแตเปนการนําเสนอเนื้อหาของสารในเชิงบวกเพียงดานเดียว ที่จะนํามาใชใหจะเกิดประโยชนตอประเทศ เม่ือพิจารณาใหดีแลวอุตสาหกรรมพลังงานจะเกี่ยวของกับรัฐบาลผูมีอํานาจตัดสินใจและนายทุนผูที่รวมทุนเพื่อหวังผลกําไรจากนโยบายรัฐบาล นักการเมืองไดชื่อเสียง และยังไดผลประโยชนตางตอบแทนจากนักธุรกิจเม่ือสนับสนุนใหโครงการสามารถดําเนินการได โดยเฉพาะโครงการตาง ๆ ที่รัฐบาลผลักดัน ไมวาจะเปนการสรางทอสงกาซ โรงแยกกาซ โรงกล่ัน และโรงไฟฟา ซึ่งแตละโครงการใชงบประมาณหลายพัน-หม่ืนลานบาท ซึ่งตองกูเงินทุนจากสถาบนัการเงินรัฐบาลยังตองค้ําประกัน และยังเปนสักขีพยานในการรวมคากับตางประเทศ หรือประเทศเพื่อนบาน เม่ือพบแหลงพลังงานแลวรัฐยังเปนฝายรับซื้อไมวาจะผานในนามของการไฟฟาฝายผลิต หรือการปโตรเลียมแหงประเทศไทย (ปตท.) ซึ่งเปนองคการดําเนินการพลังงานแหงชาติของไทย ผลประโยชนจึงตกอยูกับกลุมนักการเมืองและกลุมทุนเปนสวนใหญ หรือบางคร้ังจะเห็นขาวในเชิงลบกับนักการเมืองในพื้นที่ที่เปนพื้นที่ดําเนินโครงการ หรือรูวาจะมีการดําเนินโครงการ จะมีการซื้อที่ไวเพื่อเก็งกําไร ส่ิงเหลานี้เปนผลประโยชนแอบแฝงในกลุมชนที่เปนกลุมที่มีพลังอํานาจสูงในทางสังคม ยากที่ประชาชนจะเขาไปตรวจสอบไดเพราะอุตสาหกรรมเปนเร่ืองที่หางไกลจากชาวบานมาก ยังอาจจะเชื่อมโยงไปถึงกระบวนการคอรัปชั่นเชิงนโยบายไดอีก ดังที่ สังศิต พิริยรังสรรค12 ไดศึกษาถึงกระบวนการทุจริตคอรรัปชั่นของไทยเกี่ยวของกับกลุมชนชั้นนําของสังคมที่รวมกันประกอบดวย นักการเมือง ขาราชการระดับสูง และนักธุรกิจ สอดคลองกับจุมพล หนิมพานิช13 ที่มองวากลุมการเมืองกลุมผลประโยชนเปนกลุมการเมืองที่รวมกันเพื่อแสวงหาผลประโยชนโดยผานกระบวนการทางการเมือง และใชอิทธิพลตอการกําหนดนโยบายสาธารณะ ในอดีตนั้นการกําหนดนโยบายสวนใหญเปนนโยบายจากสวนบนลงลาง (Top-Down) ประชาชนไมมีสวนรวมในการกําหนดนโยบาย จึงไดเกิดการตอตานเพราะผลประโยชนตกอยูที่กลุมคนเพียง

12สังศิต พิริยะรังสรรค, คอรัปชั่น ขาราชการ นักการเมือง และนักธุรกิจ, (กรุงเทพฯ:

สภาที่ปรึกษาเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติ, 2547). 13จุมพล หนิมพานิช, กลุมผลประโยชนกับการเมืองไทยแนวเกา แนวใหมและ

กรณีศึกษา, พิมพคร้ังที่ 2, (กรุงเทพฯ: จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย, 2552), น. 108-109.

249

สองกลุมซึ่งเปนกลุมที่มีอิทธิพลของสังคม ผลการศึกษาสอดคลองกับโสภณ สุภาพงษ14 ที่ไดศึกษาถึงผลประโยชนทับซอนของคณะกรรมนโยบายพลังงานแหงชาติ บริษัทน้ํามันแหงชาติ กับคณะกรรมการบริษัทน้ํามันในประเทศไทย พบวาไดเกิดผลประโยชนทับซอน (Conflict of Interest) กับคณะกรรมการนโยบายพลังงานแหงชาติ นอกจากไดรับประโยชนจากคาตอบแทน ในตําแหนงคณะกรรมการแลวยังมีผลประโยชนจากการถือหุนบริษัทน้ํามันหลายแหง มีกรรมการนโยบายบางคนไดรับผลประโยชนจากเบี้ยประชุม และโบนัสกรรมการบริษัทปละจํานวนมาก การจัดสรรผลประโยชนที่ไมเปนธรรมกับประชาชนในพื้นที่ จากการศึกษาพบวามีประเด็นของผลประโยชนที่เกิดกับคนในพื้นที่ที่ดําเนินการโครงการ เปนคําถามที่ชาวบาน และนักวิชาการอิสระ ไดหยิบยกข้ึนมาถามถึงผลประโยชนที่เปนจริงที่ตกถึงรัฐ โดยคาธรรมเนียมในการสัมปทานตาง ๆ นําไปจัดสรรในเร่ืองใดบางที่เปนประโยชนกับคนในพื้นที่ ในทางตรงขามประชาชนที่อยู ในพื้นที่ดําเนินการอุตสาหกรรมปโตรเคมีที่ เปนอุตสาหกรรมสืบเนื่องจากอุตสาหกรรมพลังงานกลับมีคุณภาพชีวิตที่ย่ําแย งบประมาณกลับคืนสูทองถิ่นเพื่อนําไปดําเนินโครงการที่เปนประโยชนตอประชาชนผูมีสวนไดสวนเสียในพื้นที่จริง ๆ ไมวาจะเปนการดําเนินการดานส่ิงแวดลอม ระบบควบคุมมลพิษที่ไดมาตรฐาน การตรวจสอบสุขภาพของประชาชน ดังที่ จําลอง ผองสุวรรณ15 ประธานชุมชนมาบยา ที่มาบตาพุด จังหวัดระยองสะทอนใหเห็นวาหากมาบตาพุดเปนเสนเลือดใหญที่หลอเล้ียงคนทั้งประเทศ แลวทําไมปลอยใหคุณภาพชีวิตของชาวมาบตาพุดย่ําแยกวาประชาชนทั่วไป พวกเขาควรไดรับสวัสดิการที่ดีจากรัฐ และการดําเนินชีวิตประจําวันที่มีความเส่ียงตอชีวิตและทรัพยสินสูงกวาประชาชนทั่วไป ไมวาจะเปนการเผชิญหนากับปญหาฝุนละออง กล่ิน เสียง ที่เปนส่ิงรบกวนและสงผลตอสุขภาวะทางกายและทางจิตใจอยางยิ่ง สอดคลองกับจิรชัย เชาวลิตร16 นักวิชาการอิสระชี้ใหเห็นถึงความไมเขาใจระหวางชาวบานกับรัฐบาล นโยบายรัฐบาลเปนเร่ืองของขาราชการกับนักธุรกิจ รัฐบาลมักพูดถึงแตผลประโยชนในภาพรวม พูดถึง GDP ทําใหชาวบานเกิดความสับสนในโครงการหนวยงานที่มีสวนเกี่ยวของไมวาจะเปน กระทรวงพลังงาน โรงไฟฟา โรงกล่ัน หรือแมแต ปตท. เองตองใหความรูทางปญญากับชาวบาน

14โสภณ สุภาพงษ, “ผลประโยชนทับซอน, คณะกรรมนโยบายพลังงานแหงชาติ,

บริษัทน้ํามันแหงชาติกับคณะกรรมการบริษัทน้ํามันในประเทศไทย,” (วิทยานิพนธปริญญามหาบัณฑิต สาขาผูนําทางสังคม ธุรกิจการเมือง คณะศิลปศาสตร มหาวิทยาลัยรังสิต, 2551).

15จําลอง ผองสุวรรณ, ประธานชุมชนมาบยา, สัมภาษณ 19 กุมภาพันธ 2556. 16จิรชัย เชาวลิตร, สัมภาษณ 8 มกราคม 2556.

250

ดวย นําขอมูลที่แทจริงมาเปดเผยอยางรอบดาน ชาวบานจะไดมีขอมูลเพื่อวิเคราะหไดวาโครงการนั้นดีหรือไมดีอยางไร เม่ือมีการลงทุนดานพลังงานไปแลวชาวบานในพื้นที่ไดประโยชนอะไรบาง ที่ผานมานโยบายพลังงานของรัฐบาลจึงเปนเร่ืองที่หางไกลชาวบาน และนํามาสูปญหาความขัดแยง และชี้ใหเห็นการจัดสรรผลประโยชนไมไดครอบคลุมไปยังประชาชนที่อยูในพื้นที่ดําเนินโครงการของรัฐบาลอยางที่ควรจะเปน แตกลับปลอยใหไดรับผลกระทบจนส่ังสมปญหาไวยากที่จะแกไข

2. การสื่อสารทางการเมืองเร่ืองพลังงานผูสงสารเปนผูสงสารท่ีมีพลัง และมีอํานาจสูงสุด เม่ือพิจารณาเร่ืองพลังงานเปนเร่ืองของความม่ันคงและมีความจําเปน ผูสงสารคือรัฐบาล หรือองคการภาครัฐ ตามความเชื่อและทัศนคติของสังคมคนไทย รัฐบาล หรือขาราชการ คือ ผูที่มีอํานาจ มีอิทธิพลตอการชี้นําสังคม และประชาชนจะใหการยอมรับวาเปนผูที่มีความรูความสามารถเหนือกวาประชาชนทั่วไป โดยเฉพาะในอดีตที่ประชาชนยังไมมีสิทธิมีเสียงมากยิ่งสรางความมีอํานาจใหกับชนชั้นนํา ผูสงสารที่เปนภาครัฐ จึงเปนกลุมบุคคลที่มีอํานาจในการบริหารประเทศ การตัดสินใจตอการดําเนินโครงการดานพลังงาน โดยเฉพาะการแถลงนโยบาย หรือการอภิปรายในสภา ดังนั้นการส่ือสารทางการเมืองจึงเกี่ยวของกับการเมืองและอาศัยบริบททางการเมืองและเศรษฐกิจ เดนตัน และ วูดเวิรด (Denton and Woodward)17 ใหนิยามวาการส่ือสารทางการเมืองเปนการอภิปราย หรือการโตแยงเกี่ยวกับการจัดสรรทรัพยากรสาธารณะรวมทั้งวาทะกรรมทางการเมืองทั้งการเขียนและการพูดโดยผูสงสารมีเจตนาที่ใหการสงสารมีอิทธิพลตอสภาพแวดลอมทางการเมือง หรือกลาววา การอภิปรายหรือการโตแยงเกี่ยวกับการจัดสรรทรัพยากรสาธารณะที่จะเปนการส่ือสารทางการเมืองจะข้ึนอยูกับสาระสําคัญและเจตนาของการส่ือสารวาเปนสาระหรือวัตถุประสงคทางการเมืองหรือซึ่งในขณะที่ยุคแรก ๆ ของการดําเนินการอุตสาหกรรมพลังงานเปนการมีวัตถุประสงคเพื่อนําพลังงานมาใชในการพัฒนาประเทศใหมาก ขณะเดียวกันชวงนั้นเปนชวงที่ประเทศไทยนําเขาพลังงาน จึงตองพึ่ งพิงพลังงานจากตางประเทศ และวัตถุดิบในการดําเนินการอุตสาหกรรมก็ตองนําเขา รัฐบาลในฐานะผูสงสารจึง มุงชี้นําใหเห็นความสําคัญของพลังงานในอาวไทยที่จะนํามาใชประโยชนทําใหประเทศไทยเจริญกาวหนาอยางโชติชวงชัชวาล เปนอารยะสากลสามารถโลดแลนในเวทีโลก ดวยความที่รัฐบาลมาจากนักการเมืองที่เปนตัวแทนของประชาชน รัฐบาลในแตละยุคสมัยทําใหเห็นบทบาทของผูสงสารที่จะสรางความนาเชื่อถือและการประชาสัมพันธโครงการหรือผลงานของตนเองเพือ่ใหเกิดประโยชนและครองอํานาจใหยาวนานที่สุด นอกจากนี้การส่ือสารทางการเมืองเร่ืองพลังงานใน

17R.E. Denton Jr. and G.C. Woodward, Political Communication in America,

(New York: Preager, 1990), p. 15.

251

แตละชวงนั้นสะทอนถึงคานิยมและวัฒนธรรมของสังคมในแตละชวง ดังที่ Lasswell18 ไดกลาวถึงองคประกอบการส่ือสารทําใหสามารถพิจารณาบทบาทและหนาที่ของการส่ือสารได 3 ประการ คือ 1) หนาที่ในการติดตามขาวสารและใหขาวสารเกี่ยวกับส่ิงที่เกิดข้ึนในสังคมในการนี้อาจเปนเร่ืองของความจําเปน ในการสรางความม่ันคงทางพลังงาน และการเกิดอุตสาหกรรมตอเนื่องที่สงผลตอการขยายตัวทางเศรษฐกิจ 2) หนาที่ในการใหความเห็นตอบโตตอส่ิงที่เกิดข้ึน รัฐบาลใหการชี้แจงตอขอซักถามและสงสัยของสังคม และ 3) หนาที่ในการใหการศึกษาและถายทอดคานิยมวัฒนธรรม ในบางคร้ังรัฐบาลก็พยายามสงเสริมการสรางคานิยม เชน การอนุรักษพลังงาน หรือการใชพลังงานทดแทน เปนตน 3. การสื่อสารทางการเมืองตามทฤษฎีของ David K. Berlo19 ไดกลาวถึงกระบวนการส่ือสารทางการเมืองที่ตองใชกระบวนการคิดและการใชภาษา กระบวนการสงและรับ ตลอดจนกระบวนการของการแลกเปล่ียนขาวสารเพื่อความเขาใจรวมกัน ไดอธิบายการส่ือสาร คือ ความสัมพันธระหวางกันขององคประกอบทางการส่ือสารที่เรียกวา SMCR ประกอบดวย ผูสงสาร (Sender) สาร (Message) ชองทาง (Channel) และผูรับสาร (Receiver) ซึ่งทุกองคประกอบไมสามารถแยกออกจากกันได การส่ือสารจะประสบความสําเร็จไดข้ึนอยูกับปจจัยตาง ๆ ขององคประกอบในกระบวนการส่ือสาร โดยเฉพาะความสามารถทางการส่ือสารของผูสงสารและผูรับสาร เม่ือพิจารณาผูสงสารในการส่ือสารทางการเมืองเร่ืองพลังงานในอาวไทยตามแนวคิดของ David K. Berlo แลว ผูสงสารเปรียบไดกับกลุมชนชั้นนําหรือชนชั้นผูปกครองของสังคม ไมวาจะเปนรัฐบาล รัฐมนตรีที่รับผิดชอบดานพลังงาน ผูบริหารกระทรวงพลังงาน หรือแมแตผูวาราชการก็เปนผูปกครองในระดับพื้นที่ที่ประชาชนผูรับสารจะตองมีความยําเกรงเพราะเปนผูปกครองสูงสุดของจังหวัด เชนเดียวกับการปโตรเลียมแหงประเทศไทย (ปตท.) เปนองคการดานพลังงานของไทยที่มีความเชี่ยวชาญและดําเนินกระบวนการผลิตพลังงานไดอยางครบวงจร และเปนองคการพลังงานแหงชาติที่ไดรับการยอมรับวาเปนหนวยงานที่มีศักยภาพ สามารถจัดหา ควบคุม วิจัยคุณภาพ ตลอดจนสามารถกําหนดราคาพลังงานได เม่ือพิจารณาใหดีจะพบวาผูสงสารเปนผูที่กําหนดนโยบายและผลักดันนโยบายไปสูการปฏิบัติดวยกลไกของหนวยงานภาครัฐเปน ตัวขับเคล่ือนตามภารกิจของแตละหนวยงาน ผูรับสารที่เปนผูประกอบการหรือนักธุรกิจที่จะเปน

18H.D. Lasswell, “The Structure and Function of Communication in Society,”

In Public Opinion and Communication, (New York: Free Press, 1966), p. 178. 19David K. Berlo, The Process of Communication An Introduction to Theory

And Practice, (San Francisco: Rinehart Press, 1960), pp. 30-39.

252

ผูลงทุนในการดําเนินโครงการที่ รัฐบาลวางนโยบายไว ทําใหผูสงสารและผู รับสารที่เปนผูประกอบการอุตสาหกรรมพลังงาน ซึ่งเปนกลุมชนชั้นนําของสังคม ซึ่งกาญจนา แกวเทพ20 ไดใหความหมายกลุมชนชั้นนําไววา กลุมชนชั้นที่มีพลังงานในการผลักดันทิศทางและการเคล่ือนไหวของสังคม ในที่นี้กลุมชนชั้นนํา ประกอบไปดวยรัฐบาล รัฐมนตรี นักธุรกิจดานพลังงาน ซึ่งเปนกลุมบุคคลที่มีบทบาทเกี่ยวของกับการตัดสินใจเร่ืองสาธารณะ (public affairs) และมีส่ือมวลชนเปนชองทางการส่ือสารการดําเนินงานของรัฐบาลและผูประกอบการ ดังนั้นทั้งภาครัฐ นักธุรกิจ และส่ือมวลชนจึงมีความสัมพันธแบบพึ่งพาอาศัยกัน (Interdependence) กลาวคือ ชนชั้นนําจะดํารงฐานะอภิสิทธิ์ชน จะดํารงอยูในตําแหนงไดยาวนานก็เพราะมีส่ือมวลชนเปนชองทางการเผยแพรผลงาน และส่ือเองจะอยูไดก็ตองอาศัยการสนับสนุนจากชนชั้นนํา ดังนั้นเนื้อหาสารจึงมุงเนนใหเห็นวาพลังงานมีสําคัญตอประเทศชาติทําให เศรษฐกิจดี ข้ึน ไมตองพึ่งพิ งวัตถุดิบในภาคอุตสาหกรรมจากภายนอกประเทศที่มีราคาสูง เม่ือภาคอุตสาหกรรมขยายตัวสงผลใหเกิดการจางงานและสรางรายไดใหกับประชากร รัฐบาล จึงเปดโอกาสใหสัมปทานการเจาะสํารวจพลังงานในอาวไทยใหกับผูประกอบการอยางเปนระยะ แสวงหาและนําพลังงานจากอาวไทยมาใชเพื่ออุตสาหกรรมใหมากที่สุด โดยเฉพาะยุคแรก ๆ ของการนําพลังงานจากอาวไทยมาเขาสูกระบวนการอุตสาหกรรมนับตั้งแตรัฐบาลพลเอกกเปรม ติณสูลานนท จนถึงพลเอกชาติชาย ชุณหะวัณ ซึ่งเปนการนํามาใชพลังงานจากภายในประเทศมากที่สุด อยางไรก็ตามชวงปลายรัฐบาลพลเอกชาติชาย เร่ิมมีการดึงประเทศเพื่อนบานใหหันมาลงทุนรวมดานอุตสาหกรรมดานพลังงาน และเม่ือถึงรัฐบาลชวน หลีกภัย ไดเห็นการลงทุนรวมกับประเทศเพื่อนบานอยางเปนรูปธรรม คือ การเกิดโครงการรวมไทย-มาเลเซีย โดยมีเปาหมายนําพลังงานที่อยูในพื้นที่ทับซอนมาใชประโยชนรวมกันบนหลักการแบงปนผลประโยชนที่เทาเทียมกัน คือ 50:50 โดยมีหนวยงานดานพลังงานของประเทศมาเลเซีย คือ บริษัท เปโตนาส จํากัด และฝายไทย คือ ปตท. ลงทุนรวมกัน เปนตน จากขอมูลดังกลาวขางตนชี้ใหเห็นวาผูสงสารซึ่งผูวิจัยใหความหมายโดยรวมคือ รัฐบาล มีความสัมพันธกับผูประกอบการเพื่อใหเกิดการดําเนินโครงการดานพลังงาน เม่ือวิเคราะหใหดี 2 กลุมนี้มีความสัมพันธที่ดีตอกันและเขาใจซึ่งกันและกันมีเปาหมายเดียวกัน เพราะไมเคยเห็นความขัดแยงของรัฐบาลกับนักธุรกิจดานพลังงาน นอกจากการเอ้ือเฟอเกื้อกูลกันและเขาใจนโยบายของรัฐบาลไดดี สวนผูรับสารที่เปนประชาชน ไมเขาใจเจตนาที่แทจริงของผูสงสารซึ่งหมายถึงรัฐบาล นโยบายดานพลังงานเปนเร่ืองที่ ไกลตัวยากที่จะเขาใจใหตรงกันได เพราะ

20กาญจนา แกวเทพ, การวิเคราะหส่ือแนวคิดและเทคนิค, พิมพคร้ังที่ 4, (กรุงเทพฯ:

จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย, 2547), น. 37-38.

253

ประชาชนในพื้นที่ที่ดําเนินโครงการเขาตองการสารที่พูดถึงผลกระทบจากโครงการ ประโยชนอะไรที่จะเกิดข้ึนในพื้นที่ที่อาศัย หรือมีโทษอะไรบางจะเกิดข้ึนในพื้นที่ที่พวกเขาอาศัยอยูหากมีอุตสาหกรรมเคมีมาตั้งอยูในพื้นที่ที่อาศัยอยูมานาน คุณภาพชีวิตจะเปนอยางไร ชี้ใหเห็นวาผูรับสารที่เปนผูประกอบการ กับประชาชนผูมีสวนไดเสียในพื้นที่นั้นตองการรับสารที่แตกตางกัน ผูประกอบการมีความตองการขอมูลขาวสารดานขนาดโครงการ หรืองบประมาณโครงการ หรือแผนงานอุตสาหกรรมที่จะขยายไปในทิศทางใด ขณะที่ชาวบานตองการสารในดานผลกระทบที่อาจจะเกิดข้ึนเม่ือมีโครงการปโตรเคมีในพื้นที่ จะมีผลกระทบตอส่ิงแวดลอม สุขภาพ วิถีชีวิตและวัฒนธรรมอยางไร แนวทางที่จะแกปญหาในอนาคตมีอะไรบาง นอกจากนี้ ปจจัยที่สนับสนุนประสิทธิภาพของการส่ือสารทางการเมือง 5 ประการ ตามที่ David K. Berlo ไดกลาวไว ไดแก 1) ทักษะในการส่ือสาร (communication skills) คือ ความสามารถในการถายทอดสารทั้งในดานการพูด การเขียน การแสดงสีหนาทาทางประกอบระหวางการส่ือสาร 2) ทัศนคติ (attitudes) เปนปจจัยที่สงผลตอการส่ือสารมาก เนื่องจากบุคคลจะประเมินส่ือตาง ๆ เขาขางตนเองและจะส่ือสารไดดีในเร่ืองที่มีทัศนคติตรงกัน 3) ความรู (knowledge) หมายถึงการมีความรูในขอมูลขาวสารที่ถูกตองแมนยํา จะสงผลใหการส่ือสารนั้นถูกตองและนาเชื่อถือ 4) ระบบสังคม (social system) ระบบสังคมเปนตัวกําหนดพฤติกรรมการส่ือสารของบุคคล หมายความวา หากผูสงสารอยูในสังคมระดับเดียวกันจะมีพฤติกรรมการส่ือสารคลอยตามกัน หากผูสงสารอยูในสังคมตางกันก็จะมีพฤติกรรมการส่ือสารที่ไมเหมือนกันหรือไมสอดคลองกัน 5) วัฒนธรรม (culture) ไดแก ความเชื่อ คานิยม ขนบธรรมเนียมประเพณีที่เหมือน หรือตางกันจะเปนตัวกําหนดความสําเร็จหรือความลมเหลวของการส่ือสารได เม่ือพิจารณาปจจัยทั้ง 5 ประการที่จะทําใหการส่ือสารทางการเมืองเร่ืองพลังงานใหเกิดประสิทธิภาพระหวางรัฐบาลกับประชาชนนั้นยอมเกิดข้ึนไดยาก เพราะทุกปจจัยไมไปในทิศทางเดียวกัน ทั้งทักษะดานการส่ือสาร ความรูดานพลังงาน ภาครัฐใชภาษาที่เปนวิชาการทําใหชาวบานเขาใจไดยาก หรือบางโครงการสรางความสับสนใหกับชาวบาน เพราะหนวยงานภาครัฐ ไมวาจะเปนกระทรวงพลังงาน หรือ ปตท. ไมไดใหขอมูลที่เปนจริงกับชาวบานไมติดอาวุธทางปญญาใหกับชาวบานทําใหเปนปญหาตอการส่ือสาร เร่ืองทัศนคติ ชาวบานในฐานะผูรับสารมีทัศนคติตออุตสาหกรรมปโตรเคมีตรงขามกันกับผูรับสาร เพราะชาวบานมีทัศนคติเชิงลบตออุตสาหกรรม ปโตรเคมีเกิดจากขอกังวล สงสัย ในหลายประเด็นที่รัฐไมสามารถแกปญหาไดที่เห็นชัดเจน คือ ปญหามาบตาพุด จังหวัดระยอง หรือโรงไฟฟาถานหินที่แมเมาะ นับเปนตนแบบของปญหาที่รัฐบาลไมสามารถแกไขได จนกลายเปนตราบาปในใจที่สงผลกระทบตอทัศนคติที่แตกตางกัน ทําใหเห็นชองวางของระบบสังคมที่ผูสงสารหรือภาครัฐที่เปนผูกําหนดนโยบายดานพลังงาน และชาวบานมีความเชื่อที่แตกตางกัน

254

ทําใหการส่ือสารทางการเมืองเร่ืองพลังงานไรประสิทธิภาพ และนํามาซึ่งความขัดแยงระหวางชาวบานกับรัฐบาล การออกมาตอตานโครงการตาง ๆ มีเหตุผลมาจากความไมเขาใจกันในเร่ืองของความตองการ การจัดสรรแบงปนผลประโยชน ไมมีความเปนธรรม ตามคานิยมวัฒนธรรมของสังคมประชาธิปไตยที่ควรจะเปน เม่ือเกิดความไมเขาใจกัน และการไดรับความไมเปนธรรมของชาวบานอันเนื่องมาจากโครงการที่รัฐเปนผูกําหนด จึงเกิดผลกระทบ (Effect) จากการส่ือสาร

4. ผลกระทบจากการสื่อสาร (Effect) การดําเนินโครงการดานพลังงานของรัฐบาล เนื่องจากโครงการดานพลังงานเปนโครงการที่เกิดข้ึนจากสวนบนลงลาง (Top- Down) และมีการส่ือสารในลักษณะของการส่ือสารทางเดียว (one way) ยังไมไดใหความสําคัญกับกลุมผูรับสารที่มีแตกตางหลากลาย และมีเปาหมายในการรับสารแตกตางกันไปดวย การส่ือสารเร่ืองพลังงานไปยังประชาชนเปนลักษณะที่ชี้นําตามหลักทฤษฎีกระสุนปน (Magic Bullet Theory) - ทฤษฎีเข็มฉีดยา (Hypodermic needle Theory)21 ที่ส่ือสารใหเห็นในเร่ืองประโยชนของพลังงานเปนสวนใหญเพื่อใหเกิดความเชื่อตามทัศนคติตามผูสงสารที่โฆษณาชวนเชื่อวาการนําพลังงานจากอาวไทยไมวาจะเปนน้ํามัน หรือกาซธรรมชาติจะทําเพื่อประโยชนของคนทั้งชาติ หรือชี้นําใหเห็นวาพลังไทยเพื่อไทยลดภาระการนําเขาจากตางประเทศ หรือมีคาดหวังวาพลังงานในอาวไทยจะนําประเทศไทยให “โชติชวงชัชวาล” โดยเปนการนําเสนอขาวสารดานบวกเพียงดานเดียว สวนผลกระทบในดานลบไมกลาวถึง ทําใหประชาชนไมมีขอมูลดานพลังงานที่เปนความรูเพื่อการวิเคราะหโครงการไดอยางรอบดาน ผูสงสารคือรัฐบาลผูมีอํานาจบิดเบือนขอมูลไดงายข้ึน เม่ือการดําเนินโครงการไดขยายผลอยางตอเนื่องปญหาตาง ๆ ที่สะสมมา ไมวาจะเปนการรับฟงความคิดเห็น ผลกระทบตอส่ิงแวดลอม ผลกระทบตอวิถีชีวิตของชาวบาน ที่รัฐบาลโดยเฉพาะยุคแรก ๆ ของการนําพลังงานมาใชไมไดสงเสริมใหประชาชนมีสวนรวมอยางแทจริงตอการดําเนินโครงการ หรือพยายามปกปด และปลอยปละละเลย เม่ือเวลาดําเนินมาถึงยุคขอมูลขาวสารและประชาชนสามารถที่จะเลือกรับสารไดมากข้ึน ตามทัศนคติที่เคยมองวาผูรับสารเปนเพียงผูดู – ผูชมไดเปล่ียนไปกลายเปนผูตรวจสอบการทํางานของผูบริหารประเทศ หรือหนวยงานที่เกี่ยวของดานพลังงาน และตองการการมีสวนรวมในการดําเนินโครงการมากข้ึน จึงเกิดผลสะทอนยอนกลับ ในทางทฤษฎีการส่ือสารของ ลาสเวลล (Lasswell) 22 ไดกลาวถึงองคประกอบของการส่ือสารใน

21เสถียร เชยประทับ, การส่ือสาร การเมือง และประชาธิปไตยในสังคมพัฒนาแลว,

(กรุงเทพฯ: จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย, 2551). 22H.D. Lasswell, “The Structure and Function of Communication in Society,”

In Public Opinion and Communication, p. 178.

255

รูปของประโยคคําถามวา “ใครบอกอะไรแกใครโดยชองทางไหนและมีผลอยางไร” ปฏิกริยาสะทอนยอนกลับดังกลาวเปนตัวบงชี้ไดถึงผลของการส่ือสาร วาผูรับสารมีความรูสึกนึกคิดอยางไร ทําใหปฏิกิริยานั้นเปนองคประกอบของการส่ือสารที่สมบูรณ หรือเรียกวาการส่ือสาร 2 ทาง (two way) เปนการรับรูความรูสึกของผูรับสารที่มีตอสารที่ผูสงสารนั้นสงไปถึง การแสดงออกเพื่อการตอบโตจะสะทอนความสําเร็จของการส่ือสาร ที่กอนหนานั้นเปน Top-Down เปน Buttom-Up สําหรับการส่ือสารการเมืองเร่ืองพลังงานในอาวไทย ไดเกิดปฏิกิริยาการตอบโต (Effect) ในหลายประเด็น ดังเชน ชาวภาคใตออกมาตอตานนายกรัฐมนตรีชวน หลีกภัย ทั้ง ๆ ที่นายชวน หลีกภัยเปนนักการเมืองที่เปนตัวแทนของคนภาคใต กรณีโครงการทอกาซและโรงแยกกาซไทย-มาเลเซีย ที่มีเงื่อนงํา เปนโครงการที่เกิดข้ึนอยาเรงรีบไมมีการศึกษาผลกระทบมากอน จนเกิดการรวมกลุมนักศึกษา นักวิชาการ และเอ็นจีโอ ประมาณ 500 คน ยืนประทวงคัดคานและปดลอมรถ คณะนายกชวน ที่เดินทางไปเปนสักขีพยานระหวาง ปตท.กับ บริษัท เปโตนาส จํากัดที่ประเทศมาเลเซีย23 หรือชาวบานปริก และบานใหม อําเภอสะเดา จังหวัดสงขลา รวมลงชื่อคัดคานโครงการดังกลาวดวยเนื่องจากทอกาซผานที่ทํากินทําใหไดรับความเดือดรอน24 การที่เจาหนาที่รุมทํารายแกนนําเครือขายพลเมืองสงขลา นําโดยนายแพทยอนันต บุญโสภณ พรอมพวก 3 คนถูกเจาหนาที่รุมทํารายจากเจาหนาที่ตํารวจนอกเคร่ืองแบบ 25 และในป 2543 เ รียกรองใหมีการทํา ประชาพิจารณ กลุมเครือขายพลเมืองสงขลา 24 องคกร แจกแถลงการณเรียกรอยใหรัฐบาลทําประชาพิจารณโครงการทอสงกาซและโรงแยกกาซใหถูกตองตามรัฐธรรมนูญ มาตรา 59 เพื่อยืนยันวาโครงการจะไมสงผลกระทบตอประชาชนในอนาคต 26 เปนตน สะทอนใหเห็น ความพยายามของรัฐบาลที่จะดําเนินโครงการโดยไมฟงเสียงของประชาชน จนกระทั่งปจจุบันแมวาจะดําเนินการกอสรางทอกาซ แตประเทศไทยไมสามารถนํามาใชเพื่อการอุตสาหกรรมไดเนื่องจากเขตอุตสาหกรรมรองรับไมสามารถดําเนินการไดเนื่องจากการตอตานที่มีความรุนแรงข้ึนเร่ือย ๆ สุดทายโครงการดังกลาวไมสามารถที่จะใหประโยชนอยางคุมคากับการลงทุนของรัฐบาล ในทางกลับกันประเทศมาเลเซียเปนผูไดรับประโยชนจากการนํากาซในพื้นที่รวมไปใชประโยชนไดมากกวา ปรากฏการณของการตอตานโครงการดานพลังงาน หรืออุตสาหกรรมปโตรเคมี เพราะเห็นแบบอยางจากมาบตาพุด สงผลใหประชาชนภาคใตออกมาตอตานโครงการของรัฐบาล

23มติชน (30 ตุลาคม 2542). 24ขาวสด (29 ตุลาคม 2542). 25ไทยโพสต (8 พฤศจิกายน 2542). 26มติชน (19 มิถุนายน 2543).

256

โดยเฉพาะโครงการทอกาซ และโรงแยกกาซไทย-มาเลเซีย เพราะประชาชนไมยอมใหเกิดอุตสาหกรรมปโตรเคมีรองรับกาซจากโครงการ ดังปรากฏวาทะของการตอตานตามหนาหนังสือพิมพที่วา “มึงสรางกูเผา” สุดทายก็สงกลับไปขายใหมาเลเซีย นับเปนการสูญเสียงบประมาณมหาศาลแตไมไดเกิดประโยชนใด ๆ ตอประเทศชาติเทาที่ควรจะเปน หรือกรณีการตอสูของชาวจังหวัดระยองกับการหยุดยั้งอุตสาหกรรมปโตรเคมี ที่รัฐบาลมีแผนขยายอยางตอเนื่อง และผลกระทบที่ชาวมาบตาพุดไดรับโดยเฉพาะผลกระทบดานส่ิงแวดลอม และสังคมวัฒนธรรมดั้งเดิม ผลอันเนื่องมาจากอุตสาหกรรมปโตรเคมีทําใหเกิดปญหาตอสุขภาพ กระทบตอวิถีชีวิตประจําวัน จนนํามาถึงข้ันยื่นฟองตอศาลปกครอง แลมีการระงับโครงการเปนการชั่วคราว ส่ิงเหลานี้คือผลกระทบที่ เกิดจากการส่ือสารทางการเมืองเร่ืองพลังงาน ผลการศึกษามี ความสอดคลองกับ วรศักดิ์ พวงเจริญ27 ไดศึกษาวิจัยเร่ือง “ความขัดแยงในประเทศไทย กรณีโครงการกอสรางทอกาซธรรมชาต”ิ กรณีความขัดแยงโครงการทอกาซไทย-พมา และโครงการทอกาซเจดีเอ ผลการศึกษาปญหาความขัดแยงดานส่ิงแวดลอมโครงการกอสรางทอกาซทั้ง 2 โครงการ ชี้ใหเห็นวาสาเหตุสําคัญมาจากการพัฒนาเศรษฐกิจโดยไมใหความสําคัญกับการแกไขปญหาส่ิงแวดลอม ถึงแมวานักวิชาการตะวันตกจะอธิบายปญหาที่เกิดข้ึนไดบางสวน แตยังขาดการพิจารณาถึงปญหาความขัดแยงที่ฝงลึกอยูในวัฒนธรรมไทยได ถึงแมวาโครงการพัฒนาขนาดใหญจะจัดทํารายงานผลกระทบส่ิงแวดลอมแตความขัดแยงโครงการกอสรางทอกาซ ทั้ง 2 โครงการ ชี้ใหเห็นวารายงานการวิเคราะหผลกระทบส่ิงแวดลอมมิไดเปนหลักประกันวาประชาชนจะไมคัดคานโครงการ ดังนั้นการศึกษานี้จะเปนแนวทางใหภาคอุตสาหกรรมตองใหความสําคัญกับการวิเคราะหสาเหตุของความขัดแยงดานส่ิงแวดลอมและสงเสริมการมีสวนรวมของประชาชนในการตัดสินใจดานส่ิงแวดลอม (Environmental decision-making) ผลกระทบจากการส่ือสารเปนการสะทอนกลับขอมูลจากผูรับสารไปยังผูสงสารใหตระหนักถึงความสําคัญของการส่ือสารสองทาง หากตองการใหเกิดประสิทธิภาพดานการส่ือสารจึงจําเปนตองรับฟงขอมูลยอนกลับของผูรับสารดวย

27วรศักดิ์ พวงเจริญ, “ความขัดแยงในประเทศไทย กรณีโครงการกอสรางทอกาซ

ธรรมชาติ,” (วิทยานิพนธปรัชญาดุษฎีบัณฑิต สาขาสังคมวิทยา University of New South Wales, ประเทศออสเตรเลีย, 2004).

257

ขอคนพบจากการวิจัย จากการวิจัยถึงกระบวนการส่ือสารทางการเมืองเร่ืองพลังงานในอาวไทย ชวงป 2524-2553 มีขอคนพบเพิ่มเติมนอกจากการวิจัยโดยการอางอิง ดังนี ้ 1. การส่ือสารที่มีประสิทธิภาพจําเปนตองวิเคราะหผูรับสาร ในกระบวนการส่ือสารทางการเมืองเร่ืองพลังงานผูรับสารที่มีลักษณะตางกันมีความตองการเนื้อหาสารที่แตกตางกัน กลาวคือ มีผูรับสาร ประกอบดวย ผูประกอบการหรือนักธุรกิจดานอุตสาหกรรมพลังงาน และประชาชนโดยเฉพาะประชาชนที่เปนผูมีสวนไดสวนเสียในพื้นที่ที่เปนที่ตั้งโครงการ ขอคนพบที่นาสนใจ คือ ผูสงสาร ในเร่ืองพลังงานหมายถึงรัฐบาล หรือหนวยงานภาครัฐมักจะสงเนื้อหาของสารที่เปนของงบประมาณ ขนาดหรือขอบเขตของอุตสาหกรรม และผลประโยชนทางเศรษฐกิจที่เปนเร่ืองของการขยายตัวของภาคอุตสาหกรรม ความเติบโตของเศรษฐกิจประเทศ เร่ืองของ GDP ในรายละเอียดจะเปนประโยชนกับภาคอุตสาหกรรม มากกวาภาคประชาชน ดังนั้นส่ิงที่รัฐบาลส่ือออกมานั้นเปนเนื้อหาสารที่ มีความสอดคลองกับผู รับสารที่ เปน นักธุรกิจ นักลงทุนที่ มีความสัมพันธอันดีกับรัฐบาล เพราะเปนกลุมคนที่มีอิทธิพลตอสังคม ชี้นําสังคมดวยการใชกลไกทางการเมืองเพื่อผลักดันนโยบาย ผูประกอบการกับรัฐบาลจึงเปนกลุมที่มีทักษะ ความรู ทัศนคติ ที่เปนปจจัยตอการส่ือสารที่มีพื้นฐานใกลเคียงกัน จึงทําใหการส่ือสารทางการเมืองเร่ืองพลังงานระหวางรัฐบาลและนักธุรกิจมีประสิทธิภาพมากกวา การส่ือสารไปยังภาคประชาชน ผูรับสารที่เปนภาคประชาชน ตองการสารที่แตกตางจากผูประกอบการหรือนักธุรกิจ ประชาชนตองการขอมูลที่เปนความรูดานพลังงาน ตองการทราบถึงปญหาที่อาจจะเกิดข้ึน และแนวทางแกไขปญหาอันเนื่องมากจากการดําเนินโครงการของผูสงสาร กลาวอีกนัยหนึ่งคือภาคประชาชนตองการเนื้อหาสาร ที่เปนทั้งเนื้อหาสารที่เปนเชิงบวก และเนื้อหาสารที่เปนเชิงลบ เพื่อใหสามารถนํามาวิเคราะห ความคุมคาและการตัดสินใจของประชาชนได ฉะนั้น การส่ือสารทางการเมืองที่จะประสบผลสําเร็จไดนั้นจะตองมีการประเมินผูรับสารและเลือกใหขอมูลที่สอดคลองกับความตองการของผูรับสารและส่ือสารดวยวิธีการที่เหมาะสม จะทําใหการส่ือสารเร่ืองพลังงานมีประสิทธิภาพมากยิ่งข้ึน 2. ชองทางการส่ือสารกรณีการประชาพิจารณเปนเพียงองคประกอบของการดําเนินโครงการดานพลังงาน การทําประชาพิจารณ (Public Hearings) การบริหารประเทศภายใตรัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักรไทย 2550 ไดกําหนดใหการดําเนินโครงการที่อาจกอใหเกิดผลกระทบตอชุมชนอยางรุนแรงทั้งดานคุณภาพส่ิงแวดลอม ทรัพยากรธรรมชาติและสุขภาพ จะตองใหมีการประเมินผลกระทบกอนที่จะดําเนินการได มาตรา 57 ซึ่งบัญญัติวาบุคคลยอมมีสิทธิไดรับขอมูล คําชี้แจงและเหตุผลจากหนวยราชการ หนวยงานของรัฐ รัฐวิสาหกิจหรือราชการ

258

สวนทองถิ่น กอนการอนุญาตหรือการดําเนินโครงการหรือกิจกรรมใดที่อาจมีผลกระทบตอคุณภาพส่ิงแวดลอม สุขภาพอนามัย คุณภาพชีวิตหรือสวนไดเสียสําคัญอ่ืนใดเกี่ยวกับคนหรือชุมชนทองถิ่น และมีสิทธิแสดงความคิดเห็นของตนตอหนวยงานที่เกี่ยวของเพื่อนําไปประกอบการพิจารณาในเร่ืองดังกลาว มาตรา 67 ซึ่งบัญญัติวาสิทธิของบุคคลที่จะมีสวนรวมของรัฐและชุมชนในการอนุรักษ บํารุงรักษาและการไดประโยชนจากทรัพยากรธรรมชาติและความหลากหลายทางชีวภาพ และในการคุมครอง สงเสริมและรักษาคุณภาพส่ิงแวดลอม เพื่อใหดํารงชีพอยูไดอยางปกติและตอเนื่องในส่ิงแวดลอมที่จะไมกอใหเกิดอันตรายตอสุขภาพอนามัย สวัสดิภาพ หรือคุณภาพชีวิตของตน ยอมไดรับความคุมครองตามความเหมาะสม การดําเนินโครงการอุตสาหกรรมปโตรเคมี จัดวาเปนโครงการที่อยูในเงื่อนไขที่ตองประเมินผลกระดานส่ิงแวดลอม แตส่ิงที่คนพบจากการวิจัยพบวากระบวนการดําเนินการประชาพิจารณไมเปนไปตามหลักการที่ควรจะเปน กลาวคือ การทําประชาพิจารณควรจัดใหไดรับความคิดเห็นจากประชาชนทุกหมูเหลา และทําในวงกวางเพื่อใหไดขอสรุปที่สะทอนความคิดเห็นจากประชาชนอยางแทจริง กอนที่จะตัดสินใจดําเนินการใด ๆ ที่เกี่ยวกับส่ิงที่มีผลตอประชาชน หรือเปนการแสดงออกของประชาชนในการเฝาดูตรวจสอบและควบคมุการทํางานของตัวแทนของประชาชน ในกรณีที่ฝายนิติบัญญัติหรือฝายบริหารเตรียมออกกฎหมายหรือกําหนดนโยบายหรือมาตรการใด ๆ ก็ตามอันมีผลกระทบตอตอชีวิตความเปนอยูหรือสิทธิ เสรีภาพของประชาชน ในฐานะเจาของอํานาจอธิปไตยสามารถที่จะเรียกรองใหมีการชี้แจงขอเท็จจริงและผลดีผลเสียกอนนํามาบังคับใชกฎหมาย หรือกอนนํานโยบายไปปฏิบัติ หากแตการประชาพิจารณในการดําเนินโครงการปโตรเคมี จะตองจัดทํา ประชาพิจารณในทุกข้ันตอนนับตั้งแตการเจาะสํารวจหาแหลงพลังงาน การผลิต การขนสง หรือการกอสรางโรงกล่ัน โรงแยกกาซ จะตองมีการประเมินผลกระทบส่ิงแวดลอมกอนดําเนินการ ในแตละข้ันตอน จากขอคนพบการวิจัยในคร้ังนี้สะทอนใหเห็นถึงการทําประชาพิจารณเพื่อรับฟงความคิดเห็นของประชาชนตอการประเมินผลกระทบจากการดําเนินโครงการนั้น ยังไมเปนไปตามหลักการมีสวนรวม เนื่องจากพบวามีการเตรียมการผูที่จะเขารวมเวทีประชาพิจารณไวกอน โดยใชกลยุทธในการสรางความสัมพันธกับชุมชนที่มีนัยซอนเรน จากการที่ผูวิจัยไดเขาไปมีสวนรวมสังเกตการณในการรับฟงความคิดเห็นบนเวทีเปดของบริษัทผูประกอบการสํารวจขุดเจาะพลังงานที่บานบอแดง อําเภอสทิงพระ จังหวัดสงขลาพบวาบริษัทของผูประกอบการไดเตรียมการไวแลวกอนหนานั้นโดยรับลูกหลานของชาวบานในพื้นที่ดังกลาวในอัตราคาตอบแทนที่สูงกวาปกตแิลวใหบุคคลเหลานั้นเปนผูใหขอมูลในวันทําประชาพิจารณ หากมีการโตแยงขัดขวาง คัดคานก็อาจจะทาํใหอาชีพหนาที่การงานของลูกหลานไมม่ันคงได ในคืนวันกอนที่จะทําประชาพิจารณมีการประชุมวางแผนเพื่อใหชาวบานตอบแบบสอบถามไปในทิศทางเดียวกันในลักษณะที่เห็นดวยและ

259

สนับสนุนโครงการ ยังมีการเตรียมการเพื่อใหชาวบานตอบแบบสอบถามสองชุดในคร้ังเดียวกัน (ที่ถูกตองจะตองทําสองคร้ังและตางเวลา) โดยจัดพนักงานลงไปชี้แนะใหกับชาวบานหนาเวทีเปนคูขนานในหวงเวลาเดียวกันกับที่อธิบายชี้แจงของตัวแทนบริษัทเพื่อใหครบองคประกอบของการรับฟงความคิดเห็นไปสนับสนุนการศึกษาผลกระทบตอส่ิงแวดลอม ยังมีใหการสนับสนุนเงินทุนใหกับผูนําชุมชนในการชักนําชาวบานมารวมรับฟงในวันเวลาดังกลาวในลักษณะของการแบงปนผลกําไรของสหกรณหมูบานหลังจากเลิกพิธีการแลวรายชื่อชาวบานทั้งหมดที่เซ็นรับเงินปนผลกค็อืรายชื่อของผูที่มารวมแสดงความคิดเห็นที่สนับสนุนโครงการดังกลาว สวนสถานที่จัด ประชาพิจารณในเวทีปดสวนใหญจัดในโรงแรม หรือสวนราชการทองถิ่น โดยตัวแทนของประชาชนถูกเกณฑมาเขารวม ทําใหไดตัวแทนที่ไมใชตัวแทนของประชาชนจริง ๆ จึงทําใหไดขอมูลที่ไมเปนขอเท็จจริง ที่มายกมือสนับสนุนโครงการ เปนตน บริษัทที่ปรึกษาในการทําประชาพิจารณเสนอขอมูลการรายงานเพื่อใหภาครัฐใชผลการรายงานเปนสวนประกอบในการอนุมัติโครงการใหสามารถดําเนินการได การทําประชาพิจารณจึงเปนเพียงข้ันตอนดําเนินการเพื่อใหครบองคประกอบของการเสนอเพื่อขออนุมัติจากภาครัฐเทานั้น หรือกระบวนการประชาพิจารณเปนเคร่ืองมือในการดําเนินโครงการที่ผลการรายงานอาจไมไชขอเท็จจริงที่เปนประโยชนในภาคประชาชน นอกจากนี้การใหขอมูลของผูดําเนินการทําประชาพิจารณสวนใหญไมไดใหขอมูลที่ละเอียด เม่ือชาวบานซักถามเร่ืองของการแกไขปญหาหากเกิดปญหาในอนาคตใครจะรับผิดชอบ ไมสามารถใหคําตอบไดเพราะผูดําเนินการไมใชผูบริหาร อํานาจการตัดสินใจอยูที่ผูบริหาร ดังนั้นการทําประชาพิจารณจึงควรเปนไปอยางมีสวนรวมของกลุมคนทุกกลุม และผูบริหารของบริษัท ผูประกอบ สวนราชการควรใหความสําคัญและเขารวมชี้แจงในขอซักถามพูดคุยในเวที ดังเชน ความคิดเห็นของชาวใตตอโครงการทอกาซและโรงแยกกาซธรรมชาติไทย-มาเลเซีย ที่ประชาชนมีเสนอใหรัฐบาลทราบ ใน 3 ประเด็น แตไมสามารถหยุดยั้งโครงการ ไดแก 1.เปนโครงการที่มีความขัดแยงตอวิถีชีวิตของชุมชนแผนการลงทุนที่มีเขตอุตสาหกรรมขนาดใหญที่อยูบนตนน้ําอูตะเภาที่เปนแหลงน้ําเพื่อบริโภคสําคัญของชาวสงขลามีความเส่ียงตอการเกิดมลพิษ 2.เปนการพัฒนาที่เดินตามรอยที่เคยผิดพลาดในอดีตคือการพัฒนาอุตสาหกรรมที่ไมสามารถยืนอยูไดดวยตัวเอง สงผลตอความเส่ือมโทรมของส่ิงแวดลอม และ 3. ความไมชอบธรรมในการใหประชาชนมีสวนรวม รัฐบาลไทยไมมีแผนการทําประชาพิจารณอยางชัดเจน ในขณะที่ความขัดแยงตอโครงการนั้นนับวันจะทวีความรุนแรงข้ึนเร่ือย ๆ 28 สะทอนใหเห็นถึงการใหความสําคัญตอการทําประชาพิจารณของภาครัฐ โครงการใดที่มีสวนรวมอยางจริงจังกลับไมไดคําตอบที่เปนทางออกใหกับประชาชนได

28มติชน (6 พฤศจิกายน 2542).

260

อยางแทจริง ดังนั้นการประชาพิจารณเพื่อนําขอมูลมาประเมินผลกระทบจากการดําเนินโครงการพลังงาน จึงตองทําประชาพิจารณที่ใหความสําคัญกับประชาชนทุกหมูเหลา และเปนเวทีที่เอ้ือตอการแสดงความคิดเห็นของประชาชน ในลักษณะของเวทีเปดในสถานที่ที่ประชนชนสามารถ เขารวมไดสะดวก จะทําใหการใชกลไกประชาพิจารณเพื่อแกปญหาความขัดแยงของการดําเนินโครงการไดเปนอยางดี 3. ความไมสอดคลองของการส่ือสารกับความเปนจริง ในการส่ือสารทางการเมืองเร่ืองพลังงานในอาวไทย ชวงเวลา 2524-2553 นั้นนับเปนชวงระยะเวลาที่ยาวนานจนสามารถวิเคราะหผลสะทอนจากการส่ือสารกับความเปนจริงที่เกิดข้ึนจากการส่ือสารเร่ืองพลังงาน มีหลายประเด็นที่เปนขอพิสูจนนัยทางการส่ือสารทางการเมือง อาทิ ประเด็นของความโชติชวงชัชวาลจากพลังงานในอาวไทยนั้นเกี่ยวของกับภาคอุตสาหกรรมชาวไทยอาจไดใชประโยชนพลังงานในครัวเรือน แตผลประโยชนที่เปนเศรษฐกิจอาจจะกระจุกอยูในกลุมทุนและกลุมการเมืองเปนสวนใหญ หรือกรณีการถกเถียงถึงผลกระทบที่เกิดจากอุตสาหกรรมปโตรเคมี พื้นที่อุตสาหกรรมมาบตาพุดที่ภาครัฐผูรับผิดชอบไดส่ือสารใหสังคมรับรูตลอดเวลาวาอุตสาหกรรม ปโตรเคมีไมมีผลกระทบที่เปนนัยสําคัญในดานส่ิงแวดลอม ดานวิถชีีวิตและวัฒนธรรมของผูคนในสังคม แตในความเปนจริงไดพิสูจนแลววาผูอยูอาศัยในพื้นที่รอบนิคมอุตสาหกรรมมาบตาพุดไดรับผลกระทบดานส่ิงแวดลอม ดานสุขภาวะ ซึ่งมีผลงานวิจัยจากสถาบันตาง ๆ ไดศึกษาไว ไมวาจะเปนสถิติผูปวยดวยโรงมะเร็งเม็ดเลือดขาว หรือการคนพบสารระเหยกอมะเร็งในพื้นที่มาบตาพุดจํานวน 20 ชนิด จนศาลปกครองส่ังระงับโครงการชั่วคราวเพื่อการแกไข นอกจากนี้ยังมีคํายืนยันจากชาวบานถึงปญหาฝุนละออง กล่ิน ที่สามารถสัมผัสไดทันที่ สะทอนใหเห็นคุณภาพชีวิตของประชาชนยานอุตสาหกรรมปโตรเลียมไมไดมีคุณภาพชีวิตที่ดังที่คาดหวังไว หรือแมแตการสํารองพลังงาน ในความเปนจริงไมสามารถระบุไดวาประเทศไทยมีสํารองพลังงานไวเพียงพอกับความตองการหรือไม และเปนการยากที่จะเพียงพอเนื่ องจากภาครัฐไม มีการควบคุมการขยายตัวภาคอุตสาหกรรม 4. การสรางวัฒนธรรมการเมืองภาคประชาชน ผลกระทบจากการส่ือสารทางการเมืองเร่ืองพลังงานสงเสริมบทบาทของประชาชนใหเขมแข็งข้ึน ดวยการออกมาใชสิทธิอันชอบธรรมตามระบอบประชาธิปไตย การรวมตัวสรางพลังประชาชนในการเรียกรองความชอบธรรมใหกับตนเอง และทําใหเกิดวัฒนธรรมการรับฟงความคิดเห็นของประชาชน

261

ขอเสนอแนะ ขอเสนอเชิงวิชาการ

1. การใหขอมูลดานพลังงานที่เปนขอเท็จจริงกับประชาชน ที่ผานมาขอมูลเกี่ยวกับพลังงานเปนเร่ืองที่หางไกลจากประชาชนมาก ไมวาจะเปนกระบวนการผลิตพลังงาน ปริมาณพลังงาน การลงทุน และประโยชนที่เกิดกับประเทศชาติ และประชาชนในทองถิ่น หรือกลาวอีกนัยหนึง่คือการจัดสรรประโยชน ตลอดจนผลกระทบที่อาจจะเกิดข้ึน หากใหขอมูลที่เปนจริงจะทําใหประชาชนมีความรูพื้นฐานในการปรับตัว การหาทางแกไข และรวมใหขอเสนอแนะที่เปนประโยชนตอการดําเนินโครงการตาง ๆ ไดดีข้ึนแทนที่จะตอตานโครงการ โดยเฉพาะขณะปญหาพลังงานจะขาดแคลนทําใหเกิดขอสงสัยหนวยงานที่มีหนาที่สํารองน้ํามัน ยังไมสามารถตอบคําถามประชาชนไดวาปจจุบันมีการสํารองพลังงานที่จะสรางความม่ันคงใหกับประเทศเทาไร ส่ิงเหลานี้จึงควรใหขอมูลที่รอบดานกับประชาชนจะเปนประโยชนมากกวาปกปดเพราะอุตสาหกรรมพลังงานเกี่ยวของทุนจํานวนมากของประเทศ

2. ขอมูลดานส่ิงแวดลอมจากหนวยงานของภาครัฐที่รับผิดชอบ ไมวาจะเปนกรมประมง กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและส่ิงแวดลอม เปนขอมูลที่ไมทันสมัย ทําใหบริษัทที่ปรึกษาซึ่งนําขอมูลจากหนวยงานเหลานี้ไปเปนขอมูลเพื่อไปประกอบการประเมินผลกระทบดานส่ิงแวดลอมจะใหไดขอมูลที่ไมเปนปจจุบันและนําไปสูความขัดแยงในพื้นที่เพราะขอมูลจากเอกสารจะไมสอดคลองกับขอมูลที่เปนจริงในพื้นที่ เปนตน ดังนั้นจึงเสนอแนะใหหนวยงานที่เกี่ยวของรวบรวมขอมูลพื้นฐานใหเปนขอมูลปจจุบันเพื่อที่จะนําไปใชประกอบการจัดทํารายงานผลกระทบที่มีความสอดคลองกับเปนจริง

3. การทําประชาพิจารณที่ยึดหลักการมีสวนรวม จากขอคนพบการวิจัยในคร้ังนี้สะทอนใหเห็นถึงการทําประชาพิจารณเพื่อรับฟงความคิดเห็นของประชาชนตอการประเมินผลกระทบจากการดําเนินโครงการ ยังไมเปนไปตามหลักการมีสวนรวม ไมวาจะเปนสถานที่จัด ประชาพิจารณในเวทีปดสวนใหญจัดในโรงแรม หรือตัวแทนของประชาชนถูกเกณฑมาเขารวม ไดตัวแทนที่ไมใชตัวแทนของประชาชนจริง ๆ นอกจากนี้การใหขอมูลของผูดําเนินการทําประชาพิจารณสวนใหญไมไดใหขอมูลที่ละเอียด เม่ือชาวบานซักถามเร่ืองของการแกไขปญหาหากเกิดปญหาในอนาคตใครจะรับผิดชอบ ไมสามารถใหคําตอบไดเพราะผูดําเนินการไมใชผูบริหาร อํานาจการตัดสินใจอยูที่ผูบริหาร ดังนั้นการทําประชาพิจารณจึงควรเปนไปอยางมีสวนรวมของกลุมคนทุก

262

กลุม และผูบริหารของบริษัทผูประกอบ สวนราชการควรใหความสําคัญและเขารวมชี้แจงใน ขอซักถามพูดคุยในเวที ขอเสนอแนะในการทําวิจัยตอไป

1. การศึกษาประสิทธิภาพของการทําประชาพิจารณการประเมินผลกระทบจาก การดําเนินโครงการดานพลังงาน เพราะการทําประชาพิจารณจะนําไปสูการดําเนินโครงการแบบมีสวนรวมและลดความขัดแยงในระดับพื้นที่ได

2. การศึกษาเชิงปริมาณประกอบการศึกษาเชิงคุณภาพ เพื่อศึกษาถึงทัศนคติของประชาชนตอการส่ือสารเร่ืองพลังงาน

3. เปรียบเทียบการส่ือสารทางการเมืองเร่ืองพลังงานในทะเลกับพลังงานที่อยูบนบกวามีกระบวนการส่ือสารแตกตางกันอยางไร

263

บรรณานุกรม

กร ทัพพะรังสี. บทสัมภาษณในบทความ “แนวคิดของบุคคลและความเหน็ของบุคคลสําคญัที่เกี่ยวของดานพลังงาน.” กรุงเทพฯ: สํานักงานคณะกรรมการนโยบายพลังงานแหงชาต,ิ 2553.

กรมเชื้อเพลิงธรรมชาต.ิ 40 ป ของกฎหมายปโตรเลียมไทย. กรุงเทพฯ : กระทรวงพลังงาน, 2554. กรมเชื้อเพลิงธรรมชาต.ิ รายงานประจําป 2554. กรุงเทพฯ: กระทรวงพลังงาน, 2555. กระทรวงพลังงาน. ประวัตกิารพัฒนากจิการพลังงานไทย. กรุงเทพฯ: กระทรวงพลังงาน, ม.ป.ป. กองทัพเรือ. หลักนิยมทางทะเลของกองทัพเรือ. กรุงเทพฯ: กรมสารบรรณทหารเรือ, 2546. กาญจนา แกวเทพ. การวิเคราะหส่ือแนวคดิและเทคนิค. พิมพคร้ังที่ 4. กรุงเทพฯ: จุฬาลงกรณ

มหาวิทยาลัย, 2547. การปโตรเลียมแหงประเทศไทย (ปตท.). 30 ป ปตท. พลังที่ยั่งยนื เพื่อไทย. กรุงเทพฯ: สิริวัฒนา

อินเตอรปรินท, 2551. การปโตรเลียมแหงประเทศไทย. รายงานสรุปการศึกษาผลกระทบส่ิงแวดลอมโครงการทอสงกาซ

ธรรมชาติจากแหลงทานตะวัน. กรุงเทพฯ: การปโตรเลียมแหงประเทศไทย, 2539. กิตติวุฒิ ขํานอย, นาวาโท. การพัฒนาการสงกําลังใหกับกําลังทางเรือของกองทัพเรือที่ปฏิบัติการ

ในพื้นที่อาวไทยตอนลาง. กรุงเทพฯ: ม.ป.ท., 2546. กีรติ บุญเจือ. อรรถปริวรรต คูเวรคูกรรมปรัชญาหลังนวยคุ. กรุงเทพฯ: จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย,

2549. คณิน บุญสุวรรณ. 7 ปปฏิรูปการเมือง : หนีเสือปะจระเข. กรุงเทพฯ: สุขภาพใจ, 2547. จุมพล หนิมพานิช. กลุมผลประโยชนกบัการเมืองไทยแนวเกาแนวใหมและกรณีศึกษา, กรุงเทพฯ:

จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย, 2552. จุมพล หนิมพานิช. การวิจัยเชิงคณุภาพในทางรัฐศาสตรและรัฐประศาสนศาสตร. กรุงเทพฯ:

จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย, 2550. ชม ภูมิภาค. หลักการประชาสัมพนัธ. กรุงเทพฯ: โอเดียนสโตร, 2524. ชัยวัฒน ชฤูทธิ.์ บทสัมภาษณในหนังสือ “30 ป ปตท. พลังที่ยั่งยนื เพื่อไทย.” กรุงเทพฯ: ปตท.,

2551. ณรงคฤทธิ์ เลิศเกษตรวิทยา. การศึกษาประวัติการสะสมของทองแดง แคดเมียม และตะกั่ว

ในดินตะกอนบริเวณอาวไทยตอนบน. วิทยานพินธปริญญามหาบัณฑติ คณะวิทยาศาสตร สาขาวิทยาศาสตรทางทะเล มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร, 2547.

264 เดชรัต สุขกําเนดิ และคณะ. อนาคตระยองเสนทางสูสังคมสุขภาพ. นนทบุรี: สํานักงาน

คณะกรรมการสุขภาพแหงชาต,ิ 2552. ถวิลวดี บุรีกุล และคณะ. แผนแมบทอุตสาหกรรมปโตรเคมีระยะที่ 3 (2547-2561). กรุงเทพฯ:

สถาบันพระปกเกลา, 2547. ทองฉัตร หงศลดารมภ. บทสัมภาษณในหนังสือ “30 ป ปตท. พลังที่ยัง่ยืนเพื่อไทย.” กรุงเทพฯ: ปตท.

2551. นพพร อาชวาคม, พลเรือตรี. ปญหาและกฎหมายเกีย่วกับการตรวจเรือในเขตเศรษฐกจิจําเพาะ.

เอกสารวิจัยนักศึกษาวิทยาลัยปองกันราชอาณาจกัร วิทยาลัยปองกันราชอาณาจักร, 2544.

นาฏสุดา ภูมิจํานง. ผลกระทบของการเปล่ียนแปลงสภาพภูมิอากาศตอทรัพยากรธรรม ชาติและส่ิงแวดลอม. กรุงเทพฯ: คณะทรัพยากรและส่ิงแวดลอมศาสตร มหาวิทยาลัยมหิดล, 2551.

บริษัท ครีเอทีฟ เทคโนโลยี จํากัด. รายงานการศึกษาผลกระทบส่ิงแวดลอมโครงการทาเทียบเรือขนถายสินคา บริษทั ทาเรือระยอง จํากัด ที่นิคมอุตสาหกรรมมาบตาพุด. กรุงเทพฯ: บริษัท ครีเอทีฟ เทคโนโลยี จํากัด, 2540.

บริษัท ปตท. จํากัด (มหาชน). “สถานการณน้ํามันโลกคร่ึงปแรก ป 2553 และแนวโนมป 2554.” ใน Trading Review 2010. กรุงเทพฯ: บริษัท ปตท. จํากดั (มหาชน), 2010.

บริษัท ปตท. จํากัด (มหาชน). 30 ป ปตท. 3 ทศวรรษพลังงานที่ยั่งยืนเพื่อไทย. กรุงเทพฯ: สิริวัฒนาอินเตอรปร้ินท, 2555.

ปกรณ พึ่งเนตร. แกะรอยนโยบายสาธารณะ. เชียงใหม: สถาบันศึกษานโยบายสาธารณะ มหาวิทยาลัยเชยีงใหม, 2553.

ผูวิจัยไดรวมสังเกตการณทําประชาพจิารณ บริษัท เพิรล ออย ออฟชอ จํากัด ที่ดําเนินการโดยบริษัท ไอเอสอีที (ประเทศไทย) จํากัด, 17 ธันวาคม 2553 ณ โรงแรมเดอะไทด รีสอรท จังหวัดชลบุรี.

รจิตลักขณ แสงอุไร. การส่ือสารของมนุษย. กรุงเทพฯ: จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย, 2548. ลิขิต ธีรเวคิน. วิวัฒนาการการเมืองการปกครอง. พิมพคร้ังที่ 10. กรุงเทพฯ:

มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร, 2550. ลิขิต ธีรเวคิน. การเมืองไทยและประชาธิปไตย. กรุงเทพฯ: สํานักพิมพมิสตอรกอปป, 2552. ลิขิต ธีรเวคิน. วิวัฒนาการการเมืองการปกครองไทย. พิมพคร้ังที่ 9. กรุงเทพฯ:

มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร, 2549.

265 เล่ือน กฤษณกรี. บทสัมภาษณในหนังสือ “30 ป ปตท. พลังที่ยั่งยนืเพื่อไทย.” กรุงเทพฯ: ปตท.

2551. วันชัย ตันติวิทยาพทิักษ. เหตุผลของการมีชีวิตอยูเร่ืองควรรูที่เราคิดวารูแตเราไมเคยรู.

พิมพคร้ังที่ 2. กรุงเทพฯ: อะบุก, 2553. วิทยาลัยการทพัเรือ. ยุทธศาสตรกองทัพเรือ พ.ศ. 2546-2555. นครปฐม: กรมยุทธศกึษา

ทหารเรือ, 2546. ศุภวุฒิ สายเชื้อ. เศรษฐกจิไทย พลาดสูวิกฤต.ิ กรุงเทพฯ: บริษัทพฆิเณศ พร้ินติง้ เซน็เตอร, 2543. สถาบันปโตรเลียมแหงประเทศไทย. รอบรูเร่ืองปโตรเลียม. กรุงเทพฯ: บริษัท มีเดยีทรานสเอเชีย,

2541. สถาบันวิชาการทหารเรือชั้นสูง. การศกึษาปญหาระดับยุทธศาสตรและนโยบายกองทัพเรือ

พ.ศ. 2539-2540. นครปฐม: สถาบันวิชาการทหารเรือชั้นสูง, 2540. สภาพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแหงชาต.ิ กรอ. กลไกการขับเคล่ือนการพัฒนาประเทศ. กรุงเทพฯ:

ม.ป.ป., ม.ป.ท. สมชาย ภคภาสนวิวัฒน. การพัฒนาเศรษฐกิจและการเมือง. พิมพคร้ังที่ 6. กรุงเทพฯ: สํานักพิมพ

คบไฟ, 2547. สมปรารถนา ฤทธิ์พร้ิง และ ชัยพนัธุ รักวิจยั. การเปล่ียนแปลงของชายฝงทะเลอาวไทยตอนลาง.

กรุงเทพฯ: ภาควิชาวิศวกรรมทรัพยากรน้ํา มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร, 2545. สํานักงานคณะกรรมการพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแหงชาต.ิ แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคม

แหงชาติ ฉบับที ่5 : การพัฒนาพืน้ที่สามจังหวัดชายฝงภาคตะวันออก. กรุงเทพฯ: สํานักงานนโยบายและแผนกระทรวงพลังงาน, 2525.

สํานักงานคณะกรรมการสุขภาพแหงชาต.ิ อนาคตระยองเสนทางสูสังคมสุขภาพ. พิมพคร้ังที่ 2.นนทบุรี: บริษัท คณุาไทย จํากัด, 2552.

สํานักงานนโยบายและแผนกระทรวงพลังงาน. แผนแมบทระบบทอสงกาซธรรมชาติ (ฉบับที ่2) ของ ปตท. กรุงเทพฯ: สํานักงานนโยบายและแผนกระทรวงพลังงาน, 2539.

สํานักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและส่ิงแวดลอม. โครงการหรือกิจการทีต่องทํารายงานวิเคราะหผลกระทบส่ิงแวดลอม. พิมพคร้ังที่ 2. กรุงเทพฯ: หางหุนสวนจํากดั บี.วี.ออฟเซ็ต, 2555.

สํานักงานนโยบายและยทุธศาสตร. นโยบายพลังงาน รัฐบาลนายอภิสิทธิ์ เวชชาชีวะ. กรุงเทพฯ: กระทรวงพลังงาน, 2551.

266 สํานักวิเคราะหผลกระทบส่ิงแวดลอม. แนวทางการมีสวนรวมของประชาชนและการประเมินผล

กระทบส่ิงแวดลอมทางสังคมในกระบวนการวิเคราะหผลกระทบส่ิงแวดลอม. พิมพคร้ังที่ 5. กรุงเทพฯ: สํานักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและส่ิงแวดลอม, 2552.

สุภางค จันทวานชิ. การวิเคราะหขอมูลในการวิจัยเชิงคุณภาพ. กรุงเทพฯ: จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย, 2542.

สุรพงษ โสธนะเสถียร. การส่ือสารกับการเมือง. พิมพคร้ังที่ 6. กรุงเทพฯ: ประสิทธิ์ภัณฑ แอนดพร้ินติ้ง, 2545.

สุรพงษ โสธนะเสถียร. หลักและทฤษฎีการวิจัยทางสังคมศาสตร. กรุงเทพฯ: ประสิทธิภัณท แอนดพร้ินติ้ง, 2545.

สุวิทย ชูรัตน, เรือเอก. การพัฒนาเกาะกระเพื่อเพิ่มขีดความสามารถในการรักษาผลประโยชนของชาติทางทะเล พื้นที่อาวไทยตอนลาง. วิทยานิพนธปริญญามหาบัณฑติ คณะศิลปศาสตร สาขายุทธศาสตรการพัฒนา มหาวิทยาลัยราชภัฏสงขลา, 2549.

เสถียร เชยประทับ. การส่ือสาร การเมือง และประชาธิปไตยในสังคมพัฒนาแลว. กรุงเทพฯ :จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย, 2551.

เสถียร เชยประทับ. การส่ือสารกับการเมือง: เนนสังคมประชาธิปไตย. กรุงเทพฯ: จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย, 2540.

เสถียร หอมขจร. การมีสวนรวมของมหาชนในการเมืองไทย. เอกสารประกอบการบรรยายมหาวิทยาลัยรามคําแหง. กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยรามคําแหง, 2542.

อาณัติ อาภาภิรม. บทสัมภาษณในหนังสือ “30 ป ปตท. พลังที่ยั่งยืนเพื่อไทย.” กรุงเทพฯ: ปตท. 2551.

อานันท ปนยารชุน. “ประชาธิปไตยที่ยั่งยืน.” ใน ประชาธปิไตยในระยะเปล่ียนผาน. กรุงเทพฯ: โอเพนบุคส, 2552.

วิทยานิพนธ ชาคริต ตันพิรุฬห. ผลกระทบทางการเมืองของโครงการทอสงกาซธรรมชาตจิากแหลงยาดานา:

ศึกษาเฉพาะกรณีตําบลวังกระแจะ อําเภอไทรโยคจังหวัดกาญจนบุรี. วิทยานิพนธปริญญามหาบัณฑิต คณะรัฐศาสตร มหาวิทยาลัยรามคําแหง, 2543.

267

ณรงคฤทธิ์ เลิศเกษตรวิทยา. การศึกษาประวัติการสะสมของทองแดง แคดเมียม และตะกั่ว ในดินตะกอนบริเวณอาวไทยตอนบน. วิทยานิพนธปริญญามหาบัณฑิต สาขาวิทยาศาสตรทางทะเล คณะวิทยาศาสตร มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร, 2547.

ธรรมสรรค สุกไกรรักษ. กระบวนการส่ือสารรณรงคเพื่อการประหยัดพลังงาน : ศึกษากรณีการส่ือสารของกระทรวงพลังงานในชวงวิกฤติพลังงาน ป พ.ศ. 2548-2549. วิทยานิพนธปริญญามหาบณัฑิต สาขาส่ือสารการเมือง คณะรัฐศาสตร วิทยาลัยส่ือสารการเมือง มหาวิทยาลัยเกริก, 2550.

นภดล บุรณนัฏ. ขบวนการเคล่ือนไหวทองถิ่นกจิกรรมปฏิบัติขององคกรเอกชน และการใชมาตรการของรัฐกับความไมพอใจของประชาชนที่มีตอโครงการทอกาซไทย – มาเลเซีย. วิทยานิพนธปรัชญาดษุฎีบัณฑิต สาขาวิชาการบริหารการพัฒนา มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา, 2549.

นันทนา นันทวโรภาส. การส่ือสารทางการเมือง : ศึกษากรณีการรณรงคหาเสียงเลือกตัง้ทั่วไปของพรรคไทยรักไทย. วิทยานิพนธปรัชญาดุษฎีบณัฑิต สาขาส่ือสารมวลชน คณะวารสารศาสตรและส่ือสารมวลชน มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร, 2548.

นิธิภา อุดมสาลี. การรับฟงความคิดเห็นสาธารณะโดยวิธพีิจารณในโครงการรวมทนุกาซธรรมชาติไทย–มาเลเซีย กับความรูและความเหน็ของประชาชน เจาหนาที่องคกรพัฒนาเอกชนและเจาหนาที่รัฐบาลที่เกี่ยวของ. วิทยานิพนธปริญญามหาบัณฑิต คณะนเิทศศาสตร สาขาวิชานิเทศศาสตรพัฒนาการ มหาวิทยาลัยธุรกจิบัณฑิตย, 2546.

วรศักดิ์ พวงเจริญ. “ความขัดแยงในประเทศไทย กรณีโครงการกอสรางทอกาซธรรมชาต.ิ วิทยานิพนธปรัชญาดุษฎีบัณฑิต สาขาสังคมวิทยา University of New South Wales, ประเทศออสเตรเลีย, 2004.

สมยศ หลอวิทยากร. การวิเคราะหขอมูลอุณหภูมิและความเค็มที่ผิวน้ําทะเลจากทุนสํารวจสมุทรศาสตรประกอบรูปแบบการไหลเวียนของกระแสน้ําในอาวไทยจากแบบจําลองคณิตศาสตร. วิทยานิพนธปริญญามหาบณัฑิต สาขาวิทยาศาสตรทางทะเล คณะวิทยาศาสตรจุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย, 2541.

สมศักดิ์ ชุมสาย. กาซธรรมชาติเพื่อความม่ันคงแหงชาติทางดานเศรษฐกจิ. วิทยานิพนธวิทยาลัยการทัพบก สถาบันวิชาการทหารบกชัน้สูง, 2523.

สุวิทย ชูรัตน, เรือเอก. การพัฒนาเกาะกระเพื่อเพิ่มขีดความสามารถในการรักษาผลประโยชนของชาติทางทะเล พื้นที่อาวไทยตอนลาง. วิทยานิพนธปริญญามหาบัณฑติ สาขายุทธศาสตรการพัฒนา คณะศิลปศาสตร มหาวิทยาลัยราชภัฏสงขลา, 2549.

268 โสภณ สุภาพงษ. ผลประโยชนทบัซอน, คณะกรรมนโยบายแหงชาติ, บริษทัน้ํามันแหงชาต ิกับ

คณะกรรมการบริษัทน้ํามันในประเทศไทย. วิทยานิพนธปริญญามหาบณัฑิต สาขาผูนําทางสังคม ธุรกจิการเมือง คณะศิลปศาสตร มหาวิทยาลัยรังสิต, 2551.

วารสาร กระทรวงพลังงาน. “รัฐมนตรีวาการกระทรวงพลังงานยืนยนัการเจาะหลุมน้ํามันในอาวไทยมีความ

ปลอดภัยและเปนไปตามมาตรฐานสากล.” วารสารคนพลังงาน ฉบับที่ 2 ปที่ 5 (2553), น. 6.

กองบรรณาธิการ. “ขวาพิฆาตส่ือ มท.1 แหงยุคมืด หลัง “ตุลาเดือด.” วารสารราชดําเนิน (กุมภาพันธ 2551).

จิตติศักดิ์ นันทพานชิ. “ทางสายเปล่ียนแปลงประเทศไทย (1).” ฐานเศรษฐกิจ (8 สิงหาคม 2554). “บทบาท หนาที่ และภารกิจ สพช.” วารสาร สพช. ฉบับแรก (มกราคม 2544). บริษัท ปตท. จํากัด (มหาชน), “น้ํามันไมเหมือนกนั,” วารสารส่ือพลัง ปที่ 18 ฉบับที่ 3 (กรกฎาคม-

กันยายน 2553), น. 60. บริษัท ปตท. จํากัด (มหาชน), “ปริมาณน้ํามันดินในแหลงสํารองธรรมชาต,ิ”

ส่ือพลังงาน ปที่ 18 ฉบับที่ 3 (กรกฎาคม – กันยายน 2553), น. 58. บริษัท ปตท. จํากัด (มหาชน), “สถานการณน้ํามันโลกคร่ึงปแรก ป 2553 และแนวโนมป 2554,”

ใน Trading Review 2010, (กรุงเทพฯ: บริษัท ปตท. จํากดั (มหาชน), 2010), บริษัท ปตท. จํากัด (มหาชน). “น้ํามันไมเหมือนกนั.” วารสารส่ือพลัง ปที่ 18 ฉบับที่ 3 (กรกฎาคม-

กันยายน 2553). บริษัท ปตท. จํากัด (มหาชน). “ปริมาณน้ํามันดินในแหลงสํารองธรรมชาต.ิ” ส่ือพลังงาน ปที่ 18

ฉบับที่ 3 (กรกฎาคม – กันยายน 2553). บัณรส บัวคล่ี. “ปโตรเลียมไทย: จากฝร่ังครอบงําสูขูดรีดกันเอง (3).” ผูจัดการ (16 เมษายน

2555). ปยสวัสดิ์ อัมระนันทน. “บทสัมภาษณ.” มตชินรายวัน (วันที่ 17 ตุลาคม 2549). ยอนรอยปโตรเลียมไทยตอนที่ 9 : กาซธรรมชาตจิากอาวไทยสูยุคโชติชวงชัชวาล. ไทยนิวส

ออนไลน (15 ธันวาคม 2554). ระหัตร โรจนประดิษฐ. “แหลงพลังงานในอาวไทย.” นาวิกศาสตร ปที่ 91 เลมที่ 11

(พฤศจิกายน 2551).

269 วงกต วงศอภัย. “โลกและวิกฤตการณน้ํามันในอดีต.” มตชินสุดสัปดาห ปที่ 24 ฉบับที่ 1248

(16 กรกฎาคม 2547). วารสารนโยบายพลังงาน ฉบบัที่ 70 (ตุลาคม-ธันวาคม 2528). สํานักงานคณะกรรมการนโยบายพลังงานพลังงานแหงชาต.ิ “บทบาทหนาที่และภารกจิ.” วารสาร

พลังงาน (มกราคม 2544). สํานักงานคณะกรรมการนโยบายพลังงานพลังงานแหงชาติ. “พัฒนาพลังงานไทย.” วารสาร

พลังงาน (มกราคม 2550). หนังสือพิมพสมิหลาไทมส ฉบับที่ 407 (13-19 มีนาคม 2553). หนังสือพิมพ กรุงเทพธุรกิจ (5 พฤษภาคม 2537). กรุงเทพธุรกิจ (31 พฤษภาคม 2541). กรุงเทพธุรกิจ (2 มิถุนายน 2541). กรุงเทพธุรกิจ (29 กุมภาพันธ 2543). กรุงเทพธุรกิจ (23 เมษายน 2542). กรุงเทพธุรกิจ (22 ธันวาคม 2546). กรุงเทพธุรกิจ (30 มกราคม 2550). กรุงเทพธุรกิจ (30 มกราคม 2550). กรุงเทพธุรกิจ (17 กุมภาพันธ 2550). กรุงเทพธุรกิจ (18 มกราคม 2551). กรุงเทพธุรกิจ (7 มิถุนายน 2553). ขาวสด (23 เมษายน 2541). ขาวสด (15 มีนาคม 2542). ขาวสด (20 มีนาคม 2542). ขาวสด (11 กรกฎาคม 2542). ขาวสด (กันยายน 2542). ขาวสด (16 กันยายน 2542). ขาวสด (28 ตุลาคม 2542). ขาวสด (31 ตุลาคม 2542).

270 ขาวสด (1 พฤศจิกายน 2542). ขาวสด (9 พฤศจิกายน. 2542). ขาวสด (25 กรกฎาคม 2543). คมชัดลึก (17 สิงหาคม 2553). คมชัดลึก (17 สิงหาคม 2553). ฐานเศรษฐกิจ (4-7 กุมภาพันธ 2550). ฐานเศรษฐกิจ (5 พฤศจิกายน 2553). เดลินิวส (31 ตุลาคม 2542). เดลินิวส (7 ธันวาคม 2552). เดลินิวส (7 ธันวาคม 2552). ไทยโพสต (2 พฤษภาคม 2542). ไทยโพสต (5 มกราคม 2545). ไทยโพสต (19 กรกฎาคม 2552). ไทยโพสต (4 ธันวาคม 2552). ไทยโพสต (13 ธันวาคม 2552). ไทยรัฐ (8 มิถุนายน 2544). แนวหนา (27 กันยายน 2553), น. 9, 10. ประชาชาติธุรกิจ (16 กุมภาพันธ 2552). ประชาชาติธุรกิจ (19 กุมภาพันธ 2552). ประชาชาตธิุรกิจ (9 ธันวาคม 2553). ประชาไทย (29 กันยายน 2552). ผูจัดการ (พฤษภาคม 2531). ผูจัดการ (มกราคม 2535). ผูจัดการ (เมษายน 2533). ผูจัดการ (20 เมษายน 2541). ผูจัดการ (23 เมษายน 2541). ผูจัดการรายวัน (19 กันยายน 2536). ผูจัดการรายวัน (23 กันยายน 2545). ผูจัดการรายวัน (27 พฤศจิกายน 2546). ผูจัดการรายวัน (4 สิงหาคม 2546).

271 ผูจัดการรายสัปดาห (30 ตุลาคม 2543). พิมพไทย (21 สิงหาคม 2552). โพสต Today (7 ธันวาคม 2552). มติชน (11 ตุลาคม 2535). มติชน (24 พฤษภาคม 2540). มติชน (3 กรกฎาคม 2540). มติชน (6 สิงหาคม 2540). มติชน (7 พฤศจิกายน 2540). มติชน (23 เมษายน 2541). มติชน (15 สิงหาคม 2542). มติชน (15 กันยายน 2542). มติชน (19 กันยายน 2542). มติชน (21 กันยายน 2542). มติชน (9 ตุลาคม 2542). มติชน (พฤศจิกายน. 2542). มติชน (3 พฤศจิกายน 2542). มติชน (6 พฤศจิกายน 2542). มติชน (29 มีนาคม 2545). มติชน (17 กันยายน 2545). มติชน (14 พฤศจิกายน 2546). มติชน (15 สิงหาคม 2553). วัฏจักร (10 มิถุนายน 2541). วัฏจักร (26 พฤศจิกายน 2541). สยามธุรกิจ (9 มกราคม 2553). สยามรัฐ (11 เมษายน 2545). สยามรัฐ (7 เมษายน 2534). Thai News (13 มิถุนายน 2546).

272 เอกสารอ่ืน ๆ การนิคมอุตสาหกรรมแหงประเทศไทย. กนอ. I-EA-T GROW TOGETHER. เอกสาร

ประชาสัมพันธ การนิคมอุตสาหกรรมแหงประเทศไทย, 2555. บริษัท ปตท.จําหนายกาซธรรมชาติ จํากัด. รายงานหลักการวิเคราะหผลกระทบส่ิงแวดลอม

โครงการทอสงกาซธรรมชาติ (จาก BV.WN #3 ไปสูนิคมอุตสาหกรรมลาดกระบงั). กรุงเทพฯ: บริษัท ปตท.จําหนายกาซธรรมชาติ จํากัด, 2543.

บริษัท เพิรลออย (อาวไทย) จํากัด. เอกสารประกอบกิจกรรมการมีสวนรวมของประชาชน คร้ังที่ 1 โครงการเจาะสํารวจปโตรเลียม ระยะที่ 2 แปลงสํารวจ G3/8, สิงหาคม 2554.

บริษัท เพิรลออย ออฟซอร จํากัด. รายงานผลการวิเคราะหผลกระทบส่ิงแวดลอมโครงการเจาะสํารวจปโตรเลียมในทะเล (ระยะที่ 2) แปลงสํารวจหมายเลข G2/48, กันยายน 2554.

พระราชกฤษฎีกา. พระราชบญัญตัิองคกรรวมไทย-มาเลเซีย, เลมที่ 108 ตอน 11. วันที่ 22 มกราคม 2534 .

มติคณะกรรมการนโยบายพลังงานแหงชาติ คร้ังที่ 4/2549 (คร้ังที่ 107), วันจันทรที่ 6 พฤศจิกายน พ.ศ. 2549.

สํานักงานคณะกรรมการนโยบายพลังงานแหงชาติ (สพช.). 2544. สํานักเลขาธิการสภาผูแทนราษฎร. รายงานการประชุมรวมกันของรัฐสภา คร้ังที่ 2/2526

(สมัยสามัญ). วันที่ 20 พฤษภาคม พุทธศักราช 2526. สํานักเลขาธิการสภาผูแทนราษฎร. รายงานการประชุมรวมกันของรัฐสภา คร้ังที่ 1/2529

(สมัยสามัญ). วันพุธที่ 27 สิงหาคม พุทธศักราช 2529. สํานักเลขาธิการสภาผูแทนราษฎร. รายงานการประชุมรวมกันของรัฐสภา คร้ังที่ 1/2534

(สมัยวิสามัญ). วันพุธที่ 9 มกราคม พทุธศักราช 2534. สํานักเลขาธิการสภาผูแทนราษฎร. รายงานการประชุมรัฐสภา คร้ังที่ 2/2524 (วิสามัญ

สมัยที่สอง). วันศุกรที่ 28 มีนาคม พุทธศักราช 2523.

273 สัมภาษณ นายกฤษฎา บุญราช. ผูวาราชการจังหวัดสงขลา. สัมภาษณ, วันที่ 23 มกราคม 2556 นายจกัริน เดชสถติย. นักวิชาการพลังงานฝายปฏิบัติการ พลังงานจังหวัดสงขลา. สัมภาษณ,

วันที่ 23 มกราคม 2556. นายจเร ปานเหลือ. ผูปฏิบัติการบนฐานเจาะกาซและน้ํามันในอาวไทย บริษัทเอกชน. สัมภาษณ,

วันที่ 1 มกราคม 2556. นายจิรชัย เชาวลิต. นักวิชาการอิสระ. สัมภาษณ, วันที่ 8 มกราคม 2556. นายจําลอง ผองสุวรรณ. ประธานชุมชนมาบยา มาบตาพดุ จังหวัดระยอง. สัมภาษณ,

วันที่ 19 กุมภาพันธ 2556. นายชชูาติ ออนเจริญ. ผูอํานวยการการทองเทีย่วจังหวัดระยองและจันทบุรี, สัมภาษณ,

วันที่ 28 สิงหาคม 2555. นายชเูดช จันทรศิริ. ประธานชุมชน ซ.ประปา มาบตาพุด. สัมภาษณ, วันที่ 11 กุมภาพันธ 2556. นายประทปี เองฉวน. ผูอํานวยการนิคมอุตสาหกรรมมาบตาพุด. สัมภาษณ, วันที่ 18 กุมภาพันธ

2556. นายประพันธ จารุไสลพงศ. ผูอํานวยการฝายปฏิบัตกิารของ ปตท. สัมภาษณ, วันที่ 22 สิงหาคม

2555. นายประเสริฐ สลิลอําไพ. ผูจัดการฝายการส่ือสารของ ปตท. สัมภาษณ, วันที่ 10 ธันวาคม 2555. นายพรศักดิ์ นามสมภารค. วิศวกรปโตรเลียม กรมเชื้อเพลิงธรรมชาต.ิ สัมภาษณ,

วันที่ 20 พฤศจิกายน 2555. นายภานุ วรมิตร. ผูอํานวยการการทองเที่ยวแหงประเทศไทยจังหวัดสุราษฎรธาน.ี สัมภาษณ,

วันที่ 2 พฤศจกิายน 2555. นายรามเนตร ใจกวาง. ประธานกลุมรักษอาวไทย. สัมภาษณ, วันที่ 3 พฤศจิกายน 2555. นายรอหยา จนัทรรัตนา. พลังงานจังหวัดสุราษฎรธาน.ี สัมภาษณ, วันที่ 7 พฤศจกิายน 2555. นายศิริชยั หอมดวงศิริ. รองผูอํานวยการโรงเรียนมาบตาพดุ. สัมภาษณ, วันที่ 11 กุมภาพันธ

2556. นายเสนีย จติตเกษม. ผูวาราชการจังหวัดระยอง. สัมภาษณ ,วันที่ 1 ตุลาคม 2555. นายสุทธชิัย สุขสีเสน. พลังงานจังหวัดสงขลา. สัมภาษณ, วันที่ 19 ธันวาคม 2555. นายสมชาย ตะสิงหษะ. นักวิชาการชํานาญการพิเศษ สผ. สัมภาษณ, วันที่ 30 มกราคม 2556. นายสุรเดช จิรฐิติเจริญ. สมาชกิวุฒิสภา. สัมภาษณ, วันที่ 15 มีนาคม 2555.

274 สื่ออิเลก็ทรอนิกส กรมพฒันาพลังงานทดแทนธรรมชาติและส่ิงแวดลอม. สืบคนเม่ือวันที่ 24 มีนาคม 2556, จาก

www.dede.go.th. กระทรวงพลังงาน. “ประวัติการพฒันากิจการพลังงานไทยการพัฒนาพลังงานคือการพัฒนาชาต,ิ”

ใน ทิศทางพลังงานไทย. สืบคนเม่ือวันที่ 20 เมษายน 2555, จาก http://www.energy.go.th/moen/upload/File/2.pdf 2552, น. 35.

กระทรวงพลังงาน. ภารกิจของกระทรวงพลังงาน. สืบคนเม่ือวันที่ 20 กุมภาพันธ 2556, จาก http://www.energy.go.th.

การนิคมอุตสาหกรรมแหงประเทศไทย (กอน.). ที่มาปญหาส่ิงแวดลอมมาบตาพุด. สืบคนเม่ือวันที่ 23 มีนาคม 2556, จาก http://www.ieat.go.th.

การปโตรเลียมแหงประเทศไทย (ปตท.). สืบคนเม่ือวันที่ 25 มีนาคม 2556, จาก www.pttplc.com.

ไทยพับลิกา (Thaipublica). เปดรายงานคณุภาพน้ํามาบตาพุด–พื้นที่ควบคุมมลพษิ จ.ระยอง (2)…สารพิษปนเปอนทั้งในดนิ–น้ําใตดนิ–สัตวน้ํา. สืบคนเม่ือวันที่ 23 มีนาคม 2556, จาก http://www.thaipublica.org.

บริษัท ปตท. จํากัด (มหาชน). ปตท. สํารวจและผลิตปโตรเลียม (ปตท.สผ.). สืบคนเม่ือวันที่ 25 มีนาคม 2556, จาก www.pttpet.com.

ปตท. สํารวจและผลิตปโตรเลียม (ปตท.สผ.). สืบคนเม่ือวันที่ 25 มีนาคม 2556, จาก www.pttpet.com.

พงศเทพ เทพกาญจนา. ศูนยประชาสัมพนัธรวมพลังหาร 2. สํานักงานนโยบายและแผนพลังงาน กระทรวงพลังงาน. สืบคนเม่ือวันที่ 24 มีนาคม 2556, จาก http://www.eppo. go.th/encon/press/ encon-press25450809-1.html.

สาวิตต โพธิวิหค. บทสัมภาษณจากบทความ “สรุปแนวคดิและความเหน็ของบุคคลสําคญัที่เกี่ยวของดานพลังงาน”, สํานักงานนโยบายและแผนพลังาน กระทรวงพลังงาน. สืบคนเม่ือวันที่ 8 เมษายน 2556, จาก www.eppo.go.th/admin.

สํานกังานคณะกรรมการสุขภาพแหงชาต.ิ ประวัติความเปนมา พ.ร.บ.สุขภาพแหงชาต ิพ.ศ. 2550. สืบคนเม่ือวันที่ 20 มกราคม 2556, จาก http://www.nationalhealth.or.th/.

Siam Global Lubricant Co.,Ltd. การสํารวจและขุดเจาะ. สืบคนเม่ือวันที่ 24 มีนาคม 2556, จาก http://www.sgl1.com.

275 Books Berlo, David K. The Process of Communication: An Introduction to Theory and

Practice. New York: Holt, Rinehart & Winston, 1960. Dainton, M. and Zelley, E.D. Applying Communication Theory for Professional life.

California: Sage, 2005. Denton, R.E., Jr.,& Woodward, G.C. Political Communication in America. New York:

Preager, 1990. Deutsch, W Karl. “The Nerves of Government: Model of Communication and Control.” in

Contemporary Political Analysis. New York: Free Press, 1966. Gadamer, Hans-Georg. Truth and Method. New York: The Seabury Press, 1975. Graber, Doris. A Mass Media & American Politicals. Washington DC: CQ Press, 2006. Grondin, Jean. Introduction to the Philosophical Hermeneutics. New Haven and

London: Yale University Press, 1991. Klemm, E. David. Hermeneutical Inquiry Volume I: The Interpretation of Texts. Atlanta,

Georgia: Scholars Press, 1986. Lasswell, H.D. “The Structure and Function of Communication in Society”. In Public

Opinion and Communication. New York: Free Press, 1966. McNair, Brian. An Introduction to Political Communication. 2nd edition. New York:

Routledge, 1999. McNair, Brian. An Introduction to Political Communication. New York: Routledge, 1995. Plamer, Richard E. Hermeneutics: Interpretation Theory in Schleiermacher, Dilthey,

Heidegger, and Gadamer. Evanston: Northwestern University Press, 1996. Ricouer, Paul. Hermeneutics and the Human Sciences: Essays on Language, Action

and Interpretation. Edited, Translated, and Introduced by John B. Thompson. Cambridge: Cambridge University Press, 1998.

Stiver, R. Dan. The Philosophy of Religious Language: Sign, Symbol, and Story. Cambridge, Mass.: Blackwell Publishers, 1996.

Truman, David B. The Government Process. New York: Alfired A Knopt, 1951.

ภาคผนวก

277

ภาคผนวก ก

รายการผูรับสมัปทานและพื้นท่ีสมัปทานในทะเลอาวไทย 2514-2555

เลขท่ีสัมปทาน

ผูรับสัมปทานปโตรเลียม สัดสวน

(%)

แปลงสํารวจ

หมายเลข

พื้นท่ีสัมปทาน (ตร.กม.)

วันท่ีออกสัมปทาน

พื้นท่ีสํารวจ พื้นท่ีผลิต พื้นท่ีสงวน

ในทะเลอาวไทย 1/2514 26 พ.ย.

2514

พื้นท่ีทับซอนไทย-กัมพูชา บ.มิตซุย ออยลเอ็กซโปลเรช่ัน จํากัด บ.Idemitsu Oil & Gas Co., Ltd. บ.เชฟรอนประเทศไทยสํารวจและผลิต จํากัด * บ.Chevron Blocks 5 and 6 Ltd.

20.00 50.00 20.00 10.00

5 6

4,645.000 5,510.000

- -

- -

1/2515/5 1 มี.ค. 2515

สัญญาซื้อขายกาซฉบับท่ี 2 * บ.เชฟรอนประเทศไทยสํารวจและผลิต จํากัด บ.มิตซุย ออยลเอ็กซโปลเรช่ัน จํากัด

70.00 30.00

10 11

- -

512.330

1,032.520

376.670

156.4 สัญญาซื้อขายกาซฉบับท่ี 2 (เพิ่มเติม)

* บ.เชฟรอนประเทศไทยสํารวจและผลิต จํากัด บ.มิตซุย ออยลเอ็กซโปลเรช่ัน จํากัด บ.ปตท.สํารวจและผลิตปโตรเลียม จํากัด

71.25 23.75 5.00

พื้นท่ีทับซอนไทย-กัมพูชา * บ.เชฟรอนประเทศไทยสํารวจและผลิต จํากัด บ.มิตซุย ออยลเอ็กซโปลเรช่ัน จํากัด

60.00 40.00

10 11

1,382.900 1,401.490

- -

- -

17 ธ.ค. 2540 เพ่ิมเติมฉบับท่ี 9

* บ.เชฟรอนประเทศไทยสํารวจและผลิต จํากัด บ.มิตซุย ออยลเอ็กซโปลเรช่ัน จํากัด

60.00 40.00

10A 11A

- -

166.000 88.000

- -

2/2515/6 6 มี.ค. 2515

สัญญาซื้อขายกาซฉบับท่ี 1 * บ.เชฟรอนประเทศไทยสํารวจและผลิต จํากัด บ.มิตซุย ออยลเอ็กซโปลเรช่ัน จํากัด

80.00 20.00

12 13

- -

1,297.000 1,176.000

- 2.540

สัญญาซื้อขายกาซฉบับท่ี 2 *บ.เชฟรอนประเทศไทยสํารวจและผลิต จํากัด บ.มิตซุย ออยลเอ็กซโปลเรช่ัน จํากัด

70.00 30.00

สัญญาซื้อขายกาซฉบับท่ี 2 เพิ่มเติม * บ.เชฟรอนประเทศไทยสํารวจและผลิต จํากัด บ.มิตซุย ออยลเอ็กซโปลเรช่ัน จํากัด บ.ปตท.สํารวจและผลิตปโตรเลียม จํากัด

(มหาชน)

71.25 23.75 5.00

8 มิ.ย. 2542 เพ่ิมเติมฉบับ

พื้นท่ีทับซอนไทย-กัมพูชา * บ.เชฟรอนประเทศไทยสํารวจและผลิต จํากัด

80.00

12 (A)

294.000

- -

- -

278

เลขท่ีสัมปทาน

ผูรับสัมปทานปโตรเลียม สัดสวน

(%)

แปลงสํารวจ

หมายเลข

พื้นท่ีสัมปทาน (ตร.กม.)

วันท่ีออกสัมปทาน

พื้นท่ีสํารวจ พื้นท่ีผลิต พื้นท่ีสงวน

ท่ี 6 บ.มิตซุย ออยลเอ็กซโปลเรช่ัน จํากัด 20.00

12 (B)

13

125.000 471.000

- -

3/2515/7 8 มี.ค. 2515

* บ.ปตท.สํารวจและผลิตปโตรเลียม จํากัด (มหาชน)

บ.โททาล อี แอนด พี ไทยแลนด บ.บีจี เอเชีย แปซิฟก พีทีอี จํากัด

44.45 33.33 22.22

16 17

- -

1,608.477 518.380

- -

1 มิ.ย. 2541 เพ่ิมเติมฉบับ

ท่ี11

* บ.ปตท.สํารวจและผลิตปโตรเลียม จํากัด (มหาชน)

บ.เชฟรอนประเทศไทยสํารวจและผลิต จํากัด บ.โมเอโกะ ไทยแลนด จํากัด

80.00 16.00 4.00

16A - 719.846 -

4/2515/8 9 มี.ค. 2515

พื้นท่ีทับซอนไทย-กัมพูชา * บ.บริติช แกส เอเชีย อิงค บ.Chevron Overseas Petroleum

(Thailand) Ltd. บ.Petroleum Resources (Thailand) Pty.,

Ltd.

50.00 33.33 16.67

7 8 9

4,760.000 3,400.000 2,260.000

- -

17 ก.ค. 2546

เพ่ิมเติมฉบับท่ี 9

* บ.เชฟรอนออฟชอร (ประเทศไทย) จํากัด บ.ออเรนจ เอ็นเนอรยี่ จํากัด บ.เชฟรอน บล็อก บี8/32 (ประเทศไทย)

จํากัด บ.พลังโสภณ จํากัด

44.34 46.34 7.32 2.00

9A - 80.028 -

5/2515/9 10 มี.ค.

2515

* บ.ปตท.สํารวจและผลิตปโตรเลียม จํากัด (มหาชน)

บ.โททาล อี แอนด พี ไทยแลนด บ.บีจี เอเชีย แปซิฟก พีทีอี จํากัด

44.45 33.33 22.22

15 - 1,073.632 -

1 มิ.ย. 2541 เพ่ิมเติมฉบับ

ท่ี 11

* บ.ปตท.สํารวจและผลิตปโตรเลียม จํากัด (มหาชน)

บ.เชฟรอนประเทศไทยสํารวจและผลิต จํากัด บ.โมเอโกะ ไทยแลนด จํากัด

80.00 16.00 4.00

14A - 1,373.184 -

พื้นท่ีทับซอนไทย-กัมพูชา * บ.ปตท.สํารวจและผลิตปโตรเลียม จํากัด

(มหาชน) บ.เชฟรอนประเทศไทยสํารวจและผลิต จํากัด บ.โมเอโกะ ไทยแลนด จํากัด

80.00 16.00 4.00

14A

133.00

- -

279

เลขท่ีสัมปทาน

ผูรับสัมปทานปโตรเลียม สัดสวน

(%)

แปลงสํารวจ

หมายเลข

พื้นท่ีสัมปทาน (ตร.กม.)

วันท่ีออกสัมปทาน

พื้นท่ีสํารวจ พื้นท่ีผลิต พื้นท่ีสงวน

1 มิ.ย. 2541 เพ่ิมเติมฉบับ

ท่ี 11

* บ.ปตท.สํารวจและผลิตปโตเลียม จํากัด (มหาชน)

บ.เชฟรอนประเทศไทยสํารวจและผลิต จํากัด บ.โมเอโกะ ไทยแลนด จํากัด

80.00 16.00 4.00

15A - 1,466.052 -

3/2528/28 6 ก.พ. 2528

* บ.ปตท.สผ. สยาม จํากัด บ.JX Nippon Oil & Gas Exploration

Corporation

60.00 40.00

B6/27 - 9.638 1,296.963

1/2529/33 15 ม.ค.

2529

* บ.เชฟรอนประเทศไทยสํารวจและผลิต จํากัด บ.ปตท.สํารวจและผลิตปโตรเลียม จํากัด (มหาชน) บ.เฮลส (ไทยแลนด) จํากัด บ.โมเอโกะ ไทย ออยลดิเวลล็อปเมนท จํากัด

35.00 45.00

15.00 5.00

B12/27 - 1,640.540 1,480.570

1/2534/36 9 ส.ค. 2532

บ.เพิรลออย (ประเทศไทย) จํากัด 100.00 B5/27 - 75.899 1,855.340

1/2534/36 1 ส.ค. 2534

พื้นท่ีทานตะวัน * บ.เชฟรอนออฟชอร (ประเทศไทย) จํากัด บ.ออเรนจ เอ็นเนอรยี่ จํากัด บ.เชฟรอน บล็อก บี8/32 (ประเทศไทย) จํากัด บ.พลังโสภณ จํากัด

44.34 46.34 7.32 2.00

B8/32 - 274.667 -

นอกพื้นทานตะวัน * บ.เชฟรอนออฟชอร (ประเทศไทย) จํากัด บ.ออเรนจ เอ็นเนอรยี่ จํากัด บ.บี8/32 พารทเนอร จํากัด บ.เชฟรอน บล็อก บี8/32 (ประเทศไทย)

จํากัด บ.พลังโสภณ จํากัด

29.67 31.67 31.67 5.00 2.00

B8/32 - 1,717.430 -

3/2539/50 24 ต.ค.

2539

* บ.ซาลามานเดอร เอนเนอรยี่ (บัวหลวง) ลิมิเต็ด บ.ซาลามานเดอร เอนเนอรยี่ (ประเทศไทย) จํากัด

60.00 40.00

B8/38 - 376.563 -

4/2546/61 17 ก.ค.

2546

* บ.เชฟรอนออฟชอร (ประเทศไทย) จํากัด บ.ปตท.สผ. อินเตอรเนช่ันเนล จํากัด บ.มิตซุย ออยลเอ็กซโปลเรช่ัน จํากัด บ.พลังโสภณ จํากัด

51.00 21.38 21.25 6.38

G4/43 2,120.520 454.651 -

280

เลขท่ีสัมปทาน

ผูรับสัมปทานปโตรเลียม สัดสวน

(%)

แปลงสํารวจ

หมายเลข

พื้นท่ีสัมปทาน (ตร.กม.)

วันท่ีออกสัมปทาน

พื้นท่ีสํารวจ พื้นท่ีผลิต พื้นท่ีสงวน

7/2546/64 17 ก.ค.

2546

บ.ซี อี ซี อินเตอรเนช่ันเนล ลิมิเต็ด 100.00 G5/43 4,467.460 357.700 -

8/2546/65 17 ก.ค.2546

พื้นท่ีทับซอนไทย-กัมพูชา บ.ปตท.สผ. อินเตอรเนช่ันเนล จํากัด

100.00 G9/43 2,619.000 - -

1/2549/69 15 มี.ค. 2549

* บ.เชฟรอน ปตตานี จํากัด บ.มิตซุย ออยลเอ็กซโปลเรช่ัน จํากัด บ.ปตท.สผ. อินเตอรเนช่ันเนล จํากัด

71.25 23.75 5.00

G4/48 218.490 70.794 -

2/2549/70 15 มี.ค.

2549

* บ.ปตท.สผ. อินเตอรเนช่ันเนล จํากัด บ.เชฟรอน ปตตานี จํากัด บ.มิตซุย ออยลเอ็กซโปลเรช่ัน จํากัด

80.00 16.00 4.00

G9/48 121.910 - -

3/2549/71 15 มี.ค.

2549

* บ.ปตท.สผ. อินเตอรเนช่ันเนล จํากัด บ.โททาล อี แอนด พี ไทยแลนด บ.ไทยเอนเนอรจี จํากัด

44.45 33.33 22.22

G12/48 307.320 - -

7/2549/75 8 ธ.ค. 2549

* บ.เพิรลออย (อมตะ) จํากัด บ.Northern Gulf Petroleum Pte. Ltd. บ.Pearl Oil (G1) Limited.

40.00 40.00 20.00

G1/48 8,807.170 - -

8/2549/76 8 ธ.ค. 2549

* บ.เพิรลออย (ประเทศไทย) จํากัด บ.เพิรลออย (จี2-จี10) จํากัด บ.คริสเอ็นเนอรยี่ ออยแอนดแกซ (ประเทศ

ไทย) จํากัด

50.00 25.00 25.00

G10/48 9,441.430 - -

2/2550/78 8 ม.ค. 2550

บ.เพิรลออยออฟชอร จํากัด

100.00 G2/48 9,449.110 - -

3/2550/79 8 ม.ค. 2550

* บ.เพิรลออย (อาวไทย) จํากัด บ.นอรธเทิรน กัลฟ ออย (ประเทศไทย)

จํากัด บ.Pearl Oil (G3-G6) Limited

40.00 40.00 20.00

G3/48 5,850.470 - -

4/2550/80 8 ม.ค. 2550

* บ.เพิรลออย (อมตะ) จํากัด บ.Northern Gulf Petroleum Pte. Ltd. บ.Pearl Oil (G3-G6) Limited.

40.00 40.00 20.00

G6/48 1,123.530 - -

5/2550/81 13 ก.พ. 2550

* บ.เพิรลออย บางกอก จํากัด บ.เพิรลออย (ประเทศไทย) จํากัด บ.คริสเอ็นเนอรยี่ รีซอสเซส (ประเทศไทย)

จํากัด

50.00 25.00 25.00

G11/48 6,791.180 - -

281

เลขท่ีสัมปทาน

ผูรับสัมปทานปโตรเลียม สัดสวน

(%)

แปลงสํารวจ

หมายเลข

พื้นท่ีสัมปทาน (ตร.กม.)

วันท่ีออกสัมปทาน

พื้นท่ีสํารวจ พื้นท่ีผลิต พื้นท่ีสงวน

9/2550/85 19 ธ.ค. 2550

บ.ซี อี ซี อินเตอรเนช่ันเนล ลิมิเต็ด 100.00 G5/50 270.030 - -

10/2550/86 19 ธ.ค. 2550

* บ.เชฟรอนปโตเลียม (ประเทศไทย) จํากัด บ.มิตซุย ออยลเอ็กซโปลเรช่ัน จํากัด บ.ปตท.สผ. อินเตอรเนช่ันเนล จํากัด

71.25 23.75 5.00

G6/50 243.320 - -

11/2550/87 19 ธ.ค. 2550

* บ.เชฟรอนปโตเลียม (ประเทศไทย) จํากัด บ.ปตท.สผ. อินเตอรเนช่ันเนล จํากัด บ.เฮสสเอ็กซโพลเรช่ัน (ประเทศไทย) จํากัด บ.มิตซุย ออยลเอ็กซโปลเรช่ัน จํากัด

35.00 45.00 15.00 5.00

G7/50 150.150 - -

12/2550/88 19 ธ.ค. 2550

* บ.ปตท.สผ. อินเตอรเนช่ันเนล จํากัด บ.เชฟรอนปโตเลียม (ประเทศไทย) จํากัด บ.มิตซุย ออยลเอ็กซโปลเรช่ัน จํากัด

80.00 16.00 4.00

G8/50 122.000 - -

15/2550/91 19 ธ.ค. 2550

บ.มิตซุย ออยลเอ็กซโปลเรช่ัน จํากัด 100.00 G4/50 5,823.660 - -

1/2551/92 21 ม.ค.

2551

บ.เพิรลออย (ปโตเลียม) จํากัด

100.00 G2/50 1,123.000 - -

รวม 29

สัมปทาน

36 แปลง 83,432.140 16,089.329 5,168.563

282

ภาคผนวก ข

ภาพสมัภาษณผูใหขอมูล และการทําประชาพิจารณ

283

ภาพประกอบดุษฎีนิพนธ

สัมภาษณ นายภานุ วรมิตร ผูวาการทองเท่ียวแหงประเทศไทยจังหวัดสุราษฏรธานี

วันที่ 2 พฤศจกิายน 2555

284

สัมภาษณนายเสนีย จิตเกษม ผูวาราชการจังหวัดระยอง วันที่ 10 กันยายน 2555

285

สัมภาษณ นายประเสริฐ สลิลอําไพ ผูจัดการฝายส่ือสารองคกร การปโตรเลียมแหงประเทศไทย, วันที ่10 ธันวาคม 2555

286

สัมภาษณ นายรามเนตร ใจกวาง นายกเทศมนตรีเทศบาลเมืองเกาะสมุย (ประธานเครือขายรักอาวไทย) วันที ่3 พฤศจิกายน 2555

287

สัมภาษณ นายหรอหยา จันทรัตนา พลังงานจังหวัดสุราษฏรธาน ีวันที ่7 พฤศจกิายน 2555

288

สัมภาษณ นายประทีป เฉงอวน ผูอํานวยการสํานักงานนคิมอุตสาหกรรมมาบตาพุด วันที่ 16/2/2556

MONITER ควบคุมภายในบริเวณการนิคม

289

ตําแหนงชุมชนทั้งหมดรอบการนิคมจะสงสัญญานไฟในสภาวะที่ผิดปกติ

290

รวมเปนผูดําเนนิการจัดการประชุมรับฟงความคิดเหน็ของประชาชนโครงการเจาะสํารวจปโตรเลียมแปลงสํารวจในทะเลอาวไทย หมายเลข G5/43 โครงการผลิตปโตรเลียม

ในพื้นที่ผลิตบัวบาน (สวนขยาย) วันที่ พฤษภาคม 2555.

ผูรวมดําเนินการเปนคนในพื้นท่ีท่ีเปนพนักงานของผูประกอบ

291

ดําเนินรายการรับฟงความคดิเห็น

ผูนํากลุมชุมชน

292

สมาชิกกลุม

กลุมชาวบานในบริเวณพืน้ที่รับฟงความคิดเห็น

293

บุคคลผูชี้แจงผลที่ไมกระทบกบัส่ิงแวดลอม

294

พนักงานบริษัทที่ปรึกษา ISET

295

กลุมชาวบานในพื้นที่

296

นักวิชาการ “กรมพลังงานเชื้อเพลิง” ตัวแทนกระทรวงพลังงาน

297

เจาหนาที่ของบริษทัฯ ที่ปรึกษารายงานผลกระทบส่ิงแวดลอม

298

บรรยากาศการซกัถามของผูเขารวมประชุม

299

ตัวแทนผูประกอบการ

300

อธิบายประเดน็ “แบบสอบถาม”

301

ชาวบานตอบแบบสอบถาม

302

ชาวบานตอบแบบสอบถาม

303

แนะนําวิธีการตอบแบบสอบถาม

304

มีเจาหนาทีช่ี้ใหชาวบานตอบแบบสอบถาม

305

มีเจาหนาทีช่ี้ใหชาวบานตอบแบบสอบถาม

306

มีเจาหนาทีช่ี้ใหชาวบานตอบแบบสอบถาม

307

308

แผนท่ีแสดงปโตรเลียมในประเทศไทย

309

แผนท่ีแสดงพื้นท่ีพัฒนารวม (JDA)

310

แผนท่ีแสดงเสนทางทอกาซธรรมชาติและโรงแยกกาซ

311

PLATFORM

312

313

แหลงกาซธรรมชาตบิงกช แปลงสาํรวจท่ี 16

แหลงกาซธรรมชาติไพลิน แปลงสาํรวจ B12/27

314

แหลงกาซธรรมชาตบิัวหลวง แปลงสาํรวจ B8/38

การสาํรวจธรณฟีสกิส

การสงคลื่นไหวสะเทือน (Seismic wave)

315

อุบัติเหตุอาวเม็กซิโก

เหตเุพลิงไหม บ.บี บราวน เมดดคิอล ในนิคมอุตสาหกรรม อีสเทิรน ซบีอรด จ.ระยอง

316

เหตุไฟไหมนิคมอุตสาหกรรม มาบตาพุด

นายเสนีย จติตเกษม ผูวาราชการจังหวัดระยอง กลาวถึง เหตุการณเพลิงไหมโรงงานปโตรเคมีกรุงเทพซินธิติกส ในเขตนิคมอุตสาหกรรมมาบตาพุด 5 พ.ค.2555 มียอดผูเสียชีวิต 12 ราย

บาดเจบ็ 127 ราย

เหตุไฟไหมนิคมอุตสาหกรรมมาบตาพุด

317

เหตุไฟไหมนิคมอุตสาหกรรมมาบตาพุด

ผูวาการนิคมอุตสาหกรรมมาบตาพุด กลาวถังกาซพิษระเบิดในมาบตาพุด ระยอง ควบคมุได

6 พฤษภาคม 2555

318

319

ประวัตกิารศกึษา ชื่อ นายอดิเทพ บุญสุข วันเดือนปเกดิ 5 มิถุนายน 2506 วุฒิการศึกษา นิเทศศาสตรบณัฑิต (การส่ือสารการเมืองบูรณาการ) มหาวิทยาลัยเกริก รัฐศาสตรมหาบณัฑิต (ส่ือสารการเมือง) มหาวิทยาลัยเกริก

Recommended