Epilepsy Research in Thailand Somsak Epilepsy research1.pdf · Epilepsy Research in Thailand...

Preview:

Citation preview

Epilepsy Research in Thailand

รศ.นพ.สมศกัดิ์ เทียมเกา

หัวหนากลุมวจิัยโรคลมชักโรงพยาบาลศรนีครินทร

คณะแพทยศาสตร มหาวิทยาลัยขอนแกน

E-mail : somtia@kku.ac.th

http :// epilepsy.kku.ac.th

สมาคมโรคลมชักแหงประเทศไทย

อาจารยสมชาย

อาจารยอนันตนิตย

Srinagarind Epilepsy

Research Group

Faculty of Medicine

Khon Kaen university

ความรูสึก เมื่อทราบวาตองพูดเรื่องนี้

รูสึกดีมากจริงๆ

มีคําถามในใจ วาทําไมถึงตองเปนเรา

หนักใจวาจะนําเสนออะไร และอยางไรดี

ตั้งใจและพยายามอยางเต็มกําลัง

เพื่อกอใหเกิดประโยชนตอผูฟงทุกทาน รวมทั้งตัวผมเอง

วตัถุประสงค

1. ทบทวนการวิจัยโรคลมชกัในประเทศไทย

2. นโยบายการทําวิจัยในประเทศไทย

3. การตั้งกลุมวิจัยโรคลมชัก

4. องคประกอบแหงความสําเร็จ

รูปแบบการนําเสนอ

นําเสนอขอมูลตามความเปนจริง

เสนอแนวคิดของผม และทีม Srinagarind

Epilepsy Research Group

ผูฟงจึงควรตองไตรตรองใหดีกอนที่จะนําไปใช

ไมมเีจตนาที่จะบอกวากลุมวิจยัขอนแกนดีอยางไร

เพียงแคตองการเลา

ประสบการณที่ดีๆ เทานั้น

First article in PubMed

Epilepsy Research in AsiaThailand 102

Japan 4277

Korea 562

Lao 12 (France)

Malaysia 68

Singapore 136

PubMed:16 July 2009

Epilepsy Research in Thailand

Published in PubMed 102

J Med Assoc Thai 53

Other international journal 49

Srinagarind Epilepsy Research Group 13

Article in Thai Language 1985-2009

Thai Index Medicus

Chulalongkorn University Medical Library

179 titles

Article in Thai Language 179 titles

Review article 84

Original article 83

Case report 12

Srinagarind Epilepsy Research Group 29

การวางแผนทาํวิจัยศึกษาปญหาใกลๆ ตัวของเรา

ทบทวนวรรณกรรมที่เกีย่วของ

ประชุมทีมระดมความคดิ

จัดทาํโครงรางการวิจัย

หาแหลงทุนขอรับการสนับสนุน

ตองลงมือทาํทันท ีตามกรอบเวลา

ตองนําเสนอและตีพมิพผลงานวิจัยทุกเรื่อง

แนวทางการทาํวิจยัรวมกลุมผูสนใจ: ตั้งกลุมวิจัย

R 2 RMulticenter

การรวมกลุมผูสนใจ

ไดความคิดหลากหลาย

รวมมอืและชวยกันทาํงาน

เพิ่มศักยภาพ และความหลากหลาย

สหสาขาวิชาชีพ

กาวหนาไปดวยกัน

Field of Epilepsy ResearchEpidemiology

Clinical syndrome

Basic science

Clinical trial

Drug development

Knowledge , attitude , practice (KAP)

EEG

Specific problem : CNS infection

โอกาสการทาํวจิยัในประเทศไทย1. Epidemiology2. Etiology of epilepsy3. Specific problems : ตัวอยาง

-Non-ketotic hyperglycemic induced seizure -CNS infection-HIV and epilepsy-Drug allergy

4. Knowledge , attitude, practice, and perception5. Treatment in limited resources6. Multi-centre clinical trials7. Individual interest

นโยบายฝายวจิัย พศ. 2552-2554

รวบรวมขอมูลการวิจัยในประเทศไทย

สนบัสนนุการศึกษาโรคลมชักในทกุดาน

และทุกกลุมบุคลากร

ศึกษาอยางเปนระบบ และสหสถาบัน

เปาหมายที่ผมแอบหวังไวนําขอมูลมาวางแผนพัฒนาการรักษาและการวิจัยของประเทศไทย

มีการตั้งกลุมวิจัยตามโรงพยาบาลตางๆ

สรางเครือขายการวิจัยสหสถาบัน

มีขอมลูที่เปนของประเทศไทยจริง

เตรียมความพรอมของสมาชิกในการศึกษารวมกับนานาชาติ

Research TopicsEpidemiology of epilepsy in ThailandNewly diagnosed epilepsy: etiology and outcomePredictive factors of SE outcomeRationale of AEDs usedQOL of people with epilepsy(PWE)KAP of people regarding epilepsySJS and TEN induced by AEDs: genetic study and cost-effective or notPregnancy in PWE registration: clinical practice and outcomeEpilepsy service in Thailand: patient view

1. การรวมกลุมและสมาชกิกลุม

2. การสนับสนุนจากหนวยงาน

3. ความสม่ําเสมอ

4. เจาภาพในแตละเรื่อง

5. ความอดทนและพยายาม ไมยอทอ

องคประกอบของทีม1. นักวิจัย

2. ผูชวยวิจัย

3. นักสถิติ

4. นักเขียน

5. นักแปล

6. ที่ปรึกษาดานภาษาอังกฤษ

มีความไววางใจ และจริงใจ

ตองไมระแวง แขงขนักันเอง

ทุกงานวิจัยเริ่มจากคําถาม

งานประจําสูงานวิจัย

Recommended