What is Management in Supply Chain Management? (III)_2

Preview:

Citation preview

Global Knowledge

October 2011 Logistics Digest

51

กรอบโครงสร้างแบบMentzer กรอบโครงสร้างแบบ Mentzer ที่ เรานำมาพิจารณาถูกพัฒนาโดยMentzerและคณะ (2001) เพื่อจะมีวิธีสร้างมโนทัศน์เกี่ยวกับการจัดการโซ่อุปทานที่คงเส้นคงวาMentzer และเพื่อนร่วมงานของเขานิยามการจัดการโซ่อุปทานในบทวิเคราะห์นี้ว่าเป็น “การประสานงานหน้าที่งานธุรกิจแแบบดั้งเดิม และกลยุทธ์ต่างๆ อย่างเป็นระบบ และอย่างมียุทธศาสตร์ ในบริษัทหนึ่งๆ และระหว่างธุรกิจภายในโซ่อุปทานเพือ่ปรบัปรงุสมรรถนะในระยะยาวของแตล่ะบริษัทและโซ่อุปทานโดยรวม” คำอธิบายSCMของผู้เขยีนองิมาจากการพจิารณางานเขียนมากมายเกี่ยวกับลักษณะเฉพาะที่เป็นคุณลักษณะของการจัดการโซ่อุปทานจากนยิามนี้SCMมีสว่นเกีย่วขอ้งกบัหลายหนว่ยงานและกิจกรรมธุรกิจหลายด้านและอิงที่กระบวนการเพื่อประสานงานกิจกรรมต่างๆระหว่างแต่ละหน้าที่งานและระหว่างแต่ละองค์กรในโซ่อุปทานนิยามนี้นำไปสู่แนวคิดการพัฒนาแบบจำลองของการจัดการ โซ่อุปทานดังที่แสดงในภาพที่4ด้านล่าง ในกรอบโครงสร้างนี้ โซ่อุปทานถูกแสดงในรปูของทอ่สง่(Pipeline)ที่แสดงการไหลของโซ่อุปทานการประสานงานระหว่างหนา้ที่งานของหนา้ที่งานดัง้เดมิในธรุกจิและการประสานงานระหว่างบริษัทระหว่างหุ้นส่วนโซ่อุปทานตั้งแต่ผู้จัดส่งวัตถุดิบของผู้จัดส่งวัตถุดิบ จนถึงลูกค้าของลูกค้า จนถึงการสร้างคุณค่าและความพึงพอใจให้แก่ผู้บริโภคMentzerและเพื่อนร่วมงานเล็งเห็นว่าคุณค่าและความพึงพอใจของลูกค้าเป็นปัจจัยที่จำเป็นต่อการสร้างความได้เปรียบในการแข่งขันและความสามารถในการทำกำไรสำหรับแต่ละบริษัทในโซ่อุปทานและสำหรับโซ่อุปทานโดยรวม (Mentzer และคณะ2001) ทัง้3กรอบโครงสรา้งที่กลา่วมาขา้งตน้คอืSCOR,GSCFและCPFRมีการนิยามไว้มากพอควรแลว้และสามารถนำมาใช้งานใน

องค์กรหลากหลายรูปแบบกรอบโครงสร้างแบบGSCFมีขอบเขตกว้างมากขอบเขตที่กว้างมากนี้อาจสร้างความท้าทายในการนำมาใช้งาน โดยเฉพาะที่กรอบโครงสร้างนี้แนะนำให้องค์กรเปลี่ยนจากการอิงหน้าที่งานมาอิง/จัดการตามกระบวนการ กรอบโครงสร้างSCORอาจนำมาใช้งานได้งา่ยกวา่เพราะวา่เกีย่วขอ้งกบัแค่หนา้ที่งานของธรุกจิในด้านการจัดหาการผลิตและลอจิสติกส์ แต่ก็อาจเพิ่มความเหมาะสมได้เพียงเฉพาะจดุ(Sub-optimization)และจดัการโซ่อปุทาน โดยไม่ได้มีข้อมูลจากหน้าที่งานส่วนอื่นๆ(Lambertและคณะ2005)กรอบโครงสร้างCPFRนั้นมีขอบเขตแคบกว่า ทำให้แต่ละบริษัทมีอิสรภาพในการตัดสินใจว่าจะใช้ความสัมพันธ์แบบร่วมมือกันมากน้อยเพียงใดในแต่ละช่วงเวลา ความง่ายในการนำCPFRมาใช้งานและการที่สามารถวดัผลการปรบัปรงุได้จากความสมัพนัธ์แบบรว่มมอืกนัเพียงความสัมพันธ์เดียว ถือเป็นจุดแข็งข้อใหญ่ทีส่ดุของกรอบโครงสรา้งแบบนี้อยา่งไรก็ตาม สิ่งที่แตกต่างจากกรอบโครงสร้างอีก 2แบบคือCPFR ไม่ได้ให้ความมั่นใจว่าทรัพยากรภายในองค์กรมีการจัดเรียง กันอย่างเหมาะสม ซึ่งอาจถือได้ว่าเป็น

จดุออ่นขณะที่กรอบโครงสรา้งของMentzerเน้นที่การปฏิสัมพันธ์ข้ามหน้าที่งานภายในองคก์รและความสมัพนัธ์ใหม่ๆ ที่ถกูสรา้งขึน้กับส่วนอื่นๆของโซ่อุปทานแต่ก็ไม่ได้มีการอธิบายกระบวนการที่ต้องนำมาใช้งาน ติดตามตอนที่ 4 “คำศัพท์เฉพาะทางของSCM”การทำงานรว่มกนัการบูรณาการและความยั่งยืน เราจะพบแนวคิดสำคัญๆหลายเรื่องด้วยกันจากการพิจารณางานเขียนเกี่ยวกับSCMอย่างละเอียดเช่นเดียวกบันยิามของSCMและกรอบโครงสรา้งของSCMนอกเหนอืจากการประสานงานการไหลและกจิกรรมที่เปน็นยิามที่ชดัเจนแลว้นยิามและกรอบโครงสร้างมักจะใช้คำศัพท์ต่างๆเช่น การทำงานร่วมกันและการบูรณาการนอกจากนั้น ความยั่งยืนก็เป็นเรื่องที่ได้รับความสนใจเพิ่มมากขึ้นเรื่อยๆ ในช่วงไม่กี่ปีที่ผ่านมา ในหัวข้อต่อจากนี้ เราจะพยายามชำแหละคำศัพท์แต่ละตัวขณะที่ยังเน้นที่ความหมายและสาระของมัน

ดร.วิทยา สุหฤท ดำรง ผู้ อำนวย การ สถาบัน วิทยาการ โซ่ อุปทาน มหาวิทยาลัย ศรีปทุม vithaya@vithaya.com

แบบจำลองของMentzer

SupplyChainFlows

CustomerSatisfaction/

Value/Profitability/CompetitiveAdvantage

Supplier’s Supplier Supplier Focal Firm Customer Customer’s Customer

Inter-FunctionalCoordination(Trust,Commitment,Risk,Dependence,Behaviors)

Products

Services

Information

FinancialResources

Demand

Forecasts

The Supply Chain

The Global Environment

Inter-Corporate Coordination(Functional Shifting, Third-Party Providers, Relationship Management, Supply Chain Structures)

Marketing

Sales

Research and Development

Forecasting

Production

Purchasing

Logistics

Information Systems

Finance

Customer Service

Recommended