31
การเพิ่มผล ผลิต ในองค์กร

การเพิ่มผลผลิต Ita

Embed Size (px)

Citation preview

การเพิ่มผลผลิต

ในองค์กร

ความเป็นมาของการเพิ่มผลผลิตใ

นองคก์ร

การเพิ่มผลผลิต  เริ่มที่ประเทศสหรัฐอเมริกา ได้ทำาการศึกษาหาแนวทางขจัดความสิ้นเปลืองวัตถุดิบและพลังงาน  ซึ่งมีสาเหตุสำาคัญ  2 ประการ คือ  1.วิธีการปฏิบัติงาน 

2.ความรับผดิชอบของคนทั้ง 2 สาเหตุข้างต้น  เกิดจากการบริหารงานไม่มีประสิทธิภาพเพราะไม่มีหลักเกณฑ์ที่แน่นอนในการบริหารงาน

Taylor  มุ่งศึกษาวิธีการปฏิบัติงานในกระบวนการผลิต “ ระยะเวลาและความเคลื่อนไหวในการทำางาน ซึ่งได้สรุป ดังนี้ 1.ต้องศึกษาวิธีการปฏิบัติงานในกระบวนการผลิต 2.พัฒนาวิธีการปฏิบัติงาน 3.คัดเลือกและฝึกฝนคนงาน 4.ฝา่ยบริหารต้องมีความรับผิดชอบ 5.คนงานก็ต้องมีความรับผิดชอบ 

การพัฒนาอตุสาหกรรมของประเทศญี่ปุ่นได้เริ่มต้นขึ้นเมือ่หลังสงครามโลกครั้งที่2ระยะแรกผลผลิตทางอุตสาหกรรมมีคุณภาพตำ่ากว่าผลผลิตทางอุตสาหกรรมที่มาจากประเทศในทวีปยุโรปและอเมริกา  ซึ่งมีการพัฒนาอุตสาหกรรมมาก่อน  ได้นำาการควบคุมคุณภาพเชิงสถิติไปใช้ในญี่ปุ่น  ทำาให้โรงงานอุตสาหกรรมต่าง ๆ นำาวิธีการควบคุมคุณภาพเชิงสถิติไปใช้ในประเทศญี่ปุ่น

โดยมีเป้าหมายสำาคัญ  คือ  การเพิ่มผลผลิตขององค์กร  ความพยายามในการเพิ่มผลผลิตให้กับองค์กร  ทำาให้ประเทศสหรัฐอเมริกาประสบความสำาเรจ็ในการพัฒนาอุตสาหกรรมและการค้าในทุกด้าน

ประเทศไทยมีสถาบันเพิ่มผลผลิตแห่งชาติสังกดักระทรวงอตุสาหกรรม  ก็ได้รบัความช่วยเหลือถ่ายทอดความรู้และเทคนิคการเพิ่มผลผลิตจากองค์กรเพิ่มผลผลิตแห่งเอเชีย  และเป็นสถาบันที่ให้คำาปรึกษาอบรมและพัฒนาให้โรงงานอุตสาหกรรม  องค์กรและสถาบันต่าง ๆ ทำาให้ภาคอุตสาหกรรมของไทยได้พัฒนาก้าวหน้าอยา่งรวดเร็ว 

ความหมายและแนวคิดของการเพิ่มผลผลิตในองคก์ร

1.ความหมายของการเพิ่มผลผลิตในองค์กร -การเพิ่มผลผลิต  หมายถึง การเพิ่มปริมาณ  เพิ่มคุณภาพ  หรือคุณค่าที่ลูกค้าหรือผู้เกี่ยวข้องมีความพึงพอใจแต่ใช้ต้นทุนตำ่าที่สุด-คุณภาพ คือ ระดับคุณภาพหรือมาตรฐานของสินค้าหรืองานบริการ  

-ต้นทุน คือ เงินทุนที่ใช้จัดหาปัจจัยการผลิต-ความพึงพอใจของลูกค้า คือ จุดหมายปลายทางของสินค้าและบริการถูกส่งมอบให้กับลูกค้าตรงเวลา ทำาให้ลูกค้าเกิดความพึงพอใจทั้งผลิตภณัฑแ์ละการบริการ

ทรัพยากรที่ใช้ในการผลิต (INPUT)

 แนวคิดของการเพิ่มผลผลิตในองค์กร -ด้านเศรษฐศาสตร์ คือ การลดปัจจัยการผลิตที่สำาคัญ  คือ  แรงงาน  วัตถุดิบ  และพลังงาน

-ด้านวิทยาศาสตรแ์ละเทคโนโลย ีมุ่งเพิ่มผลผลิตด้วยการเพิ่มประสิทธิภาพการทำางานและลดเวลาการทำางานลง-ด้านสังคม  คือ การมุ่งใช้ทรพัยากรการผลิตให้เกดประโยชนส์ูงสุด  เกดิผลกระทบต่อทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมน้อยที่สุด

การเพิ่มผลผลิตโดยเทคโนโลย ี

1.องค์ประกอบของการใช้เทคโนโลยีเพื่อการเพิ่มผลผลิต1.1. องค์ประกอบด้านกำาลังคนคน คือ ผู้สรา้ง ผูใ้ช้และผูบ้ำารุงรักษาเทคโนโลยี ดังนั้น เทคโนโลยจีะมีประโยชน์มากหรือน้อยขึ้นอยูก่ับองค์ประกอบด้านกำาลังคน 3 ด้าน ได้แก่

1) ความรู้ความสามารถของกำาลังคนในการใช้เทคโนโลยเีนื่องจากเทคโนโลยมีีการพัฒนาที่รวดเร็วทำาให้เกิดเทคโนโลยีใหม่ ๆ ดังนั้นการใช้เทคโนโลยีจึงต้องมีการศึกษา การทดลองใช้และฝึกการใช้ให้เกิดความชำานาญให้กับผู้ใช้เทคโนโลยีจึงมีความจำาเป็นอย่างยิง่

2) ความรู้ความสามารถของกำาลังคนในการบำารงุรักษา  เนื่องจากระบบการบำารุงรักษาเทคโนโลย ีที่ดีจะช่วยให้เทคโนโลยมีีประสิทธิภาพคงทน และทำางานได้สะดวก ดังนั้นผู้ใช้เทคโนโลยีจึงต้องมีความรู้ความสามารถในการบำารุงรักษาและซ่อมแซมอุปกรณ์ต่างๆ

3) ความรู้ความสามารถของกำาลังคนในการสร้างสรรค์เทคโนโลย ีคือความสามารถในการปรบัปรงุวิธีการใช้เทคโนโลยใีห้เกิดประสิทธิภาพ และสามารถปรับแต่งหรือเปลี่ยนแปลงเทคโนโลยทีี่มีอยูใ่ห้เกิดเทคโนโลยใีหม่ที่มีประสิทธิภาพในการทำางานเพิ่มขึ้น หรือทำางานได้สะดวกกว่า หรือมีการประหยดัพลังงานมากกว่า

1.2องค์ประกอบด้านเทคโนโลยี  1) ราคาต้นทุนของเทคโนโลยี มีความเหมาะสมกับขนาดของการลงทุน เพราะถ้าราคาต้นทุนของเทคโนโลยสีูงเกนิไป ก็จะทำาให้ต้นทุนของสินค้าสูงตาม ส่งผลให้ราคาสินค้าสูงกว่าความต้องการของผูบ้รโิภค ดังนั้น การเลือกใช้เทคโนโลยีจึงต้องพิจารณาที่ราคาต้นทุนด้วย

2) ประสิทธิภาพของเทคโนโลยี ต้องมีความเหมาะสมกบัราคาและงานที่ต้องการ หากเราจัดหาเทคโนโลยทีี่มีประสิทธิภาพสูงกว่าความต้องการใช้งาน เราก็ต้องลงทุนสูง แต่ถ้าเราจัดหาเทคโนโลยทีี่มีประสิทธิภาพตำ่ากว่าความต้องการ เรากไ็ม่สามารถเพิ่มผลผลิตได้ตามเป้าหมาย ดังนั้น การศึกษาประสิทธิภพของเทคโนโลยีจึงมีความจำาเป็นอย่ายิง่ในการเลือกหาเทคโนโลยมีาใช้

3) ระบบการบำารุงรักษาเทคโนโลยี นับว่าเป็นต้นทุนอีกด้านหนึ่ง ดังนั้น การเลือกใช้เทคโนโลยีจึงต้องคำานึงถึงระบบการบำารุงรักษาด้วย เช่น

-วิธีการทำางานที่ยากหรือง่าย- วิธีการเปลี่ยนถ่ายนำ้ามันหล่อลื่น- อุปกรณ์ที่หมดอายแุล้วจะสามารถหามาทดแทนได้หรือไม่- มีการบริการซ่อมบำารุงหลังการขายหรือไม่- มีการับประกันอุปกรณ์หรือไม่- มีคู่มือแสดงระบบการบำารงุรักษาที่ชัดเจนหรือทำาความเข้าใจได้ง่าย- มีระบบการฝึกอบรมให้กับผู้ใช้

หลกัการใช้ระบบคอมพิวเตอร์ในองคก์ร 

      

ปัจจุบันมีการนำาระบบคอมพวิเตอร์มาใช้ในองค์กรจนกลายเป็นเทคโนโลยีที่มีความจำาเป็นต่อการพัฒนาระบบงานต่าง ๆ ไม่ว่าจะเป็นงานสำานักงาน งานออกแบบผลิตภัณฑ์ งานในกระบวนการผลิตสื่อ และการสื่อสาร เพราะระบบคอมพิวเตอร์มีคุณลักษณะพิเศษที่ช่วยเพิ่มผลผลิต

การใช้ระบบคอมพิวเตอร์กับงานสำานักงาน มีการใช้ระบบคอมพิวเตอร์ด้วยวัตถุประสงค์ดังนี้1.1.จัดเก็บข้อมูล  1.2.พิมพ์เอกสาร  1.3.ออกแบบเอกสาร  1.4.ประมวลผลข้อมูล และการจัดเก็บอย่างมีระบบ  1.5.เชื่อมโยงการสื่อสารภายในองค์กร 

1. การใช้คอมพิวเตอร์ช่วยงานออกแบบ (Computer Aid Desing :CAD)     ในปัจจุบันองค์กรต่าง ๆ มีการนำาโปรแกรมงานออแบบที่ใช้ในระบบคอมพวิเตอร์มาช่วยในงานออกแบบผลิตภัณฑ์ ออกแบบบ้านหรืออาคาร หรืองานก่อสร้างทุกประเภท อุตสาหกรรมพลาสติก และอุตสาหกรรมอะไหล่รถยนต์เป็นอุตสาหกรรมที่นำาเอาโปรแกรมงานออกแบบผลิตภัณฑ์มาใช้

ดังนั้นการนำาโปรแกรมงานออกแบบผลิตภัณฑ์ด้วยระบบคอมพิวเตอร์มาใช้ จึงอำานวยความสะดวก และสร้างประสิทธิภาพของงานออกแบบได้มากขึ้น ต่อมามีการพัฒนาโปรแกรมการออกแบบไม่ใช้งานด้านอื่นๆอกีมาก เช่นงานออกแบบแผนผงั โครงสร้างอาคาร บ้านเรือน งานออกแบบด้านสื่อโฆษณาประชาสัมพันธ์เป็นต้น

ข้อดีของการใช้โปรแกรมคอมพิวเตอร์ช่วยงานออกแบบ1)ลดเวลาการทำางาน เนื่องจากในโปรแกรมสามารถบันทึกแบบต่าง ๆ ที่เราเรียกขึ้นมาปรับใช้ได้ทันที ไม่ต้องเขียนขึ้นใหม่

2)ลดปัญหาความผิดพลาดจากการคำานวณ เนื่องจากในโปรแกรมสามารถคำานวณระยะได้อย่างแม่นยำา

3)โปรแกรมสามารถจัดภาพให้เป็น 3 มิติ และปรับมุมมองได้ทุก ๆ ด้าน4)โปรแกรมให้มีสีสันได้ตามใจผู้ออกแบบ5)ผูอ้อกแบบสามารถสร้างจินตนาการได้ตามความฝันของตัวเอง

2. การใช้ระบบคอมพิวเตอร์กับงานในระบบการผลิตเป็นการนำาระบบคอมพิวเตอร์มาช่วยควบคุมกระบวนการผลิต ประกอบด้วย  2.1 การวางแผนการผลิต โรงงานอุตสาหกรรมที่ใช้ระบบคอมพิวเตอรควบคุมกระบวนการผลิต จะทำาโปรแกรมแผนการผลิตในทุกขั้นตอนไว้ โดยแผนการผลิตแต่ละแผนจะกำาหนดรายละเอียดดังนี้

    - ปรมิาณและคุณลักษณะของวัตถุดิบ    - ขั้นตอนการทำางาน วิธีการทำางาน    - ระยะเวลาในแต่ละขั้นตอนการผลิต    - ข้อสังเกตขณะที่กำาลังผลิต    - ลักษณะผลผลิต