69
บทที1 บทนํา ความเปนมาและความสําคัญของปญหา พระราชบัญญัติการศึกษาแหงชาติ ..2542 และแกไขเพิ่มเติม(ฉบับที2) .. 2545 หมวดที9 มาตรา 63-69 กําหนดใหรัฐมุงสงเสริมและสนับสนุนใหมีการผลิตและพัฒนาเทคโนโลยี เพื่อการศึกษาโดยใหมีเงินสนับสนุนการผลิตและมีการใหแรงจูงใจแกผูผลิตและพัฒนาเทคโนโลยี เพื่อการศึกษา และใหมีการพัฒนาบุคลากรทั้งดานผูผลิต และผูใชเพื่อใหมีความรูความสามารถและ ทักษะในการผลิต รวมทั้งการใชเทคโนโลยีที่เหมาะสม มีคุณภาพ และประสิทธิภาพ สวนดาน ผูเรียนใหมีสิทธิไดรับการพัฒนาขีดความสามารถในการใชเทคโนโลยีเพื่อการศึกษาในโอกาสแรก ที่ทําได เพื่อใหมีความรูและทักษะเพียงพอที่จะใชเทคโนโลยีเพื่อการศึกษาในการแสวงหาความรู ดวยตนเองไดอยางตอเนื่องตลอดชีวิต ตลอดจนรัฐตองสงเสริมใหมีการวิจัยและพัฒนา การผลิตและ การพัฒนาเทคโนโลยีเพื่อการศึกษา รวมทั้งติดตาม ตรวจสอบและประเมินผลการใชเทคโนโลยีเพื่อ การศึกษา เพื่อใหเกิดการใชที่คุมคาและเหมาะสมกับกระบวนการเรียนรูของคนไทย (สํานักงานคณะกรรมการการศึกษาแหงชาติ. 2545 : 37-38) สวนหลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐาน ..2544 และหลักสูตรสถานศึกษา มีจุดมุงหมาย เพื่อมุงสงเสริมใหผูเรียนเรียนรูดวยตนเอง เรียนรูอยางตอเนื่องตลอดชีวิต และใชเวลาอยาง สรางสรรครวมทั้งมีความยืดหยุสนองความตองการของผูเรียน ชุมชน สังคมและประเทศชาติ ผูเรียนสามารถเรียนรูไดทุกเวลา ทุกสถานทีและเรียนรูไดจากสื่อการเรียนรูและแหลงเรียนรู ทุกประเภท โดยเฉพาะ เนนสื่อที่ผูเรียนและผูสอนใชศึกษาคนควาหาความรูดวยตนเอง (กระทรวงศึกษาธิการ. 2545 : 23) ระบบเครือขายคอมพิวเตอรถูกพัฒนาใหกวางขวางมากขึ้นในปจจุบันโดยมีชื่อเรียกวา เครือขายอินเทอรเน็ต (Internet) หรือ เรียกสั้นๆ วาอินเทอรเน็ต อินเทอรเน็ตเปนเครือขาย คอมพิวเตอรที่มีขนาดใหญที่สุดในโลกซึ่งประกอบดวยเครือขายยอยจํานวนมากมายกระจายอยูทั่ว ทุกมุมโลก กลาวกันวาเวลานี้มีคอมพิวเตอรขนาดตางๆ ตอเชื่อมระบบอินเทอรเน็ตหลายสิบลาน เครื่อง ทําใหระบบเครือขายอินเทอรเน็ตเปนเครือขายสื่อสารที่ใหญมากจนสามารถตอบสนอง ความตองการในการคนหาขอมูลอยางไรพรมแดนในยุคของเทคโนโลยีสารสนเทศไดเปนอยางดี (วิทยา เรืองพรพิสุทธิ. 2538 : 2)

รายงานวิจัยบทที่ 1 5

  • Upload
    kruwaeo

  • View
    185.744

  • Download
    15

Embed Size (px)

DESCRIPTION

งานวิจัย 5 บท บทเรียนออนไลน์เรื่องการเขียนเว็บไซต์ ด้วยโปรแกรม Microsoft Frontpage 2003

Citation preview

Page 1: รายงานวิจัยบทที่ 1 5

บทที่ 1

บทนํา

ความเปนมาและความสําคัญของปญหา

พระราชบัญญัติการศึกษาแหงชาติ พ.ศ.2542 และแกไขเพิ่มเติม(ฉบับที่2) พ.ศ. 2545 หมวดที ่9 มาตรา 63-69 กําหนดใหรัฐมุงสงเสริมและสนับสนุนใหมกีารผลิตและพฒันาเทคโนโลยีเพื่อการศึกษาโดยใหมีเงินสนับสนุนการผลิตและมีการใหแรงจูงใจแกผูผลิตและพัฒนาเทคโนโลยีเพื่อการศึกษา และใหมีการพัฒนาบุคลากรทั้งดานผูผลิต และผูใชเพื่อใหมีความรูความสามารถและทักษะในการผลิต รวมทั้งการใชเทคโนโลยีที่เหมาะสม มีคุณภาพ และประสิทธิภาพ สวนดาน ผูเรียนใหมีสิทธิไดรับการพฒันาขีดความสามารถในการใชเทคโนโลยีเพื่อการศกึษาในโอกาสแรก ที่ทําได เพื่อใหมีความรูและทักษะเพียงพอที่จะใชเทคโนโลยีเพื่อการศกึษาในการแสวงหาความรู ดวยตนเองไดอยางตอเนื่องตลอดชีวิต ตลอดจนรัฐตองสงเสริมใหมีการวิจัยและพัฒนา การผลิตและการพัฒนาเทคโนโลยีเพื่อการศึกษา รวมทัง้ติดตาม ตรวจสอบและประเมินผลการใชเทคโนโลยีเพื่อการศึกษา เพื่อใหเกิดการใชที่คุมคาและเหมาะสมกับกระบวนการเรียนรูของคนไทย (สํานักงานคณะกรรมการการศึกษาแหงชาติ. 2545 : 37-38) สวนหลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐาน พ.ศ.2544 และหลักสูตรสถานศึกษา มีจุดมุงหมาย เพื่อมุงสงเสริมใหผูเรียนเรียนรูดวยตนเอง เรียนรูอยางตอเนื่องตลอดชีวติ และใชเวลาอยาง สรางสรรครวมทั้งมีความยดืหยุน สนองความตองการของผูเรียน ชุมชน สังคมและประเทศชาติ ผูเรียนสามารถเรียนรูไดทุกเวลา ทุกสถานที่ และเรียนรูไดจากสื่อการเรยีนรูและแหลงเรียนรู ทุกประเภท โดยเฉพาะ เนนสื่อที่ผูเรียนและผูสอนใชศึกษาคนควาหาความรูดวยตนเอง (กระทรวงศึกษาธิการ. 2545 : 23)

ระบบเครือขายคอมพิวเตอรถูกพัฒนาใหกวางขวางมากขึน้ในปจจุบันโดยมีช่ือเรียกวาเครือขายอินเทอรเน็ต (Internet) หรือ เรียกสั้นๆ วาอินเทอรเน็ต อินเทอรเน็ตเปนเครือขาย คอมพิวเตอรทีม่ีขนาดใหญที่สุดในโลกซึ่งประกอบดวยเครือขายยอยจาํนวนมากมายกระจายอยูทัว่ทุกมุมโลก กลาวกันวาเวลานีม้ีคอมพิวเตอรขนาดตางๆ ตอเชื่อมระบบอินเทอรเน็ตหลายสิบลาน เครื่อง ทําใหระบบเครือขายอินเทอรเน็ตเปนเครือขายส่ือสารที่ใหญมากจนสามารถตอบสนอง ความตองการในการคนหาขอมูลอยางไรพรมแดนในยุคของเทคโนโลยีสารสนเทศไดเปนอยางดี (วิทยา เรืองพรพิสุทธิ์. 2538 : 2)

Page 2: รายงานวิจัยบทที่ 1 5

2

อีกทั้งปจจุบันความเจริญทางเทคโนโลยีสารสนเทศไดพฒันาการไปอยางรวดเร็ว ทําให มีการนําเทคโนโลยีสารสนเทศโดยเฉพาะเทคโนโลยีดานเครือขายคอมพิวเตอร หรือ อินเทอรเน็ต มาใชในการเรียนการสอน ซ่ึงถือเปนนวัตกรรมใหมทางการศึกษาทําใหเทคโนโลยีอินเทอรเน็ต ไดรับการเผยแพรเขาสูการศึกษาในทุกระดบั สถานศึกษาตางเชื่อมตอเครือขายคอมพิวเตอรของ หนวยงานเขาสูอินเทอรเน็ต เพื่อเปดโอกาสใหผูเรียน ผูสอนไดมีโอกาสเขาถึงแหลงขอมูลความรู ในโลกภายนอกโดยผานทางเครือขายอินเทอรเน็ต ทําใหนักการศึกษาหลายคนเกิดความคิดที่จะนํา เทคโนโลยีอินเทอรเน็ตเขามาใชในการเรียนการสอนในหองเรียนดวยวิธีการตางๆ เชน ใชสืบคน ขอมูลใชในการอภิปรายแลกเปลี่ยนความรูในรูปของกระดานขาว เพราะแตจดุเดนของการใชงาน เครือขายอินเทอรเน็ตคือการนําเสนอขอมูลที่สามารถนําเสนอไดทั้งขอความ รูปภาพทั้งภาพนิ่ง และภาพเคลื่อนไหว และในรูปของเสียง ที่สามารถดึงดูดความสนใจ มีชีวติชีวา ทําใหไดรับความนยิมมาก และมีการพัฒนาเผยแพรไปอยางมาก หนวยงานทางการศึกษาหลายหนวยงานไดใชประโยชนของเครือขายอินเทอรเน็ตในการประชาสัมพันธหนวยงาน ในการสงเสริมภาพพจน และในลักษณะของการเรียนการสอนโดยผานเครือขายอินเทอรเน็ต

การจัดการเรยีนการสอนโดยใชคอมพวิเตอรชวยสอนก็เปนอีกวิธีหนึ่งที่สามารถแกไขขอจํากัดทางดานเวลาและสนองตอความตองการของผูเรียนไดเปนอยางดี จะเรยีนไดชาหรือเร็ว ข้ึนอยูกับตวัของนักเรียนเอง คอมพิวเตอรชวยสอนสามารถเสริมแรงไดอยางรวดเร็วและเปนระบบ ทําใหนกัเรียนมีกําลังใจในการเรียน ความสามารถในการเก็บขอมูลของคอมพิวเตอรทําใหการเรยีนแบบยึดผูเรียนเปนศูนยกลางเปนไปไดอยางงายดาย นอกจากนี้นกัเรียนยังสามารถใชเวลานอก หองเรียนศกึษาจากคอมพิวเตอรชวยสอนไดดวยตนเอง โดยไมจํากดัเวลา และสถานที่ ผูเรียนโดยคอมพิวเตอรชวยสอนจะมีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนเทยีบเทาหรือสูงกวาผูเรียนที่เรียนโดยปกติ โดย ใชเวลาเรียนนอยกวาและมีทศันคติที่ดีตอการเรียนวิชานัน้ๆ ชวยใหผูเรยีนมีความสนใจใฝหา ความรู และกระตือรือรนที่จะมีสวนรวมในการเรียนการสอนมากขึ้นกวาเดิม ผูเรียนสามารถตอบโตกับคอมพิวเตอรได ผูเรียนไมตองกลัวหรืออายคอมพิวเตอร สวนการสรางและพัฒนาเว็บไซตเปนการนาํเสนอขอมูลบนเครือขายอินเทอรเน็ต ซ่ึง เปนการพัฒนาความคิดสรางสรรค พัฒนาทักษะการออกแบบงานและการทํางานอยางมีกลยุทธ โดยใชกระบวนการทางเทคโนโลยีและเทคโนโลยีสารสนเทศ ตลอดจนเปนการนาํเทคโนโลยีมา ใชและประยุกตใชในการทํางาน ซ่ึงสอดคลองกับวิสัยทศันของหลักสูตรการศึกษาขัน้พื้นฐาน พ.ศ.2544 กลุมการงานอาชพีและเทคโนโลยี (กระทรวงศึกษาธิการ. 2545 : 2) และสอดคลองกับ พระราชบัญญัติการศึกษาแหงชาติ พ.ศ.2542 และแกไขเพิม่เติม(ฉบับที่2) พ.ศ. 2545 หมวดที ่9 มาตรา 63-69 วาดวยเทคโนโลยีเพื่อการศกึษา

Page 3: รายงานวิจัยบทที่ 1 5

3

แตปจจุบนัโรงเรียนเสนศิริอนุสรณ ที่ผูวิจยัสอนอยูนั้น ยังประสบปญหาดานการใช เทคโนโลยีเพือ่การศึกษาและมีขอจํากดัเรือ่งเครื่องคอมพิวเตอรไมเพยีงพอกับผูเรียน คือ จํานวน เครื่องคอมพิวเตอร 1 เครื่องตอนักเรียนสองถึงสามคนในการจัดการเรยีนการสอนแตละครั้ง ทําใหนักเรียนบางคนขาดโอกาสในการฝกปฏิบัติงานไดอยางเต็มที่เพราะมีเวลานอยกวาปกติ การสราง บทเรียนออนไลนไวบนเครือขายอินเทอรเน็ตเปนการเปดชองทางการเรียนรูอีกทางหนึ่งใหกับผูเรียนไดเรียนรูไดดวยตนเองโดยไมจํากัดเวลา สถานที่ และจํานวนครั้ง ดังนั้น จากความสําคัญของเทคโนโลยีคอมพิวเตอรและอินเทอรเน็ตรวมถึงปญหาจาก การจัดการเรยีนการสอนวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศพื้นฐาน(คอมพิวเตอร)ดังกลาว ทําใหผูวจิัยม ีความสนใจทีจ่ะสรางและพฒันาบทเรียนออนไลนในรายวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศพื้นฐาน (คอมพิวเตอร) เร่ือง การเขียนเว็บไซตดวยโปรแกรม Microsoft FrontPage 2003 สําหรับชั้น มัธยมศึกษาปที่ 2 โรงเรียนเสนศิริอนุสรณ ซ่ึงเปนนักเรยีนที่ผูวิจยัสอนอยู แลวทดลองสอนและ พัฒนาใหมีประสิทธิภาพ เพือ่แกปญหาการขาดแคลนคอมพิวเตอรและใชเปนแนวทางใน การพัฒนาการเรียนการสอนวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศพืน้ฐาน(คอมพวิเตอร) ใหแกนกัเรียนตอไป

ความมุงหมายของการวิจัย 1. เพื่อพัฒนาบทเรียนออนไลน เร่ือง การเขียนเว็บไซตดวยโปรแกรม Microsoft FrontPage 2003 ใหมีประสิทธิภาพตามเกณฑ 80% 2. เพื่อเปรียบเทียบผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนของนักเรียนกอนเรียนและหลังเรียน 3. เพื่อศึกษาความคิดเห็นของนักเรียนที่มีตอการเรียนโดยใชบทเรียนออนไลน

สมมติฐานการวิจัย 1. บทเรียนออนไลน มีประสิทธิภาพตามเกณฑ 80% 2. ผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนของนักเรียนหลังเรียนสูงกวากอนเรียน 3. นักเรียนมีความคิดเห็นที่ดีตอบทเรียนออนไลนอยูในระดับมาก

Page 4: รายงานวิจัยบทที่ 1 5

4

ความสําคัญของการวิจัย 1. ไดบทเรียนออนไลนวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศพื้นฐาน(คอมพิวเตอร) เร่ือง การเขียนเว็บไซตดวยโปรแกรม Microsoft FrontPage 2003 ที่มีประสิทธิภาพ สําหรับนักเรยีนชั้นมัธยมศึกษาปที่ 2 2. ไดพัฒนาทกัษะการเขียนเว็บไซตของนกัเรียนชัน้มัธยมศึกษาปที่ 2 โรงเรียนเสนศริิอนุสรณ อําเภอเมืองบุรีรัมย จังหวัดบุรีรัมย 3. เปนการกระตุนใหนกัเรียนมีความสนใจในการเรียนวชิาเทคโนโลยีสารสนเทศพื้นฐาน(คอมพิวเตอร) มากขึ้น 4. นักเรียนทีม่ีเครื่องคอมพิวเตอรใชเปนการสวนตวัทีบ่านสามารถใชอินเทอรเน็ตได สามารถเรียนรูจากบทเรียนออนไลน เร่ืองการเขียนเว็บไซตดวยโปรแกรม Microsoft FrontPage 2003 ไดดวยตนเองเมื่อตองการ 5. เปนแนวทางในการพัฒนาศักยภาพของครูผูสอน ในการสรางสื่อประเภท บทเรียนออนไลน หรือ E-Learning อีกทั้งยงัเปนการเพิ่มองคความรูบนเครือขายอินเทอรเน็ตที่เปนภาษาไทยเพื่อเปนแหลงคนควาหาความรูตอไป 6. เปนการสรางคุณภาพทีด่ตีอระบบการศกึษา โดยนําเทคโนโลยีเขามาใชใหเกิดประโยชนสูงสุดในการจดัการศึกษา เพื่อเพิ่มพูนทักษะใหนักเรยีนกาวทันตอความกาวหนาของโลกยุคดิจิตอล

ขอบเขตของการวิจัย 1. ประชากรและกลุมตัวอยาง ประชากร ไดแก นักเรยีนชั้นมัธยมศึกษาปที่ 2 โรงเรียนเสนศิริอนสุรณ อําเภอเมืองบุรีรัมย จังหวัดบรีุรัมย จํานวน 3 หองเรียน ปการศึกษา 2549 จํานวน 90 คน กลุมตัวอยาง ไดแก นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปที่ 2/1 โรงเรียนเสนศิริอนุสรณ อําเภอเมืองบุรีรัมย จังหวัดบรีุรัมย ปการศึกษา 2549 จํานวน 30 คน ไดมาโดยการสุมอยางงายในการเลือกหองที่จะใชในการทดลองสอน 2. ตัวแปรที่ศึกษา 2.1 ตัวแปรอิสระ คือ 2.1.1 การเรียนการสอนโดยใชบทเรียนออนไลนเร่ืองการเขียนเวบ็ไซตดวยโปรแกรม Microsoft FrontPage 2003

Page 5: รายงานวิจัยบทที่ 1 5

5

2.2 ตัวแปรตาม คือ 2.2.1 ประสิทธิ์ภาพของบทเรียนออนไลน 2.2.2 ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักเรียน 2.2.3 ความคิดเห็นของนักเรียนที่มีตอบทเรียนออนไลน 3. ระยะเวลาในการทําวิจัย ในการวิจัยครั้งนี้ ใชเวลาในการทดลอง จํานวน 20 ช่ัวโมง ในภาคเรียนที่ 2 ปการศึกษา 2549 4. เนื้อหา เนื้อหาที่ใชในบทเรียนออนไลนเปนเนื้อหาความรูเร่ือง การเขียน การออกแบบและพัฒนาเว็บไซตดวยโปรแกรม Microsoft FrontPage 2003โดยแบงหนวยการเรียนรูออกเปน 6 หนวยดงันี ้

หนวยที่ 1 รูจักกับ FrontPage 2003

หนวยที่ 2 เร่ิมตนเขียนเวบ็

หนวยที่ 3 การตกแตงภาพในเว็บเพจ

หนวยที่ 4 การเชื่อมโยงเวบ็เพจ

หนวยที่ 5 การใสตารางบนเว็บเพจ

หนวยที่ 6 การสรางเฟรมเซตในเว็บเพจ

นิยามศัพทเฉพาะ

บทเรียนออนไลน (E-Learning) หมายถึง บทเรียนออนไลนเร่ือง การเขียนเว็บไซตดวยโปรแกรม Microsoft FrontPage 2003 สําหรับชั้นมัธยมศึกษาปที่ 2 ที่ผูวิจัยสรางขึน้ มีลักษณะในการนําเสนอบทเรียนดวยคอมพิวเตอรระบบมัลติมีเดีย ผูเรียนสามารถโตตอบกับบทเรียนและเรียนรูไดดวยตนเอง ทางเครือขายคอมพิวเตอรหรือเครือขายอินเทอรเน็ต นักเรียน หมายถึง นักเรียนช้ันมัธยมศึกษาปที่ 2 ในโรงเรียนเสนศิริอนุสรณ อําเภอเมืองบุรีรัมย จังหวัดบุรีรัมย ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน หมายถึง ความรูความสามารถในการเรียนวิชาเทคโนโลยี สารสนเทศพื้นฐาน(คอมพวิเตอร) ซ่ึงวัดไดจากการทําแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนจาก บทเรียนออนไลน เร่ืองการเขียนเว็บไซตดวยโปรแกรม Microsoft FrontPage 2003 ที่ผูวิจัยสรางขึ้น

Page 6: รายงานวิจัยบทที่ 1 5

6

ประสิทธิภาพของบทเรียนออนไลน หมายถึง ความสามารถของบทเรียนในการสรางผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนใหผูเรียนเกดิการเรยีนรูตามจดุประสงคถึงระดับเกณฑที่คาดหวังไว เกณฑ 80% หมายถึง ประสิทธิภาพของบทเรียนออนไลนที่คาดหวังไว โดยพิจารณา จากคาเฉลี่ยของคาเฉลี่ยอัตราสวนของคะแนนแบบฝกหดักับคาเฉลี่ยอัตราสวนของคะแนนแบบทดสอบคิดเปนรอยละ

Page 7: รายงานวิจัยบทที่ 1 5

7

บทที่ 2 เอกสารและงานวิจัยท่ีเกี่ยวของ

ในการวิจัยคร้ังนี้ ผูวิจยัไดศกึษาเอกสารและงานวจิัยที่เกี่ยวของและไดนําเสนอตามหัวขอตอไปนี ้ 1. ความหมายของการเรียนการสอนบนเวบ็ 2. คุณลักษณะของการสอนบนเว็บ 3. ลักษณะสําคัญของ E-Learning 4. ประเภทของการเรียนการสอนบนเว็บ

5. ขอดีของการสอนบนเว็บ 6. บทบาทการเรียนการสอน E-Learning ในประเทศไทย 7. ประโยชนของอินเทอรเน็ตทางการศึกษา 8. ประโยชนของบทเรียนคอมพิวเตอรชวยสอน 9. หลักทฤษฎทีี่ใชในการสรางบทเรียนคอมพิวเตอรชวยสอน 10. สวนประกอบในการจดัทาํบทเรียนคอมพิวเตอรชวยสอน 11.บุคลากรที่เกี่ยวของกับบทเรียนคอมพวิเตอรชวยสอน 12. งานวิจยัที่เกี่ยวของ 12.1 งานวิจยัที่เกีย่วของในประเทศ 12.2 งานวิจยัที่เกีย่วของตางประเทศ

ความหมายของการเรียนการสอนบนเว็บ บทเรียนออนไลน หรือการจดัการเรียนการสอนผานเครือขายคอมพิวเตอรหรือ อินเทอรเน็ต เรียกอีกอยางวา E-Learning ไดรับความนยิมอยางแพรหลายในปจจุบนั และเว็บไซตไดเขามามีบทบาทสําคัญทางการศึกษาและกลายเปนคลังแหงความรูที่ไรพรมแดน ซ่ึงผูสอนไดใช เปนทางเลือกใหมในการสงเสริมการเรียนรู เพื่อเปดประตูการศึกษาจากหองเรียนไปสูโลกแหง การเรียนรูอันกวางใหญ รวมทั้งการนําการศึกษาไปสูผูที่ขาดโอกาสดวยขอจํากัดทางดานเวลาและสถานที่ มีผูใหความหมายและความสําคัญไวดังนี ้

Page 8: รายงานวิจัยบทที่ 1 5

8

รีแลน และกิลลานิ (Relan & Gillani, 1997 : 43-45) กลาววาการเรียนการสอนโดยใชเครือขายอินเทอรเน็ตเปนการกระทําที่ผูสอนคิดการเตรยีมกลวิธีการสอน โดยใชประโยชนจากคุณลักษณะ และทรัพยากรในเวิลดไวดเวบ็ ดริสคอลล (Driscoll. 1999 : 37-44) ใหความหมายของการเรียนการสอนผานเครือขายอินเทอรเน็ตวา เปนการใชทกัษะ หรือความรูตาง ๆ ถายโยงไปสูที่ใดที่หนึ่งโดยการใชเวิลดไวดเวบ็เปนชองทางในการเผยแพรส่ิงเหลานั้น กิดานันท มลิทอง (2543 : 11) กลาววา การเรียนการสอนสื่อบนเครือขายเปนการใชเครือขายในการเรียนการสอนโดยนําเสนอบทเรียนในลักษณะสื่อหลายมิติของวิชาทั้งหมด ตาม หลักสูตรหรือเพียงใชเสนอขอมูลบางอยางเพื่อประกอบการสอนก็ได รวมทั้งใชประโยชนจาก คุณลักษณะตางๆ ของการสื่อสารที่มีอยูในระบบอินเทอรเน็ต มาใชประกอบกันเพื่อใหเกิด ประสิทธิภาพสูงสุด วิชุดา รัตนเพียร (2542 : 30) กลาววา การเรยีนการสอนผานสื่อบนเครือขายเปน การนําเสนอโปรแกรม บทเรียนบนครือขาย โดยนําเสนอผานบริการเวิลดไวดเว็บในเครือขายอินเทอรเน็ต ซ่ึงผูออกแบบและสรางโปรแกรมการสอน จะตองคํานงึถึงความสามารถและบริการ ที่หลากหลายของอินเทอรเน็ต และนําคุณสมบัติตางๆ เหลานั้นมาใชเพื่อประโยชนในการเรยีน การสอนใหมากที่สุด ใจทิพย ณ สงขลา (2542 : 18-28) ไดใหความหมายการเรียนการสอนสื่อบนเครือขาย หมายถึง การผนวกคณุสมบตัิ ส่ือหลายมิต ิหรือ ไฮเปอรมีเดียเขากับคณุสมบัติของเครือขายเวิลดไวดเว็บ เพื่อสรางสิ่งแวดลอมแหงการเรียนในมิติที่ไมมีขอบเขต จํากัดดวยระยะทางและเวลา ที่แตกตางกันของผูเรียน (Learning without Boundary)

ชุณหพงศ ไทยอุปถัมภ (2544 : 26-28) ไดใหความหมายของ คําวา E-Learning หรือ Electronic Learning หมายถงึ รูปแบบการเรียนการสอนแบบใหม ที่มกีารประยกุตใชเทคโนโลยี ส่ืออิเล็กทรอนิกสสมัยใหม มวีัตถุประสงคที่เอื้ออํานวยใหผูเรียนสามารถเรียนรูองคความรู (Knowledge) ไดโดยไมจํากดัเวลาและสถานที่ (Anywhere-Anytime Learning) เพื่อใหระบบ การเรียนการสอนเปนไปไดอยางมีประสิทธิภาพมากขึ้น และเพื่อใหผูเรยีนสามารถบรรลุวัตถุประสงคของกระบวนวชิาที่เรียนนัน้ๆ

พรรณี เกษกมล (2543 : 49-55) ไดกลาวถึงการเรียนรูบนเว็บ (Web-Based Instruction : WBI) วาเปนวถีิทางของนวัตกรรมในการพฒันาการเรียนการสอนตอผูเรียนทางไกลโดยการใชเว็บเปนสื่อกลางการเรียนการสอนเปนสิ่งที่จะทําใหไดรับความรูขอมูลขาวสาร และกิจกรรมที่สะดวกตอผูเรียน การบรรลุถึงซ่ึงความสําเร็จของเปาหมายการเรียนรูในเรื่องอื่น ๆ เฉพาะดานเปนสื่อกลาง

Page 9: รายงานวิจัยบทที่ 1 5

9

ในการสงสาร ในการเรยีนการสอนใหติดตอถึงกันได การเรียนรูบนเวบ็เปนโปรมแกรมการเรียนการสอนบนฐานของสื่อที่ไดเชื่อมโยงกนัในทางไกลซึ่งไดประโยชนจากเหตุผลและทรัพยากรของ World Wide Web เพื่อสรางสิ่งแวดลอมการเรียนรูที่มีความหมายที่สนบัสนุนและชวยใหเกิด การเรียนรูบนเว็บได

สรรรัชต หอไพศาล (2544 : 93-104) ไดใหความหมายการเรียนการสอนผานเว็บวา เปนการใชโปรแกรมสื่อหลายมิติที่อาศัยประโยชนจากคุณลักษณะและทรพัยากรของอินเทอรเน็ตและเวิลดวายเว็บ มาออกแบบเปนเว็บเพื่อการเรียนการสอน สนับสนุนและสงเสริมใหเกดิการเรียนรูอยางมีความหมาย เชื่อมโยงเปนเครือขายทีส่ามารถเรียนไดทุกที่ทุกเวลา โดยมีลักษณะที่ผูสอนผูเรียนมีปฏิสัมพันธกันโดยผานระบบเครือขายคอมพิวเตอรที่เชื่อมโยงซึ่งกันและกนั

สวน ถนอมพร เลาหจรัสแสง (2544 : 87-94) กลาวถึงการสอนบนเวบ็ (Web-Based Instruction) วาเปนการผสมผสานกันระหวางเทคโนโลยีปจจุบนักับกระบวนการออกแบบการเรยีน การสอน เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพทางการเรยีนรูและแกปญหาในเรื่องขอจํากัดทางดานสถานที่และ เวลา โดยการสอนบนเว็บจะประยกุตใชคณุสมบัติและทรัพยากรของเวลิด ไวด เว็บ ในการจัด สภาพแวดลอมที่สงเสริมและสนับสนุนการเรียนการสอน ซ่ึงการเรียนการสอนที่จัดขึ้นผานเว็บนี้ อาจเปนบางสวนหรือทั้งหมดของกระบวนการเรียนการสอนก็ได

จากการศึกษาความหมายของบทเรียนออนไลนดังกลาว พอสรุปไดวา บทเรียนออนไลน เรียกอีกอยางวา E-Learning หมายถึง การจดัการเรียนการสอนผานเครือขายคอมพิวเตอรหรือ อินเทอรเน็ต โดยการประยกุตใชเทคโนโลยีส่ืออิเล็กทรอนิกสสมัยใหม ที่เรียกวาคอมพิวเตอรชวยสอน เอาไวบนเว็บไซตหรือบนเครือขายคอมพิวเตอร เพื่อใหผูเรียนสามารถเรียนรูไดโดยไมจํากัดเวลา สถานที่ และระยะทาง การเรียนรูบนเว็บถือเปนนวตักรรมใหม ทีค่รู อาจารยในสถานศึกษาทกุระดับสามารถนําไปใชใหเกดิประโยชนตอการจัดกระบวนการเรยีนการสอนรวมทั้งฝายบริหาร นักการศึกษาที่จะพัฒนาใหเกิดการเรยีนรูตอเยาวชนของชาต ิพัฒนาแหลงการเรียนรูใหมากขึ้น และใหเกิดประโยชนตอการเรียนรูใหมากที่สุด ควรจะไดพฒันาการเรียนรูบนเว็บนีใ้หเห็นผลในทาง ปฏิบัติ ซ่ึงเปนการใหโอกาสในการพัฒนาการเรียนรูและประสบการณใหม ๆ สําหรับผูเรียนทั่วโลกที่จะมีโอกาสศกึษาหาความรูไดอยางทดัเทยีมกัน

คุณลักษณะของการสอนบนเว็บ ถนอมพร เลาหจรัสแสง (2544 : 87-94) ไดกลาวถึงคณุลักษณะสําคัญของเว็บซึ่งเอื้อประโยชนตอการจัดการเรยีนการสอน มีอยู 8 ประการ ไดแก

Page 10: รายงานวิจัยบทที่ 1 5

10

1. การที่เว็บเปดโอกาสใหเกดิการปฏิสัมพันธ (Interactive) ระหวางผูเรียนกับผูสอน และผูเรียนกับผูเรียน หรือผูเรียนกับเนื้อหาบทเรียน

2. การที่เว็บสามารถนําเสนอเนื้อหา ในรูปแบบของสื่อประสม (Multimedia) 3. การที่เว็บเปนระบบเปด (Open System) ซ่ึงอนุญาตใหผูใชมีอิสระในการเขาถึงขอมูล

ไดทั่วโลก 4. การที่เว็บอดุมไปดวยทรพัยากร เพื่อการสืบคนออนไลน (Online Search/Resource) 5. ความไมมีขอจํากัดทางสถานที่และเวลาของการสอนบนเว็บ (Device, Distance and

Time Independent) ผูเรียนทีม่ีคอมพิวเตอรในระบบใดกไ็ด ซ่ึงตอเขากับอินเทอรเน็ต จะสามารถเขาเรียนจากที่ใดก็ไดในเวลาใดก็ได

6. การที่เว็บอนุญาตใหผูเรียนเปนผูควบคมุ (Learner Controlled) ผูเรียนสามารถเรียนตามความพรอม ความถนัดและความสนใจของตน

7. การที่เว็บมคีวามสมบูรณในตนเอง (Self- Contained) ทําใหเราสามารถจัดกระบวนการเรียนการสอนทั้งหมดผานเวบ็ได

8. การที่เว็บ อนุญาตใหมกีารติดตอส่ือสาร ทั้งแบบเวลาเดียว (Synchronous Communication) เชน Chat และตางเวลากนั (Asynchronous Communication) เชน Web Board เปนตน

สรุปไดวา คุณลักษณะสําคัญของเว็บซึ่งเอื้อประโยชนตอการจัดการเรยีนการสอนนั้น จะตองเปนเวบ็ที่เปดโอกาสใหเกิดการปฏสัิมพันธ ระหวางผูเรียนกับผูสอน และผูเรียนกับผูเรียน หรือผูเรียนกับเนื้อหาบทเรยีน เปนเว็บที่สามารถนําเสนอเนื้อหา ในรปูแบบของสื่อประสม เปนเว็บระบบเปดซึ่งอนุญาตใหผูใชมีอิสระในการเขาถึงขอมูลไดทั่วโลก และอุดมไปดวยทรัพยากร เพื่อ การสืบคนออนไลน รวมทั้งการไมมีขอจํากัดทางสถานที่และเวลา ผูเรียนสามารถเรียนตาม ความพรอม ความถนัดและความสนใจของตน การที่เว็บมีความสมบูรณในตนเอง ทาํใหเราสามารถจัดกระบวนการเรียนการสอนทั้งหมดผานเว็บได ตลอดจนอนุญาตใหมกีารติดตอส่ือสาร ทั้งแบบ เวลาเดยีวและตางเวลากัน ซ่ึงในการสรางเว็บชวยสอนทีส่มบูรณจะตองคํานึงถึงส่ิงตางๆ ที่กลาวมา

ลักษณะสําคัญของ E-Learning ถนอมพร (ตันพิพัฒน) เลาหจรัสแสง (2545) ยังไดกลาวถึงลักษณะสําคัญของ E-Learning ไววาในการสรางบทเรียนใหมีคุณภาพ จะตองคํานึงลักษณะสําคัญตาง ๆ เพื่อใหผูเรียนเกิดการเรยีนรู เราสามารถที่จะแยกประเด็นลักษณะสําคัญไดดังนี้

Page 11: รายงานวิจัยบทที่ 1 5

11

1. Anywhere, Anytime หมายถึง E-Learning ควรตองชวยขยายโอกาสในการเขาถึงเนื้อหาการเรยีนรูของผูเรียนไดจริง ในที่นีห้มายรวมถึงการที่ผูเรียนสามารถเรียกดูเนือ้หาตาม ความสะดวกของผูเรียน ยกตวัอยาง เชน ในประเทศไทยควรมีการใชเทคโนโลยีการนาํเสนอเนื้อหาที่สามารถเรียกดูไดทั้งขณะที่ออนไลน (เครื่องมีการตอเชื่อมกับเครือขาย) และในขณะที่ออฟไลน (เครื่องไมมีการตอเชื่อมกับเครือขาย)

2. Multimedia หมายถึง E-Learning ควรตองมีการนําเสนอเนื้อหาโดย ใชประโยชนจากสื่อประสมเพื่อใหเกิดความคงทนในการเรียนรูไดดขีึ้น

3. Non-linear หมายถึง E-Learning ควรตองมีการนําเสนอเนื้อหาในลักษณะที่ไมเปนเชิงเสนตรง กลาวคือผูเรียนสามารถเขาถึงเนื้อหาตามความตองการโดย E-Learning จะตองจดัหาการเชื่อมโยงที่ยืดหยุน แกผูเรียน

4. Interaction หมายถึง E-Learning ควรตองมีการเปดโอกาสใหผูเรียนโตตอบ (มีปฏิสัมพันธ) กับเนื้อหาหรอืกับผูอ่ืนได กลาวคือ

- E-Learning ควรตองมีการออกแบบกจิกรรมซึ่งผูเรียนสามารถโตตอบกับเนื้อหา รวมทั้งมีการจดัเตรียมแบบฝกหัดและแบบทดสอบใหผูเรยีนสามารถตรวจสอบความเขาใจดวยตนเองได

- E-Learning ควรตองมีการจัดหาเครื่องมอืในการใหชองทางแกผูเรียนในการติดตอส่ือสารเพื่อการปรึกษา อภิปราย ซักถาม แสดงความคิดเห็นกับผูสอน วิทยากร ผูเชี่ยวชาญ หรือเพื่อน

5. Immediate Response หมายถึง E-Learning ควรตองมีการออกแบบใหม ี การทดสอบ การวัดผลและการประเมินผล ซ่ึงใหผลปอนกลับโดยทันทแีกผูเรียนไมวาจะอยูในลักษณะของแบบทดสอบกอนเรียน หรือแบบทดสอบหลังเรียน ก็ตาม

สรุปไดวา ลักษณะสําคัญของ E-Learning ที่เอื้อตอการเรียนการสอนและสามารถทําใหใหผูเรียนเกิดการเรียนรูไดนัน้ จะตองประกอบไปดวย การเขาถึงเนื้อหาบทเรียนไดโดยไมจํากัดเวลาและสถานที่ พรอมทั้งเปดกวางใหอิสระในการเขาถึงขอมูลไดทั่วโลก ตลอดจนการนําเสนอบทเรียนควรมลัีกษณะเปนสือ่มัลติมีเดีย สามารถเรียนรูไดตามสนใจ และมีการประเมินผลโดยใหผลยอนกลับทันที ประเภทของการเรียนการสอนบนเว็บ

เนื่องจากอนิเทอรเน็ตเปนแหลงทรัพยากรที่มีคุณสมบัติหลากหลายตอการนําไปประยุกต ใชในการศึกษา ดังนั้นการเรียนการสอนสือ่บนเครือขาย จึงสามารถทําไดในหลายลักษณะ แตละ

Page 12: รายงานวิจัยบทที่ 1 5

12

สถาบันและแตละเนื้อหาของหลักสูตร จะมีวิธีการจัดการเรียนการสอนที่แตกตางกนัออกไป ซ่ึงในประเด็นนี ้มีนักการศึกษาไดใหขอเสนอแนะเกี่ยวกับประเภทของการเรียนการสอนสื่อบนเครือขาย ไวดังนี ้

พารสัน (Parson. 1997) ไดแบงประเภทของการเรียนการสอนบนเว็บออกเปน 3 ลักษณะ คือ

1. สื่อบนเครือขายรายวชิา (Stand-alone Courses) มีการบรรจุเนื้อหา (Content) หรือเอกสารในรายวิชา เพื่อการเรียนการสอนเพยีงอยางเดียว เปนสื่อบนเครือขายรายวิชาที่มีเครื่องมือ และแหลงที่เขาไปถึงและเขาหาได โดยผานระบบอินเทอรเน็ต ลักษณะของการเรียนการสอนนี้ ไดแกที่มีลักษณะเปนแบบวทิยาเขต มีนักศึกษาจํานวนมากที่เขามาศกึษา ลักษณะการสื่อสารที่เปนการสงขอมูลระยะไกล และมักจะเปนการสื่อสารทางเดียว

2. สื่อบนเครือขายสนับสนุนรายวชิา (Web Supported Courses) มีลักษณะเปนรูปธรรมที่มีลักษณะเปนการ ส่ือสารสองทาง การมีปฏิสัมพันธระหวางผูสอนและผูเรียน และมี แหลงทรัพยากรทางการศึกษา มีการกําหนดภารกจิการเรยีนรู การกําหนดใหอาน มีการรวมกัน อภิปราย การตอบคําถาม มีการสื่อสารอื่นๆ ผานคอมพิวเตอร อีกทั้งกิจกรรมตางๆที่ใหปฏิบัติในรายวิชา มีการเชื่อมโยงไปยังแหลงทรัพยากรอื่นๆ เปนตน

3. สื่อบนเครือขายแหลงทรัพยากรการศึกษา (Web Pedagogical Resources) เปนสื่อที่มีรายละเอียดทางการศึกษา เครื่องมือ วัตถุดิบ และรวมรายวิชาตางๆ ที่มีอยูในสถาบันการศึกษาไวดวยกัน และยงัรวมถึงขอมูลเกี่ยวกับสถาบนัการศึกษาทัง้หมด และเปนแหลงสนับสนนุกิจกรรมตางๆ ทางการศึกษา ทั้งทางดานวิชาการและไมใชวิชาการ โดยการใชส่ือ ที่หลากหลาย รวมถึง การสื่อสารระหวางบุคคลดวย

สวนเจมส (James. 1997) ไดแบงประเภทของการเรียนการสอนบนเวบ็ตามโครงสรางและประโยชนการใชงานได 3 ลักษณะใหญ ๆ คือ

1.โครงสรางแบบคนหา (Eclectic Structures) ลักษณะของโครงสรางเว็บไซตแบบนี ้เปนแหลงของเว็บไซตที่ใชในการคนหาไมมีการกําหนดขนาด รูปแบบ ไมมีโครงสรางที่ผูเรียนตองมีปฏิสัมพันธกับเว็บลักษณะของเว็บไซตแบบนี้จะมแีตการใหใชเครื่องมือในการสืบคนหรือเพื่อบางส่ิงที่ตองการคนหาตามที่กําหนดหรือโดยผูเขียนเวบ็ไซตตองการ โครงสรางแบบนี้จะเปนแบบเปดใหผูเรียนไดเขามาคนควาในเนื้อหาในบริบท โดยไมมีโครงสรางขอมูลเฉพาะใหไดเลือกแต โครงสรางแบบนี้จะมีปญหากับผูเรียนเพราะผูเรียนอาจจะไมสนใจขอมลูที่ไมมีโครงสราง โดยไม กําหนดแนวทางในการสืบคน

Page 13: รายงานวิจัยบทที่ 1 5

13

2.โครงสรางแบบสารานุกรม (Encyclopedic Structures) ถาเราควบคุมของสรางของเว็บที่เราสรางขึ้นเองได เราก็จะใชโครงสรางขอมูลในแบบตนไมในการเขาสูขอมูล ซ่ึงเหมือนกับ หนังสือที่มีเนือ้หาและมกีารจัดเปนบทเปนตอน ซ่ึงจะกําหนดใหผูเรียนหรือผูใชไดผานเขาไปหา ขอมูลหรือเครื่องมือที่อยูในพื้นที่ของเว็บหรืออยูภายในและภายนอกเว็บ เว็บไซตจํานวนมากม ีโครงสรางในลักษณะดังกลาวนี ้ โดยเฉพาะเว็บไซตทางการศึกษาที่ไมไดกําหนดทางการคา องคกร ซ่ึงอาจจะตองมีลักษณะที่ดูมมีากกวานี ้แตในเว็บไซตทางการศึกษาตองรับผิดชอบตอการเรียนรู ของผูเรียน กลวิธีดานโครงสรางจึงมีผลตอการเรียนรูของผูเรียน

3.โครงสรางแบบการเรียนการสอน (Pedagogic Structures) มีรูปแบบโครงสรางหลายอยางในการนาํมาสอนตามตองการ ทั้งหมดเปนที่รูจักดีในบทบาทของการออกแบบทางการศึกษา สําหรับคอมพิวเตอรชวยสอนหรือเครื่องมือมัลติมีเดีย ซ่ึงความจริงมีหลักการแตกตางกันระหวาง คอมพิวเตอรชวยสอนกับเว็บชวยสอนนัน้คอืความสามารถของ HTML ในการที่จะจดัทําใน แบบไฮเปอรเท็กซกับการเขาถึงขอมูลหนาจอโดยผานระบบอินเทอรเนต็ สรุปไดวา การเรียนการสอนสื่อบนเครือขาย สามารถทําไดในหลายลักษณะขึ้นอยูกับ ลักษณะของเนื้อหาหลักสูตรวาตองการนาํเสนออะไร เชน ส่ือบนเครือขายรายวิชา มีการบรรจุ เนื้อหา (Content) หรือเอกสารในรายวิชา เพื่อการเรียนการสอนเพียงอยางเดยีว เปนสื่อบนเครือขายรายวิชาที่มีเครือ่งมือ และแหลงที่เขาไปถึงและเขาหาได โดยผานระบบอินเทอรเน็ต สวนสื่อ สนับสนุนรายวิชา จะมีลักษณะเปนรูปธรรมที่มีลักษณะเปนการสื่อสารสองทาง การมีปฏิสัมพันธระหวางผูสอนและผูเรียน และส่ือแหลงทรพัยากรการศกึษา เปนสื่อที่มรีายละเอียดทางการศึกษา เครื่องมือ วัตถุดิบ และรวมรายวิชาตางๆ ที่มีอยูในสถาบนัการศึกษาไวดวยกัน และยงัรวมถึงขอมูลเกี่ยวกับสถาบนัการศึกษาทัง้หมด

ขอดีของการสอนบนเว็บ ถนอมพร เลาหจรัสแสง (2544 : 87-94) ไดกลาวถึงขอดีของการสอนบนเว็บไววา การเรียนรูบนเว็บ ถือเปนความสําเร็จทางวชิาการโดยกระบวนการเรียนการสอนที่ใชส่ือที่ทันสมัยเปดโอกาสใหเรียนรูส่ิงตาง ๆ อยางมากมาย ซ่ึงมีขอดี ดังนี ้

1. การสอนบนเว็บเปนการเปดโอกาสใหผูเรียนที่อยูหางไกล หรือไมมีเวลาในการมาเขาชั้นเรียนไดเรียนในเวลา และสถานที่ที่ตองการ ซ่ึงอาจเปนที่บาน ที่ทํางาน หรือสถานศึกษาใกลเคียงที่ผูเรยีนสามารถเขาไปใชบริการทางอินเทอรเน็ตได การที่ผูเรียนไมจําเปนตองเดินทางมายังสถานศึกษาที่กําหนดไว จึงสามารถชวยแกปญหาในดานของขอจํากัดเกี่ยวกับเวลาและสถานที่ศึกษาของผูเรียนเปนอยางด ี

Page 14: รายงานวิจัยบทที่ 1 5

14

2. การสอนบนเว็บยังเปนการสงเสริมใหเกิดความเทาเทยีมกันทางการศึกษา ผูเรียนที่ศึกษาอยูในสถาบันการศึกษาในภูมิภาค หรือในประเทศหนึ่งสามารถที่จะศึกษา ถกเถียง อภิปรายกับอาจารย ครูผูสอนซ่ึงสอนอยูที่สถาบันการศึกษาในนครหลวง หรือในตางประเทศก็ตาม

3. การสอนบนเว็บนี ้ยังชวยสงเสริมแนวคดิในเรื่องของการเรียนรูตลอดชีวิต เนื่องจาก เว็บเปนแหลงความรูที่เปดกวางใหผูที่ตองการศึกษาในเรือ่งใดเรื่องหนึง่ สามารถเขามาคนควาหาความรูไดอยางตอเนื่อง และตลอดเวลา การสอนบนเว็บ สามารถตอบสนองตอผูเรียนที่มีความใฝรู รวมทั้งมีทักษะในการตรวจสอบการเรียนรูดวยตนเอง (Meta-Cognitive Skills) ไดอยางมีประสิทธิภาพ

4. การสอนบนเว็บ ชวยทลายกําแพงของหองเรียนและเปลี่ยนจากหองเรียน 4 เหล่ียม ไปสูโลกกวางแหงการเรียนรู เปดโอกาสใหผูเรียนสามารถเขาถึงแหลงขอมูลตาง ๆ ไดอยางสะดวกและมีประสิทธิภาพ สนับสนุนสิ่งแวดลอมทางการเรียนที่เชื่อมโยง ส่ิงที่เรียนกับปญหาที่พบในความเปนจริง โดยเนนใหเกิดการเรียนรูตามบริบทในโลกแหงความเปนจริง (Contextualization) และการเรียนรูจากปญหา (Problem-Based Learning) ตามแนวคิดแบบ Constructivism

5. การสอนบนเว็บเปนวิธีการเรียนการสอน ที่มีศักยภาพ เนื่องจากที่เวบ็ไดกลายเปนแหลงคนควาขอมูลทางวิชาการรูปแบบใหม ครอบคลุมสารสนเทศทั่วโลก โดยไมจํากัดภาษา การสอนบนเวบ็ชวยแกปญหาของขอจํากัดของแหลงคนควาแบบเดิม จากหองสมุด อันไดแก ปญหาทรัพยากรการศึกษาทีม่ีอยูจํากดั และเวลาทีใ่ชในการคนหาขอมูล เนื่องจากเว็บมีขอมูลที่ หลากหลายและเปนจาํนวนมาก รวมทั้งการที่เว็บใชการเชือ่มโยงในลักษณะของไฮเปอรมีเดีย (Hypermedia) ซ่ึงทําใหการคนหาทําไดสะดวกและงายดายกวาการคนหาขอมูลแบบเดิม

6. การสอนบนเว็บจะชวยสนับสนุนการเรยีนรูที่กระตือรือรน ทั้งนี้เนื่องจากคุณลักษณะของเว็บที่เอื้ออํานวยใหเกิดการศึกษาในลกัษณะที่ผูเรียนถูกกระตุนใหแสดง ความคิดเหน็ไดอยูตลอดเวลาโดยไมจําเปนตองเปดเผยตัวตนทีแ่ทจริง ตัว อยางเชน การใหผูเรียนรวมมือกันในการทํากิจกรรมตาง ๆ บนเครือขาย การใหผูเรียนไดมีโอกาสแสดงความคิดเห็นและแสดงไวบนเวบ็บอรด หรือการใหผูเรียนมโีอกาสเขามาพบปะกับผูเรียนคนอื่น ๆ อาจารย หรือผูเชี่ยวชาญในเวลาเดียวกนัทีห่องสนทนา เปนตน

7. การสอนบนเว็บเอื้อใหเกดิการปฏิสัมพันธ ซ่ึงการเปดปฏิสัมพันธนี้อาจทําได 2 รูปแบบ คือ

7.1 ปฏิสัมพันธกับผูเรียนดวยกันและ/หรือผูสอน 7.2 ปฏิสัมพันธกับบทเรียนในเนื้อหาหรือส่ือการสอนบนเว็บ

Page 15: รายงานวิจัยบทที่ 1 5

15

ซ่ึงลักษณะแรกนี้ จะอยูในรูปของการเขาไปพูดคุย พบปะ แลกเปลี่ยน ความคิดเห็นกัน (ดังที่ไดกลาวมาแลว) สวนในลักษณะหลังนั้น จะอยูในรูปแบบของการเรียนการสอน แบบฝกหัด หรือแบบทดสอบที่ผูสอนไดจัดหาไวใหแกผูเรียน

8. การสอนบนเว็บ ยังเปนการเปดโอกาสสําหรับผูเรียนในการเขาถึงผูเชี่ยวชาญ สาขาตาง ๆ ทั้งในและนอกสถาบัน จากในประเทศและตางประเทศทั่วโลก โดยผูเรียนสามารถติดตอ สอบถามปญหาขอขอมูลตาง ๆ ที่ตองการศึกษาจากผูเชี่ยวชาญจริงโดยตรง ซ่ึงไมสามารถทําไดในการเรียนการสอนแบบดั้งเดิม นอกจากนี้ยังประหยดัทั้งเวลาและคาใชจาย เมื่อเปรียบเทียบกับ การติดตอส่ือสารในลักษณะเดิม ๆ

9. การสอนบนเว็บเปดโอกาสใหผูเรียนไดมีโอกาสแสดงผลงานของตนสูสายตาผูอ่ืนอยางงายดาย ทั้งนี้ไมไดจํากดัเฉพาะเพื่อน ๆ ในชั้นเรียนหากแตเปนบคุคลทั่วไปทั่วโลกได ดังนัน้ จึงถือเปนการสรางแรงจูงใจภายนอกในการเรียนอยางหนึ่งสําหรับผูเรียน ผูเรียนจะพยายามผลิตผลงานที่ดีเพื่อไมใหเสียช่ือเสียงตนเอง นอกจากนี้ ผูเรียนยังมโีอกาสไดเห็นผลงานของผูอ่ืน เพื่อนํามาพัฒนางานของตนเองใหดียิง่ขึ้น

10. การสอนบนเว็บเปดโอกาสใหผูสอนสามารถปรับปรุงเนื้อหาหลักสูตรใหทันสมัยไดอยางสะดวกสบายเนื่องจากขอมูลบนเวบ็มีลักษณะเปนพลวัตร (Dynamic) ดังนั้นผูสอนสามารถอัพเดตเนื้อหาหลักสูตรที่ทันสมัยแกผูเรียนไดตลอดเวลา นอกจากนี้การใหผูเรียนไดส่ือสารและแสดงความคิดเห็นที่เกี่ยวของกับเนื้อหาทําใหเนื้อหาการเรียนมีความยืดหยุนมากกวาการเรียน การสอนแบบเดิม และเปลีย่นแปลงไปตามความตองการของผูเรียนเปนสําคัญ

11. การสอนบนเว็บสามารถนําเสนอเนื้อหาในรูปของมัลติมีเดีย ไดแก ขอความ ภาพนิ่ง เสียง ภาพเคลื่อนไหว วีดีทัศน ภาพ 3 มิติ โดยผูสอนและผูเรียนสามารถเลือกรูปแบบของการนําเสนอ เพื่อใหเกิดประสิทธิภาพสูงสุดทางการเรียน

จากขอดีของการเรียนการสอนบนเว็บดังกลาว พอจะสรปุไดวาการจัดการเรียนการสอนบนเว็บเปนประโยชนตอการศึกษาในหลายลักษณะ ดังนี้

1. เพิ่มประสิทธิภาพการเรียนการสอน โดยใชส่ืออุปกรณ และคลังความรูที่มีอยูบน อินเทอรเน็ต เพื่อสนับสนุนการเรียนการสอนของครูและนักเรียน

2. เกิดเครือขายความรู ที่สามารถแลกเปลี่ยนความรูและวัฒนธรรมซึ่งกันและกันบนอินเทอรเน็ต ขอมูลจะมีการปรับปรุงใหทันสมัยอยูเสมอ และสะดวกและรวดเร็ว

3. ผูเรียนเปนศูนยกลาง สามารถสืบคนวิชาความรูไดดวยตนเอง โดยมีการให คําปรึกษาและชี้แนะโดย ครู- อาจารย

Page 16: รายงานวิจัยบทที่ 1 5

16

4. ลดชองวางระหวางการศึกษาในเมืองและชนบท สรางความเทาเทียมกันและกระจายโอกาสทางการศึกษาใหเดก็ชนบทไดรูเทาทัน เพือ่สนับสนุนนโยบายและการพัฒนาระบบเทคโนโลยีการศึกษาและเครือขายสารสนเทศ เพื่อความสอดคลองและสนับสนุน การปฏิรูปการศึกษาตาม พ.ร.บ. การศึกษาแหงชาติ พ.ศ.2542

บทบาทการเรียนการสอน E-Learning ในประเทศไทย

ศูนยเทคโนโลยีอิเล็กทรอนิกสและคอมพิวเตอรแหงชาต ิ (2544 : 6-9) ไดกลาวถึงบทบาทการเรียนการสอน E-Learning ในประเทศไทยไววา

สังคมเทคโนโลยีสารสนเทศ IT (Information Technology) ไดมวีิวัฒนาการและ การเปลี่ยนแปลงเกิดขึ้นตามลําดับ ขณะนีก้็จะมวีิถีของการพัฒนาการเปลี่ยนแปลงไปอยางรวดเรว็และซับซอนมากกวายุคใด ๆ ที่ผานมา ซ่ึงทั้งนี้ตองระดมสมอง สรรพกําลังทั้งมวลเพื่อที่จะใหเกิดการพัฒนาประเทศ เพื่อการเตรียมความพรอมสําหรับการแขงขันในเวทีโลก ประเทศไทยไดเตรียมความพรอมเขาสูศตวรรษที่ 21 แลว โดยมีการปรบัเปลี่ยนเทคโนโลยีโดยเฉพาะเทคโนโลยีสารสนเทศที่มีผลตอภาคธุรกิจการศึกษา สังคม ซ่ึงเนนการใหความสะดวกในดานการบริหารจัดการ และใหเกิดความคลองตัวตอการดาํเนินงานไปในทิศทางที่สอดคลองกัน จึงไดวางนโยบาย E - Thailand ขึ้น เพื่อเปดประตูสูการพัฒนาประเทศ ทั้งนี้ไดเนนนโยบายหลักทางดานสังคมเพื่อลดชองวางทางสังคม เปดเสรีทางการคาอีเล็กทรอนิกส นโยบายระหวางประเทศ ผลักดันโครงสรางพื้นฐานสารสนเทศ หนึ่งในนโยบายของ E - Thailand คือการสงเสริมพัฒนาสังคม ส่ิงที่ควรจะคํานึงถึงก็คือ E - Education เปนการใหการศึกษาแกมนษุยใหมีความรูความสามารถใน ดานเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อนํามาปรับใชในทกุสวนงานในวงการไอทีซ่ึงมีการนําหลักการ 2 ประเภทใหญ ๆ ดังนี้คือ

1. E - MIS ดานการบริหารงาน เปนการนําไปใช ดานการบริหารงานและการจัดการศกึษา เนนดานการจัดพิมพ

เอกสาร ทําฐานขอมูล การประมวลผล เพื่อจัดทําสารสนเทศทางการศึกษา สําหรับการประกอบการตดัสินใจของผูบริหารในทุกระดับ

2. E-Learning เปนการนําไอทีไปใชในดานการสงเสริมประสิทธิภาพดานการเรียนการสอนใน

หลากหลายรูปแบบ เชน การนํามัลติมีเดียมาใชเปนสื่อการสอนของ ครู - อาจารย ใหนกัเรียนเรยีนรู คนควาดวยตนเอง ดวยการเรียนผานเครือขายคอมพิวเตอร อินเทอรเน็ตการเรียนทางไกลผาน

Page 17: รายงานวิจัยบทที่ 1 5

17

ดาวเทยีม การนําไอทีมาใชเพื่อการเรียนการสอนของ E-Learning ในยคุปจจุบัน เปนการใชเทคโนโลยีคอมพิวเตอรทั้งทีเ่ปนเครื่องเดยีวเรียกวา Stand - Alone หรือการเรียกผานเครือขาย เชื่อมโยงสูอินเทอรเน็ต เพื่อการคนควาหาขอมูลแลกเปลี่ยนความรูบนเครือขายซ่ึงที่ผานมาเราใช ส่ือการเรียนการสอนในรูปแบบของสื่อประสม (Multimedia) ใชในการนําเสนอลงบนแผนซีดีรอมโดยใช Authoring Tool ทั้งภาพและเสียงเพือ่เกิดการปฏิสัมพันธ (Interactive) ใหกับผูเรียนซ่ึงส่ือเหลานี้มีแนวโนมที่จะไดรับความสนใจสูงขึ้นเรื่อย ๆ แตปญหาที่ประสบก็คือเนื้อหาที่มีอยูไมตรงตามหลักสูตรการศึกษานอกจากนีย้ังมีการละเมิดลิขสิทธิ์ทําใหผูผลิตไมสามารถพัฒนาสื่อไดอยางมีคุณภาพ ในระยะแรก ๆ เราไดมีการใชส่ือในหลายประเภทเพื่อการติดตอรับ – สงขอมูลทาง ดานการศึกษาที่เรียกวา การเรียนทางไกล แบงเปน 3 ประเภท คือ

2.1 การเรียนการสอนทางไปรษณีย ถือวาเปนยุคแรกเริ่มของการเรียนการสอนทางไกล มีการรับ – สงบทเรียนผานทางไปรษณยี ซ่ึงจะตองใชระยะเวลามากในการติดตอกัน แตละครั้ง จึงเปนอุปสรรคอยางมากในการเรียนรูเพราะเอกสารอาจสูญหายระหวางทางได

2.2 การเรียนการสอนผานทางวิทยกุระจายเสียง เรามีวิทยกุระจายเสียงเพื่อการศึกษาเปนเครื่องมือที่เชื่อมตอไปยงัภูมิภาคทั้งที่เปนของกระทรวงศึกษาธิการ ทบวงมหาวทิยาลัย และสถาบันการศึกษาหลายแหง

2.3 การเรียนการสอนผานทางโทรทัศนและเครือขายดาวเทียมของกรมการศึกษานอก โรงเรียน กรมสามัญศึกษาที่รวมกับมูลนิธิการศึกษาทางไกลผานดาวเทียมไทยคม สถานีวิทยุโทรทัศนแหงประเทศไทย ชอง 11

ที่กลาวมาทั้งหมดนี้เปนวิธีการของการเรียนการสอนที่เราเคยใชกนัมา จนถึงปจจุบันกย็ังมีการใชอยู แตดวยปจจุบนัไอทีเขามามีบทบาทอยางมาก เราสามารถติดตอกับคนทัง้โลก สามารถเขาไปคนหาขอมูลไดเพียงปลายนิ้วสัมผัสบนเครือขายอินเทอรเน็ต เปนขุมความรูอันมหาศาล ดวยวิทยาการเพื่อใชในการพัฒนาองคความรู อันเปนแหลงทรัพยากรที่เปยมดวยคุณคามากมาย ดังนั้นการปรับรูปแบบการเรียนการสอนในรูปแบบ E-Learning จึงเกดิขึ้น อีกทั้งพระราชบัญญัติการศึกษาแหงชาติยังสนับสนุนการเรียนการสอนแบบนีอี้กดวย

E-Learning เปนการเรียนการสอนผานทางคอมพิวเตอรและเครือขายอินเทอรเน็ต การศึกษาที่นยิมกันมากในขณะนี้คือ Web-Based-Learning การเรียนแบบนี้ ผูเรียนสามารถเรียนที่ไหนกไ็ด เวลาใดก็ไดไมมีขอจํากัด

Page 18: รายงานวิจัยบทที่ 1 5

18

รูปแบบการเรียนการสอน รูปแบบการเรยีนการสอนแบบออนไลนในประเทศไทย มีดังนี ้ 1. การเรียนการสอนทางไกล (Distance Education) เปนการเรียนการสอนที่ประยุกตเทคโนโลยีหลาย ๆ อยาง เชน ระบบเครือขายคอมพิวเตอร การประชุมทางไกลชนิดภาพและเสียง รวมถึงเอกสารตาง ๆ เพื่อเขาถึงผูเรียนที่อยูหางไกล 2. แบบมหาวทิยาลัยออนไลน เรียกวา Online University หรือ Virtual University เปนระบบการเรียนการสอนที่อยูบนเครือขายในรูปเว็บเพจ มีการสรางกระดานถาม - ตอบ อีเล็กทรอนิกส (Web Board) 3. การเรียนการสอนผานทางอินเทอรเน็ตและเว็บเพจ (Online Learning, Internet Web-Based-Education) เปนการนําเสนอเนื้อหาและการปฏิสัมพันธระหวางผูเรียนและผูสอนโดยเนนสื่อประสมหลาย ๆ อยางเขาดวยกัน มกีารสรางสภาวะแวดลอมที่ประสานงานกนั ใหผูเรียนและผูสอนเขาถึงฐานขอมูลหลายชนิดได โดยผูเรียนตองควบคุมจังหวะการเรียนรูดวยตนเองใหเปน และเลือกเวลา สถานที่ในการเรียนรู 4. โครงขายการเรียนการสอนแบบอะซิงโครนัส (Asynchronous Learning Network: ALN) เปนการเรยีนการสอนที่ตองมีการติดตามผลระหวางผูเรียนกบัผูสอน โดยใชการทดสอบบทเรียน เปนตัวโตตอบ

เคร่ืองมือชวยเหลือการเรียนการสอนแบบ E-Learning เทคโนโลยีระบบเครือขายคอมพิวเตอรและอินเทอรเน็ตจะชวยใหการเรียนการสอน

แบบ E-Learning ไดประสิทธิภาพมากที่สุด เราสามารถนําซอฟตแวรที่เกี่ยวของกับการเขียน เว็บเพจ การสง E-Mail การใช Search Engine Newsgroup การใช http, ftp หรือ โปรแกรมทางดาน Authoring Tool เชน FrontPage, Macromedia Dreamweaver เปนตน การสราง Web Board ไว ถาม – ตอบ ส่ิงที่ควรคํานึงถึงการเรียนการสอนแบบ E–Learning ในบานเราก็คือ คน องคประกอบที่สําคัญที่จะทําใหรูปแบบพฒันาไปในทิศทางใด จากกรณีศึกษาโรงเรียนจิตรลดา ผูชวยอาจารยใหญฝายประถมศึกษา อาจารยมีนา รอดคลาย กลาววา ระยะแรก ๆ ตองใหความรูทางเทคโนโลยีแกบุคลากร โดยเฉพาะผูบริหารตองใหทานเห็นความสาํคัญและเขาใจในเทคโนโลยีวาไมไดยาก อํานวยความสะดวกสบายใหเราอยางไร เปนตน อันดับตอมาก็คือ ผูพัฒนาหลักสูตรและเนื้อหาวิชา ผูพฒันาระบบ ผูชวยสอนและทีป่รึกษาทางการเรียน

Page 19: รายงานวิจัยบทที่ 1 5

19

การเปรียบเทียบการเรียนการสอนแบบชัน้เรียนปกต ิกับ E-Learning

ชั้นเรียนปกต ิ E-Learning 1. ผูเรียนนั่งฟงการบรรยายในชั้นเรียน 1. ใชระบบวดีีโอออนดิมานด เรียนผานเว็บ 2. ผูเรียนคนควาจากตําราในหองสมุด หรือ ส่ิงตีพิมพตาง ๆ

2. คนควา หาขอมูลผานทางเว็บ ที่มีเครือขายเชื่อมโยง ทั่วโลก Search Engine สะดวกรวดเร็วและทันสมัย

3. เรียนรูการโตตอบจากการสนทนาใน ช้ันเรียน

3. ใชกระดานถาม – ตอบชวยใหผูเรยีนกลาแลกเปลี่ยน ความคิดเหน็ไดเต็มที ่เหมาะกับผูเรียนจํานวนมาก

4. ถูกจํากัดดวยเวลาและสถานที่ 4. จะเรียนเวลาไหนทีใ่ดกไ็ด มาตรการการสงเสริมการเรียนการสอนแบบ E-Learning 1. จัดทําโครงสรางโอกาสทางเทคโนโลยี (Digital Opportunity Program) โดยการลด

ความเหลื่อมลํ้าของการเขาถึงเทคโนโลยี สรางเครือขายการใหบริการการศึกษา ครอบคลุมทั่วประเทศ ทั้งผูพัฒนาและการใหบริการเนือ้หา

2. จัดตั้งกลุมของสถาบันอุดมศึกษาเพื่อสงเสริมความรวมมือในการพฒันาเนื้อหาและธนาคารความรู (Knowledge Depository)

3. จัดทําโครงการระดับประเทศ เพื่อสรางความตื่นตวัและเตรียมความพรอมใหกับบุคลากรของสถาบันอุดมศึกษาและหนวยงานที่เกีย่วของ

4. สรางมาตรการแรงจูงใจโดยมาตรการทางภาษี หรือการสงเสริมการลงทุนจาก BOI ใหภาคเอกชนจัดบริการการศึกษาออนไลนที่มีคุณภาพและไดมาตรฐาน

5. สรางเกณฑเปรียบเทียบ (Benchmark) และมาตรฐานขั้นต่ํา (Minimum Requirement) เพื่อควบคุมคุณภาพการใหบริการของผูใหบริการการศึกษาจากธุรกิจภาคเอกชน

6. จัดตั้งกองทุนเพื่อการวิจัยและพัฒนา โดยการระดมทุนจากภาครัฐและเอกชน เพื่อลดการนําเขาและเปลี่ยนแปลงกระบวนทัศน นวัตกรรมทางการศึกษา

7. ใหการสนับสนุนความรวมมือระหวางมหาวิทยาลัยในประเทศไทย และตางประเทศในการพัฒนาการเรียนรู

8. ทบทวนกฎระเบียบที่เกี่ยวของกับการรับรองสถาบันการศึกษาในระดับอุดมศึกษา 9. สนับสนุนและลงทุนในโครงการนํารองตาง ๆ ที่เกี่ยวกับ Virtual University เพื่อให

เกิดความคุมทุนและเกิดประสิทธิภาพที่ดีในระยะยาว

Page 20: รายงานวิจัยบทที่ 1 5

20

การจัดการเรียนการสอนผานเว็บ การใชเว็บเพื่อการเรียนการสอนเปนการนําเอาระบบอินเทอรเน็ตมาออกแบบ เพื่อใชใน

การศึกษาการจัดการเรียนการสอนผานเว็บ (Web-Based Instruction) มีช่ือเรียกหลายลักษณะ เชน การจัดการเรยีนการสอนผานเว็บ (Web-Based Instruction) เว็บการเรียน (Web-Based Learning) เว็บการเรยีน (Web-Based Training) อินเทอรเน็ตฝกอบรม (Internet-Based Training) อินเทอรเน็ตฝกอบรม (Internet-Based Instruction) เวลิดไวดเว็บฝกอบรม (WWW-Based Instruction) เปนตน แตในทีน่ี้ไดเรียกวาการเรียนการสอนผานเว็บ (Web-Based Instruction) ซ่ึงนาจะเปนแบบที่ใชและตรงกับคําอธิบายคุณลักษณะของการใชเว็บในระบบอินเทอรเน็ต เพื่อการเรียนการสอนมากที่สุด ทั้งนี้มีผูนิยามและใหความหมายของการเรยีนการสอนผานเว็บ (Web-Based Instruction) เอาไวหลายนยิาม ไดแก

การสอนบนเวบ็เปนรูปแบบการเรียนการสอนที่แตกตางไปจากการเรยีนในหองเรยีน กลาวคือ ผูเรียนจะเรยีนผานจอคอมพิวเตอรซ่ึงตอเขากับเครือขายอินเทอรเน็ต โดยผูเรียนจะ สามารถเรียนจากที่ใดก็ไดในเวลาใดก็ไดยกเวนในบางหลกัสูตรที่ออกแบบใหผูเรียนเขามาเรียนในเวลาที่กําหนด เชนในลักษณะของการออกอากาศบนเว็บ (Web Cast) โดยปกตแิลวขัน้ตอนการสอนบนเว็บจะเริ่มจากการที่ผูเรียนเขาสูระบบอินเทอรเน็ต หรืออินทราเน็ต และใชบราวเซอร (โปรแกรมอานเว็บ) เปดไปยังเว็บไซตการศึกษาที่ไดออกแบบไว บางกรณีผูเรียนจะตองมีการลง ทะเบียนกอนเพื่อขอรหัสผานเขาเรียน หลังจากนั้น ผูเรียนจะศึกษาเนื้อหา โดยวิธีในการศึกษาอาจเปนการอานขอความบนจอ หรือโหลดเนื้อหาลงมายังเครือ่งของตน หรือส่ังพิมพ ออกทาง เครื่องพิมพเพือ่ศึกษาภายหลงัก็ได โดยผูเรียนจะจะมีการโตตอบกับเนือ้หาบทเรียนซ่ึงใช การนําเสนอในลักษณะของไฮเปอรมีเดีย หรือส่ือประสมตาง ๆ อันไดแก ขอความ ภาพนิ่ง เสียง กราฟก วีดีทัศน ภาพเคลื่อนไหว ซ่ึงสามารถออกแบบใหเนื้อหาที่มีความสัมพันธกนัเชื่อมโยง (ลิงค) เขาไวดวยกัน ซ่ึงทําใหผูเรียนนอกจากจะสามารถเรียกอานเนื้อหาที่ผูสอนเตรียมไวไดตามปกตแิลว ยังสามารถเรียกอานเนื้อหาทีผู่สอนลิงคไวจากเว็บไซตอ่ืน ๆ จากทั่วโลกได

นอกจากนี้ผูเรยีนจะสามารถโตตอบกับผูเรียนอ่ืน หรือกบัผูสอนไดโดยการโตตอบนีอ้าจเปนไดทั้งแบบเวลาเดยีวกัน และตางเวลากัน และในลักษณะของบคุคลตอบุคคล บุคคลตอกลุม หรือกลุมตอกลุมก็ได ในบางครั้งผูเรียนอาจจะตองทําการทดสอบหลังจากการเรยีนดวย และใน กรณีที่ผูสอนทําการสอนบนเว็บอยางเต็มรูปแบบ ผูเรียนจะตองรับ-สงงานและเขามาตรวจสอบผลปอนกลับบนเว็บไซตดวย

Page 21: รายงานวิจัยบทที่ 1 5

21

สรุปไดวา การเรียนรูบนเว็บถือเปนนวัตกรรมใหมที ่ครู – อาจารย ในสถานศึกษาทุกระดับสามารถนําไปใชใหเกดิประโยชนตอการจัดกระบวนการเรยีนการสอน รวมทั้งฝายบริหาร นักการศึกษาที่จะพัฒนาใหเกิดการเรยีนรูตอเยาวชนของชาติ พัฒนาแหลงการเรียนรูใหมากขึ้น และใหเกิดประโยชนตอการเรียนรูใหมากที่สุด ควรจะไดพฒันาการเรียนรูบนเว็บนีใ้หเห็นผลในทางปฏิบัติ

ประโยชนของอินเทอรเน็ตทางการศึกษา ปจจุบันหลาย ๆ ประเทศ รวมทั้งประเทศไทย ตางไดนําอินเทอรเน็ตไปประยุกตใชใน

กระบวนการเรียนการสอน จนถือไดวาอินเทอรเน็ตกลายเปนเทคโนโลยีการศึกษาของยุคปจจุบนัไปแลว ซ่ึงคุณคาทางการศึกษาในการจัดกจิกรรมการเรียนการสอนผานอินเทอรเน็ต ซ่ึงถนอมพร เลาหจรัสแสง (2541: 51-56) ไดกลาวถึงประโยชนของอนิเทอรเน็ตทางการศึกษาไวดังนี้

1. การใชกิจกรรมบนเครือขายคอมพิวเตอรชวยทําใหผูเรียนไดเรียนรูเกี่ยวกับสังคม วัฒนธรรมและโลกมากขึ้น ทั้งนี้เนื่องจากเครือขายอินเทอรเน็ต อนุญาตใหผูเรียนสามารถสื่อสารกับผูคนทั่วโลกไดอยางรวดเร็ว และสามารถสืบคนหรือเผยแพรขอมูลสารสนเทศจากทั่วโลกไดเชนกัน

2. เปนแหลงความรูขนาดใหญสําหรับผูเรียน โดยที่ส่ือประเภทอื่นๆ ไมสามารถทําได กลาวคือ ผูเรียนสามารถคนหาขอมูลในลักษณะใดๆ ก็ได ไมวาจะเปนขอความ ภาพนิ่ง ภาพเคลื่อนไหว หรือในรูปแบบของสื่อประสม โดยการสืบคนผานเครือขายอินเทอรเน็ตที่โยงไยกับแหลงขอมลูตางๆ ทั่วโลก

3. การจัดกจิกรรมการเรียนการสอนผานอินเทอรเน็ต ทําใหเกิดผลกระทบตอผูเรียนในดานทักษะการคิดอยางมีระบบ (High-Order Thinking Skills) โดยเฉพาะทําใหทักษะการวิเคราะหสืบคน (Inquiry-Based Analytical Skill) การคิดเชิงวิเคราะห (Critical Thinking) การวิเคราะหขอมูล การแกปญหา และการคิดอยางอิสระ ทั้งนี้เนื่องจากเครือขายคอมพิวเตอรเปนแหลงรวมขอมูลมากมายมหาศาล ผูเรียนจึงจําเปนตองทําการวิเคราะหอยูเสมอ เพือ่แยกแยะขอมลูที่เปนประโยชนและไมเปนประโยชนสําหรับตนเอง

4. สนับสนุนการสื่อสารและการรวมมือกนัของผูเรียน ไมวาจะในลักษณะของผูเรียนรวมหอง หรือผูเรียนตางหองเรียนบนเครอืขายดวยกนั เชน การที่ผูเรียนหองหนึ่งตองการที่จะเตรียมขอมูลเกี่ยวกับการถายภาพเพื่อสงไปใหอีกหองเรยีนหนึ่งนั้น ผูเรียนในหองแรกจะตองชวยกันตัดสินใจทีละขั้นตอนในวิธีการที่จะเก็บรวบรวมขอมูลและการเตรยีมขอมูลอยางไร เพื่อสงขอมูลเร่ืองการถายภาพนี้ไปใหผูเรียนอีกหองหนึ่งโดยทีผู่เรียนตางหองสามารถเขาใจไดโดยงาย

Page 22: รายงานวิจัยบทที่ 1 5

22

5. สนับสนุนกระบวนการ สหสาขาวิชาการ (Interdisciplinary) กลาวคือ ในการนําเครือขายมาใชเชื่อมโยงกับกจิกรรมการเรียนการสอนนั้น นักการศึกษาสามารถที่จะบูรณาการ การเรียนการสอนในวิชาตาง ๆ เชน คณิตศาสตร ภูมิศาสตร สังคม ภาษา วิทยาศาสตร ฯลฯ เขาดวยกัน

6. ชวยขยายขอบเขตของหองเรียนออกไป เพราะผูเรียนสามารถที่จะใชเครือขายใน การสํารวจปญหาตางๆ ที่ผูเรียนมีความสนใจ นอกจากนี้ ยังเปดโอกาสใหผูเรียนไดทาํงานรวมกับผูอ่ืน ซ่ึงอาจมีความคิดเหน็แตกตางกันออกไป ทําใหมุมมองของตนเองกวางขึ้น

7. การที่เครือขายอินเทอรเน็ตอนุญาตใหผูเรียนสามารถเขาถึงผูเชี่ยวชาญหรือผูที่ใหคําปรึกษาได และการที่ผูเรยีนมีความอิสระในการเลือกศึกษาสิ่งที่ตนเองสนใจ ถือเปนแรงจูงใจสําคัญอยางหนึ่งในการเรียนรูของผูเรียน

8. ผลพลอยไดจากการที่ผูเรียนทําโครงการบนเครือขายตางๆ นี้ ทําใหผูเรียนมีโอกาสที่จะทําความคุนเคยกับโปรแกรมประยกุตตางๆ บนคอมพิวเตอรไปดวยในตัว เชน โปรแกรมประมวลผลคํา เปนตน

จากที่กลาวมานั้น จะเหน็ไดวาประโยชนของอินเทอรเนต็นั้นมีมากมายมหาศาล หากเรา รูจักใชอยางถูกวิธี และจากประโยชนดังกลาวนั้นเอง หากมีการนําอินเทอรเน็ตมาเพือ่พัฒนาการศึกษาของประเทศ ก็จะทําใหเกิดประโยชนและสรางความเทาเทยีมกันในดานการศึกษาใหมากยิ่งขึ้น การเรยีนการสอนทางดานอิเล็กทรอนิกส หรือ E-Learning เปนสิ่งสําคัญในโลกยุคปจจุบนั จากโลกยุคปจจุบัน ขอมูลและเทคโนโลยียงัมีไมเพียงพอ จะตองมีเร่ืองของการสื่อสารเขามาเกี่ยวของดวย เมื่อกอนนี้เราจะพูดกันถึงแตเรื่อง IT เทานั้น แตวนันี้ไมไดแลว เราจะตองพูดถึงเรื่อง ICT (Information and Communication Technology) แทน เนื่องจากจําเปนตองมีการสื่อสารเขามาเกี่ยวของกัน

ประโยชนของบทเรียนคอมพิวเตอรชวยสอน คอมพิวเตอรมปีระโยชนมากมาย การนํามาใชงาน สามารถประยุกตใชไดหลายลักษณะ ถึงอยางไรก็ตามการนําคอมพิวเตอรชวยสอนมาใชจะตองเลือกใหเหมาะสมกับวัตถุประสงค การเรียนรูประกอบกับใชคณุลักษณะของคอมพิวเตอรควบคูกับการดูแลของผูสอนอยางใกลชิด จึงจะสามารถใหคุณประโยชนอยางแทจริง ไดมีผูทําการวิจัยศึกษาคนควาเกีย่วกับประโยชนของคอมพิวเตอรชวยสอน (Liu. 1975 : 1411-A ; Friedman. 1974 : 799–A ; คณิต ไขมุก. 2532 : 23-24 ; นิตยา กาญจนวรรณ. 2526 : 80 ; นพินธ ศุขปรีดี. 2526 : 41; ศิริ สาเกทอง. 2527 : 22)

Page 23: รายงานวิจัยบทที่ 1 5

23

พบวา คอมพวิเตอรชวยสอนมีประโยชนตอการเรียนการสอน มากมายหลายประการ พอสรุปไดดังนี ้ 1. สงเสริมใหผูเรียนไดเรียนตามเอกัตภาพ เรียนตามความสนใจ เรียนตามลําพังดวยตนเองได เรียนไดดกีวาและเร็วกวาการสอนตามปกติ ลดการสิ้นเปลืองเวลาของผูเรียนลง 2. มีการปอนกลับ (Feedback) ทันที สามารถประเมินความกาวหนาของผูเรียนโดยอัตโนมัติ ทําใหผูเรียนเกิดความตื่นเตนไมเบื่อหนาย 3. ผูเรียนไมสามารถแอบพลิกดคูําตอบไดกอน จึงเปนการบังคับผูเรียนใหเรียนจริง ๆ กอนที่จะผานบทเรียนนัน้ไป 4. ผูเรียนสามารถทบทวนบทเรียนที่เคยเรียนในหองเรยีน 5. ผูเรียนไดเรียนรูแบบ Active Learning ฝกใหผูเรียนคิดอยางมีเหตุผล เพราะตองคอยแกปญหาอยูตลอดเวลา ทําใหเกิดความแมนยําในวิชาที่เรียนออน ชวยใหผูเรียนคงไวซ่ึงพฤติกรรมการเรียนไดนาน 6. ผูเรียนจะเรียนเปนขั้นตอนทีละนอย จากงายไปหายาก มีเกณฑปฏิบัติโดยเฉพาะ 7. เปนการสรางนิสัยรับผิดชอบใหเกดิในตัวผูเรียน เพราะไมเปนการบังคับผูเรียนใหเรียนแตเปนการใหการเสริมแรงอยางเหมาะสม 8. ทําใหนกัเรียนมีเจตคติทีด่ีตอวิชาที่เรียน ฮอลล (Hall. 1982 : 362) ไดกลาวถึงประโยชนของคอมพิวเตอรชวยสอนที่มีตอครูผูสอนไวดังนี้ 1. ลดชั่วโมงเพื่อจะไดปรับปรุงการสอน 2. ลดเวลาที่จะตองติดตอกบัผูเรียน 3. มีเวลาศกึษางานตํารา งานวิจยั และพฒันาความสามารถใหมากยิง่ขึ้น 4. ชวยการสอนในชั้นเรียนสําหรับผูที่มีงานสอนมาก โดยการเปลีย่นจากการฝกทักษะในหองเรียนมาใชระบบคอมพิวเตอรแทน 5. ใหโอกาสในการสรางสรรคและพัฒนานวัตกรรมใหม ๆ สําหรับหลักสูตรและวัสดุเพื่อการศกึษา 6. เพิ่มวิชาสอนโดยคอมพวิเตอรชวยสอนตามความตองการของนักเรยีน 7. ชวยพัฒนางานวิชาการ 8. ชวยใหมีเวลาสําหรับตรวจสอบและพัฒนาหลักสูตรตามหลักวิชาการ 9. ชวยเพิ่มวตัถุประสงคของการสอนไดเทาที่เปนไปได เชน การฝกหัดดนตรี จัดนิทรรศการงานกราฟก ชวยแกปญหาของผูเรียนเกีย่วกับสถาปตย

Page 24: รายงานวิจัยบทที่ 1 5

24

สวน ปรีชา เหลาพันนา (2544 : 10) ไดกลาวถึงประโยชนของคอมพิวเตอรชวยสอนไวดังนี ้ 1. ดึงดูดความสนใจของผูเรียนใหสนใจในบทเรียน 2. สรางบทเรียนใหเปนรูปธรรม มองเห็น Concept ไดชัดเจนขึ้น 3. ทําใหการเรียนรูใชเวลาเรียนนอยลง 4. มีการตอบสนอง กระตุน เสริมแรง ทําใหเกิดความอยากรูอยากเห็น 5. ผูเรียนสามารถเรียนไดหลายเที่ยว แบบทดสอบทาทายใหอยากเรียน 6. สรางบทเรียน แบบฝกหดัในรูปแบบอืน่ๆ เชน เกม เปนตน ทําใหผูเรียนสนุกสนาน จากคุณประโยชนของคอมพิวเตอรชวยสอนที่กลาวมาขางตน พอสรุปไดดังนี้ 1. เปนการเรยีนการสอนทีย่ึดผูเรียนเปนศูนยกลาง เพราะผูเรียนสามารถเรียนรูได ตามความสนใจและความสามารถของตนเอง บทเรียนมคีวามยืดหยุน สามารถเรียนซํ้าไดตามที่ตองการ 2. ดึงดูดความสนใจของผูเรียนไดดี โดยใชเทคนิคการนําเสนอดวยกราฟก ภาพเคลื่อนไหว แสง สี เสียง สวยงามและเหมือนจริง 3. ผูเรียนมีการโตตอบ ปฏิสัมพันธกับคอมพิวเตอร สามารถประเมินความกาวหนาของผูเรียนโดยอัตโนมัติ ทําใหผูเรียนเกิดความตื่นเตนไมเบื่อหนาย 4. ผูเรียนไดเรียนรูโดยการปฏิบัติจริง (Active Learning) ฝกใหผูเรยีนคิดอยางมีเหตุผล เพราะตองคอยแกปญหาอยูตลอดเวลา ชวยใหผูเรียนมีความคงทนในการเรียนรูสูง เพราะมีโอกาสปฏิบัติกิจกรรมดวยตนเอง ซ่ึงจะเรยีนรูไดจากขั้นตอนที่งายไปหายากตามลําดับ 5. ใชสอนแทนผูสอน ทั้งในและนอกหองเรียน ทั้งระบบสอนแทน บททบทวนและ สอนเสริม ชวยประหยัดเวลาและงบประมาณในการจัดการเรียนการสอน โดยลดความจําเปนที่จะตองใชครูทีม่ีประสบการณสูง หรือเครื่องมือราคาแพง เครื่องมืออันตราย ใชเปนสือ่การเรียน การสอนทางไกลผานสื่อโทรคมนาคม ใชสอนเนื้อหาทีซั่บซอน ไมสามารถแสดงของจริงได เปนส่ือชวยสอนวชิาที่อันตราย โดยการสรางสถานการณจําลอง เปนสื่อแสดงลําดับขั้นของเหตุการณที่ตองการใหเหน็ผลอยางชัดเจนและชา เชน การสอนทางไกลผานดาวเทียม โครงสรางของโมเลกุลของสาร การสอนขับเครื่องบิน การควบคุมเครื่องจักรกลขนาดใหญ การทํางานของมอเตอรรถยนต หรือหัวเทยีน เปนตน 6. ลดชองวางการเรียนรูระหวางโรงเรียนในเมืองและชนบท เพราะสามารถสงบทเรียนคอมพิวเตอรชวยสอน ไปยังโรงเรียนชนบทใหเรียนรูไดดวยการสอนทางไกลผานดาวเทยีม ทางอินเทอรเน็ตหรือทางสื่อคอมพิวเตอรชวยสอน

Page 25: รายงานวิจัยบทที่ 1 5

25

7. สรางความพึงพอใจแกผูเรียนทําใหมีเจตคติที่ดีตอวิชาที่เรียน 8. ทําใหครูผูสอนมีเวลาศึกษาคนควาและพัฒนานวัตกรรมใหม ๆ สําหรับหลักสูตรและวัสดเุพื่อการศึกษา

หลักทฤษฎีทีใ่ชในการสรางบทเรียนคอมพิวเตอรชวยสอน สมศักดิ์ จวีัฒนา (2546 : 49-50) ไดกลาววา ในการนาํเอาหลักทฤษฎีเขามาใชประกอบในการสรางและพัฒนาทางดานการประยกุตเทคโนโลยีการสอน เพื่อใหเกดิการเรียนรูทีม่ีประสิทธิภาพ จําเปนตองศึกษาถึงหลักทฤษฎีการสรางบทเรียนคอมพวิเตอรชวยสอนดานจิตวิทยาการเรียนรูดังนี้ 1. ทฤษฎีหลักการเรียนรูของธอรนไดค ที่นํามาใชในการสรางบทเรียนคอมพิวเตอรชวยสอน ไดแก 1.1 กฎแหงผล (Law of Effect) เปนการเชือ่มโยงระหวางสิ่งเรากับการตอบสนอง จะดยีิ่งขึ้น เมื่อผูเรียนแนใจวาพฤติกรรมการตอบสนองของตนถูกตองและในการใหรางวัลจะชวยสงเสริมพฤติกรรมนั้น ๆ อีก 1.2 กฎแหงการฝกหัด (Law of Exercise) การที่มีโอกาสไดกระทําซํ้า ๆ กัน หลาย ๆ คร้ังในพฤติกรรมใดพฤติกรรมหนึ่ง จะทําใหพฤติกรรมนั้น ๆ สมบูรณยิ่งขึน้ การฝกหดัทีม่ีการควบคุมทีด่ีจะสงผลตอการเรียนรู 1.3 กฎแหงความพรอม (Law of Readiness) เมื่อมีความพรอมที่จะตอบสนองหรือแสดงพฤติกรรมใด ๆ ถามีโอกาสไดกระทํายอมเปนที่พอใจ แตถาไมพรอมที่จะตอบสนองหรือแสดงพฤติกรรม การบังคับใหกระทํายอมทําใหเกิดความไมพอใจ 2. หลักทฤษฎีของสกินเนอร ที่นํามาใชเปนหลักการและแนวคิดในการสรางบทเรียนคอมพิวเตอรชวยสอนมีดังนี ้ 2.1 หลักการเสริมแรง กลาวคือผูเรียนจะเกิดกําลังใจไดนั้นตองไดรับ การเสริมแรงในขั้นที่เหมาะสม เมื่อผูเรียนแสดงอาการตอบสนองออกมาและเห็นวาอาการตอบสนองที่แสดงออกมานัน้ถูกตองก็จะเสริมแรงไดดีกวาการไดรับรางวัลอ่ืนใด บทเรียนโปรแกรมจึงนาํการรูผลมาเปนการเสริมแรง โดยในคําถามในแตละกรอบหรือแตละตอนจะมีคําตอบเฉลยไวให เพื่อผูเรียนจะไดทราบวาคําตอบของตนถูกหรือผิด 2.2 การใหแรงเสริมจะตองกระทําทันทีทนัใด เมื่อผูเรียนไดเรียนตามบทเรียนแลวมีการตอบคําถามจะตองใหแรงเสริมทันที

Page 26: รายงานวิจัยบทที่ 1 5

26

สรุปไดวา ในการสรางและพัฒนาบทเรียนคอมพิวเตอรชวยสอนใหมีประสิทธิภาพนั้น จะตองนําหลักทฤษฎีการเรียนรูมาใชประกอบในการสรางและพัฒนา เชน ทฤษฎีการเรียนรูของธอรนไดค ไดกลาวถึงการเชื่อมโยงระหวางสิ่งเรา การทําแบบฝกหัดซ้ํา ๆ และความพรอม ของผูเรียน และทฤษฎีการเสริมแรงของสกินเนอร ที่กลาววาผูเรียนจะเกิดกําลังใจไดนั้นตองไดรับ การเสริมแรงในขั้นที่เหมาะสมและตองใหแรงเสริมทันที

สวนประกอบในการจัดทาํบทเรียนคอมพิวเตอรชวยสอน จากการศึกษาความหมาย ประโยชน ประเภทของบทเรียนคอมพวิเตอรชวยสอนและหลักทฤษฎีที่ใชประกอบในการจัดทําบทเรียนคอมพิวเตอรชวยสอน พอจะสรุปไดวาในการจัดทาํบทเรียนคอมพิวเตอรชวยสอนจะตองมกีารวางแผนโดยคํานึงถึงสวนประกอบในการจัดทํา ดังนี ้ 1. บทนําเรื่อง (Title) เปนสวนแรกของบทเรียน ชวยกระตุน เราความสนใจ ใหผูเรียนอยากติดตามเนื้อหาตอไป 2. คําชี้แจงบทเรียน (Instruction) สวนนีจ้ะอธิบายเกีย่วกับการใชบทเรียน การทํางานของบทเรียน เพื่อสรางความมั่นใจใหกับผูเรียน 3. วัตถุประสงคบทเรียน (Objective) แนะนํา อธิบายความคาดหวังของบทเรียน 4. รายการเมนูหลัก (Main Menu) แสดงหัวเร่ืองยอยของบทเรียนที่จะใหผูเรยีนศึกษา 5. แบบทดสอบกอนเรียน (Pretest) สวนประเมินความรูขั้นตนของผูเรียน เพื่อดูวาผูเรียนมีความรูพื้นฐานในระดับใด 6. เนื้อหาบทเรียน (Information) สวนสําคัญที่สุดของบทเรียน โดยนําเสนอเนื้อหาที่จะนําเสนอ 7. แบบทดสอบทายบทเรียน (Posttest) สวนนี้จะนําเสนอเพื่อตรวจวัดผลสัมฤทธ์ิ การเรียนรูของผูเรียน 8. บทสรุป และการนําไปใชงาน (Summary - Application) สวนนีจ้ะสรุปประเด็น ตาง ๆ ที่จําเปนและยกตวัอยางการนําไปใชงาน เนื่องจากบทเรียนคอมพวิเตอรชวยสอนเปนบทเรียนทีม่ีกระบวนการเรียนการสอนครบสมบูรณอยูในตวั ดังนั้นผูจัดสรางจะตองคํานึงถึงสวนประกอบตาง ๆ และจัดสรางใหครบสมบูรณทุกขั้นตอน เพื่อใหผูเรียนสามารถเรียนรูไดดวยตนเอง อยางมีประสิทธิภาพ จึงจะจัดไดวาเปนลักษณะของบทเรียนคอมพิวเตอรชวยสอนที่ดี

Page 27: รายงานวิจัยบทที่ 1 5

27

บุคลากรที่เกี่ยวของกับบทเรียนคอมพิวเตอรชวยสอน ในการสรางบทเรียนคอมพิวเตอรชวยสอน นอกจากจะตองมีองคประกอบที่สําคัญในการสรางแลว ศูนยเทคโนโลยีอิเล็กทรอนิกสและคอมพิวเตอรแหงชาติ (2002) ไดกลาวถึงบุคลากรที่เกี่ยวของกับบทเรียนคอมพิวเตอรชวยสอนในเว็บไซด http://rbu.rb.ac.th/~boonruen/les1-2.files/frame.htm วาบุคลากรที่จะทําใหการสรางบทเรียนคอมพิวเตอรชวยสอนครบสมบูรณนั้น ตองประกอบไปดวยบุคลากรหลายดานหลายฝาย ที่ทํางานประสานรวมมือกัน เพื่อใหไดผลที่ถูกตองและเหมาะสมกับการเรียนรูผานสื่อคอมพิวเตอร มีความยืดหยุน เหมาะสมกบัสภาพผูเรียนที่แตกตางกันออกไป บุคลากรดังกลาว ประกอบดวย 1. กลุมผูเชี่ยวชาญ เปนกลุมบุคคลที่มีความเชี่ยวชาญในสาขาวิชาตาง ๆ รวมถึง การใชส่ือเทคโนโลยีที่เหมาะสมกับสภาพผูเรียน ทําหนาที่ใหคําปรึกษาดานตาง ๆ ไดแก 1.1 ผูเชี่ยวชาญดานหลักสตูรและเนื้อหา บุคลากรดานนี้จะเปนผูที่มคีวามรูและประสบการณทางดานการออกแบบหลักสตูรการพัฒนาหลักสูตรรวมไปถึงการกําหนดเปาหมายและทิศทางของหลักสูตร วัตถุประสงค ระดับการเรียนรูของผูเรียน ขอบขายของเนื้อหา กิจกรรมการเรียนการสอน ขอบขายรายละเอียดคําอธิบายของเนื้อหาวิชา ตลอดจนวิธีการวัดและประเมินผลของหลักสูตร บุคคลกลุมนี้จะเปนผูที่สามารถใหคําแนะนําและใหคําปรึกษาไดเปนอยางด ีหรือเรียกไดวาเปน Resource Person ของหลักสูตร 1.2 ผูเชี่ยวชาญดานการสอน บุคคลกลุมนี้ หมายถึง ผูทําหนาที่เสนอเนื้อหาวิชาใดวิชาหนึ่งโดยเฉพาะซึ่งเปนผูที่มีความรูมีความชํานาญ มปีระสบการณและมีความสําเร็จใน ดานการเรียนการสอนมาเปนอยางด ีเปนตนวามีความรูในเนื้อหาอยางลึกซึ้ง สามารถจัดลําดับ ความยากงาย ความสัมพันธ และความตอเนื่องของเนื้อหา รูเทคนิควิธีการนําเสนอเนือ้หา หรือวิธีการสอน การออกแบบและสรางบทเรียน ตลอดจนมวีิธีการวัดและประเมินผลการเรียนรูของผูเรียนมาเปนอยางดีบุคคลกลุมนี้จะเปนผูชวยที่ชวยทําใหการออกแบบบทเรียนมีคณุภาพและมีประสิทธิภาพ นาสนใจมากยิง่ขึ้น 1.3 ผูเชี่ยวชาญดานสื่อ บุคลากรกลุมนี้จะชวยทําหนาที่ในการออกแบบและใหคําแนะนํา ปรึกษาทางดานการวางแผนการออกแบบบทเรียน อันประกอบดวยเร่ืองการออกแบบและการจดัวางรูปแบบ การออกแบบหนาจอ การเลือกและวิธีการใชตวัอักษร เสน รูปทรง กราฟก แผนภาพ รูปภาพ สี แสง เสียง การจัดทํารายงาน และสื่อการเรียนการสอนอื่น ๆ ที่จะชวยทําใหบทเรียนคอมพิวเตอรชวยสอนมีความสวยงามและนาสนใจมากยิ่งขึ้น 1.4 ผูเชี่ยวชาญดานโปรแกรมคอมพิวเตอร การสรางบทเรียนคอมพิวเตอร ชวยสอนตองใชเครื่องคอมพิวเตอรเปนสื่อในการนําเสนอ ดังนั้นจึงตองมีผูเชี่ยวชาญในดานการใช

Page 28: รายงานวิจัยบทที่ 1 5

28

เครื่อง โดยเฉพาะโปรแกรมเมอร (Programmer) ซ่ึงเปนผูติดตอส่ือสารระหวางคนกบัเครื่องได ตองเขาใจถึงภาษาคอมพิวเตอรทีจ่ะใชสรางบทเรียนคอมพวิเตอรชวยสอนหรือตองเขาใจวิธีการทํางานของโปรแกรมที่จะนํามาชวยในการสรางบทเรียนคอมพวิเตอรชวยสอน บุคลากรดานนี้จะใหคําแนะนํา การใชโปรแกรม Authoring Tools ที่เหมาะสมกับเนื้อหาทีจ่ะนําเสนอ ตลอดจนการทําเอกสารประกอบการใชส่ือ และจะชวยทําใหการสรางบทเรียนคอมพวิเตอรชวยสอนสําเร็จลุลวงไปดวยด ี 2. กลุมผูออกแบบและสรางบทเรียน เปนผูทําหนาที่ออกแบบและสรางบทเรียนโดยตรง โดยเริ่มตั้งแตการวเิคราะหเนื้อหาการวิเคราะหกจิกรรม การทําสื่อประเมินผล การสราง Storyboard ของเนื้อหา โดยอยูภายใตความควบคุม ดูแลของผูเชี่ยวชาญ จากนั้นก็นํามาลงโปรแกรมคอมพิวเตอร 3. ผูบริหารโครงการ ทําหนาที่จัดการและบริหารงานตาง ๆ ที่เกี่ยวกบัการสรางบทเรียน จัดหาอุปกรณตาง ๆ ที่จําเปนตองใชควบคุมคณุภาพของบทเรียน ประสานงานกับกลุม ตาง ๆ ควบคุมงบประมาณตาง ๆ สรุปไดวา ในการสรางหรือพัฒนาสื่อคอมพิวเตอรชวยสอนใหมีประสิทธิภาพนั้น จะตองมีบุคลากรหลายฝายทาํงานประสานรวมมือกัน มีทัง้ผูเชี่ยวชาญในแตละสาขาวชิาตาง ๆ รวมถึงการใชส่ือเทคโนโลยีที่เหมาะสมกบัสภาพผูเรียน ทําหนาที่ใหคาํปรึกษาดานตาง ๆ ผูออกแบบและสรางบทเรียน จะตองวิเคราะหหลักสูตร เนื้อหา กจิกรรม การทําส่ือ การประเมินผล โดยอยูภายใตการควบคุม ดแูลของผูเชี่ยวชาญ สวนผูบริหารโครงการตองทําหนาทีจ่ัดการบริหาร งานตาง ๆ เกี่ยวกับการสรางบทเรียน ตลอดจนควบคุมคุณภาพ ประสานงานกับกลุมตาง ๆ และควบคุมงบประมาณใหดาํเนนิไปดวยความเรียบรอย

งานวิจัยท่ีเก่ียวของ

งานวิจัยในประเทศ จากขอดีของการเรียนการสอนบนเว็บ และประโยชนของบทเรียนคอมพิวเตอรชวยสอนมีผูที่เกี่ยวของกับการศึกษาไทย ไดใหความสนใจทําการศึกษาวจิัยพัฒนาบทเรียนออนไลนและบทเรียนคอมพิวเตอรชวยสอน ที่มีประสิทธิภาพและนาํ มาใชในการจัดการเรียนการสอนในวิชาตาง ๆ เพื่อใหผูเรียนมีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนสูงขึ้น ดังนี ้ สรวงสุดา สายสีสด (2545 : บทคัดยอ) ไดศึกษาเรื่องการสรางและพัฒนาบทเรียนออนไลนวิชาระบบเครือขายคอมพิวเตอรระดับประกาศนียบัตรวิชาชพีช้ันสูง พบวา บทเรียนมีประสิทธิภาพตามความคิดเห็นของผูทรงคุณวุฒิอยูในระดับดีมาก และผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนหลัง

Page 29: รายงานวิจัยบทที่ 1 5

29

เรียนของกลุมที่เรียนดวยบทเรียนออนไลน สูงกวาหลังเรยีนของกลุมที่เรียนวิธีปกติ อยางมีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ .01 และ กาญจนา ยลสิริธัม (2546 : บทคัดยอ) ไดศึกษาเรื่องการพัฒนาบทเรียนคอมพิวเตอรชวยสอน ประกอบการเรียนการสอนทางไกลผานดาวเทยีม เร่ือง Computer Network Technologies and Internet พบวา บทเรียนมีประสิทธิภาพ 73.63/74.13 สวน สุนทรีย ธรรมสุวรรณ (2545 : บทคัดยอ) ไดศึกษาเรื่องบทเรียนผานระบบเครือขายอินเทอรเน็ต วิชา เทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อชีวิตพบวา บทเรียนมีประสิทธิภาพตามความคิดเห็นของผูทรงคุณวุฒิอยูในระดบัดีมาก และผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนหลังเรียนสูงกวากอนเรียนอยางมีนัยสําคัญทางสถิติที่ ระดับ .01 ซ่ึงสอดคลองกับ วิเชียร พุมพวง (2546 : บทคัดยอ) ที่ไดศึกษาเรื่องบทเรียนคอมพิวเตอรชวยสอนผานเครือขายอินเทอรเน็ตเรื่องแมเหล็กไฟฟาพบวา บทเรียนมีประสิทธิ ภาพเทากับ 83.01 : 82.56 และผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนหลังเรียนสูงกวากอนเรียนอยางมนีัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05 และอรรถพล คณะพล (2546 : บทคัดยอ) ไดศึกษาเรื่องบทเรียนคอมพิวเตอรชวยสอน บนเครือขายอินเทอรเน็ต เร่ืองเทคนิคการบริหารงานแบบ 5 ส พบวา บทเรียนมีประสิทธิภาพ 83.42: 82.67 ซ่ึงสงกวาเกณฑมาตรฐานทีก่ําหนดไว เชนเดียวกนักับ อาจณรงค มโนสุทธิฤทธิ์ (2546 : บทคัดยอ) ไดศึกษาบทเรียนคอมพวิเตอรชวยสอนผานเครือขายอินเทอรเน็ต เร่ือง หนวยความจําของคอมพิวเตอรพบวา บทเรียนมีประสิทธิภาพเทากับ 80.33 : 81.00 และผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนหลังเรียนสูงกวากอนเรียน อยางมีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ .05 และ ฉตัราภรณ กลางจอหอ (2546 : บทคัดยอ) ไดศึกษาการพัฒนาบทเรียนคอมพิวเตอรชวยสอน เร่ือง การใช ภาษา ASP สําหรับการพัฒนาโฮมเพจพบวา บทเรียนมีประสิทธิภาพรอยละ 85 นอกจากนี้แลว สุทธิพงษ สุรพุทธ (2546 : บทคัดยอ) ไดศึกษาเรื่อง บทเรียนคอมพวิเตอรชวยสอนผานเครือขายอินเทอรเน็ต เร่ืองเทคโนโลยีสารสนเทศพบวา บทเรียนมีคุณภาพจากผูเชี่ยวชาญดานเนื้อหาและ ดานเทคนิคการผลิตอยูในระดับดี ซ่ึงไดตามเกณฑที่กําหนด และผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนหลังเรยีนมีคาสูงกวากอนเรียนอยางมนีัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ .05 และนฤมล รอดเนียม (2546 : บทคัดยอ) ไดศึกษาเรื่อง บทเรียนการสอนผานเว็บ เรือ่ง อินเทอรเนต็ วิชาคอมพิวเตอรและเทคโนโลยี สารสนเทศพบวา บทเรียนมีประสิทธิภาพ 84.40/85.11 ดังที่ กมลรัตน สมใจ (2546 : บทคัดยอ) ไดศึกษาเรื่อง การพัฒนาบทเรียนคอมพิวเตอรชวยสอนผานเครือขายอินเทอรเน็ต วิชาเทคโนโลยี สารสนเทศเพื่อการเรียนรู เรื่องการทํางานในระบบคอมพิวเตอร สถาบันราชภัฏพบวา บทเรียนมีคุณภาพดานเนื้อหาอยูในระดับดีมาก (X = 4.54) ดานเทคนิคการผลิตส่ืออยูในระดบัดี (X = 4.47) และมีประสิทธิภาพเทากับ 82.40/83.67 นุตพล ธรรมลังกา (2538 : บทคัดยอ) ไดศึกษาเปรียบเทียบเจตคติของนักเรียนที่เรียน โดยใชบทเรยีนคอมพิวเตอรชวยสอนกบัการสอนปกติพบวา นักเรียนที่เรียนโดยใชบทเรียน

Page 30: รายงานวิจัยบทที่ 1 5

30

คอมพิวเตอรชวยสอนมีเจตคติตอวิชาคณิตศาสตรดีกวากลุมที่เรียนตามปกติและดีกวากอน การทดลอง แตกลุมที่เรียนปกติมีเจตคติตอวิชาคณิตศาสตรหลังการทดลองกับกอนการทดลองไม แตกตางและสอดคลองกับผลการวิจัยของสุวรรณา ฟกปลั่ง (2544 : บทคัดยอ) ไดทําการวิจยัเร่ืองผลการเรียนซอมเสริม 2 รูปแบบ จากบทเรียนคอมพิวเตอรชวยสอนในวิชาคณติศาสตรของนักเรียนช้ันมัธยมศึกษาปที่ 1 โรงเรียนศึกษาสงเคราะหตาก ปรากฏวาผูเรียนมเีจตคติที่ดีตอการเรียน ซอมเสริมวิชาคณิตศาสตรจากบทเรียนคอมพิวเตอรชวยสอนและสวนใหญแสดงพฤตกิรรมใน การเรียนที่ดีระหวางเรียน อินทิรา ชูศรีทอง (2541 : บทคัดยอ) ไดศึกษาความคดิเห็นของนกัเรยีนที่มีตอบทเรียน คอมพิวเตอรชวยสอน ปรากฏวานักเรยีนเห็นดวยกับการเรียนดวยคอมพิวเตอรชวยสอนอยูใน ระดับมากและมีผลสอดคลองกับผลการวิจยัของพิมพพร ฟองหลํ่า (2538 : บทคัดยอ) ซ่ึงพบวา นักเรียนสวนใหญเห็นดวยกบัการเรียนวิชาคณิตศาสตรโดยใชบทเรียนคอมพิวเตอรชวยสอนและพัชราวลัย มีทรัพย (2542 : บทคัดยอ) พบวานักเรียนมคีวามพึงพอใจในการเรยีนคณิตศาสตร ดวยโปรแกรมคอมพิวเตอรชวยสอนมากทีสุ่ดเปนอันดับหนึ่ง สวนปยะพร เพยีรสวรรค (2543 : บทคัดยอ) พบวา ครูผูสอนกลุมทดลองมีความคิดเหน็ตอโปรแกรมคอมพิวเตอรชวยสอนใน ดานการออกแบบและดานการนําเสนอของโปรแกรมวามีความเหมาะสมในระดับมาก สวน นกัเรียนกลุมทดลองมีความคิดเห็นตอโปรแกรมคอมพิวเตอรชวยสอนในดานการออกแบบและ ดานการนําเสนอของโปรแกรมวามีความเหมาะสมในระดับปานกลาง การศึกษาเปรยีบเทียบพฤติกรรมในการเรียนดานความเอาใจใสในการเรียน ความมวีนิัยในชั้นเรยีน ความรับผิดชอบในการเรยีนของนักเรียนทีเ่รียนคณิตศาสตรโดยใชบทเรียน คอมพิวเตอรชวยสอนกับการสอนปกติของอัมภาพร จันทรกระจาง (2542 : บทคัดยอ) และ ศิริพร จินดาราม (2544 : บทคัดยอ) พบวานักเรียนที่เรียนโดยใชบทเรียนคอมพวิเตอรชวยสอนมีพฤติกรรมในการเรียน ดานความเอาใจใสในการเรยีน ความมีวนิัยในชัน้เรียน ความรับผิดชอบในการเรียนของสูงกวานักเรียนที่ไดรับการสอนแบบปกต ิ ซ่ึงสอดคลองกับผลการศึกษาวิจยัของ มธุรส แกววรา (2542 : บทคัดยอ) และศรราม จามมาตย (2544 : บทคัดยอ) ที่ไดศึกษา พฤติกรรมของนักเรียนที่เรียนวิชาคณติศาสตรโดยใชบทเรียนคอมพวิเตอรชวยสอนพบวา พฤติกรรมของนักเรียนในการเรียนที่แสดงออกดานความสนใจ ความรับผิดชอบ ความเชื่อมั่นใน ตนเองและความซื่อสัตยอยูในระดับดีมาก สวนวีรพงษ แสงชูโต (2542 : บทคัดยอ) ไดทําการวิจัยเร่ืองการพัฒนารูปแบบคอมพิวเตอรชวยสอนในการสอนเสริมระดับประถมศึกษาในพบวา นักเรียนสวนใหญชอบที่จะเรียนจากบทเรยีนคอมพวิเตอรชวยสอนในวิชาคณิตศาสตรเร่ืองสมการและตองการบทเรียน

Page 31: รายงานวิจัยบทที่ 1 5

31

คอมพิวเตอรชวยสอนในวิชาอื่นดวย สวนรูปแบบที่นักเรียนชอบเรียนคอืบทเรียนคอมพิวเตอร ชวยสอนซึ่งมสีีของฉากหลังสีเดียว (สีน้ําเงนิ) ตลอดบทเรียน มีการจดัขอความใหเหมาะสม มีรูปภาพประกอบและมีภาพเคล่ือนไหวในแตละฉาก มีเสยีงเตือนเมื่อมกีารตอบถูกหรือผิด จากผลการวิจยัจะเห็นไดวา บทเรียนออนไลนหรือบทเรยีนคอมพวิเตอรชวยสอนที่พัฒนาขึ้นมีประสิทธิภาพตามเกณฑ ทําใหผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาวิชาตาง ๆ สูงขึ้นและเมื่อเปรียบเทียบกบัการสอนแบบปกติพบวา นักเรียนที่เรียนโดยใชบทเรียนคอมพวิเตอรชวยสอนมีผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนสูงกวานักเรียนที่เรียนโดยการสอนแบบปกติ ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนหลังทดลองสูงขึ้น รวมทั้งนักเรยีนที่เรียนโดยใชบทเรียนคอมพิวเตอรชวยสอนมีเจตคติทีด่ีตอวิชาที่สอนมากกวาการสอนแบบปกติ นอกจากนั้นแลวยังมีความคดิเห็นทีด่ีตอบทเรียนและเหน็ดวยกับ การเรียนโดยใชบทเรียนคอมพิวเตอรชวยสอน สวนพฤตกิรรมในระหวางเรียน ความเอาใจใสในการเรียน ความมีวินยัในชัน้เรียน ความรับผิดชอบในการเรียนของนักเรียนที่เรียนโดยใชบทเรียนคอมพิวเตอรชวยสอนสูงกวานักเรียนที่เรียนโดยการสอนแบบปกตแิละอยูในระดับดมีาก สวนรูปแบบที่นักเรียนชอบเรียนคือบทเรียนคอมพิวเตอรชวยสอนซึ่งมีสีของฉากหลังสีเดยีว (สีน้ําเงิน) ตลอดบทเรียน มีการจัดขอความใหเหมาะสม มีรูปภาพประกอบและมีภาพเคลื่อนไหวในแตละฉาก มีเสียงเตือนเมือ่มีการตอบถูกหรือผิด งานวิจัยตางประเทศ ตางประเทศ มกีารศึกษาวิจยัเกี่ยวกับบทเรยีนออนไลนและบทเรียนคอมพิวเตอรชวยสอน ไวพอสรุปได ดังนี ้ คูมาร (Kumar. 1994 : 158-A) ไดทําการวิจัยเร่ือง การใชคอมพิวเตอรชวยสอนประเภทฝกทักษะและการทําแบบฝกหัดวิชาคณิตศาสตร โดยที่นกัเรียนไมตองเรียนในชัน้เรียนพิเศษใช กลุมตัวอยางเปนจํานวนนกัเรียน 15 คน แบงออกเปน 2 กลุม กลุมทดลองใชคอมพิวเตอร ชวยสอน สวนกลุมควบคุมไมไดใชคอมพิวเตอรชวยสอน ในการฝกและการทําแบบฝกหัด โดยทั้งสองกลุมมีการทดสอบทั้งกอนและหลังเรียนในระยะเวลา 5 สัปดาห ผลการวิจัยพบวา กลุมทดลองมีระดับคะแนนมากกวากลุมควบคุม ซ่ึงผลการวิจยัสอดคลองกับ พารค (Park. 1993 : 119A) ที่ไดทาํการวิจยัการประเมินผลวิชาแคลคูลัสและคณิตศาสตร(Calculus & Mathematics Course) ที่มีผลการปฏิบัติทางคอมพิวเตอรโดยใชวิธีการศึกษาเปรียบเทียบผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนระหวางกลุมทดลองที่ใหเรียนแคลคูลัสจากคอมพิวเตอรกับกลุมควบคมุที่ใหเรียนแคลคูลัสจาก การสอนปกติ ที่ University of Illinois สหรัฐอเมริกา ผลการวิจยัพบวากลุมทดลองมีความเขาใจ

Page 32: รายงานวิจัยบทที่ 1 5

32

เชิงมโนมติในเนื้อหาวิชาแคลคูลัสดีกวากลุมควบคุม แตก็มีผลการวิจยัที่แตกตางจากทั้งสองทานที่กลาวมา คือ เฟรเดนเบอรก (Fredenberg. 1994 : 59A) ไดทําการศึกษาเปรียบเทียบการเรียน วิชาแคลคูลัสและเรขาคณิตวเิคราะหโดยทดลองกับนักศึกษาที่ Montana State University สหรัฐอเมริกา กลุมทดลองมีการใชคอมพิวเตอรชวยสอนในหองปฏิบัตกิาร สวนกลุมใหเรียนตามปกติและมีการบานเสริมการเรียนพบวา ทั้งสองกลุมมีการเปลี่ยนแปลงผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนอยางไมมีนยัสําคัญทางสถติิและทั้งสองกลุมมีผลสัมฤทธิ์ในทางปฏิบัตใินระดบัเดยีวกัน เชนเดยีวกันกบัมา (Ma. 1994 : 132A) ที่ไดทําการศึกษาเปรียบเทียบระหวางการสอนโดยปกติกับการดัดแปลงมลัติมีเดียทางการสอนในการแกปญหาทางคณิตศาสตร โดยใชความสามารถทาง การเรียนและความศรัทธาในวิชาคณติศาสตรของนักเรียนเกรด 6 ในประเทศใตหวนั สาธารณรัฐประชาชนจีน การศึกษาครั้งนี้ใชกลุมตวัอยาง 90 คน แบงเปน 2 กลุม กลุมควบคุมมี 45 คน ไดรับการสอนโดยวิธีปกติเปนเวลา 3 สัปดาห กลุมทดลองมี 45 คน ไดรับการสอนเหมือนกลุมควบคุมทั้งวัสดุการสอนและเวลาที่สอน แตดัดแปลงใชมัลติมีเดียแบบประยุกตรวมกบัการสอนดวย ทั้งสองกลุมทําการทดสอบกอนเรียนและหลังเรียน และวเิคราะหดวยสถิติ ANCOVA พบวาทั้งสองกลุม คือกลุมทดลองและกลุมควบคุมไมแตกตางกันอยางมีนัยสําคญัทางสถิติ สวนโอโซโก (Osoko. 1999 : 4049A) ไดทําการศึกษาการใชเทคโนโลยีมัลติมีเดีย เพื่อการเรียนการสอนวิชาคณติศาสตร และวิทยาศาสตรในโรงเรียน St.Louis Public School แหลงขอมูลไดจากการสํารวจกลุมตวัอยางซึ่งเปนครูผูสอน จํานวน 35 คน ผลการวิเคราะหสรุปไดวาเทคโนโลยีสามารถเปลี่ยนแปลงวิธีสอนและกอใหเกิดผลในเชงิบวกตอการเรียนการสอน จากผลการวิจยัทั้งในและตางประเทศเกีย่วกับการใชบทเรียนออนไลน และบทเรียนคอมพิวเตอรชวยสอนวิชาตาง ๆ สรุปไดวา บทเรียนออนไลน และบทเรียนคอมพวิเตอรชวยสอนที่พัฒนาขึ้นมปีระสิทธิภาพสามารถพัฒนาผูเรียนในวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศ (คอมพิวเตอร) ไดเปนอยางดี เมือ่เปรียบเทียบผลการเรียนกอนเรียนและหลังเรียนพบวาผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนของนักเรียนหลังเรียนสูงกวากอนเรียนและเมือ่เปรียบเทียบกับการสอนแบบปกติก็ปรากฏวา สวนใหญผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนของนักเรียนที่เรียนจากบทเรยีนออนไลนหรือบทเรียนคอมพิวเตอรชวยสอนสูงกวานกัเรียนทีเ่รียนจากการสอนแบบปกติ และหลังจากเรียนดวยบทเรียนออนไลนหรือบทเรียนคอมพิวเตอรชวยสอนนักเรยีนมีเจตคติที่ดีตอวชิาเทคโนโลยีสารสนเทศ (คอมพิวเตอร) รวมทั้งมีความคิดเห็นทีด่ีตอบทเรียนและเห็นดวยกับการเรียนโดยใชบทเรียนคอมพิวเตอรชวยสอน นอกจากนั้นแลวยังตองการบทเรียนคอมพิวเตอรชวยสอนในวิชาอ่ืน ๆ ดวย สวนพฤติกรรมของนักเรียนที่แสดงออกในระหวางเรียนกใ็หผลเชิงบวกตอการเรียนการสอน

Page 33: รายงานวิจัยบทที่ 1 5

33

กรอบแนวคิดในการวิจัย

ผูวิจัยไดกําหนดกรอบแนวคิดในการสรางบทเรียนออนไลน ดังนี้

สรางบทเรียนออนไลนโดยใชโปรแกรม - Namo FreeMotion 2006 - Macromedia Captivate - Adobe Photoshop CS2 - Microsoft FrontPage 2003 ภายในบทเรียนประกอบดวย

- แนะนําวิธีใชบทเรียน - แบบทดสอบกอนเรียน - ผลการเรียนรูที่คาดหวัง - สาระการเรียนรู

- แบบทดสอบระหวางเรียน - กิจกรรมทายบท - แบบทดสอบหลังเรียน ลักษณะของบทเรียน - ผูเรียนเรียนไดทุกที่ที่มีอินเทอรเน็ต และไดทราบผล การเรียนรูทันทีที่เรียนจบ - ผูเรียนสามารถเลือกเรียนรูได ตามความสนใจ เรียนรูกี่ครั้งก็ได ตามความสามารถ โดยไมจํากัดเวลา และสถานที่

การเขียนเว็บไซตดวยโปรแกรม Microsoft FrontPage 2003 ไดแก 1. รูจักกับ FrontPage 2003 2. เริ่มตนเขียนเว็บ 3. การตกแตงภาพในเว็บเพจ 4. การเชื่อมโยงเว็บเพจ 5. การใสตารางบนเว็บเพจ 6. การสรางเฟรมเซตในเว็บเพจ

- พัฒนาผูเรียน ใหสามารถเขียนเว็บไซต ดวยโปรแกรม Microsoft FrontPage 2003 ได - สรางผูเรียนใหเปน Webmaster

Page 34: รายงานวิจัยบทที่ 1 5

34

บทที่ 3

วิธีดําเนนิการวิจัย

การวิจยัในครัง้นี้เปนการวิจยัเชิงทดลอง เร่ือง การพัฒนาบทเรียนออนไลนเร่ืองการเขียนเว็บไซตดวยโปรแกรม Microsoft FrontPage 2003 ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปที่ 2 โดยใชบทเรียนออนไลนเรียนผานเครือขายอินเทอรเน็ต ผูวิจยัไดดําเนนิการตามขั้นตอนดังนี้ 1. ประชากรและกลุมตัวอยาง 2. เครื่องมือที่ใชในการเก็บรวบรวมขอมลู 3. การเก็บรวบรวมขอมูล 4. การวิเคราะหขอมูล 5. สถิติที่ใชในการวิเคราะหขอมูล

ประชากรและกลุมตัวอยาง

1. ประชากร ไดแก นักเรยีนชั้นมัธยมศึกษาปที่ 2 โรงเรียนเสนศิริอนสุรณ อําเภอเมืองบุรีรัมย จังหวัดบรีุรัมย ปการศึกษา 2549 จํานวน 90 คน 2. กลุมตัวอยาง ไดแก นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปที่ 2/1 โรงเรียนเสนศริิอนุสรณ อําเภอเมืองบุรีรัมย จังหวัดบรีุรัมย ปการศึกษา 2549 จํานวน 30 คน ไดมาโดยการสุมอยางงายในการเลือกหองที่จะใชในการทดลอง

เครื่องมือในการวิจัย เครื่องมือที่ใชในการวิจัยในครั้งนี้ ประกอบดวย 1. บทเรียนออนไลนเร่ืองการเขียนเว็บไซตดวยโปรแกรม Microsoft FrontPage 2003 ของนักเรียนชัน้มัธยมศึกษาปที่ 2 2. แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักเรียนชัน้มัธยมศึกษาปที่ 2 ใชทดสอบนักเรียน กอนเรียนและหลังเรียนดวยบทเรียนออนไลน เปนชนิดเลือกตอบ 4 ตัวเลือก จํานวน 1 ฉบับ มี 40 ขอ 3. แบบสอบถามความคิดเหน็ของนักเรียนที่มีตอการเรียนโดยใชบทเรียนออนไลน

Page 35: รายงานวิจัยบทที่ 1 5

35

ขั้นตอนการสรางเครื่องมือในการวิจัย

1. การสรางบทเรียนออนไลน เร่ือง การเขียนเว็บไซตดวยโปรแกรม Microsoft FrontPage 2003 ผูวิจัยไดดําเนนิการ ดังนี ้ 1.1 ศึกษาเนื้อหาสาระของหลักสูตรการศึกษาขั้นพืน้ฐาน พุทธศักราช 2544 กลุมสาระการเรียนรูการงานพื้นฐานอาชีพและเทคโนโลยี สาระที่ 4 เทคโนโลยีสารสนเทศ ชวงชั้นที่ 3 ช้ันมัธยมศึกษาปที่ 2 เพื่อทําความเขาใจเกีย่วกับสาระการเรียนรู มาตรฐานการเรียนชวงชั้นที่ 3 ผลการเรียนรูทีค่าดหวังรายป/รายภาค วิธีสอนและ การวัดผลประเมินผล 1.2 ศึกษาและวิเคราะหมาตรฐานการเรียนรู และผลการเรียนรูที่คาดหวังกลุมสาระ การเรียนรูการงานพื้นฐานอาชีพและเทคโนโลยี สาระที่ 4 เทคโนโลยสีารสนเทศ ช้ันมัธยมศึกษา ปที่ 2 แลวกําหนดหลักสูตรเปนสาระเพิ่มเติมวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศพื้นฐาน (คอมพิวเตอร) 1.3 ศึกษาและวิเคราะหการสรางและพัฒนาเว็บไซตดวยโปรแกรม Microsoft FrontPage 2003 โดยไดรับคําปรึกษาจากผูเชี่ยวชาญดานเนื้อหา วิธีสอน และดานโปรแกรม 1.4 กําหนดผลการเรียนรูทีค่าดหวังใหสอดคลองกับ เนือ้หา กิจกรรมและแบบทดสอบกอนเรียน-หลังเรียน ที่จะสรางในบทเรียนออนไลน โดยคํานึงถึงความพรอมของเด็กและ ความเหมาะสมกับวยัของผูเรียนแลวนําไปใหผูเชี่ยวดานเนื้อหาและวิธีสอนตรวจสอบ ความถูกตอง ความเที่ยงตรง ความสอดคลองและการใชภาษา 3 ทาน คือ 1. นายไชยชาญ ทรัพยมาก ครูชํานาญการพิเศษ สาขาคอมพิวเตอร โรงเรียนวิเศษชัยชาญ “ตันตวิิทยาภูม”ิ สํานักงานเขตพื้นที่การศึกษาอางทอง 2. นายววิัฒนชัย ชุตินธรารักษ ศึกษานิเทศกชํานาญการ สํานักงานเขตพื้นที่การศึกษาบุรีรัมย เขต 1 3. นายเรืองยศ ลอธีรพันธุ ครูชํานาญการพิเศษ สาขาคอมพิวเตอร โรงเรียนอนุบาลบุรีรัมย สํานักงานเขตพื้นที่การศึกษาบุรีรัมย เขต 1 โดยกําหนดเกณฑการใหคะแนน ดังนี ้ +1 แนใจวาผลการเรียนรูทีค่าดหวังนี้ ตรงกับกิจกรรมและเนื้อหาที่สอน 0 ไมแนใจวาผลการเรียนรูที่คาดหวังนี้ตรงกับกิจกรรมและเนื้อหาที่สอน -1 แนใจวาผลการเรียนรูทีค่าดหวังนี้ไมตรงกับกิจกรรมและเนื้อหาทีส่อน ผลการประเมินดัชนีความสอดคลองระหวาง ผลการเรียนรูที่คาดหวัง กิจกรรมและเนื้อหาที่สอน (IOC) ของผูเชี่ยวชาญดานเนื้อหามีคะแนนเฉลี่ยเทากับ 1.00 หมายความวา บทเรียนมีความเที่ยงตรงเชิงเนื้อหา นัน่คือ เนื้อหา กิจกรรม และผลการเรียนรูที่คาดหวัง มีความสัมพันธกนั

Page 36: รายงานวิจัยบทที่ 1 5

36

สวนขั้นตอนกระบวนการเรยีนการสอนผูเชี่ยวชาญที่ 3 ทาน ไดใหขอเสนอแนะ ขอบกพรองตาง ๆ ผูวิจัยไดนํามาปรับปรุงแกไข เพื่อใหการเรียนการสอนบรรลุจุดมุงหมาย 1.5 ศึกษาการสรางบทเรียนออนไลน โดยใชโปรแกรม Microsoft FrontPage 2003, Macromedia captivate, Namo Freemotion และใชประสบการณการเขยีนบทเรียนคอมพิวเตอร ชวยสอนและประสบการณในการเขยีนเวบ็ไซต นํามาวางแผน เพื่อสรางภาพจําลองใหนักเรยีนเขาใจบทเรียน และทําโครงรางบทเรียนงาย ๆ 1.6 เขียนสคริปของบทเรียน (Storyboard) โดยกําหนดการนําเสนอบนจอภาพ การอธิบายการใชภาษา รูปภาพ และการตอบสนองผูเรียน 1.7 สรางบทเรียนออนไลน เร่ือง การเขียนเว็บไซตดวยโปรแกรม Microsoft FrontPage 2003 โดยใชโปรแกรม Microsoft FrontPage 2003 ในการทาํเว็บไซต ใชโปรแกรม Macromedia captivate ในการสรางบทเรียนมัลติมีเดีย ใชโปรแกรม Namo Freemotion 2006 ใน การสรางภาพเคลื่อนไหวและบทเรียนออนไลน ตลอดจนใชโปรแกรม Adobe Photoshop CS2 ตกแตงภาพในบทเรียน ตามผลการเรียนรูที่คาดหวังที่ตัง้ไว ตามกจิกรรม เนื้อหา แบบทดสอบระหวางเรียน กิจกรรม และแบบทดสอบกอนเรียน-หลังเรียนที่กําหนดไว โดยใชแนวทางจากเอกสารตําราตาง ๆ และจากประสบการณการสอนของผูวิจัยเอง 1.8 นําบทเรียนออนไลน ทีส่รางขึ้นไวที ่Server ของสํานักงานคณะกรรมการศึกษา ขั้นพื้นฐาน ที่ URL http://school.obec.go.th/sensiri และใหผูเชี่ยวชาญดานการสอนวชิาคอมพิวเตอรดานสื่อการเรียนการสอนและผูเชี่ยวชาญ ดานโปรแกรมคอมพิวเตอร 3 ทาน คือ (ผูเชี่ยวชาญเดยีวกันกับขอ 1.4 ) ประเมนิดวยแบบประเมินบทเรยีนคอมพิวเตอรชวยสอน ซ่ึงเปนแบบประเมินบทเรียนคอมพิวเตอรชวยสอนของ สมศักดิ์ จีวัฒนา (2546 : 165 - 166) แบบประเมินเปนแบบมาตราสวนประมาณคา (Rating Scale) ซ่ึงกําหนดการตัดสินคุณภาพเปน 5 ระดับ ดังนี ้ ระดับ 5 หมายถึง ดมีาก ระดับ 4 หมายถึง ดี ระดับ 3 หมายถึง พอใช ระดับ 2 หมายถึง ควรปรับปรุง ระดับ 1 หมายถึง ไมเหมาะสม และมีเกณฑประเมิน ดังนี้

Page 37: รายงานวิจัยบทที่ 1 5

37

คาเฉลี่ย สรุปการประเมิน 4.50 - 5.00 ดีมาก 3.50 – 4.49 ดี 2.50 – 3.49 พอใช 1.50 – 2.49 ควรปรับปรุง 1.00 – 1.49 ไมเหมาะสม 1.9 นําบทเรียนออนไลน ทีผ่านการตรวจสอบแกไขจากผูเชี่ยวชาญแลวไปทดลองใชในการเรยีนการสอนเพื่อหาประสิทธิภาพบทเรียนออนไลน ตามขั้นตอน ดังนี ้ 1.9.1 ทดลองครั้งที่ 1 เปนการทดลองแบบหนึ่งตอหนึ่ง (One to One Testing) โดยนําบทเรียนคอมพิวเตอรชวยสอนที่พัฒนาขึ้นไปทดลองกับนักเรยีน ช้ันมัธยมศึกษาปที่ 3 ภาคเรียนที่ 1 ปการศึกษา 2549 โรงเรียนเสนศิริอนุสรณ อําเภอเมืองบุรีรัมย จังหวัดบุรีรัมย ซ่ึงไมเคยเรียน การเขียนเว็บไซตดวยโปรแกรม Microsoft FrontPage 2003 มากอน จาํนวน 3 คน โดยเลือกนกัเรียนที่มีระดับผลการเรียนสูง ปานกลางและต่ํา ระดับละ 1 คน และผูวิจยัไดสังเกตผูเรียนอยางใกลชิดและสัมภาษณการใช เพื่อศึกษาขอบกพรอง ปญหาที่เกิดขึ้นขณะทีน่ักเรียนทํากิจกรรม รวมทั้ง ความเหมาะสมในเรื่องของเวลาเนื้อหาและสื่อการเรียนการสอนพบวา มีขอผิดพลาดบางประการ เชน เนื้อหาสาระยังพิมพผิด การนําเสนอเนื้อยังไมชัดเจนในบางเรื่อง จึงนํามาปรับปรุงแกไขใหม 1.9.2 การทดลองครั้งที่ 2 เปนการทดลองแบบกลุมเล็ก (Small Group Testing) โดยนําบทเรยีนออนไลน ทีไ่ดรับการปรับปรุงจากการทดลองครั้งที่ 1 ไปทดลองกับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปที่ 3 ปการศึกษา 2549 โรงเรียนเสนศิริอนสุรณ อําเภอเมอืงบุรีรัมย จังหวัดบุรีรัมย ซ่ึงไมเคยเรียนการเขียนเว็บไซตดวยโปรแกรม Microsoft FrontPage 2003 มากอนจํานวน 9 คน โดยเลือกนักเรียนที่มีระดับผลการเรียนสูง ปานกลางและต่ํา ระดับละ 3 คน โดยใชชวงเวลาเดียวกันกับ ขอ 1.9.1 ผูวิจัยสังเกตผูเรียนอยางใกลชิด และสัมภาษณการใช เพื่อศึกษาขอบกพรอง ปญหาที่เกิดขึ้น ขณะทีน่ักเรียนทํากิจกรรมรวมทั้งความเหมาะสมในเรื่องของเวลาเนื้อหาและสื่อการเรียนการสอน ขนาดตัวอักษรยังไมเหมาะสมในบางจุด จึงแกไขตัวอักษรใหม พรอมทั้งปรับเปลี่ยนกราฟก เสียง ภาพเคลื่อนไหว และเพิ่มสีสันใหมในบทเรยีน ทดสอบบทเรียนจนสมบูรณ หลังจากนัน้ไดนําบทเรยีนที่แกไขแลวไปใหผูเชี่ยวชาญทั้ง 3 ทานประเมินใหม ผลการประเมินบทเรียนออนไลนที่พัฒนาขึ้น ของผูเชี่ยวชาญดานสื่อการเรียนการสอนและดานโปรแกรมคอมพิวเตอรพบวา มีคะแนนเฉลี่ยเทากับ 4.93 หมายความวา บทเรียนอยูในระดับดีมาก ซ่ึงแสดงใหเหน็วาบทเรยีนออนไลนที่ผูวิจยัสรางขึ้น สามารถนําไปใชเปนสื่อในการเรียนการสอนไดเปนอยางด ี

Page 38: รายงานวิจัยบทที่ 1 5

38

1.9.3 ทดลองภาคสนาม (Field Testing) โดยนําบทเรียนออนไลน ที่ไดรับ การปรับปรุงจากการทดลองครั้งที่ 2 ไปทดลองกับกลุมตัวอยาง ซ่ึงเปนนักเรยีนชัน้มัธยมศึกษา ปที่ 2 ปการศึกษา 2549 โรงเรียนเสนศิริอนสุรณ อําเภอเมอืงบุรีรัมย จังหวัดบุรีรัมย จาํนวน 30 คน เพื่อหาประสิทธิภาพของบทเรียนออนไลน ตามเกณฑที่ตัง้ไว คือ 80% พบวา ประสิทธิภาพของบทเรียนออนไลนที่ผูวิจัยสรางและพัฒนาขึน้มีประสิทธิภาพ 88.64% ซ่ึงสูงกวาเกณฑที่ตั้งไว หลังจากนัน้ไดนําบทเรียนไปเผยแพรอยางหลากหลายในวงวิชาการ เชน ไดจดัทําเปนเอกสารนาํเสนอตอที่ประชุมครูในโรงเรียน จดันิทรรศการแสดงผลงานนักเรยีนประจําปการศึกษาของโรงเรียน นําเสนอในงานสมัมนาวิชาการและเผยแพรงานวิจยัสูชุมชน จัดโดยสํานักงานกองทุนสนับสนุนการวิจยั(สกว.)รวมกับมหาวทิยาลัยราชภัฏบุรีรัมย เมื่อวนัที่ 26 กุมภาพนัธ 2550 ผลปรากฏวาไดรับคํายกยองชมเชย ช่ืนชมจากสํานักงานกองทุนสนบัสนุน การวิจยั(สกว.) วาเปนผลงานทางวิชาการที่แทจริง เปนงานวิจยัที่ดีเยีย่ม นําเสนอไดครบถวน ถูกตอง ชัดเจน จากนัน้ไดนาํไปเผยแพรทางเว็บไซต ที่ URL http://school.obec.go.th/sensiri เพื่อใหผูเรยีน ครู บุคลากรทางการศึกษา การจัดการศึกษา หนวยงานการศึกษา และชมุชน ตลอดจนบุคคลทั่วไป ไดศึกษาและแลกเปลี่ยนเรยีนรูในการพัฒนาการศึกษาตอไป พบวา ผูที่เขามาศึกษาทางเว็บไซตไดแสดงความคิดเหน็ชื่นชม ยกยอง ชมเชยบทเรยีนออนไลนวาเปนผลงานที่ดีและมีประโยชนอยางยิ่งตอการศึกษาไวในสมุดเยี่ยมและเว็บบอรดของเว็บไซตบทเรียนออนไลนที่ URL http://school.obec.go.th/sensiri 2. การสรางแบบทดสอบกอนเรียน-หลังเรียน ผูวิจัยไดดําเนนิการ ดังนี ้ 2.1 ศึกษาและวิเคราะหหลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐาน พทุธศักราช 2544 ในกลุมสาระการเรียนรูการงานพื้นฐานอาชีพและเทคโนโลยี ชวงชั้นที่ 3 ช้ันมัธยมศึกษาปที่ 2 ในเนือ้หาที่เกี่ยวของกับการนําเสนองานดวยเว็บไซต รายละเอียดการใชโปรแกรม Microsoft FrontPage 2003 เพื่อศึกษาลักษณะและขอบขายเนื้อหาวิธีเขยีนเว็บไซตดวยโปรแกรม Microsoft FrontPage 2003 และนําขอมูลมาสรางแบบทดสอบ 2.2 ศึกษาวิธีสรางแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนตามหลกัสูตรการศึกษาขัน้พื้นฐาน พุทธศักราช 2544 2.3 ศึกษาการวัดและประเมินผลการเรียนตามหลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐานพุทธศักราช 2544

Page 39: รายงานวิจัยบทที่ 1 5

39

2.4 จัดสรางแบบทดสอบวดัผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนเปนชนิดเลือกตอบ 4 ตัวเลือก 1 ฉบับ จํานวน 100 ขอ โดยไดรับคําปรึกษาจากผูเชีย่วชาญดานเนื้อหา วิธีสอนและดานการวดัผลประเมินผลในการตั้งขอคําถาม ขอความและตัวลวง 2.5 นําแบบทดสอบที่สรางขึ้นและปรับปรุงแกไขแลวไปใหผูเชีย่วชาญทาง ดานเนื้อหาและการวดัผลประเมินผลตรวจสอบความถูกตอง ความเที่ยงตรงเชิงเนื้อหา ความสอดคลองกับผลการเรียนรูที่คาดหวัง การใชภาษาและหลักการสรางขอสอบที่ดี 3 ทาน (ผูเชี่ยวชาญเดยีวกันกับขอ 1.4 ) โดยกําหนดเกณฑการใหคะแนน ดังนี ้ +1 แนใจวาขอสอบนั้นวัดไดตรงผลการเรียนรูที่คาดหวัง 0 ไมแนใจวาขอสอบนั้นวัดไดตรงผลการเรียนรูที่คาดหวัง -1 แนใจวาขอสอบนั้นวัดไดไมตรงผลการเรียนรูที่คาดหวัง ตามวิธีของโรวิเนลลี (Rovinelli) และแฮมเบิลตัน (R.K. Hambleton) (สมนึก ภัททยิธนี. 2546 : 218 - 220) ถาคาเฉลี่ยของคะแนนการประเมินมากกวาหรือเทากับ 0.5 ถือวาขอสอบนั้นเปนขอสอบที่มีความเที่ยงตรงตามเนื้อหาเพราะวัดไดตรงจุดประสงคที่ตองการจริง ถาคะแนนเฉลี่ยของคะแนนการประเมินนอยกวา 0.5 เปนขอสอบที่ตองตัดทิ้งหรือแกไข เพราะวดัไมไดตรงจดุประสงคที่ตองการ ผลการประเมินดัชนีความสอดคลองระหวางแบบทดสอบกับผลการเรียนรูที่คาดหวังของผูเชี่ยวชาญดานการวดัผลพบวา แบบทดสอบทุกขอมีคะแนนเฉลี่ยเทากับ 1.00 หมายความวา แบบทดสอบมคีวามเที่ยงตรงตามเนื้อหาทกุขอ เพราะวดัผลไดตรงกับผลการเรียนรูที่คาดหวัง 2.6 นําแบบทดสอบไปทดลองใช (Try-out) กับนกัเรียนที่เคยเรยีนเนือ้หานี้มากอนแลว ไดแก นกัเรียนชัน้มัธยมศึกษาปที่ 3 ในภาคเรียนที่ 1 ปการศึกษา 2549 จํานวน 55 คน โรงเรียนเสนศริิอนุสรณ อําเภอเมืองบุรีรัมย จังหวัดบุรีรัมย 2.7 วิเคราะหแบบทดสอบเพื่อหาคาอํานาจจําแนก (B) เปนรายขอ ใชวิธีวิเคราะหขอสอบแบบอิงเกณฑของเบรนแนน (Brennan) (บุญชม ศรีสะอาด. 2543 : 87-89) จากนั้นคัดเลือกขอสอบที่มีคาอํานาจจําแนก ระหวาง 0.20 -1.00 จํานวน 40 ขอ ผลการวิเคราะหไดขอสอบที่มีอํานาจจําแนก (B) อยูระหวาง 0.25 – 0.50 แลวนําแบบทดสอบจํานวน 40 ขอ หาคาความเชื่อมัน่ทั้งฉบับ โดยใชวิธีของโลเวท (Lovett) (สมนึก ภัททยิธนี. 2546 : 230-231) เปนวิธีหาความเชื่อมัน่ของแบบทดสอบอิงเกณฑจากผลการสอบครั้งเดียว ผลการวิเคราะหคาความเชื่อมั่นของแบบทดสอบทั้งฉบับเทากบั 0.87 2.8 นําแบบทดสอบไปจัดพมิพเพื่อใชในการทดลอง

Page 40: รายงานวิจัยบทที่ 1 5

40

3. การสรางแบบสอบถามความคิดเห็นของนักเรียนท่ีมีตอบทเรียนออนไลน แบบสอบถามความคิดเหน็ของนักเรียนที่มีตอบทเรียนออนไลนที่พฒันาขึ้น ปรับปรุงมาจากแบบสอบถามความคิดเห็นของผูเรียนของแวววล ี สิริวรจรรยาดี (2548 : 181-182) แบบสอบถามเปนแบบมาตราสวนประมาณคา (Rating Scale) จํานวน 18 ขอ โดยมีความหมายของระดับความคดิเห็น ดังนี ้ ระดับ 5 หมายถึง เห็นดวยอยางยิ่ง ระดับ 4 หมายถึง เห็นดวยมาก ระดับ 3 หมายถึง เห็นดวยปานกลาง ระดับ 2 หมายถึง เห็นดวยนอย ระดับ 1 หมายถึง เห็นดวยนอยอยางยิ่ง และมีเกณฑ การประเมินดังนี้ คาเฉลี่ย สรุปความคิดเห็น 4.50 – 5.00 เห็นดวยอยางยิ่ง 3.50 – 4.49 เห็นดวยมาก 2.50 – 3.49 เห็นดวยปานกลาง 1.50 – 2.49 เห็นดวยนอย 1.00 – 1.49 เห็นดวยนอยอยางยิ่ง

การเก็บรวบรวมขอมูล

การวิจยัคร้ังนี้ เปนการวจิัยเชงิทดลอง (Experimental Research) โดยผูวจิัยดําเนินการเก็บรวบรวมขอมลูดวยตนเอง ขัน้ตอนการดําเนินงาน ดังนี ้ 1. ทดสอบวัดผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนกอนการเรียนของนักเรียนกลุมตัวอยาง โดยทดสอบจากบทเรียนออนไลน ใชเวลา 1 ช่ัวโมง เพื่อตรวจสอบความรูพื้นฐานของนักเรียน และนักเรียนทราบผลการทดสอบทันทีที่สอบเสร็จ 2. ดําเนินการสอนนักเรียนใชบทเรียนออนไลนที่ URL http://school.obec.go.th/sensiri ในภาคเรยีนที่ 2 ปการศึกษา 2549 3. หลังจากสิน้สุดการสอน ทําการทดสอบหลังเรียนทนัทีโดยใชแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนหลังเรียนในบทเรยีนออนไลนซ่ึงเปนแบบทดสอบชุดเดียวกนักบัแบบทดสอบกอนเรียน ตรวจคะแนนโดยโปรแกรมคอมพิวเตอรในบทเรียน ขอที่ตอบถูกให 1 คะแนน และขอที่ตอบผิดให 0 คะแนน นักเรียนทราบผลการทดสอบทันทีที่สอบเสร็จ 4. นักเรียนที่เปนกลุมตัวอยาง ตอบแบบสอบถามความคิดเห็นที่มีตอบทเรียนออนไลน

Page 41: รายงานวิจัยบทที่ 1 5

41

การวิเคราะหขอมูล การวิเคราะหขอมูลในการวจิยัคร้ังนี้ มีรายละเอียด ดังนี ้ 1. การวิเคราะหขอมูลเพื่อหาคุณภาพของแบบทดสอบวดัผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปที่ 2 มีขั้นตอน ดังนี้ 1.1 หาคาความเที่ยงตรงเชงิเนื้อหา โดยใชสูตร ดัชนีความสอดคลองระหวางแบบทดสอบกบัจุดประสงค โดยหาคาเฉลีย่การประเมนิของผูเชี่ยวชาญทั้งหมด ตามวิธีของ โรวิเนลลี(Rovinelli) และแฮมเบิลตัน(Hambleton) (สมนึก ภัททยิธน.ี 2546 : 218 - 220) ถาคาเฉลี่ย ของคะแนนการประเมินมากกวาหรือเทากับ 0.5 ถือวาขอสอบนั้นเปนขอสอบที่มีความเที่ยงตรงตามเนื้อหาเพราะวัดไดตรงจุดประสงคทีต่องการจริง ถาคะแนนเฉลี่ยของคะแนน การประเมิน นอยกวา 0.5 เปนขอสอบที่ตองตัดทิ้งหรือแกไข เพราะวดัไมไดตรงจุดประสงคที่ตองการ ผลการประเมินดัชนีความสอดคลองระหวางแบบทดสอบกับผลการเรียนรูที่คาดหวังของผูเชี่ยวชาญดานการวดัผลพบวา แบบทดสอบทุกขอมีคะแนนเฉลี่ยเทากับ 1.00 หมายความวา แบบทดสอบมคีวามเที่ยงตรงตามเนื้อหาทกุขอ เพราะวดัผลไดตรงกับผลการเรียนรูที่คาดหวัง 1.2 วิเคราะหคาอํานาจจําแนก (B) เปนรายขอ ใชวิธีวิเคราะหขอสอบแบบอิงเกณฑของ เบรนแนน (Brennan) (บุญชม ศรีสะอาด. 2543 : 87-89) จากนัน้คัดเลือกขอสอบที่มีคาอํานาจจําแนกระหวาง 0.20 -1.00 จํานวน 40 ขอ ผลการวิเคราะหไดขอสอบที่มีอํานาจจําแนก (B) ตั้งแต 0.25 ถึง 0.50 1.3 หาคาความเชื่อมั่นทั้งฉบับ โดยใชวิธีของโลเวท (Lovett) (สมนึก ภัททิยธนี. 2546 : 230 - 231) เปนวิธีหาความเชื่อมั่นของแบบทดสอบอิงเกณฑจากผลการสอบครั้งเดียว ผลการวิเคราะหคาความเชื่อมั่นของแบบทดสอบทั้งฉบับเทากับ 0.87 2. การวิเคราะหขอมูลเพื่อหาประสิทธิภาพของบทเรียนออนไลน 2.1 หาคาสถิติพื้นฐาน ไดแก คาเฉลี่ย คารอยละ และสวนเบีย่งเบนมาตรฐานของคะแนนที่ไดจากการทําแบบทดสอบในบทเรียนออนไลนในแตละตอน คะแนนผลสัมฤทธิ์ทาง การเรียนหลังเรียน และคะแนนประเมนิบทเรียนบทเรียนออนไลนของผูเชี่ยวชาญ 2.2 หาประสิทธิภาพของบทเรียนบทเรียนออนไลนตามสูตร KW-CAI ของ กฤษมันต วัฒนาณรงค (2538 : 12-13) โดยพิจารณาจากคาเฉลี่ยของคาเฉลี่ยอัตราสวนของคะแนนแบบฝกหัดกับคาเฉลี่ยอัตราสวนของคะแนนแบบทดสอบหลังเรียนคดิเปนรอยละ(Percentage) คาเฉลี่ยที่ไดไมต่ํากวา 80% ถือวาบทเรียนมีประสิทธิภาพสามารถนําไปใชในการเรียนการสอนได

Page 42: รายงานวิจัยบทที่ 1 5

42

3. การศึกษาและเปรียบเทยีบผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนของนักเรียนชั้นมธัยมศึกษาปที่ 2 กลุมตัวอยางกอนและหลังใชบทเรียนออนไลน โดยใชคาเฉลี่ยและคาความเบี่ยงเบนมาตรฐาน แลวเปรียบเทียบความแตกตางของคาเฉลี่ยโดยใชสถิติทดสอบที (t-test แบบ Dependent Samples Test) 4. การวิเคราะหความคิดเห็นของนักเรียนทีม่ีตอบทเรียนออนไลน โดยหาคาเฉลี่ย คารอยละ และสวนเบีย่งเบนมาตรฐานของระดับความคดิเห็นของนักเรียน

สถิติที่ใชในการวิเคราะหขอมูล ขอมูลที่นํามาวิเคราะห ผูวิจยัทําการวเิคราะหดวยโปรแกรมสําเร็จรูป SPSS for Windows V.12 1. การหาคุณภาพของแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน ใชสถิติดังนี ้ 1.1 การหาคาความเที่ยงตรงตามเนื้อหาของแบบทดสอบแตละขอ โดยใชสูตร IOC เปนคาดัชนีความสอดคลองระหวางขอสอบกับจุดประสงคเชิงพฤติกรรมตามวิธีของโรวิเนลลี (Rovinelli) และแฮมเบิลตัน (Hambleton) (สมนึก ภัททยิธนี. 2546 : 218 - 220) สูตรหาคาดัชนีความสอดคลอง

IOC = N

R∑

IOC = ดัชนีความสอดคลองระหวางจุดประสงคกบัเนื้อหา หรือระหวางขอสอบกับจุดประสงค เมื่อ = ผลรวมคะแนนความคิดเห็นของผูเชี่ยวชาญทั้งหมด R∑

= จํานวนผูเชี่ยวชาญทั้งหมด Ν

1.2 การหาคาอํานาจจําแนก (Discrimination) ใชวิธีของเบรนแนน (Brennan) (บุญชม ศรีสะอาด. 2543 : 87-89) สูตรหาคาอํานาจจําแนก

nL

nUB

21

−=

Page 43: รายงานวิจัยบทที่ 1 5

43

เมื่อ B แทน คาอํานาจจําแนก U แทน จํานวนคนรอบรูหรือสอบผานเกณฑที่ตอบถูก L แทน จํานวนคนไมรอบรูหรือสอบไมผานเกณฑที่ตอบถูก n แทน จํานวนคนรอบรูหรือสอบผานเกณฑ 1

n แทน จํานวนคนไมรอบรูหรือสอบไมผานเกณฑ 2

1.3 การหาคาความเชื่อมั่น (Reliability) ของแบบทดสอบ ใชวิธีของโลเวท (Lovett) (สมนึก ภัททยิธนี. 2546 : 230 - 231) สูตรหาคาความเชื่อมั่น

rcc = C)(Xi1)(k

XXik1 22i

−−−−

∑∑

เมื่อ rcc แทน ความเชื่อมั่นของแบบทดสอบอิงเกณฑ k แทน จํานวนขอสอบของแบบทดสอบทั้งฉบับ Xi แทน คะแนนสอบของนักเรียนแตละคน C แทน คะแนนจุดตดั (C = 28)

2. การหาประสิทธิภาพของบทเรียนออนไลน ใชสถิติดังนี้ 2.1 สถิติพื้นฐาน 2.1.1 คารอยละ (Percentage)

100×Ν

=Ρf

เมื่อ แทน รอยละ P

แทน ความถี่ที่ตองการแปลงใหเปนรอยละ f

แทน จํานวนความถีท่ั้งหมด N

2.1.2 คาเฉลี่ย (Mean)

ΝΧ∑

=X

Page 44: รายงานวิจัยบทที่ 1 5

44

เมื่อ X แทน คาเฉลี่ย

ΣX แทน ผลรวมของคะแนนทั้งหมดในกลุม

N แทน จํานวนนักเรียนทั้งหมด

2.1.3 สวนเบีย่งเบนมาตรฐาน (Standard Deviation) (สมนึก ภัททยิธนี. 2546 : 250)

( )

)1N(NXXN

S22

−= ∑ ∑

เมื่อ S แทน คาความเบี่ยงเบนมาตรฐาน X แทน คะแนนของแตละคน แทน จํานวนคนทั้งหมด N

Σ แทน ผลรวมของคะแนน X

2.2 สถิติการหาประสิทธิภาพของบทเรียนออนไลน ใช สูตรการหาประสิทธิภาพ KW-CAI (กฤษมันต วฒันาณรงค. 2538 : 12 - 13) ดังนี้ สูตร KW-CAI

1002

bEaECAI ×+

=−Ε

เมื่อ แทน ประสิทธิภาพของบทเรียนออนไลน

CAI−Ε

aΕ แทน คาเฉลี่ยอัตราสวนของคะแนนแบบฝกหดั(คาจากสูตร KW-A) bΕ แทน คาเฉลี่ยอัตราสวนของคะแนนแบบทดสอบ(คาจากสูตร KW-B)

สูตร KW-A

Page 45: รายงานวิจัยบทที่ 1 5

45

( )NAX

a i

n

1i∑

=Ε =

aΕ แทน คาเฉลี่ยอัตราสวนของคะแนนแบบฝกหดั X แทน คะแนนที่ไดจากการทําแบบฝกหัด A แทน คะแนนเต็มของแบบฝกหัด N แทน จํานวนผูเรียน สูตร KW-B

( )

NBX

i

n

1ib∑==Ε

bΕ แทน คาเฉลี่ยอัตราสวนของคะแนนแบบทดสอบ X แทน คะแนนที่ไดจากการทําแบบทดสอบ B แทน คะแนนเต็มของแบบทดสอบ N แทน จํานวนผูเรียน

เกณฑการประเมินคาของบทเรียนออนไลน ตามสูตร KW-CAI มีหนวยเปนรอยละ แทนคาในการแปลความหมายของประสิทธิภาพบทเรียน ดังนี ้ รอยละ 95 – 100 หมายถึง บทเรียนมีประสิทธิภาพดีมาก รอยละ 90 – 94 หมายถึง บทเรียนมีประสิทธิภาพด ี รอยละ 80 – 89 หมายถึง บทเรียนมีประสิทธิภาพพอใช ต่ํากวารอยละ 80 หมายถึง บทเรียนนี้ควรปรับปรุงแกไข

3. สถิติที่ใชทดสอบสมมติฐาน ใชคาสถิติทดสอบที แบบ Dependent Samples Test (บุญชม ศรีสะอาด. 2543 : 109)

( )1N

N

D t

22

−=

∑ ∑∑

DD ; df = N-1

Page 46: รายงานวิจัยบทที่ 1 5

46

เมื่อ t แทน คาสถิติที่ใชเปรียบเทียบกับคาวิกฤต เพื่อทราบความมีนัยสําคัญ D แทน คาผลตางระหวางคูคะแนน N แทน จํานวนคูของคะแนนหรือจํานวนกลุมตัวอยาง

คํานวณดวยโปรแกรมสําเร็จรูป SPSS for Windows V.12 โดยใชคําส่ัง Analyze / Compare Means / Paired-Samples T Test

4. สถิติที่ใชในการวิเคราะหแบบสอบถามความคิดเหน็ของนักเรียนทีม่ีตอบทเรียนคอมพิวเตอรชวยสอน มีดังนี้ 4.1 รอยละ (Percentage) 4.2 คาเฉลี่ย (Mean) 4.3 สวนเบี่ยงเบนมาตรฐาน (Standard Deviation)

Page 47: รายงานวิจัยบทที่ 1 5

47

บทที่ 4

ผลการวิเคราะหขอมลู

การวิจยัในครัง้นี้ เปนการวจิัยเชิงทดลอง เร่ืองการเขียนเว็บไซตดวยโปรแกรม Microsoft FrontPage 2003 ของนักเรียนชัน้มัธยมศึกษาปที่ 2 โดยใชบทเรียนออนไลนสอนผานระบบเครือขายอินเทอรเน็ต ปรากฏผลการวิเคราะหขอมูลที่จะนํามาเสนอตามลําดับหัวขอตอไปนี้

1. สัญลักษณที่ใชในการวิเคราะหขอมูล 2. การวิเคราะหขอมูล 3. ผลการวิเคราะหขอมูล

สัญลักษณที่ใชในการวิเคราะหขอมูล X แทน คาเฉลี่ย N แทน จํานวนนักเรียน แทน คาความเบี่ยงเบนมาตรฐาน S

aΕ แทน คาเฉลี่ยอัตราสวนของคะแนนแบบฝกหัด bΕ แทน คาเฉลี่ยอัตราสวนของคะแนนแบบทดสอบ A แทน คะแนนเต็มของแบบฝกหัด B แทน คะแนนเต็มของแบบทดสอบ t แทน คาสถิติที่ใชเปรียบเทียบกับคาวิกฤต เพื่อทราบความมีนัยสําคัญ ** แทน มีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ .01

การวิเคราะหขอมูล ในการวิจัยคร้ังนี้ ผูวิจัยไดนําเสนอผลการวิเคราะหขอมูลตามลําดับขั้น ดังนี้ ตอนที่ 1 การหาประสิทธิภาพของบทเรียนออนไลน ตามเกณฑ 80% ตอนที่ 2 การเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนกอนเรียนและหลังเรียนของนักเรยีน ช้ันมัธยมศึกษาปที่ 2 ที่ไดรับการสอนโดยใชบทเรียนออนไลน ตอนที่ 3 การวิเคราะหความคิดเห็นของนักเรียนที่มีตอบทเรียนออนไลน

Page 48: รายงานวิจัยบทที่ 1 5

48

ผลการวิเคราะหขอมูล ตอนที่ 1 การหาประสิทธิภาพของบทเรียนออนไลน ผูวิจัยไดทดลองภาคสนามกบันักเรียนที่เปนกลุมตัวอยาง จํานวน 30 คน ภาคเรียนที่ 2 ปการศึกษา 2549 ไดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน แลวนํามาหาคาประสิทธิภาพตามลําดบั ดังแสดงในตาราง 1 - 3

ตาราง 1 คาเฉลี่ยอัตราสวนของคะแนนแบบฝกหัดบทเรียนออนไลน ( aΕ )

คะแนนแบบฝกหัด (A = 105 คะแนน)

จํานวนนักเรียน (N)

คะแนนรวม

(ΣX) รอยละ

ΑΣΧ

90 91 92 93 94 95 96 97 99 100 101 102

1 2 4 5 2 1 6 2 2 1 2 2

90 182 368 465 188 95 576 194 198 100 202 204

3.33 6.67 13.33 16.67 6.67 3.33 20.00 6.67 6.67 3.33 6.67 6.67

0.86 1.73 3.50 4.43 1.79 0.90 5.49 1.85 1.89 0.95 1.92 1.94

รวม 30 2862 100 27.257

คะแนนเฉลี่ย 95.40 90.86 0.9086

จากตาราง 1 พบวาคาเฉลี่ยของคะแนนแบบฝกหัด ( X ) เทากับ 95.40 จากคะแนนเต็ม 105 คะแนน คิดเปนรอยละ 90.86 และคาเฉลี่ยอัตราสวนของคะแนนแบบฝกหดั ( aΕ ) เทากับ 0.9086

Page 49: รายงานวิจัยบทที่ 1 5

49

ตาราง 2 คาเฉลี่ยอัตราสวนของคะแนนแบบทดสอบบทเรียนออนไลน ( bΕ )

คะแนนแบบทดสอบ (B = 40 คะแนน)

จํานวนนักเรียน (N)

คะแนนรวม

(ΣX) รอยละ

ΒΣΧ

32 33 34 35 36 37 38

3 6 4 10 3 3 1

96 198 136 350 108 111 38

10.00 20.00 13.34 33.33 10.00 10.00 3.33

2.40 4.95 3.40 8.75 2.70 2.775 0.95

รวม 30 1037 100 25.925

คะแนนเฉลี่ย 34.57 86.42 0.8642

จากตาราง 2 พบวาคาเฉลี่ยของคะแนนแบบทดสอบ ( X ) เทากับ 34.57 จากคะแนนเต็ม 40 คะแนน คิดเปนรอยละ 86.42 และคาเฉลี่ยอัตราสวนของคะแนนแบบทดสอบ ( bΕ ) เทากับ 0.8642

ตาราง 3 คาประสิทธิภาพของบทเรียนออนไลน ( CAI−Ε )

คะแนนแบบฝกหัด (105 คะแนน)

คะแนนแบบทดสอบ (40 คะแนน) จํานวนนักเรียน

X S aΕ X S bΕ

ประสิทธิภาพ

CAI−Ε

30 95.40 3.47 0.9086 34.57 1.59 0.8642 88.64

Page 50: รายงานวิจัยบทที่ 1 5

50

จากตาราง 3 พบวาประสิทธิภาพของบทเรียนออนไลนที่พัฒนาขึ้นมคีาเทากับ 88.64 หมายความวา บทเรียนออนไลนทําใหผูเรยีนเกดิกระบวนการเรียนรูและสามารถเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมของผูเรียนที่ไดเรียนดวยบทเรียนออนไลน เฉลี่ยรอยละ 88.64

ตอนที่ 2 การเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักเรียน ชั้นมธัยมศึกษาปท่ี 2 ท่ีไดรับการสอนโดยใชบทเรียนออนไลน ในการศึกษาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักเรียน ผูวิจยัไดสรางบทเรียนออนไลนแลวนําไปทดลองใชกับนักเรยีน ช้ันมัธยมศึกษาปที่ 2 โรงเรียนเสนศิริอนุสรณ ภาคเรียนที่ 2 ปการศึกษา 2549 แลวนําขอมูลมาวิเคราะห ดังแสดงในตาราง 4

ตาราง 4 การเปรียบเทียบคะแนนเฉลี่ยและคาสวนเบี่ยงเบนมาตรฐานของผลการทดสอบ กอนเรียนและหลังเรียนของกลุมทดลอง

กอนเรียน หลังเรียน กลุม N

X S X S t-test

ทดลอง 30 19.83 4.07 34.57 1.59 28.059**

** มีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ .01

จากตาราง 4 พบวานกัเรียนทั้งกลุมทดลอง มีคะแนนเฉลี่ยหลังเรียนสูงกวาคะแนนเฉลี่ยกอนเรียน อยางมีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ .01

ตอนที่ 3 การวิเคราะหความคิดเห็นของผูเรียนท่ีมีตอบทเรียนออนไลน แบบสอบถามความคิดเหน็ของผูเรียนที่มีตอบทเรียนออนไลน แบงเปน 2 ตอน ผลการวิเคราะหแสดงในตาราง 5 และตาราง 6

Page 51: รายงานวิจัยบทที่ 1 5

51

ตาราง 5 ขอมูลทั่วไปของผูเรียน และสัดสวนการใชคอมพิวเตอร

รายการ รอยละ 1. เพศ 1.1 ชาย (10 คน) 1.2 หญิง (20 คน)

33.33 66.67

รวม 100.00 2. อายุ 2.1 14 – 15 ป 2.2 16 ป ขึ้นไป

100 0.00

รวม 100.00 3. การใชคอมพิวเตอร 3.1 เคยใช 3.2 ไมเคยใช

100 0.00

รวม 100.00 4. มีคอมพิวเตอรใชที่บาน 4.1 มี (7 คน) 4.2 ไมมี (23 คน)

23.33 76.67

รวม 100.00 5. การเรียนดวยบทเรียนออนไลน 5.1 เคยเรียน 5.2 ไมเคยเรียน

100 0.00

รวม 100.00

จากตาราง 5 พบวาขอมูลทั่วไปของผูเรียนซึ่งเปนกลุมทดลอง จํานวนนักเรยีนชาย 10 คน (รอยละ 33.33) และจํานวนนักเรียนหญิง 20 คน (รอยละ 66.67) มีอายุระหวาง 14 – 15 ป (รอยละ 100) ผูเรียนทุกคนเคยใชคอมพวิเตอรมากอน (รอยละ 100) ผูเรียนมีคอมพิวเตอรใชที่บาน รอยละ 23.33 ไมมีคอมพิวเตอรใชที่บาน รอยละ 76.67 ผูเรียนทุกคนเคยเรียนดวยบทเรียนออนไลนมากอน (รอยละ 100)

Page 52: รายงานวิจัยบทที่ 1 5

52

ตาราง 6 การวิเคราะหความคิดเห็นของผูเรียนที่มีตอบทเรียนออนไลน

ระดับความคิดเห็น รายการ X S แปลความหมาย

ลําดับ ท่ี

1. ผูเรียนมีความเขาใจในเนื้อหาวิชาจากบทเรียนออนไลน 2. บทเรียนออนไลนเราความสนใจของผูเรียนไดดี 3. บทเรียนออนไลนสรางบรรยากาศใหมในการเรียนวิชาคอมพิวเตอร

4. บทเรียนออนไลนทําใหผูเรียนเขาใจการเขียนเว็บไซต มากยิ่งขึ้น

5. บทเรียนออนไลนชวยใหผูเรียนสนุกสนานและตื่นเตน 6. บทเรียนออนไลนทําใหผูเรียนเรียนไดเร็วขึ้น 7. บทเรียนออนไลนทําใหผูเรียนเรียนรูไดดวยตนเอง 8. ภาษาที่ใชในบทเรียนออนไลนเขาใจงาย 9. ตัวอยางในบทเรียน มีความเหมาะสม ชัดเจน เขาใจงาย 10.บทเรียนออนไลนทําใหผูเรียนอยากเรียนคอมพิวเตอร

มากยิ่งขึ้น 11.บทเรียนออนไลนทําใหผูเรียนไดเรียนตามความสนใจ 12.บทเรียนออนไลนทําใหผูเรียนไดเรียนตามความสามารถ 13.เมื่อทําแบบทดสอบเสร็จผูเรียนรูคะแนนทันที 14.ผูเรียนใชบทเรียนออนไลนไดงายและสะดวก 15.บทเรียนออนไลนชวยใหผูเรียนเรียนคอมพิวเตอรอยาง มีความสุข 16.บทเรียนออนไลนทําใหผูเรียนไดเรียนรู โดยไมจํากัดเวลา และสถานที่ 17.ผูเรียนตองการบทเรียนออนไลนวิชาคอมพิวเตอรในเรื่องอื่นๆ ดวย 18.ผูเรียนตองการบทเรียนออนไลนในวิชาอื่นๆ ดวย

4.03 4.00

4.37

4.20 4.20 4.20 4.43 3.83 3.93

4.43 4.20 4.33 4.60 4.23

4.20

4.30

4.33 4.60

0.71 0.69

0.61

0.71 0.75 0.66 0.72 0.64 0.78

0.72 0.66 0.71 0.56 0.77

0.66

0.79

0.84 0.56

เห็นดวยมาก เห็นดวยมาก

เห็นดวยมาก

เห็นดวยมาก เห็นดวยมาก เห็นดวยมาก เห็นดวยมาก เห็นดวยมาก เห็นดวยมาก

เห็นดวยมาก เห็นดวยมาก เห็นดวยมาก

เห็นดวยอยางยิ่ง เห็นดวยมาก

เห็นดวยมาก

เห็นดวยมาก

เห็นดวยมาก

เห็นดวยอยางยิ่ง

15 16

5

10 10 10 3 18 17

3 10 6 1 9

10

8

6 1

เฉลีย่ 4.24 0.70 เห็นดวยมาก

Page 53: รายงานวิจัยบทที่ 1 5

53

จากตาราง 6 พบวานกัเรียนกลุมทดลองมีความคิดเหน็ทีด่ีตอบทเรียนออนไลนอยูในระดับเหน็ดวยมากถึงระดับเห็นดวยอยางยิง่และมีความคดิเห็นโดยเฉลีย่อยูในระดบัเห็นดวยมาก ( X = 4.24, S = 0.70) ขอที่มีคาเฉลี่ยสูงสุด 3 อันดับแรก คือ ขอ 13 “เมื่อทําแบบทดสอบเสร็จผูเรียนรูคะแนนทันที( X = 4.60)” ขอ 18 “ผูเรียนตองการบทเรียนออนไลนในวิชาอ่ืนๆ ดวย ( X = 4.60)” ขอ 7 “บทเรียนออนไลนทําใหผูเรียนเรียนรูไดดวยตนเอง( X = 4.25)” ขอ 10 “บทเรียนออนไลนทําใหผูเรยีนอยากเรียนคอมพิวเตอรมากยิ่งขึ้น( X = 4.43)” ขอ 10 “บทเรียนออนไลนสรางบรรยากาศใหมในการเรยีนวิชาคอมพิวเตอร ( X = 4.37)” สวนขอท่ีมีคาเฉลี่ยต่ําสุด คือ ขอ 8 “ภาษาที่ใชในบทเรียนออนไลนเขาใจงาย ( X = 3.83)”

Page 54: รายงานวิจัยบทที่ 1 5

54

บทที่ 5 สรุป อภิปรายผลและขอเสนอแนะ

การศึกษาวิจยันี้เปนการวิจยัเชิงทดลอง เร่ืองการเขียนเว็บไซตดวยโปรแกรม Microsoft FrontPage 2003 โดยใชบทเรียนออนไลน เรียนผานระบบเครือขายอินเทอรเน็ต ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปที่ 2 โรงเรียนเสนศิริอนุสรณ อําเภอเมืองบรีุรัมย จังหวัดบุรีรัมย ผูวิจัยจะสรุปผลและ มีขอเสนอแนะตามลําดับดังนี้

1. ความมุงหมายของการวิจยั 2. สมมติฐานของการวิจยั 3. วิธีดําเนนิการวิจัย 4. สรุปผลการวิจัย 5. อภิรายผลการวิจัย 6. ขอเสนอแนะ

ความมุงหมายของการวิจัย 1. เพื่อพัฒนาบทเรียนออนไลน เร่ือง การเขียนเว็บไซตดวยโปรแกรม Microsoft FrontPage 2003 ใหมีประสิทธิภาพตามเกณฑ 80% 2. เพื่อเปรียบเทียบผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนของนักเรียนกอนเรียนและหลังเรียน 3. เพื่อศึกษาความคิดเห็นของนักเรียนที่มีตอการเรียนโดยใชบทเรียนออนไลน

สมมติฐานการวิจัย

1. บทเรียนออนไลน มีประสิทธิภาพตามเกณฑ 80% 2. ผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนของนักเรียนหลังเรียนสูงกวากอนเรียน 3. นักเรียนมีความคิดเห็นที่ดีตอบทเรียนออนไลนอยูในระดับมาก

วิธีดําเนินการวิจัย 1. ประชากรและกลุมตัวอยาง ประชากร ไดแก นักเรยีนชั้นมัธยมศึกษาปที่ 2 โรงเรียนเสนศิริอนสุรณ อําเภอเมืองบุรีรัมย จังหวัดบรีุรัมย จํานวน 3 หองเรียน ปการศึกษา 2549 จํานวน 90 คน

Page 55: รายงานวิจัยบทที่ 1 5

55

กลุมตัวอยาง ไดแก นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปที่ 2/1 โรงเรียนเสนศริิอนุสรณ อําเภอเมืองบุรีรัมย จังหวัดบรีุรัมย ปการศึกษา 2549 จํานวน 30 คน ไดมาโดยการสุมอยางงายในการเลือกหองที่จะใชในการทดลองสอน 2. เคร่ืองมือในการวิจัย เครื่องมือที่ใชในการวิจยัในครั้งนี้ ประกอบดวย 1. บทเรียนออนไลนเรื่องการเขียนเว็บไซตดวยโปรแกรม Microsoft FrontPage 2003 2. แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน 3. แบบสอบถามความคิดเห็นของนักเรียนที่มีตอบทเรียนออนไลน 3. การเก็บรวบรวมขอมูล ผูวิจัยดําเนินการเก็บรวบรวมขอมูล ตามขั้นตอน ดังนี้ 1. ทดสอบกอนเรียนกับนกัเรียนกลุมทดลอง โดยใชแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนในบทเรียนออนไลน 2. ดําเนินการสอนกลุมทดลอง โดยใชบทเรียนออนไลน 3. ทดสอบหลังเรียนกับนกัเรียนกลุมทดลอง โดยใชแบบทดสอบชุดเดียวกันกับแบบทดสอบกอนเรียนในบทเรียนออนไลน 4. นักเรียนกลุมทดลองตอบแบบสอบถามความคิดเหน็ที่มีตอบทเรียนออนไลน 4. การวิเคราะหขอมูลและสถิติท่ีใชในการวิเคราะหขอมูล การวิเคราะหขอมูลในการวิจัยคร้ังนี้ มรีายละเอียด ดงันี้ 1. การหาคณุภาพของแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน โดยใชสถิติ คาความเที่ยงตรงเชิงเนื้อหา (IOC), คาอํานาจจําแนก (B) และคาความเชื่อมั่น (rcc) 2. การหาประสิทธิภาพของบทเรียนออนไลน โดยใชสถิติ คาเฉลี่ย ( X ), รอยละ, คาสวนเบี่ยงเบนมาตรฐาน (S) และสูตร KW-CAI 3. การเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักเรียนกลุมทดลองกอนและหลังใชบทเรียนออนไลน โดยใชสถิติ คาเฉลี่ย ( X ), และคาความเบี่ยงเบนมาตรฐาน (S) และทดสอบความแตกตางของคะแนนเฉลี่ย โดยใชสถิติทดสอบที (t-test) แบบ Dependent Samples Test 4. วิเคราะหความคิดเห็นของนักเรียนที่มีตอบทเรียนออนไลน โดยใชสถิติ คาเฉลี่ย และคาความเบี่ยงเบนมาตรฐาน

Page 56: รายงานวิจัยบทที่ 1 5

56

สรุปผลการวิจัย จากการสอนการเขียนเว็บไซตดวยโปรแกรม Microsoft FrontPage 2003 โดยใชบทเรยีนออนไลนผานระบบเครือขายอินเทอรเน็ต ของนักเรียนชัน้มัธยมศึกษาปที่ 2 โรงเรียนเสนศริิอนุสรณ อําเภอเมืองบุรีรัมย จังหวัดบุรีรัมย พบวา 1. บทเรียนออนไลนที่ผูวิจยัสรางขึ้น มีประสิทธิภาพ 88.64%

2. นักเรียนที่เรียนโดยใชบทเรียนออนไลนเร่ืองการเขียนเว็บไซตดวยโปรแกรม Microsoft FrontPage 2003 มีผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนหลังเรียนสูงกวากอนเรียน อยางมีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ .01 3. นักเรียนมีความคิดเห็นที่ดตีอการจัดการเรียนการสอนโดยใชบทเรียนออนไลนอยูในระดับเหน็ดวยมากถึงระดับเห็นดวยอยางยิง่และมีความคดิเห็นโดยเฉลีย่อยูในระดบัเห็นดวยมาก ขอที่มีคาเฉลี่ยสูงสุด 3 อันดับแรก คือ เมื่อทําแบบทดสอบเสร็จผูเรียนรูคะแนนทันท ี ผูเรียนตองการบทเรียนออนไลนในวิชาอ่ืนๆ ดวย บทเรียนออนไลนทําใหผูเรียนเรียนรูไดดวยตนเอง บทเรียนออนไลนทําใหผูเรียนอยากเรยีนคอมพิวเตอรมากยิ่งขึ้น และบทเรียนออนไลนสรางบรรยากาศใหมในการเรยีนวิชาคอมพิวเตอร สวนขอที่มีคาเฉลี่ยต่ําสุด คือ ภาษาทีใ่ชในบทเรียนออนไลนเขาใจงาย แตก็ยังเปนขอคิดเห็นที่มีคาเฉลี่ยอยูในระดบัมาก

อภิปรายผล จากการทดลอง สามารถอภิปรายผลไดดังนี้ จากผลการวิจยัการเขียนเว็บไซตดวยโปรแกรม Microsoft FrontPage 2003 ของนักเรยีน ช้ันมัธยมศึกษาปที่ 2 โดยใชบทเรียนออนไลนนั้น ปรากฏวาบทเรียนออนไลนที่ผูวิจัยสรางขึ้น มีประสิทธิภาพ 88.64% หมายความวา บทเรียนออนไลนทําใหผูเรียนเกดิกระบวนการเรียนรูและสามารถเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมหลังจากทีไ่ดเรียนดวยบทเรียนออนไลนเฉล่ียรอยละ 88.64 แสดงวาบทเรียนออนไลนที่สรางขึ้นมีประสิทธิภาพสูงกวาเกณฑ 80% ซ่ึงเปนไปตามสมมติฐานที่ตั้งไว ถือวาบทเรียนออนไลน สามารถนําไปใชในการเรียนรูไดอยางมีประสิทธิภาพ ซ่ึงไดผลเชนเดยีวกันกบัผลการวิจัยของนักวิชาการหลายๆ ทาน (สรวงสุดา สายสีสด. 2545 : บทคัดยอ; กาญจนา ยลสิริธัม. 2546 : บทคัดยอ; สุนทรีย ธรรมสุวรรณ. 2545 : บทคัดยอ; วเิชียร พุมพวง. 2546 : บทคัดยอ; อรรถพล คณะพล. 2546 : บทคัดยอ; อาจณรงค มโนสุทธิฤทธิ์. 2546 : บทคัดยอ; ฉัตราภรณ กลางจอหอ. 2546 : บทคัดยอ; นฤมล รอดเนียม. 2546 : บทคัดยอ ) ไดศึกษาเรื่องการสรางและพัฒนาบทเรียนออนไลนสอนผานเครือขายอินเทอรเน็ตในเรือ่งตางๆ พอสรุปไดวา บทเรียนมีประสิทธิ ภาพสูงกวาเกณฑที่ตั้งไว และผลการประเมินของผูเชี่ยวชาญอยูใน

Page 57: รายงานวิจัยบทที่ 1 5

57

ระดับดีมาก ซ่ึงแสดงใหเห็นวาบทเรียนออนไลนที่ผูวิจยัสรางและพัฒนาขึ้นเปนสื่อการสอนที่ไดมาตรฐาน มีประสิทธิภาพตามเกณฑและสมมติฐานที่ตั้งไว สามารถนําไปพัฒนากระบวนการเรียนรูของนักเรียนใหสูงขึ้นไดเปนอยางด ี

ที่เปนเชนนี้อาจเปนเพราะผูวจิัยไดสรางบทเรียนโดยดําเนนิตามขั้นตอน กลาวคือ ไดศึกษาถึงปญหาในการจัดการเรียนการสอนในวิชาที่ผูวิจัยสอนอยูคอืวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศพื้นฐาน(คอมพิวเตอร) พบวา โรงเรียนเสนศิริอนุสรณ มีขอจํากัดเรื่องเครื่องคอมพิวเตอรไมเพยีงพอกับผูเรียน คือ จํานวนเครื่องคอมพิวเตอร 1 เครื่องตอนักเรียนสองถึงสามคนในการจัดการเรียน การสอนแตละครั้ง ทําใหนกัเรียนบางคนขาดโอกาสในการฝกปฏิบัติงานไดอยางเตม็ที่เพราะมีเวลานอยกวาปกติ ผูวิจัยจึงไดศกึษาหลักสูตร วเิคราะหเนื้อหา ผลการเรียนรูที่คาดหวัง กลุมสาระ การเรียนรูการงานพื้นฐานอาชีพ สาระที่ 4 เทคโนโลยีสารสนเทศ ช้ันมัธยมศึกษาปที่ 2 โดยไดรับคําปรึกษาจากผูเชี่ยวชาญดานเนื้อหา ดานการวัดผลและประเมินผล และศึกษากระบวนการเรยีน การสอนโดยใชบทเรียนออนไลนและบทเรียนคอมพวิเตอรชวยสอนจากงานวิจยัตาง ๆ พบวา การสรางบทเรียนคอมพวิเตอรชวยสอนไวบนเครือขายอินเทอรเน็ต เปนการเปดชองทางการเรียนรูอีกทางหนึ่งใหกับผูเรียนไดเรียนรูไดดวยตนเองโดยไมจํากัดเวลา สถานที่ และจํานวนครั้ง อีกทั้งปจจุบันความเจริญทางเทคโนโลยีสารสนเทศไดพัฒนาการไปอยางรวดเร็ว และมีการนําเทคโนโลยีสารสนเทศโดยเฉพาะเทคโนโลยีดานเครอืขายคอมพิวเตอร หรืออินเทอรเน็ตมาใชในการเรยีน การสอน ซ่ึงถือเปนนวัตกรรมใหมทางการศึกษาทําใหเทคโนโลยีอินเทอรเน็ตไดรับการเผยแพรเขาสูการศึกษาในทุกระดับ สถานศึกษาตางเชือ่มตอเครือขายคอมพิวเตอรของหนวยงานเขาสู อินเทอรเน็ต เพื่อเปดโอกาสใหผูเรียน ผูสอนไดมีโอกาสเขาถึงแหลงขอมูลความรูในโลกภายนอกโดยผานทางเครือขายอินเทอรเน็ต รวมทั้งบทเรียนออนไลนและบทเรียนคอมพิวเตอรชวยสอน สามารถเราความสนใจนกัเรยีนไดดี สามารถอธิบายเนื้อหาสาระไดเปนรูปธรรมดีมาก นักเรยีนไดเรียนรูอยางอิสระ ตามความสามารถความถนัด ความสนใจ ไดปฏิบตัิจริง และสามารถโตตอบกับบทเรียนได ซ่ึงถือวาเปนกระบวนการเรยีนการสอนทีย่ึดผูเรียนเปนสําคัญ นอกจากนั้นแลวผูเรียนยังไดเรียนรูอยางสนุกสนาน รูสึกตื่นเตน ทาทายกับบทเรยีน และสามารถเรียนรูกี่คร้ังก็ไดตามความตองการจนกวาจะเขาใจ ผูวจิัยจึงไดศึกษาถึงขั้นตอนการสรางบทเรียนออนไลนและบทเรียน คอมพิวเตอรชวยสอน รวมทัง้เทคนิคตาง ๆ ที่ทําใหบทเรียนนาสนใจ ไมรูสึกเบื่อหนาย โดยศึกษาการใชโปรแกรม Microsoft FrontPage 2003 ในการสรางเว็บไซต และศึกษาการใชโปรแกรม Namo FreeMotion 2006 โปรแกรม Macromedia Captivate และโปรแกรม Adobe Photoshop CS2 ในการสรางบทเรียนใหนาสนใจ โดยไดรับคําปรึกษาจากผูเชี่ยวชาญดานโปรแกรมและสื่อการสอน จากนั้นผูวิจยัไดดําเนนิการสรางและทดลองใชตามขั้นตอน โดยใชเนื้อหาสาระที่ผานการตรวจสอบ

Page 58: รายงานวิจัยบทที่ 1 5

58

และประเมนิจากผูเชี่ยวชาญแลวนําบทเรยีนที่สรางขึ้นไปใหผูเชี่ยวชาญตรวจสอบและประเมินผล ผลการประเมินจากผูเชีย่วชาญพบวาบทเรยีนออนไลนทีผู่วิจัยสรางขึ้นมีความเหมาะสมอยูในระดบัดีมาก จากการเปรยีบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักเรียนกอนเรียนและหลังเรียนโดยใชบทเรียนออนไลน พบวาผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนของนักเรียนหลังเรียนสูงกวากอนเรียน อยางมีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ .01 ซ่ึงเปนไปตามสมมติฐานที่ตั้งไว และไดผลเชนเดยีวกันกับ ผลการวิจัยของนักวิชาการหลายๆ ทาน (สรวงสุดา สายสีสด. 2545 : บทคัดยอ; วเิชียร พุมพวง. 2546 : บทคัดยอ; สุนทรีย ธรรมสุวรรณ. 2545 : บทคัดยอ; อาจณรงค มโนสุทธิฤทธิ์. 2546 : บทคัดยอ; สุทธิพงษ สุรพุทธ. 2546 : บทคัดยอ) ทีไ่ดศึกษาการสรางและพัฒนาบทเรียนออนไลนในวิชาตางๆ พอสรุปไดวา นักเรียนที่เรียนโดยใชบทเรียนออนไลนมผีลสัมฤทธ์ิทางการเรียนสูงขึน้อยางมีนัยสําคญัทางสถิติ และผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของกลุมที่เรียนโดยใชบทเรยีนออนไลนหรือบทเรียนคอมพิวเตอรชวยสอนสูงกวากลุมที่เรียนโดยการสอนแบบปกติอยางมีนยัสําคัญทางสถิติ ที่ผลเปนเชนนีอ้าจเปนเพราะบทเรียนออนไลนที่ผูวิจัยสรางขึ้นมีประสิทธิภาพตามเกณฑ 80% อีกทั้งจากการสังเกตนักเรยีนในขณะที่เรียนดวยบทเรียนออนไลนพบวา นักเรยีนมีความเอาใจใสตอการเรียน สนใจเรยีน มีความกระตือรือรน สนุกสนาน ตื่นเตนและมีความสุขกับบทเรียนมากกวานักเรียนที่เรียนโดยการสอนแบบปกติ อาจเปนเพราะการเรียนรูของนักเรียนโดยใชบทเรียน ออนไลน ทําใหนักเรยีนไดเรียนรูอยางอิสระ ตามความสามารถ ความสนใจ จะเรียนกี่คร้ังก็ได โดยไมจํากัดเวลาและสถานที่ จนกวาจะเขาใจบทเรียนเปนการเรียนรูที่ยึดผูเรียนเปนสําคัญ และยังเปนเทคโนโลยีที่แปลกใหม นกัเรียนสามารถทราบผลการเรียนไดทันทีทีเ่รียนจบ ซ่ึงสอดคลองกับ หลักสูตรการศึกษาขั้นพืน้ฐาน พ.ศ.2544 และหลักสูตรสถานศึกษา มุงสงเสริมใหผูเรียนเรียนรูดวยตนเอง เรียนรูอยางตอเนื่องตลอดชีวิต และใชเวลาอยางสรางสรรครวมทั้งมีความยดืหยุน สนองความตองการของผูเรียน ชุมชน สังคมและประเทศชาติ ผูเรียนสามารถเรียนรูไดทกุเวลา ทุกสถานที่ และเรียนรูไดจากสื่อการเรียนรูและแหลงเรียนรูทุกประเภท เนนสื่อที่ผูเรียนและผูสอนใชศึกษา คนควาหาความรูดวยตนเอง ยอมแสดงวาบทเรียนออนไลนที่ผูวิจัยพฒันาขึ้น ชวยใหผูเรียนเกดิ การเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมการเรียนรู ทําใหเกิดกระบวนการเรียนรู แลวยังเปนนวัตกรรมที่ชวยที่ทําใหนกัเรียนไดเรียนรูดวยตนเองแลวลงมือปฏิบัติจริง และสามารถนําความรูที่เรียนไปใชแกปญหาได

นอกจากนี้ผลการวิจยัยังสอดคลองกับแนวคิดของ ยุพนิ พิพิธกุล (2540 : 92) ที่กลาววา การจัดกจิกรรมการเรียนการสอนในปจจุบนันั้น ครูผูสอนควรพยายามใหผูเรียนมีการศึกษาคนควาดวยตนเองใหมากที่สุด ครูจะตองเปลี่ยนบทบาทจากผูบรรยายเปนผูจดัสถานการณ จัดสื่อการเรียน

Page 59: รายงานวิจัยบทที่ 1 5

59

การสอนและใหคําแนะนํา นอกจากนัน้แลวยังสอดคลองกับทฤษฎีการเรียนรูของ ธอรนไดค ที่กลาววาถึงกฎแหงผลวาเปนการเชื่อมโยงระหวางสิ่งเรากับการตอบสนองจะดยีิ่งขึน้ เมื่อผูเรียน แนใจวาพฤตกิรรมการตอบสนองของตนถูกตอง และในการใหรางวัลจะชวยสงเสริมพฤติกรรม นั้นๆ อีก กฎแหงการฝกหดัวา การที่มีโอกาสไดกระทําซํ้าๆ กัน หลายๆ คร้ังในพฤติกรรมใด พฤติกรรมหนึง่ จะทําใหพฤติกรรมนั้นๆ สมบูรณยิ่งขึน้ การฝกหดัที่มีการควบคมุที่ดีจะสงผลตอการเรียนรู และกฎแหงความพรอม เมื่อมีความพรอมที่จะตอบสนองหรือแสดงพฤติกรรมใด ๆ ถามีโอกาสไดกระทํายอมเปนทีพ่อใจ แตถาไมพรอมที่จะตอบสนองหรือแสดงพฤติกรรม การบังคับใหกระทํายอมทําใหเกิดความไมพอใจ และสอดคลองกับหลักทฤษฎีการเสริมแรงของสกินเนอร กลาวคือผูเรียนจะเกิดกําลังใจไดนัน้ตองไดรับการเสริมแรงในขั้นทีเ่หมาะสม เมื่อผูเรียนแสดง อาการตอบสนองออกมาและเหน็วาอาการตอบสนองที่แสดงออกมานัน้ถูกตองก็จะเสริมแรงไดดีกวาการไดรับรางวัลอ่ืนใด บทเรียนออนไลนจึงนําการรูผลมาเปนการเสริมแรง เพื่อผูเรียนจะไดทราบวาคําตอบของตนถูกหรือผิด ซ่ึงการใหแรงเสริมจะตองกระทําทนัทีทันใด เมื่อผูเรียนไดเรียนตามบทเรียนแลวมีการตอบคําถามจะตองใหแรงเสริมทันที จากการศึกษาความคิดเหน็ของนักเรียนกลุมทดลองที่มีตอบทเรียนออนไลนเร่ือง การเขียนเว็บไซตดวยโปรแกรม Microsoft FrontPage 2003 พบวาผูเรียนมีความพึงพอใจและมีความคิดเหน็ทีด่ีตอบทเรียนอยูในระดับมาก ซ่ึงสอดคลองกับงานวจิัยของนักวิชาการอืน่ๆ (อินทิรา ชูศรีทอง. 2541 : บทคัดยอ; และพัชราวลัย มีทรัพย. 2542 : บทคัดยอ) ไดทําการศึกษาความคิดเหน็ของนักเรียนที่มตีอบทเรียนคอมพิวเตอรชวยสอน ปรากฏวานักเรียนเหน็ดวยกับ การเรียนดวยคอมพิวเตอรชวยสอนอยูในระดับมาก และนักเรียนสวนใหญเห็นดวยกบัการเรียนโดยใชบทเรียนคอมพิวเตอรชวยสอน และมีความพึงพอใจในการเรียนดวยโปรแกรมคอมพิวเตอร ชวยสอนมากที่สุดเปนอันดบัหนึ่ง จากการจดัลําดับความคิดเหน็ของนักเรียน พบวาความคดิเห็นที่มีคาเฉลี่ยสูงสุดและอยู ในระดบัเหน็ดวยอยางยิ่ง คือ เมื่อทําแบบทดสอบเสร็จผูเรียนรูคะแนนทันที ผูเรียนตองการบทเรียนออนไลนในวชิาอ่ืนๆ ดวย ที่เปนเชนนี้อาจเปนเพราะคอมพิวเตอรเปนเทคโนโลยีใหม เปน เครื่องมือในการเรียนรูของคนในยุคปจจุบนั ทําใหผูเรยีนรูสึกวาบทเรียนออนไลนสามารถโตตอบและเสริมแรงไดทันที รวมทัง้บทเรียนออนไลนสรางบรรยากาศใหมในการเรียนวิชาคอมพิวเตอร ทําใหผูเรียนอยากเรียนวิชาคอมพิวเตอรมากยิ่งขึ้น เพราะรูสึกเปนอิสระ สามารถเรียนไดโดยไม จํากัดเวลา และสถานที่ ตามความสามารถของผูเรียน ผูเรียนรูสึกชอบ เพราะมีความสนุกสนาน ตื่นเตนและทาทาย นอกจากนี้แลวความสะดวกและใชงายของบทเรียน ทําใหผูเรียนสนใจอยากที่จะเรียนวิชานีม้ากขึ้น และยงัตองการบทเรียนออนไลนในวิชาอ่ืนๆ ดวย ตลอดจนบทเรียน

Page 60: รายงานวิจัยบทที่ 1 5

60

ออนไลนสามารถอธิบายเนื้อหาไดชัดเจน เปนรูปธรรม จึงทําใหผูเรยีนมีความเขาใจเนื้อหาใน บทเรียนไดงายและรวดเรว็ นอกจากนั้นแลวผูเรียนยังรูสึกวาไดเรียนตามความสามารถ เพราะในการเรียนรูจากบทเรียนผูเรียนสามารถกํากับไดดวยตนเอง จะเรียนรูกี่คร้ัง ก็ไดจนกวาจะเขาใจ เดก็ที่เรียนเกงอาจจะเรียนไดเร็ว เด็กที่เรียนออนอาจตองเรยีนหลาย ๆ รอบโดยไมตองถามครูเด็กจึงมีความรูสึกวาเปนอิสระและมีความสุขในการเรียนรูกวาการเรียนการสอนตามปกต ิ ความคิดเหน็ทีม่ีคาเฉลี่ยต่ําสุด คือ ภาษาทีใ่ชในบทเรียนออนไลนเขาใจงาย อาจเปน เพราะผูเรียนตองอานคําบรรยายในบทเรียนเอง จึงไมเราความสนใจของผูเรียนไดเทาที่ควร ซ่ึงในการพัฒนาครั้งตอไปอาจตองใชเสียงบรรยายและเสยีงผูบรรยายอาจเปนเสียงของผูเรียนในวัยเดียวกัน แตถึงกระนั้นก็ตามความคิดเหน็ในขอนี้ก็ยังอยูในระดับมาก

สวนความคิดเห็นอื่นๆ ก็อยูในระดับมากเชนกัน ไดแก บทเรียนออนไลนทําใหผูเรยีน เรียนรูไดดวยตนเอง และทาํใหผูเรียนอยากเรียนคอมพวิเตอรมากยิ่งขึน้ ผูเรียนรูสึกวาบทเรียน ออนไลนสรางบรรยากาศใหมในการเรยีนวิชาคอมพิวเตอร รวมทั้งไดเรียนตามความสามารถ และยังตองการบทเรียนออนไลนในเรื่องอื่นๆ ดวย บทเรยีนออนไลนทําใหผูเรียนไดเรียนรู โดยไมจํากดัเวลาและสถานที่ พรอมทั้งใชงายและสะดวก ทําใหผูเรียนเขาใจการเขยีนเว็บไซตมากยิ่งขึ้น ผูเรียนรูสึกสนุกสนานและตื่นเตน ทําใหผูเรียนเรยีนไดเร็วขึ้น ชวยใหผูเรียนเรยีนคอมพิวเตอรอยางมีความสุข และไดเรียนตามความสนใจ ตัวอยางในบทเรียนก็มีความเหมาะสม ชัดเจน เขาใจงาย ทําใหผูเรียนเขาใจในเนื้อหาวิชาจากบทเรียนออนไลน ที่เปนเชนนี้อาจเพราะผูวจิัยไดสรางและพฒันาบทเรียน ออนไลนตามหลักการสรางบทเรียนคอมพิวเตอรชวยสอน จากผลการวิจัยของวีรพงษ แสงชูโต (2542 : บทคัดยอ) ที่ไดทําการศึกษาวจิัยเร่ืองการพัฒนารปูแบบคอมพิวเตอรชวยสอนผลการวิจัย พบวารูปแบบที่นักเรียนชอบเรียนคือบทเรียนคอมพิวเตอรชวยสอนซึ่งมีสีของฉากหลังสีเดียว (สีน้ําเงิน) ตลอดบทเรียน มีการจัดขอความใหเหมาะสม มีรูปภาพประกอบและมภีาพเคลื่อนไหวในแตละฉาก และสรางตามหลักการสอนโปรแกรมคอมพวิเตอร

จากผลการวิจยัทั้งหมดทีก่ลาวมา พอสรุปไดวาบทเรียนออนไลนที่ผูวจิัยสรางขึ้นเปน นวัตกรรมที่สามารถเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมการเรียนรูของผูเรียน การสรางบทเรียนออนไลนไวบนเครือขายอินเทอรเน็ต เปนการเปดชองทางการเรียนรูอีกทางหนึ่งใหกบัผูเรียนไดเรียนรูไดดวย ตนเองโดยไมจํากัดเวลา สถานที่ และจํานวนครั้ง ทําใหผูเรียนสามารถเรียนรูไดบรรลุผลตาม เปาหมาย อีกทั้งเปนนวัตกรรมที่เหมาะสมกับการเรียนการสอนในยุคปฏิรูปการศึกษาที่ตองการใหครูจัดการบวนการเรียนรูโดยยึดผูเรียนเปนสําคัญใหผูเรียนไดเรียนรูตามความสามารถและ ความถนัด ครูจะตองเปลี่ยนบทบาทจากผูบรรยายมาเปนผูจัดสถานการณจัดสื่อการเรียนการสอน และใหคําแนะนํา ตลอดจนปจจุบันความเจริญทางเทคโนโลยีสารสนเทศไดพัฒนาการไปอยาง

Page 61: รายงานวิจัยบทที่ 1 5

61

รวดเร็ว และมีการนําเทคโนโลยีสารสนเทศโดยเฉพาะเทคโนโลยีดานเครือขายคอมพิวเตอร หรืออินเทอรเน็ตมาใชในการเรียนการสอน ซ่ึงถือเปนนวัตกรรมใหมทางการศึกษาทําใหเทคโนโลยี อินเทอรเน็ตไดรับการเผยแพรเขาสูการศึกษาในทุกระดบั สถานศึกษาตางเชื่อมตอเครือขาย คอมพิวเตอรของหนวยงานเขาสูอินเทอรเน็ต เพื่อเปดโอกาสใหผูเรียน ผูสอนไดมีโอกาสเขาถึง แหลงขอมูลความรูในโลกภายนอกโดยผานทางเครือขายอินเทอรเน็ต โดยเฉพาะสื่อหรือนวัตกรรมที่ทันสมัยในยคุขอมูลขาวสารอยางบทเรียนออนไลน ขอสังเกตที่ไดจากงานวิจัย 1. นักเรียนบางคนเขาไปเลนโปรแกรมอืน่ ๆ เชน วาดภาพ เกม อินเทอรเน็ต บทเรียนเร่ืองอื่น ๆ เปนตน ซ่ึงตองคอยสอดสอง ตักเตือนและดแูลอยางใกลชิด 2. นักเรียนออนที่เรียนชา และไมสามารถผานขั้นตอนการแกปญหาได ครูตองคอยดูแลอยางใกลชิด ใหคําอธิบายเปนรายบุคคล ใหขอเสนอแนะ แนวทางแกปญหา จากการสังเกตเมื่อนักเรียนสามารถตอบคําถามไดถูกตองและไดรับการเสริมแรงจากบทเรียนนักเรียนจะมีความสุขและตื่นเตนมาก

ขอเสนอแนะ ขอเสนอแนะในการสรางบทเรียนออนไลน ในการสรางบทเรียนออนไลนใหมีประสิทธิภาพ ควรคาํนึงถึงส่ิงตอไปนี้ 1. กอนดําเนินการสรางบทเรียนออนไลน ควรศึกษาปญหาเตรียมเนือ้หาสาระที่จะสรางโดยผานการตรวจสอบจากผูเชี่ยวชาญกอนจะไดไมเสียเวลาสรางใหม 2. ควรศึกษาโปรแกรมสําเร็จรูปตาง ๆ ที่จะนํามาพัฒนาบทเรียนออนไลนอยูเสมอ เพราะโปรแกรมสําเร็จรูปเหลานั้นมีการพฒันาอยูตลอดเวลา 3. ควรวางแผนและออกแบบบทเรียนออนไลนใหเหมาะสมกับเนื้อหาวิชาและวยัของผูเรียน เพราะการสรางบทเรียนออนไลนนอกจากจะรูและใชโปรแกรมในการสรางเปนแลว ยงัตองมีศิลปะในการสรางบทเรียนใหนาสนใจ และงายตอการเรียนรู 4. ผูสรางตองมีความวิริยะ อุตสาหะ และอดทนมากพอสมควร เพราะขั้นตอน การสรางบทเรียนมีความซับซอนและใชเวลามาก

Page 62: รายงานวิจัยบทที่ 1 5

62

ขอเสนอแนะในการนําบทเรียนคอมพิวเตอรชวยสอนไปใช 1. กอนดําเนนิการทดลอง ตองเตรียมเครือ่งคอมพิวเตอรใหพรอม ติดตั้งโปรแกรม ตรวจสอบระบบเครือขายอินเตอรเน็ตใหเรียบรอยทุกเครื่อง และทดสอบบทเรียนใหใชงานได เพราะอาจมีบางเครื่องที่ใชงานไมได เนื่องจากติดตั้งโปรแกรมไมสมบูรณ 2. ตองดูแลนักเรียนอยางใกลชิด เพราะอาจมีนักเรยีนแอบเลนเกม หรือไปเลนอยางอ่ืน จะทําใหการวิจัยไมเปนไปตามเปาหมายที่วางไว และบางเครื่องอาจมีปญหาในขณะใชบทเรียน 3. ควรมีการแนะนําการใชเครื่องคอมพิวเตอร และการใชบทเรียนออนไลนอยางถูกตอง เพื่อไมใหเกิดปญหาในการเรยีน 4. ควรใหผูเรียนมีอิสระในการใชบทเรยีนออนไลน โดยไมกําหนดจํานวนครั้ง และสถานที่ ขอเสนอแนะในการทําวิจัยคร้ังตอไป 1. ควรพัฒนาบทเรียนออนไลนในชั้นอืน่ๆ 2. ควรพัฒนาบทเรียนออนไลน วิชาคอมพิวเตอร ในเรือ่งอื่น ๆ 3. ควรพัฒนาบทเรียนออนไลนในวิชาอ่ืน ๆ

Page 63: รายงานวิจัยบทที่ 1 5

63

บรรณานุกรม กมลรัตน สมใจ. (2546). การพัฒนาบทเรยีนคอมพิวเตอรชวยสอนผานเครือขายอินเทอรเน็ต วิชา

เทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการเรียนรูเร่ืองการทํางานในระบบคอมพิวเตอรสถาบัน ราชภัฏ. (ออนไลน). วิทยานิพนธ. วิทยาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาการศึกษาวิทยาศาสตร (คอมพิวเตอร). สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกลาเจาคุณทหารลาดกระบัง.

กระทรวงศกึษาธิการ. กรมวชิาการ. (2545). หลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2544. กรุงเทพฯ : โรงพิมพคุรุสภาลาดพราว

. (2545). เอกสารประกอบหลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐาน พทุธศักราช 2544 คูมือ การจัดการเรียนรูกลุมสาระการงานพื้นฐานอาชีพและเทคโนโลยี. กรุงเทพฯ : โรงพิมพองคการรับสงสินคาและพัสดุภณัฑ

กฤษมันต วัฒนาณรงค. (2538). การสังเคราะหสูตรการหาประสิทธิภาพบทเรียนคอมพิวเตอร ชวยสอน. ศูนยคอมพิวเตอรทางการสอน ภาควิชาครุศาสตรเทคโนโลยี คณะครุศาสตรอุตสาหกรรม สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกลาพระนครเหนือ.

กองบรรณาธิการ. (2544,มีนาคม-เมษายน). “บทบาทการเรียนการสอน e - Learning ในประเทศไทย,” สาร NECTEC ศูนยเทคโนโลยีอีเล็กทรอนิกสและคอมพิวเตอรแหงชาต.ิ 8(39) : 6-9.

กาญจนา ยลสิริธัม. (2546). การพัฒนาบทเรียนคอมพิวเตอรชวยสอนประกอบการเรียนการสอนทางไกลผานดาวเทียม เร่ือง Computer Network Technologies and Internet. (ออนไลน). วทิยานิพนธ. ค.ม. (การศึกษาวิทยาศาสตร (คอมพิวเตอร)). สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกลาเจาคุณทหารลาดกระบัง. แหลงที่มา : http://www.thaiedresearch.org/ ; ปรับปรุงลาสุดเมื่อ 5 ตุลาคม 2550.

กิดานันท มลิทอง. (2543). เทคโนโลยีการศึกษาและนวัตกรรม พิมพคร้ังท่ี 2. หางหุนสวน จํากดั อรุณการพิมพ.

คณิต ไขมุก. (2532, เมษายน-มิถุนายน). “คอมพิวเตอรกับการศึกษา,” สื่อ. 3(2) : 21-30 จารุพรรณี คณโฑเงิน. (2543). ผลการใชคอมพิวเตอรชวยสอนในการสอนซอมเสริมวิชา

คณิตศาสตร เร่ือง “กราฟ” ของนักเรียนชัน้มัธยมศึกษาปท่ี 1. (ออนไลน). วิทยานพินธ ศศ.ม. (เทคโนโลยีการศึกษา). กรุงเทพฯ : มหาวิทยาลัยรามคําแหง. แหลงที่มา : http://www.thaiedresearch.org/ ; ปรับปรุงลาสุดเมื่อ 16 เมษายน 2548.

Page 64: รายงานวิจัยบทที่ 1 5

64

ใจทิพย ณ สงขลา. (2542). “การสอนผานเครือขายเวิลดไวดเว็บ,” วารสารครุศาสตร. จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย. 27(3) : 18-28.

ฉัตราภรณ กลางจอหอ. (2546). การพัฒนาบทเรียนคอมพิวเตอรชวยสอน เร่ือง การใชภาษา ASP สําหรับการพฒันาโฮมเพจ. (ออนไลน). วิทยานิพนธ. วิทยาศาสตรมหาบัณฑติ (การศึกษาวิทยาศาสตร). สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกลาเจาคุณทหารลาดกระบัง. แหลงที่มา : http://www.thaiedresearch.org/ ; ปรับปรุงลาสุดเมื่อ 5 ตุลาคม 2550.

ชุณหพงศ ไทยอุปถัมภ. (2545, มกราคม-กุมภาพนัธ). “e-learrning.” DVM. 3 (12). 26-28. ไชยยศ เรืองสุวรรณ. (2533). เทคโนโลยีทางการศึกษา : ทฤษฎีและการวิจัย. กรุงเทพฯ :

โอเดียนสโตร. ดํารง ทิพยโยธา. (2547). การวิเคราะหขอมูลทางสถิติดวย SPSS for Windows Version 12.

กรุงเทพฯ : โรงพิมพจฬุาลงกรณมหาวิทยาลัย. ถนอมพร เลาหจรัสแสง. (2544, มกราคม-มิถุนายน). “การสอนบนเว็บ (Web-Based Instruction)

นวัตกรรมเพื่อคุณภาพการเรยีนการสอน,” วารสารศึกษาศาสตรสาร มหาวิทยาลัยเชียงใหม. 28(1) : 87-94.

. (2545). Designing e-Learning : หลักการออกแบบและการสรางเว็บเพื่อการเรียน การสอน. (ออนไลน). แหลงที่มา : http://www.nk.ac.th/elearning/about_elearning/l3.htm ; ปรับปรุงลาสุดเมื่อ 5 ตุลาคม 2550.

. (2541). คอมพิวเตอรชวยสอน. กรุงเทพฯ : วงกมลโพรดักชั่นจํากัด. นฤมล รอดเนียม. (2546). บทเรียนการสอนผานเว็บ เร่ือง อินเทอรเน็ต วิชาคอมพิวเตอรและ

เทคโนโลยีสารสนเทศ. (ออนไลน). วิทยานิพนธ. วิทยาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาการศึกษาวิทยาศาสตร. สถาบันเทคโนโลยพีระจอมเกลาเจาคุณทหารลาดกระบัง. แหลงที่มา : http://www.thaiedresearch.org/ ; ปรับปรุงลาสุดเมื่อ 5 ตุลาคม 2550.

นิตยา กาญจนวรรณ. (2526, เมษายน). “การใชคอมพิวเตอรชวยสอน,” วารสารรามคําแหง. 7(17) : 78-85.

. (2527). คอมพิวเตอรทางการศึกษา. กรุงเทพฯ : โอเดียนสโตร นิพนธ ศุขปรีดี. (2526 , กันยายน-ตุลาคม). “ไมโครคอมพิวเตอรเพื่อการศึกษา,” วารสาร

คณะกรรมการแหงชาติวาดวยการศึกษาและสหประชาชาติ. 15(5) : 40-47.

Page 65: รายงานวิจัยบทที่ 1 5

65

นุตพล ธรรมลังกา. (2538). การทดลองเปรียบเทียบผลการสอนเรื่อง ความเทากันทุกประการของนักเรียนชั้นมธัยมศึกษาปท่ี 2 โดยใชคอมพิวเตอรชวยสอนกับการสอนปกติ. (ออนไลน). วิทยานิพนธ กศ.ม. (การวดัผลการศึกษา). พิษณุโลก : บัณฑิตวิทยาลยั มหาวิทยาลยันเรศวร. แหลงที่มา : http://www.thaiedresearch.org/ ; ปรับปรุงลาสุดเมื่อ 16 เมษายน 2548.

บุญชม ศรีสะอาด. (2543). การวิจัยเบื้องตน. พิมพคร้ังที่ 6. กรุงเทพฯ : สุวีริยาสาสน. . (2538). วิธีการทางสถิติสําหรบัการวิจัย. กรุงเทพฯ : สุวีริยาสาสน. ปรีชา เหลาพันนา. (2544). การเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวชิาคณติศาสตรเร่ือง

การแกโจทยปญหาสมการกําลังสองของนักเรียนมัธยมศึกษาปท่ี 3 ท่ีไดรับการสอน โดยใชบทเรียนคอมพิวเตอรชวยสอนกับการสอนตามคูมือครู. สารนิพนธ กศ.ม. (การมัธยมศึกษา) กรุงเทพฯ : บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ ประสานมิตร.

ปยะพร เพียรสวรรค. (2543). การพัฒนาโปรแกรมคอมพิวเตอรชวยสอนเสริมทักษะ วิชาคณติศาสตรระดับประถมศึกษาปท่ี 5. (ออนไลน). วิทยานิพนธ กศ.ม. (วิจยัและพัฒนาการศึกษา). พิษณุโลก : บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยนเรศวร. แหลงที่มา : http://www.thaiedresearch.org/ ; ปรับปรุงลาสุดเมื่อ 16 เมษายน 2548.

ผดุง อารยะวญิญ. (2527). ไมโครคอมพิวเตอรเพื่อการศึกษา. กรุงเทพฯ : ซีเอ็ดยูเคชัน่. พรรณี เกษกมล. (2543, พฤศจิกายน). “งานวิจยัทางเทคโนโลยีการศึกษา,” วารสารวิชาการ

กรมวิชาการ. 3(11) : 49-55. พรรณี ชูทัย. (2536). จิตวทิยาการเรียนการสอน. พิมพคร้ังที่ 2 กรุงเทพฯ : วรวฒุิการพิมพ. พวงเพชร วัชรรัตนพงศ. (2536). การศึกษาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนและเจตคติ ตอวิชา

คณิตศาสตรของนักเรียน ม.2 ท่ีไดรับการสอนโดยใชคอมพิวเตอรชวยสอนกับการสอนตามคูมือครู สสวท. ปริญญานิพนธ กศ.ม. (การมัธยมศกึษา) กรุงเทพฯ : บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยศรนีครินทรวิโรฒ. ถายเอกสาร.

พัชราวลัย มีทรัพย. (2542). การพัฒนาโปรแกรมคอมพิวเตอรชวยสอนวิชาคณิตศาสตร ชั้นมัธยมศึกษาปท่ี 2. (ออนไลน). วิทยานพินธ. กศ.ม. (เทคโนโลยีทางการศึกษา)พิษณุโลก : บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยนเรศวร. แหลงที่มา : http://www.thaiedresearch.org/ ; ปรับปรุงลาสุดเมื่อ 16 เมษายน 2548.

Page 66: รายงานวิจัยบทที่ 1 5

66

พิมพพร ฟองหลํ่า. (2538). การทดลองใชโปรแกรมคอมพิวเตอรชวยสอนวิชาคณติศาสตร ค102 เร่ืองฟงกชนัตรีโกณมิติระดบัชั้นมัธยมศึกษาปท่ี 4. (ออนไลน). วิทยานิพนธ กศ.ม. (คณิตศาสตร). พิษณุโลก : บัณฑิตวิทยาลยั มหาวิทยาลยันเรศวร. แหลงที่มา : http://www.thaiedresearch.org/ ; ปรับปรุงลาสุดเมื่อ 16 เมษายน 2548.

มธุรส แกววรา. (2542). การสอนวิชาคณติศาสตรชั้นมธัยมศึกษาปท่ี 3 เร่ือง ระบบสมการ เชิงเสน โดยใชคอมพิวเตอรชวย สอนซอมเสริม. (ออนไลน). วิทยานพินธ กศ.ม. (คณิตศาสตร). เชียงใหม : บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม. แหลงที่มา : http://www.thaiedresearch.org/ ; ปรับปรุงลาสุดเมื่อ 16 เมษายน 2548.

วิชุดา รัตนเพียร. (2542) การเรียนการสอนผานเว็บ : ทางเลือกใหมของเทคโนโลยีการศึกษาไทย. วารสารครุศาสตร. จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย 27 (3), 29-33.

วิเชียร พุมพวง. (2546). บทเรียนคอมพิวเตอรชวยสอนผานเครือขายอินเทอรเน็ตเรื่องแมเหล็กไฟฟา. วิทยานิพนธ ครุศาสตรอุตสาหกรรมมหาบัณฑิต (เทคโนโลยีการศึกษาทางอาชีวะและเทคนิคศึกษา). สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกลาเจาคุณทหารลาดกระบัง. แหลงที่มา : http://www.thaiedresearch.org/ ; ปรับปรุงลาสุดเมื่อ 5 ตุลาคม 2550.

วิทยา เรืองพรพิสุทธิ์. (2538). คูมือการเขาสูอินเทอรเน็ตสําหรับผูเร่ิมตน. กรุงเทพมหานคร : ซีเอ็ดยูเคชั่น,

วีรพงษ แสงชูโต. (2542). การพัฒนารปูแบบคอมพิวเตอรชวยสอนในการสอนเสริมระดับประถมศึกษาใน จังหวัดเชียงใหม. (ออนไลน). เชียงใหม : ภาควิชามัธยมศึกษา คณะศกึษาศาสตร มหาวิทยาลัยเชียงใหม. แหลงที่มา : http://www.thaiedresearch.org/ ; ปรับปรุงลาสุดเมื่อ 16 เมษายน 2548.

แวววลี สิริวรจรรยาดี. (2548). การเปรียบเทียบการสอนกระบวนการคิดทางคณิตศาสตรของนักเรียนชั้นมธัยมศึกษาปท่ี 2 โดยใชบทเรียนคอมพิวเตอรชวยสอนกบัการสอนแบบปกติ. วิทยานพินธ. ค.ม. (หลักสูตรและการสอน). บุรีรัมย : บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยราชภัฏบุรีรัมย.

ศรราม จามมาตย. (2544). การสอนวิชาเสริมทักษะคณิตศาสตรชั้นมธัยมศึกษาปท่ี 2 โดยใชบทเรียนคอมพิวเตอรชวยสอน. (ออนไลน). วิทยานพินธ ศศ.ม. (คณิตศาสตรศึกษา). เชียงใหม : บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม. แหลงที่มา : http://www.thaiedresearch.org/ ; ปรับปรุงลาสุดเมื่อ 16 เมษายน 2548.

ศิริ สาเกทอง. (2527, ตุลาคม-ธันวาคม). “การเรียนการสอนคอมพิวเตอร,” คอมพิวเตอรไดเจสท. 1(2) : 20-24

Page 67: รายงานวิจัยบทที่ 1 5

67

ศิริพร จินดาราม. (2544). ผลการสอนซอมเสริมโดยใชบทเรียนคอมพิวเตอรชวยสอนท่ีมีตอผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนและความสนใจในวิชาคณติศาสตร เร่ืองความนาจะเปน ของนักเรียนชั้นมธัยมศึกษาปท่ี 3. (ออนไลน). วิทยานิพนธ กศ.ม. (คณิตศาสตร). สงขลา : บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยทักษณิ. แหลงที่มา : http://www.thaiedresearch.org/ ; ปรับปรุงลาสุดเมื่อ 16 เมษายน 2548.

สมนึก ภัททยิธนี. (2546). การวัดผลการศึกษา. กาฬสนิธุ : ประสานการพิมพ. สมศักดิ์ จีวฒันา. (2546). เอกสารประกอบการสอนรายวิชาคอมพิวเตอรชวยสอน. บุรีรัมย : สรรรัชต หอไพศาล. (2544, กรกฎาคม - ธันวาคม). “นวตักรรมและการประยุกตใชเทคโนโลยี

เพื่อการศึกษาในสหัสวรรษใหม : กรณีการจัดการเรียนการสอนผานเวบ็ (Web-Based Instruction : WBI),” วารสารศรีปทุมปริทัศน มหาวิทยาลัยศรีปทุม. 1(2), 93-104

สรวงสุดา สายสีสด. (2545). การสรางและพัฒนาบทเรียนออนไลนวชิาระบบเครือขายคอมพิวเตอรระดับประกาศนียบัตรวชิาชพีชั้นสงู (ปวส.). (ออนไลน). อุดรธานี. แหลงที่มา : http://www.thaiedresearch.org/ ; ปรับปรุงลาสุดเมื่อ 5 ตุลาคม 2550

สํานักงานคณะกรรมการการศึกษาแหงชาติ. (2548). ฐานขอมูลการวิจัยทางการศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม. (ออนไลน). แหลงที่มา : http://www.thaiedresearch.org ; ปรับปรุง คร้ังลาสุดเมื่อ 16 เมษายน 2549.

สํานักงานพัฒนาวิทยาศาสตรและเทคโนโลยีแหงชาติ. (2545). ศูนยเทคโนโลยีอิเล็กทรอนิกสและคอมพิวเตอรแหงชาติ, (ออนไลน). แหลงที่มา : http://www.nectec.or.th/courseware/cai/0001.html ; ปรับปรุงครั้งลาสุดเมื่อ

24 ธันวาคม 2545 สุทธิพงษ สุรพุทธ. (2546). บทเรียนคอมพิวเตอรชวยสอนผานเครือขายอินเทอรเน็ต เร่ือง

เทคโนโลยีสารสนเทศ. (ออนไลน). วิทยานิพนธ ครุศาสตรอุตสาหกรรมมหาบัณฑติ (เทคโนโลยีการศึกษาทางอาชีวะและเทคนคิศึกษา). สถาบันเทคโนโลยพีระจอมเกลาเจาคุณทหารลาดกระบัง. แหลงที่มา : http://www.thaiedresearch.org/ ; ปรับปรุงลาสุดเมื่อ 5 ตุลาคม 2550.

สุนทรีย ธรรมสุวรรณ. (2545). บทเรียนผานระบบเครือขายอินเทอรเน็ต วิชาเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อชีวิต. (ออนไลน). วิทยานพินธ. คอม. (เทคโนโลยีการศึกษาทาง การอาชีวะและเทคนิคศึกษา). สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกลาเจาคุณทหารลาดกระบัง. แหลงที่มา : http://thesis.stks.or.th/ ; ปรับปรุงลาสุดเมื่อ 5 ตุลาคม 2550

Page 68: รายงานวิจัยบทที่ 1 5

68

สุวรรณา ฟกปลั่ง. (2544). ผลการเรียนซอมเสริม 2 รูปแบบ จากบทเรียนคอมพิวเตอรชวยสอน ในวิชาคณิตศาสตรของนักเรียนชัน้มัธยมศึกษาปท่ี 1 โรงเรียนศึกษาสงเคราะหตาก. (ออนไลน). วทิยานิพนธ. ศศ.ม. (เทคโนโลยีทางการศึกษา). เชียงใหม : บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม. แหลงที่มา : http://www.thaiedresearch.org/ ; ปรับปรุงลาสุดเมื่อ 16 เมษายน 2548.

เสนศิริอนุสรณ. โรงเรียน. (2545). หลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐาน พทุธศักราช 2544 กลุมสาระการเรียนรูการงานพื้นฐานอาชีพและเทคโนโลยี ชวงชั้นท่ี 3 (ชั้นมัธยมศึกษาปท่ี 1 -3). บุรีรัมย : โรงเรียนเสนศิริอนสุรณ. อัดสําเนา

อรรถพล คณะพล. (2546). บทเรียนคอมพิวเตอรชวยสอนบนเครือขายอินเทอรเน็ตเรื่องเทคนิคการบริหารงานแบบ 5 ส. (ออนไลน). วทิยานิพนธ คอม. (เทคโนโลยีการศึกษาทาง การอาชีวะและเทคนิคศึกษา). กรุงเทพฯ : สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกลาเจาคุณทหารลาดกระบัง. แหลงที่มา : http://www.thaiedresearch.org/ ; ปรับปรุงลาสุดเมื่อ 5 ตุลาคม 2550

อัมภาพร จันทรกระจาง. (2542). การสอนวิชาเสริมทักษะคณิตศาสตรชั้นมัธยมศกึษาปท่ี 1 โดยใชบทเรียนคอมพิวเตอรชวยสอน. (ออนไลน). วิทยานิพนธ ค.ม. (คณิตศาสตร). เชียงใหม : บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม. แหลงที่มา : http://www.thaiedresearch.org/ ; ปรับปรุงลาสุดเมื่อ 16 เมษายน 2548.

อาจณรงค มโนสุทธิฤทธิ์. (2546). บทเรียนคอมพิวเตอรชวยสอนผานเครือขายอินเทอรเน็ต เร่ืองหนวยความจําของคอมพิวเตอร. (ออนไลน). วิทยานพินธ ครุศาสตรอุตสาหกรรมมหาบัณฑติ (เทคโนโลยีการศึกษาทางการอาชีวะและเทคนิคศึกษา). สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกลาเจาคุณทหารลาดกระบัง แหลงที่มา : http://www.thaiedresearch.org/ ; ปรับปรุงลาสุดเมื่อ 5 ตุลาคม 2550.

อินทิรา ชูศรีทอง. (2541). การพัฒนาบทเรียนคอมพิวเตอรชวยสอนระบบมัลติมีเดียวิชาคณิตศาสตร ชัน้ประถมศึกษาปท่ี 6 เร่ือง บทประยุกต. (ออนไลน). วทิยานิพนธ กศ.ม. (คณิตศาสตร). มหาสารคาม : บัณฑติวิทยาลัย มหาวิทยาลัยมหาสารคาม. แหลงที่มา : http://www.thaiedresearch.org/ ; ปรับปรุงลาสุดเมื่อ 16 เมษายน 2548.

Driscoll, M. (1999, March). Myths and Realities of Using WBT to Deliver Training Worldwide. Journal of Performance Improvement. 38(3) : 37-44.

Page 69: รายงานวิจัยบทที่ 1 5

69

Fredenberg, V. G. (1994, July). “Supplemental Visual Computer – assisted Instruction and Achievement in Freshman College Calculus (Visualization),” Dissertation Abstracts International. 55 (1) : 59A.

Friedman, L. T. (1974, August). “Programmed Lesson in RPG Computer Programming for New York City High School Seniors,” Dissertation Abstracts International. 35(2) : 799 – A

Hall, K. A. (1982). “Computer – Based Education,” in Encyclopedia of Education Research. (3) : 362. New York : Free Press.

James, D. (1997). Design Methodology for a Web-Based Learning Environment . (on-line). Available : http://www.lmu.ac.uk/lss/staffsup/desmeth.htm

Kumar, P. A. (1994, February). “The Use of Drill and Practice as a Method of Learning Disabled Student in a Special Education Classroom,” Master Abstracts International. 32(1) : 43.

Liu, H. C. (1975 , March). “Computer – assisted Instruction in Teaching College Physics,” Dissertation Abstracts International. 42 : 1411A – 1412A.

Ma, H. L. (1994 , November). “A Comparative Study between Traditional Instruction and Modified Multimedia Instruction Mathematical Problem Solving Achievements and Beliefs of Sixth – Grade Students in Taiwan, The Republic of China,” Dissertation Abstracts International. 55 (05) : 1214 - A.

Osoko, M. K. (1999 , May). “Using Technology to Improve Instructional Practices (Multimedia Technology),” Dissertation Abstracts International. 59 (11) : 4049A.

Park, K. (1993, November). “A Comparative Study the Traditional Calculus Course vs. the Calculus & Mathematics Course,” (University of Illinois at Urbana-Champaign, 1993). Dissertation Abstracts International. 54 : 119A.

Parson, R. (1997). Type of the Web-based Instruction. (on-line). Available : http://www.oise.on/ca/~rperson/Ypes.htm 14 มิถุนายน 2548.