19
เฟียเจต์ ( Piaget)

เฟียเจท์ 1

Embed Size (px)

Citation preview

เฟ ียเจต ์ (Piaget)

ทฤษฎีเก ี่ยว ก ับพัฒนาการเชาวน์ป ัญญาที่ผ ู้เขยีนเห ็นว ่าม ี

ประโยชน์ ส ำาหร ับคร ู ค ือ ทฤษฎีของนักจติว ิทยาชาว สว ิส ชื่อ เพ ีย

เจต ์ (Piaget) ที่จร ิงแล ้วเพ ียเจต ์ได ้ร ับปร ิญญาเอกทาง

ว ิทยาศาสตร ์ สาขาสัตว ิทยา ที่ มหาว ิทยาล ัย Neuchatel ประเทศ

สว ิสเซอร ์แลนด์ หลังจากได้ร ับปร ิญญา

เอก ในปี ค.ศ.1918 เพ ียเจต ์ได ้ ไปทำางานกับบ ีเนต ์ (Binet) และซี

โม (Simon) ผู้ซ ึ่งเป ็นผ ู้แต ่ง ข้อสอบเชาวน์ข ึน้ เป ็นคร ั้งแรก

เพียเจต ์ม ีหน ้าท ี่ทดสอบเด ็กเพ ื่อจะหาปทัสถาน(Norm)สำาหร ับเด ็กแต ่ละว ัย

เฟียเจต์พบคำาตอบของเด็กน่าสนใจมาก โดยเฉพาะคำาตอบของเด็กที่เยาว์วัยเพราะมักจะตอบผิด แต่เมื่อเพียเจต์ได้วิเคราะห์คำาตอบที่ผิดเหล่านั้นก็พบว่าคำาตอบของเด็กเล็กที่ต่างไปจากคำาตอบของเด็กโตเพราะมีความคิดที่ต่างกัน คณุภาพของคำาตอบของเด็กที่วัยต่างกัน มักจะแตกต่างกัน แต่ไม่ควรที่จะบอกว่าเด็กโตฉลาดกว่าเด็กเล็ก หรือคำาตอบของเด็กเล็กผิด การทำางานกับนายแพทย์บีเนต์ระหว่างปีค.ศ.1919 ถึง ค.ศ.1921 เป็นจุดเริ่มต้นของความสนใจเพียเจต์เก่ียวกับพัฒนาการเชาวน์ปญัญา

เพ ียเจต ์ (Piaget) ได้ศ ึกษาเก ี่ยวก ับพ ัฒนาการทางด ้านความคิดของเด ็กว ่าม ีข ั้นตอนหรือกระบวนการ

อย่างไร ทฤษฎีของเพ ียเจต ์ต ั้งอย ู่บนรากฐานของทั้งองค ์

ประกอบที่เป ็นพ ันธ ุกรรม และส ิ่งแวดล ้อม

เฟียเจท์อธิบายว่า การเรียนรู้ของเด็กเปน็ไปตามพฒันาการทางสติปัญญา ซึ่งจะมีพัฒนาการไปตามวัยต่าง ๆ เปน็ลำาดับขั้น พัฒนาการเปน็สิ่งที่เป็นไปตามธรรมชาติ ไม่ควรที่จะเร่งเด็กให้ข้ามจากพฒันาการจากขัน้หนึ่งไปสูอ่ีกขั้นหนึ่ง เพราะจะทำาให้เกิดผลเสยีแก่เด็ก แต่การจัดประสบการณ์สง่เสริมพัฒนาการของเด็กในชว่งที่เด็กกำาลังจะพัฒนาไปสู ่ขั้นที่สงูกว่า สามารถช่วยให้เด็กพัฒนาไปอยา่งรวดเร็ว

อย่างไรก็ตาม เพยีเจต์เนน้ความสำาคัญของการเข้าใจธรรมชาตแิละพฒันาการของเด็กมากกว่าการ กระตุน้เด็กใหมี้พฒันาการเร็วขึ้น เพยีเจต์สรุปวา่ พฒันาการของเด็กสามารถอธิบายได้โดยลำาดับระยะพฒันาทางชวีวิทยาทีค่งที ่แสดงให้ปรากฏโดยปฏิสมัพนัธ์ของเด็กกบัสิ่งแวดลอ้ม

เพียเจต์กล่าวว่า ระหว่างระยะเวลาตั้งแต่ทารกจนถึงวัยรุ่น คนเราจะคอ่ยๆสามารถปรับตัวเข้ากับสิง่แวดล้อมได้มากขึ้นตามลำาดับขั้น โดยเพยีเจต์ได้แบง่ลำาดับขั้นของพฒันาการเชาวน์ปญัญาของมนุษย ์ไว้ 4 ขั้น ซึ่งเป็นขั้นพัฒนาการเชาวน์ปญัญา ดังนี้

•ขั้นท ี่1 ขั้นประสาทร ับร ู้และการเคล ื่อนไหว(Sensorimotor)

แรกเก ิด - 2 ขวบ ขั้นนี้เริ่มตั้งแต่แรกเกิดจนถึง 2 ปี พฤติกรรม

ของเด็กในวัยนี้ขึ้นอยู่กับการเคลื่อนไหวเปน็ส่วนใหญ่ ในวัยนี้เด็กแสดงออกทางด้านร่างกายให้เห็นว่ามีสติปญัญาด้วยการกระทำา เด็กสามารถแก้ปญัหาได้ แม้ว่าจะไม่สามารถอธิบายได้ด้วยคำาพูด เด็กจะต้องมีโอกาสที่จะปะทะกับสิ่งแวดล้อมด้วยตนเอง

•ขั้นท ี่2 ขั้นก ่อนปฏิบตั ิการคดิ(Preoperational) อาย ุ18 เด ือน - 7 ปี

เด็กก่อนเข้าโรงเรียนและวัยอนุบาล มีระดับเชาวน์ปญัญาอยู่ในขั้นนี้ เด็กวัยนี้มีโครงสร้างของสติปญัญา(Structure) ที่จะใช้สญัลักษณ์แทนวัตถุสิ่งของที่อยู่รอบๆตัว ได้ หรือ มีพัฒนาการทางด้านภาษา เด็กวัยนี้จะเริ่มด้วยการพูดเป็นประโยคและเรียนรู้คำาต่างๆเพิ่มขึ้น เด็กจะได้รู้จักคดิ ขั้นนี้ แบง่ออกเปน็ขั้นย่อยอีก 2 ขั้น คอื

1. ขั้นก ่อนเก ิดสงัก ัป (Preconceptual Thought)

เป็นขั้นพัฒนาการของเด็กอายุ 2-4 ปี เปน็ชว่งที่เด็กเริ่มมีเหตุผลเบือ้งต้น สามารถจะโยงความสัมพันธ์ระหว่างเหตุการณ์ 2 เหตุการณ์ หรือมากกว่ามาเป็นเหตุผลเก่ียวโยงซึ่งกันและกัน แต่เหตุผลของเด็กวัยนีย้ังมีขอบเขตจำากัดอยู่ เพราะเด็กยังคงยึดตนเองเป็นศูนย์กลาง คอืถือความคดิตนเองเปน็ใหญ่ และมองไม่เห็นเหตุผลของผู้อื่น ความคิดและเหตุผลของเด็กวัยนี้ จึงไม่คอ่ยถูกต้องตามความเปน็จริงนัก แต่พัฒนาการทางภาษาของเด็กเจริญรวดเร็วมาก

2. ขั้นการคิดแบบญาณหยั่งร ู้ นกึออกเองโดยไม่ ใช้เหต ุผล (Intuitive Thought)

เปน็ขั้นพัฒนาการของเด็ก อายุ 4-7 ปี ขั้นนี้เด็กจะเกิดความคดิรวบยอดเก่ียวกับสิ่งต่างๆ รวมตัวดีขึ้น เริ่มมีพัฒนาการเก่ียวกับการอนุรักษ์ แต่ไม่แจ่มชัดนัก สามารถแก้ปัญหาเฉพาะหน้าได้โดยไม่คดิเตรียมล่วงหนา้ไว้ก่อน รู้จักนำาความรู้ในสิ่งหนึง่ไปอธิบายหรือแก้ปัญหาอื่นและสามารถนำาเหตุผลทั่วๆ ไปมาสรุปแก้ปญัหา โดยไม่วิเคราะห์อย่างถ่ีถ้วนเสียก่อน การคดิหาเหตุผลของเด็กยังขึ้นอยู่กับสิ่งที่ตนรับรู้ หรือสมัผัสจากภายนอก

•ขั้นท ี3่ ขั้นปฏบิ ัต ิการคิดด ้านร ูปธรรม (Concrete Operations)( อายุ 7 - 11 ปี)

พฒันาการทางด้านสติปัญญาและความคิดของเด็กวัยนี้แตกต่างกันกับเด็กในข้ัน Preperational มาก เด็กวัยนีจ้ะสามารถสร้างกฎเกณฑ์ และตั้งกฎเกณฑ ์ในการ แบ่งสิ่งแวดล้อมออกเป็นหมวดหมูไ่ด้ คือ เด็กจะสามารถทีจ่ะอ้างอิงด้วยเหตุผลและไมข้ึ่นกบัการรับรู้จากรูปร่างเทา่นั้น เด็กวัยนี้สามารถแบ่งกลุ่มโดยใช้เกณฑ์หลายๆอยา่ง และคิดยอ้นกลับ (Reversibility) ได้ ความเข้าใจเกี่ยวกับกิจกรรมและความสัมพนัธ์ของตัวเลขก็เพิ่มมากข้ึน

•ขั้นท ี4่ ข้ันปฏบิัติการคิดด้วยนามธรรม (Formal Operations) อายุ 12 ปีข ึน้ไป

ในข้ันนีพ้ัฒนาการเชาวนป์ัญญาและความคิดเห็นของเด็กเป็นข้ันสดุยอด คือ เด็กในวัยนี้จะเริ่มคิดเป็นผู้ใหญ ่ความคิดแบบเด็กสิ้นสุดลง เด็กสามารถทีจ่ะคิดหาเหตุผลนอกเหนือไปจากข้อมลูที่มอียู ่สามารถทีจ่ะคิดเป็นนกัวิทยาศาสตร์ สามารถทีจ่ะตั้งสมมตุิฐานและทฤษฎแีละเหน็ว่าความจริงทีเ่ห็นด้วยกบัการรับรู้ไม่สำาคัญเทา่กับการคิดถึงสิ่งทีอ่าจเป็นไปได้(Possibility

พัฒนาการทางการรู้คิดของเด็กในชว่งอายุ 6 ปีแรกของชวีิต ซึ่งเพียเจต์ ได้ศึกษาไว้เปน็ประสบการณ์ สำาคญัที่เด็กควรได้รับการส่งเสริม มี 6 ขั้น ได้แก่

1.ขั้นความรู้แตกต่าง (Absolute Differences) 2.ขั้นรู้สิง่ตรงกันข้าม (Opposition) 3.ขั้นรู้หลายระดับ (Discrete Degree) 4.ขั้นความเปลี่ยนแปลงต่อเนื่อง (Variation)•ขั้นรู้ผลของการกระทำา (Function)6. ขั้นการทดแทนอย่างลงตัว (Exact Compensation)

กระบวนการทางสติป ัญญามลี ักษณะดังน ี้

1)การซึมซับหรือการดูดซึม (assimilation) เป็นกระบวนการทางสมองในการรับประสบการณ์ เรื่องราว และข้อมลูต่าง ๆ เข้ามาสะสมเก็บไว้เพือ่ใช้ประโยชน์ต่อไป

2. การปรับและจัดระบบ (accommodation) คือ กระบวนการทางสมองในการปรับ ประสบการณ์เดิมและประสบการณ์ใหมใ่ห้เข้ากันเป็นระบบ

3. การเกิดความสมดุล (equilibration) เป็นกระบวนการที่เกิดข้ึนจากข้ันของการปรับ หากการปรับเป็นไปอยา่งผสมผสานกลมกลืนก็จะมคีวามสมดุลข้ึน หากไม่สามารถปรับประสบการณ์ใหมแ่ละประสบการณ์เดิมใหเ้ข้ากันได้ ก็จะเกดิความไมส่มดุลข้ึน ซึ่งจะเกิดความขัดแย้งทางปัญญาข้ึนในตัวบุคคล

การนำาไปใช้ในการจดัการศกึษา / การสอน

1.เมือ่ทำางานกับนกัเรียน ผู้สอนควรคำานงึถงึพัฒนาการทางสติปํญญาของนักเรียนดังต่อไปนี้

1.1)นกัเรียนทีม่อีายุเท่ากันอาจมข้ัีนพัฒนาการทางสติปัญญาทีแ่ตกต่างกัน

1.2)นกัเรียนแต่ละคนจะได้รับประสบการณ์ 2 แบบคือ1.2.1>ประสบการณ์ทางกายภาพ (physical experiences) จะเกิดข้ึนเมือ่นักเรียนแต่ละคนได้ปฏสิัมพนัธ์กบัวัตถุต่าง ในสภาพแวดล้อม โดยตรง1.2.2>ประสบการณ์ทางตรรกศาสตร์ (Logicomathematical experiences) จะเกิดข้ึน เมื่อนกัเรียนได้พฒันาโครงสร้างทางสติปัญญาให้ความคิดรวบยอดทีเ่ป็นนามธรรม

2.หลักสูตรที่สร้างขึ้นบนพื้นฐานทฤษฎีพัฒนาการทางสติปญัญาของเพียเจต์ ควรมีลักษณะดังต่อไปนี้คอื

1.เน้นพัฒนาการทางสติปญัญาของผู้เรียนโดยต้องเน้นให้นักเรียนใชศ้ักยภาพของตนเองให้มากที่สุด2.เสนอการเรียนการเสนอที่ให้ผู้เรียนพบกับความแปลกใหม่3.เน้นการเรียนรู้ต้องอาศัยกิจกรรมการค้นพบ4.เน้นกิจกรรมการสำารวจและการเพิ่มขยายความคดิในระหว่างการเรียนการสอน5.ใชกิ้จกรรมขัดแย้ง (cognitive conflict activities) โดยการรับฟังความคิดเห็นของผูอ้ื่นนอกเหนือจากความคิดเห็นของตนเอง

3.การสอนทีส่่งเสริมพัฒนาการทางสติปัญญาของผู้เรียนควรดำาเนนิการดังต่อไปนี้

1) ถามคำาถามมากกว่าการใหค้ำาตอบ2) ครูผู้สอนควรจะพูดให้นอ้ยลง และฟงัใหม้ากข้ึน3) ควรใหเ้สรีภาพแก่นกัเรียนทีจ่ะเลือกเรียนกจิกรรมต่าง ๆ4) เมื่อนกัเรียนให้เหตุผลผิด ควรถามคำาถามหรือจัดประสบการณ์ใหน้กัเรียนใหม ่5) ชี้ระดับพฒันาการทางสติปัญญาของนกัเรียนจากงานพฒันาการทางสติปัญญาข้ันนามธรรมเพื่อดูว่านักเรียนคิดอย่างไร6) ยอมรับความจริงทีว่่า นักเรียนแต่ละคนมอัีตราพัฒนาการทางสติปัญญาทีแ่ตกต่างกัน7) ผู้สอนต้องเข้าใจว่านกัเรียนมคีวามสามารถเพิม่ข้ึนในระดับความคิดข้ันต่อไป8) ตระหนักว่าการเรียนรู้ทีเ่กิดข้ึนเพราะจดจำามากกว่าทีจ่ะเข้าใจ เป็นการเรียนรู้ทีไ่มแ่ท้จริง (pseudo learning)

4.ในขัน้ประเมินผล ควรดำาเนินการสอนต่อไปนี้

1) มีการทดสอบแบบการให้เหตุผลของนักเรียน2) พยายามให้นักเรียนแสดงเหตุผลในการตอนคำาถามนั้น ๆ3) ต้องชว่ยเหลือนักเรียนทีมีพัฒนาการทางสติปญัญาตำ่ากว่าเพื่อร่วมชั้น