30
คูมือนักศึกษา ประจำปการศึกษา 2560 ACADEMIC YEAR 2017 MTT หลักสูตรปริญญาโท วิทยาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาการบริหารเทคโนโลยี Master of Science Program in Technology Management College of Innovation, Thammasat University

MTTmtt.citu.tu.ac.th/public/upload/MTT_Curriculum_Technology...ค ม อน กศ กษา ประจำป การศ กษา 2560 ACADEMIC YEAR 2017 MTT หล กส ตรปร

  • Upload
    ngokien

  • View
    236

  • Download
    0

Embed Size (px)

Citation preview

Page 1: MTTmtt.citu.tu.ac.th/public/upload/MTT_Curriculum_Technology...ค ม อน กศ กษา ประจำป การศ กษา 2560 ACADEMIC YEAR 2017 MTT หล กส ตรปร

คูมือนักศึกษาประจำปการศึกษา 2560

ACADEMIC YEAR 2017

MTT

หลักสูตรปริญญาโทวิทยาศาสตรมหาบัณฑิต

สาขาวิชาการบริหารเทคโนโลยี

Master of Science Program in Technology ManagementCollege of Innovation, Thammasat University

Page 2: MTTmtt.citu.tu.ac.th/public/upload/MTT_Curriculum_Technology...ค ม อน กศ กษา ประจำป การศ กษา 2560 ACADEMIC YEAR 2017 MTT หล กส ตรปร

หลักสูตร

วิทยาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาการบริหารเทคโนโลย ี

Master of Science Program in Technology Management

หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ 2560

(แบบ มคอ.2)

Page 3: MTTmtt.citu.tu.ac.th/public/upload/MTT_Curriculum_Technology...ค ม อน กศ กษา ประจำป การศ กษา 2560 ACADEMIC YEAR 2017 MTT หล กส ตรปร

สารบัญ

หมวดท่ี 1 ขอมูลท่ัวไป…………………………………………………………………………………………………….. 1

หมวดท่ี 2 ขอมูลเฉพาะของหลักสูตร………………………………………………………………………………… 4

หมวดท่ี 3 ระบบการจัดการศึกษา การดําเนินการ และโครงสรางของหลักสูตร………………………. 6

หมวดท่ี 4 หลักเกณฑในการประเมินผลนักศึกษา……………………………………………........................ 27

Page 4: MTTmtt.citu.tu.ac.th/public/upload/MTT_Curriculum_Technology...ค ม อน กศ กษา ประจำป การศ กษา 2560 ACADEMIC YEAR 2017 MTT หล กส ตรปร

หลักสูตรวิทยาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาการบริหารเทคโนโลย ี | หนา 1

หลักสูตร

วิทยาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาการบริหารเทคโนโลย ี

หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. 2560

------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------

ช่ือสถาบันอุดมศึกษา มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร

วิทยาเขต/คณะ/ภาควิชา ศูนยทาพระจันทร และศูนยพัทยา

วิทยาลัยนวัตกรรม

------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------

หมวดที ่1 ขอมูลทั่วไป 1. รหัสและช่ือหลักสูตร

รหัสหลักสูตร: 25510051108541

ชื่อภาษาไทย: หลักสูตรวิทยาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาการบริหารเทคโนโลย ี

ชื่อภาษาอังกฤษ: Master of Science Program in Technology Management

2. ช่ือปริญญาและสาขาวิชา

ภาษาไทย ชื่อเต็ม วิทยาศาสตรมหาบัณฑิต (การบริหารเทคโนโลยี)

ชื่อยอ วท.ม. (การบริหารเทคโนโลยี)

ภาษาอังกฤษ ชื่อเต็ม Master of Science (Technology Management)

ชื่อยอ M.S. (Technology Management)

3. วิชาเอก (ถามี)

ไมมี

4. จํานวนหนวยกิตท่ีเรียนตลอดหลักสูตร

จํานวนหนวยกิตตลอดหลักสูตร 36 หนวยกิต

Page 5: MTTmtt.citu.tu.ac.th/public/upload/MTT_Curriculum_Technology...ค ม อน กศ กษา ประจำป การศ กษา 2560 ACADEMIC YEAR 2017 MTT หล กส ตรปร

หลักสูตรวิทยาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาการบริหารเทคโนโลย ี | หนา 2

5. รูปแบบของหลักสูตร

5.1 รูปแบบ หลักสูตรระดับปริญญาโท ศึกษา 2 ป

5.2 ภาษาท่ีใช หลักสูตรจัดการศึกษาเปนภาษาไทย

5.3 การรับเขาศึกษา รับนักศึกษาไทย

5.4 ความรวมมือกับสถาบันอ่ืน เปนหลักสูตรของสถาบันโดยเฉพาะ

5.5 การใหปริญญาแกผูสําเร็จการศึกษา ใหปริญญาเพียงสาขาวิชาเดียว

6. อาชีพท่ีสามารถประกอบไดหลังสําเร็จการศึกษา

สามารถประกอบอาชีพในระดับบริหารจัดการเก่ียวกับเทคโนโลยีสารสนเทศ และสายอาชีพท่ีนํา

เทคโนโลยีเขามาประยุกตในดานการบริหารจัดการ การผลิตสินคาหรือบริการ จนทําใหเกิดการเปลี่ยนแปลง

กระบวนการผลิต หรือกระบวนการทํางานภายในองคกรท้ังในภาครัฐและเอกชน ดังตอไปนี้

6.1 ผูจัดการเทคโนโลยีสารสนเทศ

6.2 ผูจัดการดานซอฟตแวร

6.3 นักวิเคราะหและออกแบบระบบงาน

6.4 นักวิชาการดานเทคโนโลยีสารสนเทศ

6.5 ผูดูแลพัฒนาระบบเครือขายและเครือขายแม

6.6 ผูดูแลระบบเทคโนโลยีสารสนเทศ

6.7 นักวิชาชีพในสถานประกอบการท่ีมีการใชเทคโนโลยีสารสนเทศ เปนตน

7. สถานท่ีจัดการเรียนการสอน

จัดการเรียนการสอน 2 แหง โดยนักศึกษาเปนผูเลือกสถานท่ีเรียนในวันสมัครเขาศึกษา โดยใช

สถานท่ีและอุปกรณการเรียนการสอน

- วิทยาลัยนวัตกรรม มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร ทาพระจันทร

- อุทยานการเรียนรู (Learning Resort) มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร ศูนยพัทยา จังหวัดชลบุรี

8. สถานการณภายนอกหรือการพัฒนาท่ีจําเปนตองนํามาพิจารณาในการวางแผนหลักสูตร

8.1 สถานการณหรือการพัฒนาทางเศรษฐกิจ

“Innovation has been essential to our prosperity in the past, and it will be

essential to our prosperity in the future.”

US President Barack Obama

Page 6: MTTmtt.citu.tu.ac.th/public/upload/MTT_Curriculum_Technology...ค ม อน กศ กษา ประจำป การศ กษา 2560 ACADEMIC YEAR 2017 MTT หล กส ตรปร

หลักสูตรวิทยาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาการบริหารเทคโนโลย ี | หนา 3

นวัตกรรมนับเปนกุญแจหลักท่ีชวยผลักดันหนวยเศรษฐกิจของประเทศ และชวยเพ่ิมขีด

ความสามารถในการแขงขันของภาคเอกชนไปสูระดับสากล ดังท่ีสะทอนในคํากลาวขางตนของ

ประธานาธิบดีบารัค โอบามา แหงประเทศสหรัฐอเมริกา ความสามารถดานนวัตกรรมของประเทศจึง

นับเปนปจจัยสําคัญท่ีจะชวยในการฟนตัวของเศรษฐกิจไทย ดังนั้น วิทยาลัยนวัตกรรม มหาวิทยาลัย

ธรรมศาสตร นับเปนสถาบันอุดมศึกษาหลักของประเทศไทยแหงหนึ่งท่ีไดริเริ่มระบบการเรียนการสอนท่ีมี

บทบาทสําคัญในการสรรสรางนวัตกรรมทางวิชาการ เพ่ือตอบสนองความตองการของสังคมในการพัฒนา

เศรษฐกิจภาคอุตสาหกรรม โดยหลักสูตรการบริหารเทคโนโลยีไดปรับปรุงเนื้อหาหลักสูตรใหมีความ

เหมาะสม สอดคลองกับสถานการณของภูมิภาคและของโลกในยุคปจจุบัน เปนการเตรียมความพรอมของ

บุคลากรในการเปนองคกรท่ีสนับสนุนความเขมแข็งดานนวัตกรรม สงผลใหเกิดการเปลี่ยนแปลง(Change)

โดยมีเปาหมายเพ่ือใหเกิดการสรางมูลคาเพ่ิม (Value Creation) แกเศรษฐกิจของประเทศ และเปนการ

เสริมสรางขีดความสามารถในการแขงขันของประเทศ

8.2 สถานการณหรือการพัฒนาทางสังคมและวัฒนธรรม

ปจจุบันสถาบันการศึกษาในประเทศไทยไดเริ่มสรางความตื่นตัวในสังคมไทยเพ่ือนําไปสูการ

สรางสรรคนวัตกรรมทางวิชาการ เชนเดียวกับหลักสูตรการบริหารเทคโนโลยี ของวิทยาลัยนวัตกรรม ท่ีมี

ความมุงม่ันพัฒนาหลักสูตรการศึกษาอยางตอเนื่อง เพ่ือเพ่ิมคุณภาพหลักสูตรท่ีมีอยูในปจจุบันและเนนการ

ผลิตบัณฑิตท่ีมีคุณภาพ เพ่ือใหสามารถตอบสนองตอความตองการของสังคม การจัดระบบการเรียนการ

สอนนับเปนความทาทายและความพยายามในการสรางฐานการพัฒนาหลักสูตรสําหรับสังคมไทย ในหลาย

องคกรไดมีการนําแนวคิดของการพัฒนาความเปนผูนําในองคกร การบริหารการเปลี่ยนแปลงของ

สภาพแวดลอมสมัยใหม เพ่ือสรางวัฒนธรรม การสรางความผูกพัน และความเชื่อม่ัน เพ่ือนําไปสูการปฏิบัติ

และการเปลี่ยนแปลงภายในองคกร

Page 7: MTTmtt.citu.tu.ac.th/public/upload/MTT_Curriculum_Technology...ค ม อน กศ กษา ประจำป การศ กษา 2560 ACADEMIC YEAR 2017 MTT หล กส ตรปร

หลักสูตรวิทยาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาการบริหารเทคโนโลย ี | หนา 4

หมวดที ่2 ขอมูลเฉพาะของหลักสูตร

1. ปรัชญา ความสําคัญ และวัตถุประสงคของหลักสูตร

1.1 ปรัชญา

ปจจุบันเทคโนโลยีมีบทบาทสําคัญอยางยิ่งตอการพัฒนาองคกรและประเทศชาติ การบริหารและ

การพัฒนากระบวนการทํางานเพ่ือใหองคกรสามารถอยูรอด และมีประสิทธิภาพเหนือคูแขง ทําไดดวยการ

นําเทคโนโลยีมาประยุกตใช ท้ังเทคโนโลยีข้ันพ้ืนฐานและเทคโนโลยีชั้นสูงท่ีเหมาะสมกับสภาวะภายในและ

ภายนอกองคกร วิทยาลัยนวัตกรรม มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร เล็งเห็นถึงความสําคัญของการจัดการศึกษา

เพ่ือพัฒนาทรัพยากรบุคคลของชาติ ใหมีความรูในดานการบริหารจัดการเทคโนโลยีอยางมีประสิทธิภาพ

และเกิดผลสัมฤทธิ์สูงสุด เพ่ือเปนผูนําทางดานการเรียนรูเก่ียวกับนวัตกรรมและเทคโนโลยี สรางมาตรฐาน

การเรียนการสอนและผลงานวิจัยในระดับชาติและนานาชาติ โดยมีปรัชญาในการสรางพลังจากความ

หลากหลาย (Synergy from Diversity) กาวไกลดวยคุณธรรม (Excellence with Ethics) มุ งสราง

นวัตกรรมการศึกษาและพัฒ นาโดย คํานึ งถึ งองค รวม (Educational Innovation with Holistic

Development)

1.2 ความสําคัญของหลักสูตร

วิทยาลัยนวัตกรรม มหาวิทยาลัยธรรมสาสตร จึงไดเปดสอนหลักสูตรปริญญาโท สาขาวิชาการ

บริหารเทคโนโลยีข้ึน โดยมีเนื้อหาหลักสูตรเปนลักษณะสหวิทยาการ (Multi-Disciplinary) ผสมผสาน

ศาสตรจากหลากหลายองคความรู อาทิ ความรูดานการจัดการเทคโนโลยี (Management of Technology

Centered Knowledge) ความรูด าน ท่ี เก่ียวของกับองคกร (Knowledge of Corporate Function)

ความรูเทคโนโลยีเฉพาะทาง (Technology-Centered Knowledge) และความรูดานอ่ืนท่ีเปนประโยชน

(Knowledge of Supporting Disciplines) ซ่ึงสอดคลองกับการกําหนดกลุมองคความรูของสมาคมการ

บริหารเทคโนโลยีนานาชาติ (International Association for Management of Technology – IAMOT)

นอกจากนั้น ยังมีการใชบุคลากรผูสอนท้ังท่ีเปนอาจารยประจําของวิทยาลัย อาจารยประจําจากคณะตางๆ

ภายในมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร เชน คณะพาณิชยศาสตรและการบัญชี คณะวิศวกรรมศาสตร เปนตน

และมีการเชิญผูทรงคุณวุฒิภายนอกรวมบรรยาย เพ่ือใหเนื้อหาวิชาไดมีการผสมผสานระหวางความรู

ภาคทฤษฎีพ้ืนฐาน และความรูเชิงประยุกตในสัดสวนท่ีเหมาะสม โดยมีวัตถุประสงคใหนักศึกษามีมุมมอง

แบบบูรณาการ และมีการคิดอยางเปนระบบ (Integrated & Systematic Thinking) สามารถนําความรูท่ีได

ไปประยุกตใช กับการทํางานในองคกรได เปนอยางดี (Technology Commercialization) และเปน

ประโยชนตอการพัฒนาตนเอง

Page 8: MTTmtt.citu.tu.ac.th/public/upload/MTT_Curriculum_Technology...ค ม อน กศ กษา ประจำป การศ กษา 2560 ACADEMIC YEAR 2017 MTT หล กส ตรปร

หลักสูตรวิทยาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาการบริหารเทคโนโลย ี | หนา 5

1.3 วัตถุประสงคของหลักสูตร

เพ่ือใหมหาบัณฑิตท่ีสําเร็จการศึกษาในหลักสูตรมีลักษณะ ดังนี้

1. สรางสรรคงานวิจัยสาขาการบริหารเทคโนโลยีและนวัตกรรม เพ่ือใหสอดคลองกับการ

เปลี่ยนแปลงสภาพแวดลอมของธุรกิจ

2. มีความรูความสามารถ และทักษะในการบริหารจัดการเทคโนโลยีและนวัตกรรม เพ่ือให

สามารถพัฒนาองคกรได

3. มีวิสัยทัศน สามารถนําพาองคกรใหประสบความสําเร็จภายใตการเปลี่ยนแปลงของ

ปจจัยแวดลอม ท้ังดานเศรษฐกิจ การเมือง สังคม และเทคโนโลยี

4. มีความตระหนักถึงหนาท่ีและความรับผิดชอบตอสังคม รวมท้ังมีคุณธรรมและจริยธรรม

ทางวิชาชีพ

Page 9: MTTmtt.citu.tu.ac.th/public/upload/MTT_Curriculum_Technology...ค ม อน กศ กษา ประจำป การศ กษา 2560 ACADEMIC YEAR 2017 MTT หล กส ตรปร

หลักสูตรวิทยาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาการบริหารเทคโนโลย ี | หนา 6

หมวดที่ 3 ระบบการจัดการศึกษา การดําเนินการ และโครงสรางของหลักสูตร

1. ระบบการจัดการศึกษา

1.1 ระบบ

ใชระบบการศึกษาแบบทวิภาค โดยปการศึกษาหนึ่งๆ ใหแบงออกเปน 2 ภาคการศึกษาปกติ และ

ภาคฤดูรอน โดยภาคการศึกษาปกติมีระยะเวลาศึกษาไมนอยกวา 15 สัปดาห และภาคฤดูรอนใชระยะเวลา

การศึกษา ไมนอยกวา 8 สัปดาห แตใหเพ่ิมชั่วโมงการศึกษาในแตละรายวิชาใหเทากับภาคการศึกษาปกติ

1.2 การจัดการศึกษาภาคฤดูรอน

ไมมี

1.3 การเทียบเคียงหนวยกิตในระบบทวิภาค

ไมมี

2. การดําเนินการหลักสูตร

2.1 วันและเวลาในการดําเนินการเรียนการสอน

ศึกษานอกวัน – เวลาราชการ

เรียนวันจันทร – ศุกร เวลา 18.00 น. ถึง 21.00 น.

เรียนวันเสาร - อาทิตย เวลา 09.00 น. ถึง 16.00 น.

ภาคการศึกษาท่ี 1 เดือนสิงหาคม – ธันวาคม

ภาคการศึกษาท่ี 2 เดือนมกราคม – พฤษภาคม

2.2 คุณสมบัติของผูเขาศึกษา

คุณสมบัติของผูเขาศึกษาตองเปนไปตามขอบังคับมหาวิทยาลัยธรรมศาสตรวาดวยการศึกษาระดับ

บัณฑิตศึกษา พ.ศ. 2553 ขอ 7 และเปนผูท่ีสําเร็จการศึกษาระดับปริญญาตรี หรือเทียบเทา (ไมจํากัดสาขา)

จากสถาบันการศึกษาในประเทศ หรือตางประเทศท่ีสภามหาวิทยาลัยรับรองวิทยฐานะ

การคัดเลือกผูเขาศึกษา

• การทดสอบความรู ผู เขาศึกษาจะตองทดสอบความรูทางคณิตศาสตรตามแนว GMAT ท่ี

วิทยาลัยนวัตกรรมจัดสอบ

• การทดสอบภาษาอังกฤษ ผูเขาศึกษาจะตองสงผลทดสอบความรูภาษาอังกฤษ (TU-GET) ซ่ึงจัด

สอบโดยสถาบันภาษา มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร หรือ ผลคะแนน TOEFL หรือ ผลคะแนน

IELTS ท้ังนี้ ผลคะแนนการทดสอบจะตองมีอายุไมเกิน 2 ป นับถึงวันสมัคร

Page 10: MTTmtt.citu.tu.ac.th/public/upload/MTT_Curriculum_Technology...ค ม อน กศ กษา ประจำป การศ กษา 2560 ACADEMIC YEAR 2017 MTT หล กส ตรปร

หลักสูตรวิทยาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาการบริหารเทคโนโลย ี | หนา 7

• การสอบสัมภาษณ

เ ง่ือน ไข อ่ืน ๆ ให เป น ไป ต ามป ระกาศรั บ ส มั ค รบุ ค คล เข า ศึ กษ าใน ระดั บ บั ณ ฑิ ต ศึ กษ าขอ ง

มหาวิทยาลัยธรรมศาสตรและ/หรือวิทยาลัยนวัตกรรม

2.3 คาใชจายตลอดระยะเวลาหลักสูตร

คาใชจายตอหัวนักศึกษาตลอดระยะเวลาหลักสูตร 2 ป คือ 230,000 บาทตอคน โดยมีการบริหาร

จัดการเปนโครงการบริการการศึกษา (เพ่ือรับปริญญา) (โครงการพิเศษ) นักศึกษามีคาใชจายหลักไดแก คา

หนวยกิต ๆ ละ 3,000 บาท คาธรรมเนียมของมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร คาบํารุงรายป และคาธรรมเนียม

อ่ืน ๆ ของวิทยาลัยนวัตกรรมภาคการศึกษาละ 20,000 บาท ยกเวนภาคฤดูรอน ท้ังนี้ ไมรวมคาใชจายอ่ืน

ๆ เชน คาหนังสือ คาอุปกรณการศึกษา และการศึกษาดูงานตางประเทศ

2.4 ระบบการศึกษา

แบบชั้นเรยีน

แบบทางไกลผานสื่อสิ่งพิมพเปนหลัก

แบบทางไกลผานสื่อแพรภาพและเสียงเปนหลัก

แบบทางไกลทางอิเล็กทรอนิกสเปนสื่อหลัก (E-learning)

แบบทางไกลทางอินเตอรเน็ต

อ่ืนๆ (ระบุ)

ถึงแมระบบการศึกษาจะเปนแบบชั้นเรียน แตหลักสูตรจะใชเทคนิคการเรียนการสอนแบบ

ผสมผสาน เพ่ือใหเหมาะสมกับนักศึกษาซ่ึงเปนผู ท่ีมีประสบการณการทํางานดานการบริหารจัดการ

เทคโนโลยีสารสนเทศมาแลวระดับหนึ่ง โดยเทคนิคท่ีจะใชในการสรางการเรียนรู ประกอบดวย การเรียนรู

จากปญหาท่ีเผชิญอยูในปจจุบัน หรือ Problem-based learning การบรรยาย การทํางานกลุม การทํางาน

วิจัยหรือโครงการเดี่ยว การวิเคราะหกรณีศึกษา รวมถึงการศึกษาดูงาน

3. รายละเอียดของหลักสูตร

3.1 จํานวนหนวยกิตและโครงสรางหลักสูตร

3.1.1 จํานวนหนวยกิต

จํานวนหนวยกิตรวมตลอดหลักสูตร 36 หนวยกิต

ระยะเวลาศึกษา เปนหลักสูตรแบบไมเต็มเวลา นักศึกษาตองใชระยะเวลาการศึกษาตลอดหลักสูตร

อยางนอย 4 ภาคการศึกษาปกติ และอยางมากไมเกิน 14 ภาคการศึกษาปกติ

Page 11: MTTmtt.citu.tu.ac.th/public/upload/MTT_Curriculum_Technology...ค ม อน กศ กษา ประจำป การศ กษา 2560 ACADEMIC YEAR 2017 MTT หล กส ตรปร

หลักสูตรวิทยาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาการบริหารเทคโนโลย ี | หนา 8

3.1.2 โครงสรางหลักสูตร

โครงสรางหลักสูตร แผน ก แบบ ก 2 แผน ข

วิชาบังคับ 24 หนวยกิต 24 หนวยกิต

วิชาเลือก - 6 หนวยกิต

วิทยานิพนธ 12 หนวยกิต -

การคนควาอิสระ - 6 หนวยกิต

จํานวนหนวยกิตรวมตลอดหลักสตูร 36 หนวยกิต 36 หนวยกิต

3.1.3 รายวิชา

รายวิชาในหลักสูตรประกอบดวยอักษรยอ 2 ตัว และเลขรหัส 3 หลัก โดยมีความหมายดังนี้

อักษรยอ นวต / CIT หมายถึง อักษรยอของรายวิชาท่ีจัดโดยวิทยาลัย

อักษรยอ บท / TM หมายถึง อักษรยอของสาขาวิชาการบริหารเทคโนโลยี

หลักเลข เลข หมวด

เลขหลักรอย

แสดงระดับการศึกษา

6 วิชาระดับปรญิญาโทข้ันตน

7 วิชาระดับปรญิญาโทข้ันสูง

8 วิทยานิพนธ

เลขหลักสิบ

แสดงประเภทของวิชา

0-1 วิชาดานสนับสนุนหลักวิชาการ (Knowledge of

Supporting Disciplines)

2 วิชาดานการจัดการธุรกิจ (Knowledge of

Corporate Functions)

3 วิชาดานการจัดการเทคโนโลยี (Management of

Technology Centered Knowledge)

4-5 วิชาดานความรูเทคโนโลยีเฉพาะทาง (Technology-

Centered Knowledge)

9 วิชาท่ีคนควาหรือวิจัยดวยตนเอง

เลขหลักหนวย

แสดงวิชาบังคับและเลือก

0-4 วิชาบังคับ

5-9 วิชาเลือก

Page 12: MTTmtt.citu.tu.ac.th/public/upload/MTT_Curriculum_Technology...ค ม อน กศ กษา ประจำป การศ กษา 2560 ACADEMIC YEAR 2017 MTT หล กส ตรปร

หลักสูตรวิทยาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาการบริหารเทคโนโลย ี | หนา 9

3.1.3.1 วิชาบังคับ

นักศึกษาท้ังแผน ก แบบ ก2 และแผน ข ใหศึกษาวิชาบังคับ 8 วิชา รวม 24 หนวยกิต ดังตอไปนี้

รหัสวิชา ชื่อวิชา จํานวนหนวยกิต

(บรรยาย – ปฏิบตัิ – ศึกษาดวยตนเอง)

นวต 600

CIT 600

การจัดการนวัตกรรม ความคิดสรางสรรค และเทคโนโลย ี

Managing Innovation, Creativity and Technology

3 (3-0-9)

นวต 601

CIT 601

ระเบียบวิธีวิจยั

Research Methodology

3 (3-0-9)

นวต 602

CIT 602

การตลาดเชิงนวัตกรรมและการจัดการตราผลิตภัณฑ

Innovative Marketing and Brand Management

3 (3-0-9)

บท 610

TM 610

เศรษฐศาสตรเทคโนโลย ี

Technology Economics

3 (3-0-9)

บท 620

TM 620

การวางแผนเงินทุนและกํากับดูแลการลงทุน

Capital Planning and Investment Control

3 (3-0-9)

บท 621

TM 621

การเงินและการบัญชีเพ่ือการบริหารเทคโนโลย ี

Finances and Accounting for Technology Management

3 (3-0-9)

บท 721

TM 721

กลยุทธนวัตกรรมธุรกิจและความเปนผูประกอบการ

Innovative Business Strategy and Entrepreneurship

3 (3-0-9)

บท 743

TM 743

การตัดสินใจในงานบริหารเทคโนโลย ี

Decision Making in Technology Management

3 (3-0-9)

3.1.3.2 วิชาเลือก

เฉพาะนักศึกษา แผน ข ใหเลือกศึกษา 2 วิชา รวม 6 หนวยกิต จากรายวิชาดังตอไปนี้

รหัสวิชา ชื่อวิชา จํานวนหนวยกิต

(บรรยาย – ปฏิบตัิ – ศึกษาดวยตนเอง)

บท 564

TM 645

การบริหารโครงการและการจัดการความเสี่ยง

Innovative Project & Risk Management

3 (3-0-9)

บท 718

TM 718

การคิดเชิงยุทธศาสตรและสรางสรรค

Thinking Strategically and Creativity

3 (3-0-9)

บท 726

TM 726

องคกรแหงนวัตกรรมและการบรหิารการเปลี่ยนแปลง

Innovative Organization and Change Management

3 (3-0-9)

บท 735

TM 735

สัมมนาการบรหิารนวัตกรรมและเทคโนโลย ี

Seminar on Innovation and Technology Management

3 (3-0-9)

บท 736

TM 736

การบริหารงานวิจัย พัฒนาและการถายทอดเทคโนโลย ี

R&D Management and Technology Transfer

3 (3-0-9)

Page 13: MTTmtt.citu.tu.ac.th/public/upload/MTT_Curriculum_Technology...ค ม อน กศ กษา ประจำป การศ กษา 2560 ACADEMIC YEAR 2017 MTT หล กส ตรปร

หลักสูตรวิทยาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาการบริหารเทคโนโลย ี | หนา 10

รหัสวิชา ชื่อวิชา จํานวนหนวยกิต

(บรรยาย – ปฏิบตัิ – ศึกษาดวยตนเอง)

บท 737

TM 737

ระบบการจัดการทรัพยากรเชิงปฏบัิติการ

Managing Operations Resources

3 (3-0-9)

บท 745

TM 745

การคาดการณเทคโนโลยีและแผนท่ีนําทาง

Technology Foresight and Road mapping

3 (3-0-9)

บท 747

TM 747

หัวขอพิเศษเศรษฐศาสตรนวัตกรรม

Special Topics in Economic of Innovation

3 (3-0-9)

บท 748

TM 748

การจดัการธุรกิจคาปลีก

Retailing Business Management

3 (3-0-9)

บท 755

TM 755

การจัดการโลจิสติกสและโซอุปทาน

Logistics and Supply Chain Management

3 (3-0-9)

3.1.3.3 วิชาการคนควาอิสระ (สําหรับนักศึกษา แผน ข)

รหัสวิชา ชื่อวิชา จํานวนหนวยกิต

(บรรยาย – ปฏิบตัิ – ศึกษาดวยตนเอง)

บท 791

TM 791

การคนควาอิสระ 1

Independent Study 1

3

บท 792

TM 792

การคนควาอิสระ 2

Independent Study 2

3

3.1.3.4 วิทยานิพนธ (สําหรับนักศึกษา แผน ก แบบ ก2)

รหัสวิชา ชื่อวิชา จํานวนหนวยกิต

(บรรยาย – ปฏิบตัิ – ศึกษาดวยตนเอง)

บท 800

TM 800

วิทยานิพนธ

Thesis

12

Page 14: MTTmtt.citu.tu.ac.th/public/upload/MTT_Curriculum_Technology...ค ม อน กศ กษา ประจำป การศ กษา 2560 ACADEMIC YEAR 2017 MTT หล กส ตรปร

หลักสูตรวิทยาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาการบริหารเทคโนโลย ี | หนา 11

3.1.4 แสดงแผนการศึกษา

หลักสูตรจัดการเรียนการสอนในระบบทวิภาค มีแผนการศึกษาดังนี้

ปการศึกษาท่ี 1/ภาคเรียนท่ี 1 (สําหรับนักศึกษา แผน ก แบบ ก 2 และ แผน ข)

นวต 600

CIT 600

การจัดการนวัตกรรม ความคิดสรางสรรค และเทคโนโลยี

Managing Innovation, Creativity and Technology

3 หนวยกิต

นวต 601

CIT 601

ระเบียบวิธีวิจัย

Research Methodology

3 หนวยกิต

บท 610

TM 610

เศรษฐศาสตรเทคโนโลย ี

Technology Economics

3 หนวยกิต

บท 621

TM 621

การเงินและการบัญชีเพ่ือการบริหารเทคโนโลยี

Finances and Accounting for Technology Management

3 หนวยกิต

รวม 12 หนวยกิต

ปการศึกษาท่ี 1/ภาคเรียนท่ี 2 (สําหรับนักศึกษา แผน ก แบบ ก 2 และ แผน ข)

นวต 602

CIT 602

การตลาดเชิงนวัตกรรมและการจัดการตราผลิตภัณฑ

Innovative Marketing and Brand Management

3 หนวยกิต

บท 620

TM 620

การวางแผนเงินทุนและกํากับดูแลการลงทุน

Capital Planning and Investment Control

3 หนวยกิต

บท 721

TM 721

กลยุทธนวัตกรรมธุรกิจและความเปนผูประกอบการ

Innovative Business Strategy and Entrepreneurship

3 หนวยกิต

บท 743

TM 743

การตัดสนิใจในงานบริหารเทคโนโลย ี

Decision Making in Technology Management

3 หนวยกิต

รวม 12 หนวยกิต

ปการศึกษาท่ี 1/ ภาคฤดูรอน (สําหรับนักศึกษา แผน ก แบบ ก 2 และ แผน ข)

แผน ก แบบ ก 2 แผน ข

TU 005 ภาษาอังกฤษ 1 3 หนวยกิต TU 005 ภาษาอังกฤษ 1 3 หนวยกิต

เฉพาะแผน ข สอบประมวลความรู

รวม 3 หนวยกิต รวม 3 หนวยกิต

Page 15: MTTmtt.citu.tu.ac.th/public/upload/MTT_Curriculum_Technology...ค ม อน กศ กษา ประจำป การศ กษา 2560 ACADEMIC YEAR 2017 MTT หล กส ตรปร

หลักสูตรวิทยาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาการบริหารเทคโนโลย ี | หนา 12

ปการศึกษาท่ี 2/ ภาคเรียนท่ี 1 (สําหรับนักศึกษา แผน ก แบบ ก 2 และ แผน ข)

แผน ก แบบ ก 2 แผน ข

บท 800

TM 800

วิทยานิพนธ

Thesis

6 หนวยกิต บท 791

TM 791

การคนควาอิสระ 1

Independent Study 1

3 หนวยกิต

TU 006 ภาษาอังกฤษ 2 3 หนวยกิต บท xxx วิชาเลือก 3 หนวยกิต

TU 006 ภาษาอังกฤษ 2 3 หนวยกิต

รวม 9 หนวยกิต รวม 9 หนวยกิต

ปการศึกษาท่ี 2/ ภาคเรียนท่ี 2 (สําหรับนักศึกษา แผน ก แบบ ก 2 และ แผน ข)

แผน ก แบบ ก 2 แผน ข

บท 800

TM 800

วิทยานิพนธ

Thesis

6 หนวยกิต บท 792

TM 792

การคนควาอิสระ 2

Independent Study 2

3 หนวยกิต

บท xxx วิชาเลือก 3 หนวยกิต

รวม 6 หนวยกิต รวม 6 หนวยกิต

Page 16: MTTmtt.citu.tu.ac.th/public/upload/MTT_Curriculum_Technology...ค ม อน กศ กษา ประจำป การศ กษา 2560 ACADEMIC YEAR 2017 MTT หล กส ตรปร

หลักสูตรวิทยาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาการบริหารเทคโนโลย ี | หนา 13

3.1.5 คําอธิบายรายวิชา

คําอธิบายรายวิชาของหลักสูตร มีดังนี้

รายวิชาบังคับ

นวต 600 การจัดการนวัตกรรม ความคิดสรางสรรค และเทคโนโลย ี 3 (3-0-9)

CIT 600 Managing Innovation, Creativity and Technology

การใชหลักการวิเคราะหท่ีชาญฉลาด แนวแน มีนวัตกรรม และมีความคิดสรางสรรคอยางโดดเดน เพ่ือ

กระบวนการและวิธีการตัดสินใจท่ีใชกับองคกรภาครัฐ องคกรภาคเอกชน และองคกรท่ีไมแสวงหาผลกําไร

โดยใชแนวทางจากสหสาขาวิชา นักศึกษาจะไดเรียนรูความทาทายระดับโลก และฝกใหเชี่ยวชาญในการ

แกปญหา การจัดการนวัตกรรม ความคิดสรางสรรค และเทคโนโลยี รวมท้ังศึกษากรอบความคิด แนวคิด

และเครื่องมือท่ีจําเปนตอการจัดการนวัตกรรม ความคิดสรางสรรค และเทคโนโลยี เทคนิคในการจัดการ

ความเปลี่ยนแปลง และวิธีการวางแผนในแบบตางๆ ท่ีเนนถึงกลยุทธ ความคิดสรางสรรค และกระบวนการ

คิดเชิงออกแบบ

นวต 601 ระเบียบวิธีวิจัย 3 (3-0-9)

CIT 601 Research Methodology

กระบวนการวิจัยเชิงปริมาณและเชิงคุณภาพเพ่ือใชในการตัดสินใจภายใตสภาวะท่ีมีความเปลี่ยนแปลง การ

แกไขปญหา และการคนหาองคความรูใหมดานนวัตกรรมการบริหารจัดการ การออกแบบงานวิจัย การ

เขาถึงแหลงขอมูล การเลือกกลุมตัวอยาง การเก็บขอมูล, กรณีศึกษา การวิเคราะหขอมูล การวิเคราะห

ประเด็น การเขียนรายงานการวิจัยและบทความวิชาการตามมาตรฐานสากล

นวต 602 การตลาดเชิงนวัตกรรมและการจัดการตราผลิตภัณฑ 3 (3-0-9)

CIT 602 Innovative Marketing and Brand Management

การใชหลักการตลาด ท่ีเนนถึงการใชนวัตกรรมในการปฏิสัมพันธกับลูกคา คูแขง พันธมิตร และ

สภาพแวดลอม การวางแผนการตลาดท่ีดําเนินการตั้งแตการออกแบบแนวความคิด การกําหนด สินคา

ราคา การสงเสริมการขาย และการกระจายความคิด สินคา และบริการ โดยศึกษาความตองการของ

ผูบริโภค ประเมินสภาพแวดลอมของการแขงขัน เลือกกลุมลูกคาท่ีเหมาะสม และพัฒนากลยุทธทาง

การตลาด รวมถึงการดําเนินการใหสามารถตอบสนองความตองการของลูกคา ริเริ่มการสรางนวัตกรรมท่ี

นําไปสูคุณคาท่ีลูกคาจะไดรับ และคุณคาตราสินคาใหกับผลิตภัณฑและองคกร นําทฤษฎี แนวความคิด และ

กลยุทธท่ีหลากหลายของการสรางตราสินคามาใชเปนแนวทางการปฏิบัติในบริบทจริง

Page 17: MTTmtt.citu.tu.ac.th/public/upload/MTT_Curriculum_Technology...ค ม อน กศ กษา ประจำป การศ กษา 2560 ACADEMIC YEAR 2017 MTT หล กส ตรปร

หลักสูตรวิทยาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาการบริหารเทคโนโลย ี | หนา 14

บท 610

TM 610

เศรษฐศาสตรเทคโนโลย ี

Technology Economics

3 (3-0-9)

การประยุกตนําทฤษฎีเศรษฐศาสตรการเงินและนโยบายวิทยาศาสตรมาชวยในการบริหารจัดการเทคโนโลยี

และนวัตกรรม โดยมุงหวังใหผูเรียนมีความเขาใจแนวคิดระบบนวัตกรรมแหงชาติ กรณีศึกษาการประยุกต

เศรษฐศาสตรเทคโนโลยีมาใชในการสรางความเขมแข็งทางเศรษฐกิจของประเทศตางๆ ท่ีมีความโดดเดนใน

การสรรสรางนวัตกรรม รวมถึงการเรียนรูนําดัชนีวิทยาศาสตร เทคโนโลยี และนวัตกรรม มาใชเปนเครื่องมือ

เพ่ือกําหนดนโยบายและการวางแผนดานวิทยาศาสตรและเทคโนโลยีของประเทศใหเปนไปอยางมี

ประสิทธิภาพ รวมถึงศึกษาแนวโนมการเปลี่ยนแปลงทางเทคโนโลยีท่ีคาดวาจะสงผลกระทบตอระบบ

เศรษฐกิจ เพ่ือเตรียมพรอมในการปรับรูปแบบการดําเนินโยบายท่ีจะชวยขับเคลื่อนระบบนวัตกรรมแหงชาติ

ตอไป

บท 620

TM 620

การวางแผนเงินทุนและกํากับดูแลการลงทุน

Capital Planning and Investment Control

3 (3-0-9)

การศึกษาและวิเคราะหขอมูลทางบัญชีและการเงิน ทฤษฎีการเงินเพ่ือชวยในการวิเคราะหการลงทุน

ทางดานเทคโนโลยีสารสนเทศ มูลคาของเงินตามเวลาการประเมินความคุมคาทางการเงิน การประเมิน

โครงการ การจัดทํางบประมาณ การวางแผนเงินทุน การบริหารความเสี่ยง การจัดหาแหลงเงินทุนเพ่ือ

สนับสนุนการพัฒนาธุรกิจเทคโนโลยี ตลอดจนการประเมินความคุมคาของการลงทุนในงานวิจัยทาง

วิทยาศาสตรและเทคโนโลยี

บท 621

TM 621

การเงินและการบัญชีเพ่ือการบริหารเทคโนโลยี

Finances and Accounting for Technology Management

3 (3-0-9)

การทําความเขาใจการบัญชีและงบการเงินเพ่ือการบริหารเทคโนโลยี หลักและวิธีการลงบัญชี การอานขอมูล

ทางบัญชีการเงิน หลักการบริหารทรัพยสิน หนี้สินและทุนเบื้องตน เพ่ือวิเคราะหงบการเงิน การบริหาร

สภาพคลองและกระแสเงินสด

บท 721

TM 721

กลยุทธนวัตกรรมธุรกิจและความเปนผูประกอบการ

Innovative Business Strategy and Entrepreneurship

3 (3-0-9)

กระบวนการจัดการเชิงกลยุทธและการวิเคราะหโครงสรางอุตสาหกรรม การวิเคราะหสภาวะแวดลอม

ภายนอกและภายใน การสรางขอไดเปรียบในเชิงการแขงขันโดยผานกลยุทธระดับปฏิบัติการ กลยุทธระดับ

ธุรกิจ และกลยุทธระดับองคกร การจัดการเชิงกลยุทธเพ่ือการขยายธุรกิจระดับโลก แนวทางการสราง

นวัตกรรมโมเดลธุรกิจและพัฒนาผูประกอบการ อาทิ ธุรกิจเกิดใหม ธุรกิจเพ่ือสังคม เปนตน

Page 18: MTTmtt.citu.tu.ac.th/public/upload/MTT_Curriculum_Technology...ค ม อน กศ กษา ประจำป การศ กษา 2560 ACADEMIC YEAR 2017 MTT หล กส ตรปร

หลักสูตรวิทยาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาการบริหารเทคโนโลย ี | หนา 15

บท 743

TM 743

การตัดสินใจในงานบริหารเทคโนโลยี

Decision Making in Technology Management

3 (3-0-9)

แนวคิดการบริหารเทคโนโลยีและนวัตกรรม การวางกลยุทธเทคโนโลยีเพ่ือสนับสนุนการวิเคราะหปญหา

การแกไขปญหาในกระบวนการบริหารจัดการองคกรนวัตกรรม โดยมีวัตถุประสงคเพ่ือเพ่ิมประสิทธิภาพการ

บริหารงานวิจัยและพัฒนาท่ีตั้งอยูบนพ้ืนฐานแนวคิดเชิงวิทยาศาสตร โดยอาศัยเครื่องมือเชิงปริมาณในการ

วิเคราะหปญหา ระบุปจจัย ขอจํากัดท่ีเก่ียวของกับปญหาในดานตางๆ สรุปผลและเสนอแนวทางแกไข

ปญหาและทางเลือกท่ีสรางมูลคาเพ่ิมและความไดเปรียบในการแขงขันใหกับผูบริหารองคกรท้ังภาครัฐและ

เอกชน

รายวิชาเลือก

บท 645

TM 645

การบริหารโครงการและการจัดการความเสี่ยง

Innovative Project & Risk Management

3 (3-0-9)

พ้ืนฐานและเทคนิคตางๆ ในการจัดการโครงการ โดยเฉพาะโครงการดานเทคโนโลยี เชน การวางแผน

การศึกษาความเปนไปได การจัดหาเทคโนโลยี การจัดการงบประมาณ การเตรียมทีมงาน และการควบคุม

โครงการ นอกจากนี้ ยังศึกษากระบวนการบริหารความเสี่ยงในการจัดการโครงการดานเทคโนโลยี การ

วิเคราะหและประเมินความเสี่ยง รวมท้ังผลกระทบท่ีจะเกิดข้ึน รวมถึงศึกษาเครื่องมือในการจัดการความ

เสี่ยง และการปรับแผนเพ่ือรองรับความเสี่ยงในระดับตางๆ กัน เพ่ือใหการดําเนินโครงการประสบ

ความสําเร็จ

บท 718

TM 718

การคิดเชิงยุทธศาสตรและสรางสรรค

Thinking Strategically and Creativity

3 (3-0-9)

หลักการและแนวคิดของการคิดเชิงยุทธศาสตร องคประกอบพ้ืนฐานของการคิดเชิงยุทธศาสตร

กระบวนการคิดเชิงยุทธศาสตร เครื่องมือและเทคนิคการคิดและวิเคราะหอยางเปนระบบ การฝกฝนและ

พัฒนาวิธีคิดใหเปนระบบ เพ่ือชวยในการแกปญหา ตัดสินใจ รวมถึงการประยุกตใชวิธีคิดอยางเปนระบบใน

การบริหารงานเพ่ือใหเกิดประสิทธิภาพสูงสุด รวมท้ังมุงเนนการเพ่ิมความสามารถของการคิดเชิงสรางสรรค

ซ่ึงเปนทักษะท่ีสําคัญในการทํางานทุกสาขาและมุงเนนความสามารถในการพัฒนาความคิดหลายรูปแบบ

และแนวคิดในการแกปญหา บท 726

TM 726

องคกรแหงนวัตกรรมและการบริหารการเปลี่ยนแปลง

Innovative Organization and Change Management

3 (3-0-9)

แนวคิดและลักษณะขององคกรแหงนวัตกรรม แนวทางการสรางองคกรแหงนวัตกรรม ทฤษฎีและแนวคิด

ของการพัฒนาผลิตภัณฑและบริการใหมเพ่ือมุงสูการเปนองคกรแหงนวัตกรรม หลักการจัดการความรู การ

Page 19: MTTmtt.citu.tu.ac.th/public/upload/MTT_Curriculum_Technology...ค ม อน กศ กษา ประจำป การศ กษา 2560 ACADEMIC YEAR 2017 MTT หล กส ตรปร

หลักสูตรวิทยาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาการบริหารเทคโนโลย ี | หนา 16

วิเคราะหความรูขององคกร การออกแบบและพัฒนาระบบการจัดการความรู การนําระบบการจัดการ

ความรูไปใชในองคกร การพัฒนาองคกรไปสูองคกรแหงนวัตกรรมเพ่ือพัฒนาใหบุคลากรมีความรู ความคิด

ริเริ่มสรางสรรค และความสามารถในการปฏิบัติงานอยางมีประสิทธิภาพ รวมถึงการพัฒนาความเปนผูนําใน

องคกรและการสรางวัฒนธรรมท่ีสนับสนุนใหเกิดนวัตกรรม ซ่ึงจะสงผลใหองคกรมีความสามารถในเชิง

แขงขันท่ีสูงข้ึน นอกจากนั้นตองเขาใจหลักการและแนวคิดเรื่องการเปลี่ยนแปลงและการบริหารการ

เปลี่ยนแปลง ความสําคัญของการบริหารการเปลี่ยนแปลงตอการสรางความยั่งยืนขององคกร

บท 735

TM 735

สัมมนาการบริหารนวัตกรรมและเทคโนโลยี

Seminar on Innovation and Technology Management

3 (3-0-9)

ศึกษาหัวขอท่ีนาสนใจตางๆ ดานการบริหารนวัตกรรมและเทคโนโลยีและการทําโครงการนวัตกรรม

บท 736

TM 736

การบริหารงานวิจัย พัฒนา และการถายทอดเทคโนโลยี

R&D Management and Technology Transfer

3 (3-0-9)

กลยุทธของการวิจยัและพัฒนา เพ่ือพัฒนานวัตกรรมทางผลิตภัณฑและการบริการ โดยเนนการวางแผนเชิง

การตลาดกอนการทํางานวิจัยและพัฒนา การจัดการความรูและทรัพยสินทางปญญา การประเมินคุณภาพ

และผลตอบแทนของงานวิจัยและพัฒนา รวมถึงการเสาะหาและถายทอดเทคโนโลยีจากตางประเทศ

กระบวนการเพ่ือใหไดมาซ่ึงเทคโนโลยี ความรูเบื้องตนในการทําสัญญาถายทอดเทคโนโลยี ขอตกลงการรวม

ใชสิทธิบัตร ตัวอยางสัญญาการรับเทคโนโลยีและเทคนิคการเจรจาตอรองเพ่ือทําสัญญารับการถายทอด

เทคโนโลย ี

บท 737

TM 737

ระบบการจัดการทรัพยากรเชิงปฏิบัตกิาร

Managing Operations Resources

3 (3-0-9)

ภาพรวมของเทคนิค วิธีการ กระบวนการการผลิตสินคาและบริการ รวมถึงการกระจายสินคาและบริการ

ดังกลาว ความสัมพันธระหวางเทคโนโลยีและภาวะแวดลอมเชิงธุรกิจ การวิเคราะหประสิทธิภาพและ

ประสิทธิผลของการใชเทคนิควิธีหรือการดําเนินการรูปแบบท่ีแตกตางกัน การวิเคราะหการลงทุนและ

ผลกระทบดานเทคโนโลยีท่ีมีตอองคกร รวมถึงกลยุทธการประยุกตใชเทคโนโลยี โดยมุงเนนเสริมสรางขีด

ความสามารถในการแขงขันขององคกร

บท 745

TM 745

การคาดการณเทคโนโลยีและแผนท่ีนําทาง

Technology Foresight and Road mapping

3 (3-0-9)

เทคโนโลยีสมัยใหมในปจจุบัน และเทคนิคการคาดการณการเปลี่ยนแปลงของเทคโนโลยี รวมท้ังผลกระทบ

ท่ีอาจจะเกิดข้ึนท้ังในระยะสั้นและระยะยาว การวิเคราะหแนวโนมของตลาดสินคาและบริการท่ีเก่ียวของกับ

Page 20: MTTmtt.citu.tu.ac.th/public/upload/MTT_Curriculum_Technology...ค ม อน กศ กษา ประจำป การศ กษา 2560 ACADEMIC YEAR 2017 MTT หล กส ตรปร

หลักสูตรวิทยาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาการบริหารเทคโนโลย ี | หนา 17

เทคโนโลยี เพ่ือใหสามารถวางแผน กําหนดนโยบาย และกลยุทธขององคกรใหสอดรับกับการเปลี่ยนแปลง

ของเทคโนโลยีไดอยางมีประสิทธิภาพ

บท 747

TM 747

หัวขอพิเศษเศรษฐศาสตรนวัตกรรม

Special Topics in Economic of Innovation

3 (3-0-9)

ศึกษาหัวขอท่ีนาสนใจตางๆ ดานเศรษฐศาสตรนวัตกรรม

บท 748

TM 748

การจัดการธุรกิจคาปลีก

Retailing Business Management

3 (3-0-9)

ทฤษฎีและแนวคิดของธุรกิจคาปลีก การวางแผนกลยุทธธุรกิจคาปลีก หลักการสรางและรักษา

ความสัมพันธในธุรกิจคาปลีก หลักการการบริหารจัดการสินคา และการสรางคุณคาทางธุรกิจคาปลีก

รวมถึงการนําเทคโนโลยีมาประยุกตใชในการวางแผนและการจัดการสําหรับธุรกิจคาปลีก ท้ังท่ีมีรานคาและ

ไมมีรานคา รวมถึงกระบวนการจัดหา เพ่ือใหมีสินคาเพียงพอกับความตองการและสามารถสรางกําไรใหแก

องคกรเพ่ือใหเกิดคุณคาสูงสุด

บท 755

TM 755

การจัดการโลจิสติกสและโซอุปทาน

Logistics and Supply Chain Management

3 (3-0-9)

แนวคิดและรูปแบบการจัดการโลจิสติกสและโซอุปทาน การบริหารวัสดุและการขนสง การบรรจุภัณฑการ

บริหารระบบขอมูล ความสําคัญของโลจิสติกสและการขนสงทางถนน ทางราง และทางอากาศ การจัดการ

โดยมุงเนนการใชเทคโนโลยีท่ีทันสมัย การประสานงานในโซอุปทาน และเพ่ิมประสิทธิภาพรวมถึงองคกรท่ี

ดําเนินงานดานโลจิสติกสและโซอุปทานท่ีสําคัญ

รายวิชาการคนควาอิสระ และวิทยานิพนธ

บท 791

TM 791

การคนควาอิสระ 1

Independent Study 1

3 หนวยกิต

เปนการศึกษาคนควาดวยตนเอง และนําเสนอขอเสนองานวิจัย ความเปนไปไดของงานวิจัย โดยนําทฤษฎี

ตางๆ ประกอบกับประสบการณของตนเองมาประยุกตกับงานวิจัยท่ีไดเลือกท่ีจะศึกษาคนควา ภายใตการ

ควบคุมของอาจารยท่ีปรึกษาและคณะกรรมการ

บท 792

TM 792

การคนควาอิสระ 2

Independent Study 2

3 หนวยกิต

เปนการศึกษาคนควาเชิงลึกท่ีตอเนื่องมาจากการคนควาอิสระ 1 ภายใตการควบคุมของอาจารยท่ีปรึกษา

และคณะกรรมการ โดยนักศึกษานําเสนอผลงานวิจัยท่ีสมบูรณตอคณะกรรมการ

Page 21: MTTmtt.citu.tu.ac.th/public/upload/MTT_Curriculum_Technology...ค ม อน กศ กษา ประจำป การศ กษา 2560 ACADEMIC YEAR 2017 MTT หล กส ตรปร

หลักสูตรวิทยาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาการบริหารเทคโนโลย ี | หนา 18

บท 800

TM 800

วิทยานิพนธ

Thesis

12 หนวยกิต

ศึกษาคนควาและทํางานวิจัยอันกอใหเกิดองคความรูใหมดานการบริหารเทคโนโลยี ภายใตคําแนะนําของ

อาจารย ท่ี ป รึกษ า และนํ า เสนอวิทยานิ พนธต ามระเบี ยบว าด วยการเขียนวิทยานิ พน ธของ

มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร การเขียนรายงานการวิจัยเพ่ือเผยแพร จริยธรรมในการวิจัยและจริยธรรมในการ

เผยแพรผลงานวิชาการ

TU 005

TU 005

ภาษาอังกฤษ 1

English 1

3 หนวยกิต

สอนและฝกฝนเพ่ือพัฒนาความสามารถในการใชภาษาอังกฤษ โดยเนนทักษะในดานการอานเพ่ือเก็บสาระ

ขอมูลและความคิดของผูเขียน การสอนและฝกฝนประกอบดวยการทบทวนโครงสรางภาษาอังกฤษเฉพาะท่ี

เปนหลักและพบมากในภาษาเขียนการอานบทความภาษาอังกฤษท่ีมิไดดัดแปลงใหงายลงโดยเริ่มจาก

บทความท่ีมีระดับความซับซอนของภาษาต่ําไปจนถึงท่ีมีความซับซอนสูงข้ึนการสอนใหเขาใจภาษาเขียนโดย

ใชโครงสรางของภาษาและวิธีการกําหนดความหมายของคําโดยใชขอความเชิงแนะเปนหลัก และการสอนให

นักศึกษารูจักพัฒนาจํานวนศัพทของตนเอง

TU 006

TU 006

ภาษาอังกฤษ 2

English 2

3 หนวยกิต

เพ่ือพัฒนาความสามารถในการใชภาษาอังกฤษ โดยเนนทักษะทางดานการเขียนเพ่ือถายทอดความเขาใจ

ความคิดเห็นและสาระสําคัญ โดยเฉพาะอยางยิ่งจากสิ่งท่ีไดอานมาแลวไดอยางถูกตองและครบถวน ศึกษา

และฝกฝนการเขียนบันทึก ยอความ สังเขปความ สรุปความ และการรายงานในระดับยอหนา หรือความ

เรียงท่ีมีความยาวมากกวา 1 ยอหนา เพ่ือการอธิบายตามแนวเรื่องหรือขอความท่ีกําหนด

Page 22: MTTmtt.citu.tu.ac.th/public/upload/MTT_Curriculum_Technology...ค ม อน กศ กษา ประจำป การศ กษา 2560 ACADEMIC YEAR 2017 MTT หล กส ตรปร

หลักสูตรวิทยาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาการบริหารเทคโนโลย ี | หนา 19

4. ขอกําหนดเกี่ยวกับการทําวิทยานิพนธและการทําการคนควาอิสระ

4.1 คําอธิบายโดยยอ

หลักสูตรมี 2 แผนการศึกษา คือ แผน ก แบบ ก2 และแผน ข

แผน ก แบบ ก2 เปนแผนการศึกษาท่ีตองจัดทําวิทยานิพนธ

การทําวิทยานิพนธ คือ การศึกษาคนควาและทํางานวิจัยอันกอใหเกิดองคความรูใหมดานการบริหาร

เทคโนโลยี ภายใตคําแนะนําของอาจารยท่ีปรึกษา และนําเสนอวิทยานิพนธตามระเบียบวาดวยการเขียน

วิทยานิพนธของมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร การเขียนรายงานการวิจัยเพ่ือเผยแพร จริยธรรมในการวิจัย

และจริยธรรมในการเผยแพรผลงานวิชาการ

แผน ข เปนแผนการศึกษาท่ีตองจัดทําการคนควาอิสระ 1 และ 2

การคนควาอิสระ 1 คือ การศึกษาคนควาดวยตนเอง และนําเสนอขอเสนองานวิจัย ความเปนไปไดของ

งานวิจัย โดยนําทฤษฎีตางๆ ประกอบกับประสบการณของตนเองมาประยุกตกับงานวิจัยท่ีไดเลือกท่ีจะ

ศึกษาคนควา ภายใตการควบคุมของอาจารยท่ีปรึกษาและคณะกรรมการ

การคนควาอิสระ 2 คือ การศึกษาคนควาเชิงลึกท่ีตอเนื่องมาจากการคนควาอิสระ 1 ภายใตการควบคุมของ

อาจารยท่ีปรึกษาและคณะกรรมการ โดยนักศึกษานําเสนอผลงานวิจัยท่ีสมบูรณตอคณะกรรมการ

4.2 มาตรฐานผลการเรียนรู

หลังจากไดศึกษาวิทยานิพนธ/การคนควาอิสระแลว มีความรูความเขาใจเก่ียวกับแนวคิดดานการ

บริหารเทคโนโลยี สรางสรรคนวัตกรรมทางความคิด การจัดการความรูภายในองคกรภาครัฐและเอกชน

สามารถนําเทคโนโลยีไปใชประโยชน เพ่ือสรางความไดเปรียบในการแขงขัน การออกแบบระบบและมี

ทักษะในการทํางานวิจัยเชิงปริมาณหรือคุณภาพ โดยสามารถประยุกตใชความรูท้ังหมดท่ีไดรับจากหลักสูตร

เพ่ือแกไขประเด็นปญหาท่ีสนใจศึกษาวิจัย ตลอดจนสามารถนําเสนอรายงานการศึกษา/วิทยานิพนธภายใต

การกํากับดูแลของอาจารยท่ีปรึกษาและคณะกรรมการ และผลการศึกษานอกจากตองใชความรูและความ

เขาใจในกระบวนการตาง ๆ แลว ยังสามารถสรางองคความรูใหมเพ่ือนําไปใชและเปนประโยชนตอองคกร

ตางๆ ท้ังภาครัฐและเอกชนไดอีกดวย

4.2.1 สําหรับนักศึกษา แผน ก แบบ ก2 ตองจัดทําบทความวิทยานิพนธท่ีพรอมสําหรับการตีพิมพ

ในวารสารทางวิชาการหรือนําเสนอรายงานการประชุมวิชาการ

4.2.2 นักศึกษาไดระดับ S ในการสอบวิทยานิพนธ และรายวิชา บท 792 การคนควาอิสระ 2

กระทําโดยวิธีนําเสนอในท่ีประชุมตอคณะกรรมการ และนําสงวิทยานิพนธ/การคนควาอิสระฉบับสมบูรณ

มามอบใหมหาวิทยาลัยตามระเบียบมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร วาดวยวิทยานิพนธ สารนิพนธ และการ

คนควาอิสระ

Page 23: MTTmtt.citu.tu.ac.th/public/upload/MTT_Curriculum_Technology...ค ม อน กศ กษา ประจำป การศ กษา 2560 ACADEMIC YEAR 2017 MTT หล กส ตรปร

หลักสูตรวิทยาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาการบริหารเทคโนโลย ี | หนา 20

4.3 ชวงเวลา

ภาคการศึกษาท่ี 1 และภาคการศึกษาท่ี 2 ปการศึกษาท่ี 2

4.4 จํานวนหนวยกิต

วิทยานิพนธ 12 หนวยกิต

การคนควาอิสระ 6 หนวยกิต

4.5 ขอกําหนดการทําวิทยานิพนธ การคนควาอิสระ และการสอบประมวลความรู

4.5.1 การทําวิทยานิพนธ แผน ก แบบ ก 2

• นักศึกษาจะจดทะเบียนทําวิทยานิพนธได เม่ือศึกษารายวิชาบังคับไมนอยกวา 24

หนวยกิต และไดคาระดับเฉลี่ยสะสมไมต่ํากวา 3.00

• นักศึกษาจะตองผานการศึกษารายวิชา นวต 601 ระเบียบวิธีวิจัย

• นักศึกษาสามารถเลือกทําวิทยานิพนธเปนภาษาไทยหรือภาษาอังกฤษ

• หลังจากจดทะเบียนทําวิทยานิพนธแลว นักศึกษาตองเสนอเคาโครงวิทยานิพนธตอ

คณะกรรมการบริหารโครงการจัดการเรียนการสอนหลักสูตร เพ่ือใหคณบดีวิทยาลัย

นวัตกรรมแตงตั้งอาจารยท่ีปรึกษาวิทยานิพนธ และกรรมการวิทยานิพนธ ซ่ึงจะให

คําแนะนํานักศึกษา รวมท้ังสอบเคาโครงวิทยานิพนธ และสอบวิทยานิพนธ

• วิทยานิพนธจะตองไดรับการตีพิมพ หรืออยางนอยดําเนินการใหผลงานหรือสวนหนึ่ง

ของผลงานไดรับการยอมรับใหตีพิมพในวารสารหรือสิ่งพิมพทางวิชาการ หรือเสนอ

ตอท่ีประชุมวิชาการท่ีมีรายงานการประชุม (Proceeding)

• อาจารย ท่ีปรึกษาวิทยานิพนธ ให เปนไปตามเกณฑมาตรฐานหลักสูตรระดับ

บัณฑิตศึกษาของสํานักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา

4.5.2 การสอบวิทยานิพนธ

• อาจารยผูสอบวิทยานิพนธ ใหเปนไปตามเกณฑมาตรฐานหลักสูตรระดับบัณฑิตศึกษา

ของสํานักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา

• นักศึกษาจะสอบวิทยานิพนธได เม่ือสอบภาษาตางประเทศผาน ไดระดับ P แลว

• การสอบวิทยานิพนธ ใหเปนไปตามระเบียบและขอบังคับของมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร

และการสอบวิทยานิพนธท่ีจะไดผลระดับ S ตองไดมติเปนเอกฉันทจากคณะกรรมการ

สอบวิทยานิพนธ

Page 24: MTTmtt.citu.tu.ac.th/public/upload/MTT_Curriculum_Technology...ค ม อน กศ กษา ประจำป การศ กษา 2560 ACADEMIC YEAR 2017 MTT หล กส ตรปร

หลักสูตรวิทยาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาการบริหารเทคโนโลย ี | หนา 21

4.5.3 การคนควาอิสระ แผน ข

• นักศึกษาตามหลักสูตร แผน ข จะจดทะเบียนทําการคนควาอิสระได เม่ือศึกษา

รายวิชาบังคับไมนอยกวา 24 หนวยกิต และไดคาระดับเฉลี่ยสะสมไมต่ํากวา 3.00

• นักศึกษาจะตองผานการศึกษารายวิชา นวต 601 ระเบียบวิธีวิจัย

• นักศึกษาสามารถเลือกทําการคนควาอิสระเปนภาษาไทยหรือภาษาอังกฤษ

• หลังจากจดทะเบียนทําการคนควาอิสระแลว นักศึกษาตองเสนอเคาโครงการคนควา

อิสระตอคณะกรรมการบริหารโครงการจัดการเรียนการสอนหลักสูตร เพ่ือใหคณบดี

วิทยาลัยนวัตกรรมแตงต้ังอาจารยท่ีปรึกษาการคนควาอิสระ และกรรมการสอบการ

คนควาอิสระ ซ่ึงจะใหคําแนะนํานักศึกษา รวมท้ังสอบเคาโครงการคนควาอิสระและ

สอบการคนควาอิสระ

• อาจารยท่ีปรึกษาการคนควาอิสระ และกรรมการสอบการคนควาอิสระใหเปนไปตาม

เกณฑมาตรฐานหลักสูตรระดับบัณฑิตศึกษาของสํานักงานคณะกรรมการการ

อุดมศึกษา

• นักศึกษาจะสอบวัดผลวิชา บท 792 การคนควาอิสระ 2 ได เม่ือสอบภาษาตางประเทศ

ผาน ไดระดับ P แลว

• นักศึกษาจะตองสงบทความการคนควาอิสระใหคณะเพ่ือพิจารณาสงไปตีพิมพใน

วารสารหรือสิ่งพิมพทางวิชาการ หรือเสนอตอท่ีประชุมวิชาการท่ีมีรายงานการ

ประชุม (Proceeding)

• การสอบและการวัดผลการคนควาอิสระ ใหเปนไปตามระเบียบและขอบังคับของ

มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร

4.5.4 การสอบประมวลความรู (สําหรับนักศึกษาแผน ข)

• การสอบประมวลความรูเปนการสอบขอเขียน และ/หรือสอบปากเปลา

• นักศึกษามีสิทธิท่ีจะสอบประมวลความรู เม่ือศึกษารายวิชาบังคับไมนอยกวา 24

หนวยกิต และไดคาระดับเฉลี่ยสะสมไมต่ํากวา 3.00

• วิทยาลัยนวัตกรรมจะเปดสอบประมวลความรู ปการศึกษาละ 3 ครั้ง

• นักศึกษาจะตองสอบประมวลความรูใหไดระดับ P (ผาน) ภายใน 3 ครั้ง มิฉะนั้น จะ

ถูกถอนชื่อออกจากทะเบียนนักศึกษา

Page 25: MTTmtt.citu.tu.ac.th/public/upload/MTT_Curriculum_Technology...ค ม อน กศ กษา ประจำป การศ กษา 2560 ACADEMIC YEAR 2017 MTT หล กส ตรปร

หลักสูตรวิทยาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาการบริหารเทคโนโลย ี | หนา 22

4.6 การเตรียมการ

การเตรียมการของหลักสูตรแกนักศึกษาในชวงกอนและระหวางการทําวิทยานิพนธและการคนควา

อิสระ มีดังนี้

• การเปดใหนักศึกษาลงทะเบียนเรียนวิชา นวต 601 ระเบียบวิธีวิจัย ซ่ึงเปนวิชาท่ีใหความรู

เก่ียวกับการวางกรอบในการทํางานวิจัย การเลือกกระบวนการและวิธีการท่ีเหมาะสมในการ

ทํางานวิจัย ตลอดจนการฝกการเก็บขอมูลและการวิเคราะหขอมูล

• การฝกทักษะการคิด การวิเคราะห และการเขียนงานวิจัยผานการศึกษารายวิชาตางๆ ของ

หลักสูตร

• การจัดประชุมกับนักศึกษาเพ่ือทําความเขาใจถึงการเลือกแผนการศึกษาสําหรับการทํา

วิทยานิพนธและการคนควาอิสระ และการเลือกหัวขอการทําวิจัยในมิติของการบริหาร

เทคโนโลย ี

• การแตงตั้งอาจารยท่ีปรึกษาเพ่ือทําหนาท่ีใหคําแนะนําการทําวิทยานิพนธและการคนควาอิสระ

สําหรับนักศึกษา

• การใหขอมูลรายชื่อวารสารทางวิชาการ และงานประชุมวิชาการท่ีจัดข้ึนในแตละป เพ่ือให

นักศึกษา แผน ก แบบ ก 2 พิจารณาสงบทความของวิทยานิพนธเพ่ือตีพิมพ

4.7 กระบวนการประเมินผล

4.7.1 วิทยานิพนธ

การประเมินผลวิทยานิพนธ

การสอบเคาโครง

(Proposal Defense)

การสอบกระทําโดยวิธีการนําเสนอในท่ีประชุมและสอบปากเปลา โดยคณบดีแตงตั้ง

คณะกรรมการสอบเคาโครงวิทยานิพนธอยางนอย 3 คน ซึ่งประกอบดวยอาจารยท่ีปรึกษา

วิทยานิพนธ อาจารยประจํามหาวิทยาลัย และผูทรงคุณวุฒิภายนอกสถาบัน

อาจารยท่ีปรึกษาวิทยานิพนธหลัก และอาจารยท่ีปรึกษาวิทยานิพนธรวม อาจเปนกรรมการ

สอบวิทยานิพนธได แตตองไมเปนประธานกรรมการและตองเขาสอบวิทยานิพนธดวยทุกครั้ง

อาจารยท่ีปรึกษาวิทยานิพนธ และคณะกรรมการสอบวิทยานิพนธใหเปนไปตามเกณฑ

มาตรฐานหลักสูตรระดับบัณฑิตศึกษาของสํานักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา

การประเมิน

ความกาวหนา

วิทยานิพนธ

(Progress Defense)

เปนไปตามขอบังคับมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร วาดวยการศึกษาระดับบัณฑิตศึกษา พ.ศ.

2553 (พรอมฉบับแกไขเพ่ิมเติม)

การสอบปากเปลาข้ัน

สุดทายวิทยานิพนธ

(Final Thesis Defense)

กระทําโดยวิธีนําเสนอในท่ีประชุมและสอบปากเปลา โดยคณะกรรมการสอบวิทยานิพนธเปน

กรรมการชุดเดียวกันกับคณะกรรมการสอบเคาโครงวิทยานิพนธ ซึ่งการแตงตั้งกรรมการ

เพ่ิมเติมหรือเปลี่ยนแปลงกรรมการสอบวิทยานิพนธ จะกระทําไดเฉพาะกรณีท่ีมีเหตุจําเปน

Page 26: MTTmtt.citu.tu.ac.th/public/upload/MTT_Curriculum_Technology...ค ม อน กศ กษา ประจำป การศ กษา 2560 ACADEMIC YEAR 2017 MTT หล กส ตรปร

หลักสูตรวิทยาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาการบริหารเทคโนโลย ี | หนา 23

การประเมินผลวิทยานิพนธ

อาจารยท่ีปรึกษาวิทยานิพนธ และคณะกรรมการสอบวิทยานิพนธใหเปนไปตามเกณฑ

มาตรฐานหลักสูตรระดับบัณฑิตศึกษาของสํานักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา

การสอบและการวัดผลวิทยานิพนธใหเปนไปตาม “ขอบังคับมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร วา

ดวยการศึกษาระดับบัณฑิตศึกษา และระเบียบมหาวิทยาลัยธรรมศาสตรวาดวยวิทยานิพนธ

สารนิพนธและการคนควาอิสระ” โดยวิทยานิพนธท่ีไดรบัระดับ S จะตองไดมติเปนเอกฉันท

จากคณะกรรมการสอบวิทยานิพนธ

4.7.2 การคนควาอิสระ

การประเมินผลการคนควาอิสระ

การสอบเคาโครง

(Proposal Defense)

กระทําโดยวิธีการนําเสนอในท่ีประชุมและสอบปากเปลา โดยคณบดีแตงตั้งคณะกรรมการ

สอบเคาโครงการคนควาอิสระ อยางนอย 2 คน ซึ่งประกอบดวย อาจารยท่ีปรึกษาการคนควา

อิสระ อาจารยประจํามหาวิทยาลัย และ/หรือ ผูทรงคุณวุฒิจากภายนอกมหาวิทยาลัยเพ่ือ

รวมกันสอบเคาโครงการคนควาอิสระ

อาจารยท่ีปรึกษาหลักและอาจารยท่ีปรึกษารวม อาจเปนกรรมการสอบการคนควาอิสระได

แตตองไมเปนประธานกรรมการและตองเขาสอบการคนควาอิสระดวยทุกครั้ง

การสอบปากเปลาข้ัน

สุดทายการคนควาอิสระ

(Final IS Defense)

กระทําโดยวิธีนําเสนอในท่ีประชุมและสอบปากเปลา โดยคณะกรรมการสอบการคนควาอิสระ

เปนกรรมการชุดเดียวกันกับคณะกรรมการสอบเคาโครงการคนควาอิสระ ซึ่งการแตงตั้ง

กรรมการเพ่ิมเติมหรือเปลี่ยนแปลงกรรมการสอบจะกระทําไดเฉพาะกรณีท่ีมีเหตุจําเปน

อาจารยท่ีปรึกษาการคนควาอิสระ และคณะกรรมการสอบการคนควาอิสระใหเปนไปตาม

เกณฑมาตรฐานหลักสูตรระดับบัณฑิตศึกษาของสํานักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา

การสอบและการวัดผลการคนควาอิสระใหเปนไปตาม “ขอบังคับมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร วา

ดวยการศึกษาระดับบัณฑิตศึกษา และระเบียบมหาวิทยาลัยธรรมศาสตรวาดวยวิทยานิพนธ

สารนิพนธและการคนควาอิสระ” โดยการคนควาอิสระท่ีไดผลระดับ S จะตองไดมติเปน

เอกฉันทจากคณะกรรมการสอบการคนควาอิสระ

Page 27: MTTmtt.citu.tu.ac.th/public/upload/MTT_Curriculum_Technology...ค ม อน กศ กษา ประจำป การศ กษา 2560 ACADEMIC YEAR 2017 MTT หล กส ตรปร

หลักสูตรวิทยาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาการบริหารเทคโนโลย ี | หนา 24

หมวดที ่4 หลักเกณฑในการประเมินผลนักศึกษา

1. กฎระเบียบหรือหลักเกณฑในการใหระดับคะแนน (เกรด)

1.1 การวัดผลใหเปนไปตามขอบังคับมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร วาดวยการศึกษาระดับบัณฑิตศึกษา

พ.ศ. 2553 โดยการวัดผลการศึกษาแบงเปน 9 ระดับ มีชื่อและคาระดับตอหนึ่งหนวยกิต ดังนี้

ระดับ A A- B+ B B- C+ C D F

คาระดับ 4.00 3.67 3.33 3.00 2.67 2.33 2.00 1.00 0.00

1.2 การนับหนวยกิตท่ีได ใหนับรวมเฉพาะหนวยกิตของรายวิชาท่ีนักศึกษาไดคาระดับ S หรือ ระดับไม

ต่ํากวา C เทานั้น สําหรับรายวิชาท่ีนักศึกษาไดคาระดับต่ํากวา C (ไมวาจะเปนรายวิชาวิชาบังคับ

หรือรายวิชาเลือก) ใหนํามาคํานวณคาระดับเฉลี่ยสําหรับภาคการศึกษานั้น และคาระดับเฉลี่ย

สะสมทุกครั้งไป

1.3 นักศึกษาท่ีไดระดับ U หรือระดับต่ํากวา C ในรายวิชาใดท่ีเปนวิชาบังคับในหลักสูตร จะสามารถ

ลงทะเบียนศึกษาซํ้าในรายวิชานั้นๆ ไดอีกเพียง 1 ครั้ง และครั้งหลังนี้จะตองไดระดับ S หรือระดับ

ไมต่ํากวา C มิฉะนั้นจะถูกถอนชื่อออกจากทะเบียนนักศึกษา ท้ังนี้ หากเปนรายวิชาเลือก นักศึกษา

อาจจะลงทะเบียนศึกษาซํ้าในรายวิชานั้นอีก หรืออาจจะลงทะเบียนศึกษารายวิชาเลือกอ่ืนแทนก็ได

นักศึกษาท่ีไดคาระดับไมต่ํากวา C ในรายวิชาใด ไมมีสิทธิ์จดทะเบียนศึกษาซํ้าในรายวิชานั้นอีก

1.4 การวัดผลวิทยานิพนธ สําหรับแผน ก แบบ ก2 แบงเปน 2 ระดับ คือ ระดับ S (ใชได) และระดับ U

(ใชไมได) โดยวิทยานิพนธท่ีไดระดับ S จะตองไดรับมติเปนเอกฉันทจากกรรมการสอบ หนวยกิตท่ี

ไดไมนํามาคํานวณคาระดับเฉลี่ย

1.5 การวัดผลวิชาการคนควาอิสระ สําหรับแผน ข แบงเปน 2 ระดับ คือ ระดับ S (ใชได) และระดับ U

(ใชไมได) หนวยกิตท่ีไดไมนํามาคํานวณคาระดับเฉลี่ย

1.6 การวัดผลการสอบประมวลความรู การสอบ แบงเปน 2 ระดับ คือ ระดับ P (ผาน) และระดับ N

(ไมผาน) และไมนับหนวยกิต

1.7 เง่ือนไขอ่ืน ๆ ใหเปนไปตามขอบังคับของมหาวิทยาลัยธรรมศาสตรวาดวยการศึกษาระดับ

บัณฑิตศึกษา พ.ศ. 2553

2. กระบวนการทวนสอบมาตรฐานผลสัมฤทธิ์ของนักศึกษา

2.1 การทวนสอบมาตรฐานผลการเรียนรูขณะนักศึกษายังไมสําเร็จการศึกษา

กําหนดระบบการทวนสอบผลสัมฤทธิ์การเรียนรูของนักศึกษาเปนสวนหนึ่งของระบบประกัน

คุณภาพภายในของสถาบันอุดมศึกษาท่ีจะตองทําความเขาใจตรงกันท้ังสถาบัน และนําไปดําเนินการจน

บรรลุผลสัมฤทธิ์ ซ่ึงผูประเมินภายนอกจะตองสามารถตรวจสอบได

Page 28: MTTmtt.citu.tu.ac.th/public/upload/MTT_Curriculum_Technology...ค ม อน กศ กษา ประจำป การศ กษา 2560 ACADEMIC YEAR 2017 MTT หล กส ตรปร

หลักสูตรวิทยาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาการบริหารเทคโนโลย ี | หนา 25

การทวนสอบในระดับรายวิชาอาจมีกระบวนการท่ีแตกตางกันไปตามแผนการสอนและวัตถุประสงค

ท่ีกําหนดไว ซ่ึงอาจประกอบดวย การสอบขอเขียน รายงานบุคคล รายงานกลุม เปนตน และควรใหนักศึกษา

ประเมินการเรียนการสอนในระดับรายวิชา

การทวนสอบระดับหลักสูตรทําไดโดยมีระบบประกันคุณภาพภายในการศึกษาดําเนินการทวนสอบ

มาตรฐานผลการเรียนรูและรายงานผล

2.2 การทวนสอบมาตรฐานผลการเรียนรูหลังจากนักศึกษาสําเร็จการศึกษา

การกําหนดกลวิธีการทวนสอบมาตรฐานผลการเรียนรูของนักศึกษา ควรเนนการสํารวจการ

ประกอบอาชีพของบัณฑิต หลังจบการศึกษาไดประกอบอาชีพตรงตามวัตถุประสงคหลักสูตร หรือนําความรู

ไปประยุกตใชประโยชนในการประกอบอาชีพตาง ๆ โดยทําอยางตอเนื่อง และนําผลการสํารวจท่ีได

ยอนกลับมาปรับปรงุกระบวนการเรียนการสอนและหลักสูตร โดยสํารวจดังตอไปนี้

(1) การประเมินตําแหนง และ/ หรือความกาวหนาในสายงานของบัณฑิต

(2) การไดงานทําของบัณฑิต ประเมินจากบัณฑิตท่ีจบการศึกษาในแตละรุนในดานของระยะเวลา

ในการหางานทํา ความคิดเห็นตอความรู ความสามารถ ความเชื่อม่ันของบัณฑิตในการประกอบอาชีพ

(3) การประเมินจากบัณฑิตท่ีไปประกอบอาชีพ ในแงของความพรอมและความรูจากวิชาท่ีกําหนด

ไวในหลักสูตร ท่ีเก่ียวเนื่องกับการประกอบอาชีพของบัณฑิต รวมท้ังเปดโอกาสใหแสดงความคิดเห็น

(4) ผลงานของนักศึกษาท่ีวัดเปนรูปธรรมเพ่ือประเมินผลการศึกษาได อาทิเชน จํานวนรางวัลทาง

สังคมและวิชาชีพ จํานวนท่ีศึกษาตอในระดับสูงข้ึนไป จํานวนกิจกรรมอาสาสมัครในองคกรท่ีทําประโยชน

ตอสังคม กิจกรรมการกุศลเพ่ือสังคมและประเทศชาติ

3. เกณฑการสําเร็จการศึกษาตามหลักสูตร

3.1 ไดศึกษารายวิชาตางๆ ครบตามโครงสรางหลักสูตร และมีหนวยกิตสะสมไมนอยกวา 36 หนวยกิต

3.2 ไดคาระดับเฉลี่ยสะสมของวิชาท้ังหมดไมต่ํากวา 3.00 (จากระบบ 4 ระดบัคะแนน)

3.3 ไดคาระดับ P (ผาน) ในการสอบภาษาตางประเทศ ตามเกณฑท่ีมหาวิทยาลัยกําหนด หรือศึกษา

และสอบผานวิชา TU 005 และ TU 006

3.4 ไดระดับ S (ใชได) ในการสอบวิทยานิพนธ โดยการสอบปากเปลาข้ันสุดทาย โดยคณะกรรมการท่ี

วิทยาลัยนวัตกรรมแตงตั้ง และตองเปนระบบเปดใหผูสนใจเขารับฟงได และนําสงวิทยานิพนธฉบับ

สมบูรณ ตามระเบียบมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร วาดวยวิทยานิพนธ สารนิพนธ และการคนควา

อิสระ (สําหรับการศึกษา แผน ก แบบ ก 2)

3.5 ผลงานวิทยานิพนธจะตองไดรับการตีพิมพ หรืออยางนอยไดรับการยอมรับใหตีพิมพในวารสาร

ระดับชาติหรือระดับนานาชาติท่ีมีคุณภาพตามประกาศคณะกรรมการการอุดมศึกษา เรื่อง

หลักเกณฑการพิจารณาวารสารทางวิชาการสําหรับการเผยแพรผลงานวิชาการ หรือนําเสนอตอท่ี

ประชุมวิชาการ โดยบทความท่ีนําเสนอฉบับสมบูรณ (Full Paper) ไดรับการตีพิมพในรายงาน

สืบเนื่องจากการประชุมวิชาการ (Proceeding) ดังกลาว (สําหรับการศึกษา แผน ก แบบ ก 2)

Page 29: MTTmtt.citu.tu.ac.th/public/upload/MTT_Curriculum_Technology...ค ม อน กศ กษา ประจำป การศ กษา 2560 ACADEMIC YEAR 2017 MTT หล กส ตรปร

หลักสูตรวิทยาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาการบริหารเทคโนโลย ี | หนา 26

3.6 ไดระดับ P (ผาน) ในการสอบประมวลความรู (สําหรับการศึกษา แผน ข)

3.7 ไดระดับ S (ใชได) ในการสอบการคนควาอิสระ โดยการสอบปากเปลาข้ันสุดทาย โดยคณะกรรมการ

ท่ีวิทยาลัยนวัตกรรมแตงตั้ง และตองเปนระบบเปดใหผูสนใจเขารับฟงได และนําสงการคนควา

อิสระฉบับสมบูรณ ตามระเบียบมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร วาดวยวิทยานิพนธ สารนิพนธ และการ

คนควาอิสระ (สําหรับการศึกษา แผน ข)

3.8 นักศึกษาตองสงบทความสารนิพนธหรือการคนควาอิสระใหคณะเพ่ือพิจารณาสงไปตีพิมพใน

วารสารหรือสิ่ งพิมพทางวิชาการ หรือเสนอตอท่ีประชุมวิชาการท่ี มีรายงานการประชุม

(Proceeding) (สาํหรับการศึกษา แผน ข)

3.9 รายงานการคนควาอิสระหรือสวนหนึ่งของรายงานการคนควาอิสระตองไดรับการเผยแพรใน

ลักษณะใดลักษณะหนึ่งท่ีสืบคนได

3.10 ตองปฏิบัติตามเง่ือนไขอ่ืนๆ ท่ีวิทยาลัยนวัตกรรมและมหาวิทยาลัยธรรมศาสตรกําหนด

Page 30: MTTmtt.citu.tu.ac.th/public/upload/MTT_Curriculum_Technology...ค ม อน กศ กษา ประจำป การศ กษา 2560 ACADEMIC YEAR 2017 MTT หล กส ตรปร