6

Click here to load reader

โครงการสอน 431-332 ศาสนาอิสลามกับวัฒนธรรมมลายู เทอม 2 ปี 2553

Embed Size (px)

DESCRIPTION

โครงการสอน 431-332 ศาสนาอิสลามกับวัฒนธรรมมลายู เทอม 2 ปี 2553 แผนกวิชามลายูศึกษา คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ ม. สงขลานครินทร์ ปัตตานี

Citation preview

Page 1: โครงการสอน 431-332 ศาสนาอิสลามกับวัฒนธรรมมลายู เทอม 2 ปี 2553

1

โครงการสอน (Course Syllabus) รายวิชา 431-332 ศาสนาอิสลามกับวัฒนธรรมมลายู (Islam and Malay Culture)

2(2-0-4) หนวยกิต ภาคเรียนที่ 2 ปการศึกษา 2553

ภาควิชาภาษาตะวันออก คณะมนุษยศาสตรและสังคมศาสตร มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร ------------------------------------

ผูสอน นายซาวาวี ปะดาอามีน

หองพัก 50330 โทร. (7)3026 E-mail: [email protected]

ลกัษณะรายวชิา วิชาเลือกเอก-โท

หลักสูตรศลิปศาสตรบัณฑติ สาขามลายูศึกษา คําอธิบายรายวชิา

ประวัติศาสตรอิสลามในภูมภิาคมลายโูดยเนนความคิด ปรัชญาและวฒันธรรม ตลอดจนอิทธพิลและบทบาทของอิสลาม

วตัถุประสงคการสอน

1. เพ่ือใหนักศกึษามีความรูเกี่ยวกับประวตัิศาสตรอิสลามในภูมภิาคมลาย ู2. เพ่ือใหนักศกึษามีความรูเกี่ยวกับอิทธิพลและบทบาทของศาสนาอิสลามที่ปรากฏ ในความคิด ปรัชญา และวฒันธรรมมลาย ู3. เพ่ือใหนักศกึษาสามารถวิเคราะหและแยกแยะระหวางอิสลามและวฒันธรรม มลายไูด 4. เพ่ือใหนักศกึษามีทัศนคตทิี่ดีตอสังคมที่มีความหลากหลายทางวัฒนธรรม

Page 2: โครงการสอน 431-332 ศาสนาอิสลามกับวัฒนธรรมมลายู เทอม 2 ปี 2553

2

กระบวนการเรียนการสอน 1. บรรยายเนื้อหา 2. แบงกลุมศึกษา คนควา และเสนอรายงาน 3. อภิปราย แลกเปลีย่นความคิดเห็นกับนักศึกษา

เน้ือหาวิชาและกิจกรรมการสอน สัปดาหท่ี เนื้อหาวิชา กจิกรรมการเรยีนการสอน

1 - อภิปรายสังเขปรายวิชาและขอตกลงตาง ๆ - ขอบเขตของรายวิชา - จุดประสงคหลักของการศกึษาวิชานี ้- ความเกีย่วของของวิชานี้กบัวิชาอื่น ๆ - สังคมและวฒันธรรมมลายูกอนการเขามาของ ศาสนาอิสลาม

- บรรยาย - ซักถาม / อภปิราย - ทําแบบทดสอบกอนเรียน

2 - 3 - ทบทวนความรูพื้นฐานเกี่ยวกับอิสลามและ วัฒนธรรมมลาย ู- ศาสนาและวฒันธรรม - วัฒนธรรมในทัศนะของอสิลาม - วัฒนธรรมอสิลามและวัฒนธรรมมลาย ู- มลายูศึกษาและอิสลาม

- บรรยาย - ซักถาม / อภปิราย - ส่ือ power point - ชมวีดโีอ

4 - 5 - ประวัติศาสตรอิสลามในภมูิภาคมลาย ู O ประวัตกิารเขามาของศาสนาอิสลาม O การแพรขยายของศาสนาอิสลามกอน การเกิดขึ้นของมะละกา O ปจจัยทีส่งเสริมใหศาสนาอิสลามแพร ขยายสูภูมิภาคมลาย ู

- บรรยาย - ซักถาม / อภปิราย - ส่ือ power point - มอบหมายงาน

6 - 7 - อิสลามในมาเลเซีย - บรรยาย

Page 3: โครงการสอน 431-332 ศาสนาอิสลามกับวัฒนธรรมมลายู เทอม 2 ปี 2553

3

O ยุคกอนอาณานิคม O ยุคอาณานิคม O หลังจากไดรับเอกราช - อิสลามในสงิคโปร

- ซักถาม / อภปิราย - ส่ือ power point - ชมวีดโีอ

8 - อิสลามในอนิโดนีเซีย (สุมาตรา ชวา กาลิมัน ตัน สุลาเวสี และอื่นๆ)

- บรรยาย - ซักถาม - ส่ือ power point

9 - อิสลามในจังหวัดชายแดนภาคใตของไทย - อิสลามในจามปา

- บรรยาย - ซักถาม / อภปิราย - ส่ือ power point

10 - อิสลามในบรูไนและฟลิปปนส

บรรยาย ซักถาม / อภิปราย - ส่ือ power point

11 - 13 - ภูมภิาคมลายูหลังการเขามาของศาสนา อิสลาม - อิทธิพลและบทบาทของศาสนาอิสลามที่ ปรากฏในดานตาง ๆ O ความคดิ ปรัชญา และความเชื่อ O ภาษาและวรรณกรรมมลาย ู O การศึกษา O ขนบธรรมเนยีมประเพณ ี O การเมอืงการปกครอง O สังคมและเศรษฐกิจ O ศลิปะ

- บรรยาย - ซักถาม - ส่ือ power point - นักศึกษาแบงกลุมแลกเปลีย่นความคิดเห็นและนําเสนอ - ชมวีดโีอ

14 - 15 อิสลามในวัฒนธรรมมีนังกาเบา อิสลาม วัฒนธรรมมลายู และความสันติสขุ

บรรยาย ซักถาม / อภิปราย

Page 4: โครงการสอน 431-332 ศาสนาอิสลามกับวัฒนธรรมมลายู เทอม 2 ปี 2553

4

นักศึกษานําเสนอรายงาน สรุป

สื่อ power point นําเสนอรายงาน

เอกสารประกอบการสอน ภาษาไทย จิตรา วรีบุรนีนท และคณะ. 2548. สังคมมนุษย. นนทบรุ:ี มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมมาธิราช. จํานงค อดิวฒันสิทธิ์ และคณะ. 2543. สังคมวิทยา. กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลยัเกษตรศาสตร. งามพิศ สัตยสงวน. 2543. หลักมนษุยวิทยาวัฒนธรรม. กรุงเทพฯ: จุฬาลงกรณมหาวทิยาลยั. ทัศนีย ทองสวาง. 2549. สังคมวิทยา. กรุงเทพฯ: โอเดยีนสโตร. ธีรยุทธ บุญมี. ความหลากหลายของชวีิตและความหลากหลายทางวัฒนธรรม. กรุงเทพฯ: สายธาร. ประเสริฐ ผลเกิดสุข. 2547. ทองถิ่นมุสลิมบนแผนดนิอาเซียน: ฟลิปปนส สิงคโปร อินโดนีเซีย ตมิอร

พมา. กรุงเทพมหานคร: วิทยปญญา. ปรานี วงษเทศ. 2543. สังคมและวัฒนธรรมในอุษาคเนย. กรุงเทพมหานคร: ศิลปวัฒนธรรม. สํานักงานศึกษาธิการเขต เขตการศกึษา 2. มปป. ประเพณีและวัฒนธรรมของชาวไทยที่นับถือศาสนา

อิสลาม. ยะลา: สํานักงานศึกษาธิการเขต เขตการศกึษา 2. อมรา พงศาพชิญ. 2541. วัฒนธรรม ศาสนา และชาติพันธุ: วิเคราะหสังคมไทยแนวมานุษยวิทยา.

กรุงเทพมหานคร: จุฬาลงกรณมหาวิทยาลยั. ภาษาตางประเทศ Aziz Deraman. 1975. Masyarakat dan Kebudayaan Malaysia. Kuala Lumpur:

Kementerian Kebudayaan, Belia dan Sukan Malaysia. A. Aziz Deraman. 2000. Tamadun Melayu dan Pembinaan Bangsa Malaysia. Kuala

Lumpur: Dewan Bahasa dan Pustaka. A. Aziz Deraman dan Wan Ramli Wan Mohamad. 1995. Perayaan Orang Melayu. Shah

Alam: Penerbit Fajar Bakti. Ismail Hamid. 1988. Masyarakat dan Budaya Melayu. Kuala Lumpur : Dewan Bahasa

dan Pustaka. Mohd. Koharuddin Mohd. Balwi. 2005. Peradaban Melayu. Johor: Universiti Teknologi

Page 5: โครงการสอน 431-332 ศาสนาอิสลามกับวัฒนธรรมมลายู เทอม 2 ปี 2553

5

Malaysia. Mohd. Taib Osman. 1988. Kebudayaan Melayu dalam Beberapa Persoalan. Kuala

Lumpur: Dewan Bahasa dan Pustaka. Mohd. Taib Osman. 1988. Bunga Rampai: Aspects of Malay Culture. Kuala

Lumpur: Dewan Bahasa dan Pustaka. Munif Zarirruddin Fikri Nordin. 2007. Islam dan Pemantapan Bahasa Melayu dlm

Kesinambungan dan Pemantapan Bahasa di Asia Tenggara. Singapura: Rancangan Penubuhan Persatuan Linguis ASEAN.

Mustafa Hj. Daud. 2000. Bahasa dalam Tamadun Islam. Kuala Lumpur : Dewan Bahasa dan Pustaka.

Norazit Selat. 1993. Konsep Asas Antropologi. Kuala Lumpur: Dewan Bahasa dan Pustaka.

Othman Ishak. 1997. Hubungan antara Uudang-Undang Islam dengan Undang- Undang Adat. Kuala Lumpur: Dewan Bahasa dan Pustaka.

Tania Li. 1995. Orang Melayu di Singapura: Budaya, Ekonomi dan Idiologi. Kuala Lumpur: Forum.

Wan Abdul Kadir. 2002. Islam dan Nasionalism Budaya Melayu. Kota Bharu dan Petaling Jaya: Masfami Enterprise.

Wan Abdul Kadir. 2002. Tradisi dan Perubahan Masyarakat dan Budaya Melayu. Kuala Lumpur: Penerbitan Pustaka Ilmu.

Zaid Ahmad dll. 2006. Hubungan Ethnik di Malaysia. Selangor: Oxford Fajar. การวัดและประเมินผล 1. สอบยอย / รายงาน 30%

2. การมาเรียนและการมสีวนรวมในชัน้เรยีน 10% 3. สอบกลางภาค 25%

4. สอบปลายภาค 35%

Page 6: โครงการสอน 431-332 ศาสนาอิสลามกับวัฒนธรรมมลายู เทอม 2 ปี 2553

6

วธิกีารตดัเกรด ตัดเกรดแบบอิงเกณฑ

เกรด เกณฑรอยละ A 80-100

B+ 75-79 B 70-74

C+ 65-69 C 60-64

D+ 55-59 D 50-54 E 0-49

หมายเหตุ: คะแนนตามเกณฑนี้อาจเปลี่ยนไดบางเล็กนอยตามดลุพินจิของผูสอน ขอตกลงระหวางผูเรียนกับผูสอน 1. ตองมีเวลาเรียนไมต่ํากวา 80 % จึงจะมีสิทธิสอบปลายภาค 2. งานที่สงหลังวนักําหนดจะไดรับการตรวจ แตจะมกีารหักคะแนน 20 % 3. ทุจริตในการสอบปรับตก 4. แตงเครื่องแบบนักศึกษาใหเรียบรอยทุกครัง้ที่เขาชั้นเรยีน 5. ปดเสียงโทรศัพทมือถือทุกครั้งที่เขาชั้นเรยีน 6. ขาดสอบยอย หากไปขอสอบภายหลังจะถกูหักคะแนน 20 %