12
1 ใบประมวลการสอน รายวิชา 431-336 การเมืองการปกครองในภูมิภาคมลายู ( Politics and Government in Nusantara ) 3(3-0-6) ภาคการศึกษาที1 ปการศึกษา 2553 ภาควิชาภาษาตะวันออก คณะมนุษยศาสตรและสังคมศาสตร มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร วิทยาเขตปตตานี -------------------------- ผูสอน นายนิอับดุลรากิ๊บ บินนิฮัสซัน หองพัก 50330 (ศูนยขอมูลมลายูศึกษา) โทร. 3026 E-mail : [email protected] http://nikrakib.blogspot.com ลักษณะรายวิชา บังคับวิชาเอก หลักสูตรศิลปศาสตรบัณฑิต สาขาภาษามลายูและมลายูศึกษา แนวมลายูศึกษา คําอธิบายรายวิชา บรรยายโครงสรางทางการเมืองและการปกครอง รวมทั้งนโยบายทางการเมืองใน และตางประเทศของกลมประเทศในภูมิภาคมลายูโดยสังเขป อันไดแกการเมือง และการปกครองของประเทศมาเลเซีย อินโดนีเซีย บรูไน และสิงคโปร รวมทั้ง เสริมดวยโครงสรางทางการเมืองและการปกครองของชาวมลายูโพนทะเลใน ประเทศมาดากัสการ, อัฟริกาใต, ศรีลังกา, เกาะโคโคส และออสเตรเลียตะวันตก, สุรีนาม และอื่นๆ วัตถุประสงคการสอน 1. เพื่อใหนักศึกษามีความรูพื้นฐานเกี่ยวกับโครงสรางทางการเมืองและการปกครอง ของชาวมลายู ในกลุมประเทศภูมิภาคมลายู 2. เพื่อใหนักศึกษามีความรูและเขาใจในการวิเคราะหโครงสรางทางการเมืองและการปกครอง ของ ชาวมลายูในกลุมประเทศภูมิภาคมลายูไดอยางถูกตอง 3. เพื่อใหนักศึกษามีความรูและเขาใจในโครงสรางทางการเมืองและการปกครอง และ ประวัติศาสตรความเปนมาของโพนทะเลในประเทศนอกภูมิภาคมลายู

ใบประมวลการสอนวิชา 431-336 เทอม 1 ปีการศึกษา 2553

Embed Size (px)

DESCRIPTION

ใบประมวลการสอนวิชา 431-336 เทอม 1 ปีการศึกษา 2553 คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ ม.สงขลานครินทร์ ปัตตานี

Citation preview

Page 1: ใบประมวลการสอนวิชา 431-336 เทอม 1 ปีการศึกษา 2553

1

ใบประมวลการสอน รายวิชา 431-336 การเมืองการปกครองในภูมิภาคมลายู ( Politics and Government in Nusantara ) 3(3-0-6)

ภาคการศึกษาที่ 1 ปการศึกษา 2553 ภาควิชาภาษาตะวันออก คณะมนุษยศาสตรและสังคมศาสตร

มหาวิทยาลยัสงขลานครินทร วิทยาเขตปตตานี --------------------------

ผูสอน นายนิอับดุลรากิ๊บ บินนิฮัสซัน หองพัก 50330 (ศูนยขอมูลมลายูศึกษา) โทร. 3026 E-mail : [email protected] http://nikrakib.blogspot.com ลักษณะรายวิชา บังคับวิชาเอก หลักสูตรศิลปศาสตรบัณฑิต สาขาภาษามลายูและมลายูศกึษา แนวมลายูศึกษา คําอธิบายรายวิชา บรรยายโครงสรางทางการเมืองและการปกครอง รวมทั้งนโยบายทางการเมืองใน และตางประเทศของกลมประเทศในภูมภิาคมลายูโดยสังเขป อันไดแกการเมือง และการปกครองของประเทศมาเลเซีย อินโดนีเซีย บรูไน และสิงคโปร รวมทั้ง เสริมดวยโครงสรางทางการเมืองและการปกครองของชาวมลายูโพนทะเลใน ประเทศมาดากัสการ, อัฟริกาใต, ศรีลังกา, เกาะโคโคส และออสเตรเลียตะวนัตก, สุรีนาม และอื่นๆ วัตถุประสงคการสอน

1. เพื่อใหนักศกึษามีความรูพืน้ฐานเกี่ยวกับโครงสรางทางการเมืองและการปกครอง ของชาวมลายูในกลุมประเทศภูมิภาคมลาย ู

2. เพื่อใหนักศกึษามีความรูและเขาใจในการวิเคราะหโครงสรางทางการเมืองและการปกครอง ของชาวมลายูในกลุมประเทศภูมภิาคมลายูไดอยางถูกตอง

3. เพื่อใหนักศกึษามีความรูและเขาใจในโครงสรางทางการเมืองและการปกครอง และประวัติศาสตรความเปนมาของโพนทะเลในประเทศนอกภูมภิาคมลาย ู

Page 2: ใบประมวลการสอนวิชา 431-336 เทอม 1 ปีการศึกษา 2553

2

4. ใหนักศกึษามีความสามารถ ศึกษา คนควา ภูมิหลังดานโครงสรางทางการเมืองและการปกครอง และการดําเนินนโยบายทางการเมืองของประเทศตางๆในภมูิภาคมลาย ู

5. เพื่อใหนักศกึษามีประสบการณ และความคิดสรางสรรคดานการศึกษา คนควาถึงโครงสรางทางการเมืองและการปกครอง ของกลุมประเทศในภูมภิาคมลายูและนอกภูมภิาคมลาย ู

กระบวนการเรียนการสอน 1. บรรยายวิชา 2. แบงกลุมศึกษา คนควา และเสนอรายงาน 3. เชิญวิทยากรภายในและตางประเทศมาบรรยายใหความรูแกนักศกึษา 4. ลงภาคสนามภายในหรือตางประเทศ 5. ชมภาพยนตรสารคดีจากประเทศมาเลเซีย หรือ อินโดเนเซีย หรือ บรูไน หรือ ฟลิปปนส

เนื้อหาวิชาและกิจกรรมการเรียนการสอน สัปดาหท่ี เนื้อหา กิจกรรมการเรียนการสอน

1 อภิปรายสังเขปรายวิชาและขอตกลงตางๆ -ขอบเขตตางๆของรายวิชา -จุดประสงคหลักของการศึกษาวิชานี ้

บรรยาย ซักถามปญหา

2

-โครงสรางทางการเมืองและการปกครองของชาวมลาย ู โพนทะเลในประเทศมาดากัสการ, อัฟริกาใต, ศรีลังกา, เกาะโคโคส และออสเตรเลียตะวนัตก, สุรีนาม

บรรยาย ซักถามปญหา

3- -โครงสรางทางการเมืองและการปกครองของประเทศ บรูไน -โครงสรางทางการเมืองและการปกครองของประเทศ สิงคโปร และประเทศตีมอรเลสเต

บรรยาย ซักถามปญหา มอบหมายงาน

4 -ระบบการเลือกตั้ง, รัฐสภามาเลเซีย, รัฐบาลสหพันธรัฐ, รัฐบาลทองถ่ิน, หนวยงานของรัฐตางๆในมาเลเซีย, -ระบบศาลของประเทศมาเลเซีย -พรรคการเมืองของประเทศมาเลเซียในอดตีและปจจุบนั

บรรยาย ซักถามปญหา

Page 3: ใบประมวลการสอนวิชา 431-336 เทอม 1 ปีการศึกษา 2553

3

5 -โครงสรางทางการเมืองและการปกครองของรัฐกลันตัน รัฐเปอรลิส, รัฐเปรัค, รัฐสลังงอร, รัฐโยโฮร, รัฐนัครีซึมบีลัน และรัฐตรังกาน ู

6 -โครงสรางทางการเมืองและการปกครองของรัฐปนัง, รัฐซาราวัค, รัฐซาบะห, รัฐมะละกา, รัฐปาหัง และ รัฐเคดะห

บรรยาย ซักถามปญหา

7 -การตางประเทศกับการพัฒนาเศรษฐกจิ การเมืองของประเทศมาเลเซีย -บทบาทของมาเลเซียในองคการ OIC, NAM, ASEAN

บรรยาย ซักถามปญหา

8 -การจัดตั้ง MAPHILINDO (Malaya-Philippines- Indonesia) -เชิญวิทยากรจากสถาบันมลายูศึกษา มหาวิทยาลัยมาลา ยา ประเทศมาเลเซีย มาบรรยายเกีย่กับมาเลเซีย -ลงภาคสนาม -วิเคราะห โครงสรางทางการเมืองและการปกครองของ มาเลเซียที่ไดจากการลงภาคสนาม

บรรยาย ซักถามปญหาจากวิทยากร

9 สอบกลางภาค 10 -สถานการณทางการเมือง การปกครองและพรรค

การเมืองในอดีตของประเทศอินโดเนเซีย - การจัดตั้งประเทศสาธารณรัฐอินโดเนเซยี (Negara Kesatuan Republik Indonsia) และประเทศสหพันธ สาธารณรัฐอินโด เนเซีย (Republik Indonesia Syarikat)

บรรยาย ซักถามปญหา

11 -สถานการณทางการเมืองในปจจุบันของประเทศอิน โดเนเซีย -พรรคการเมืองในปจจุบนัของประเทศอินโดเนเซีย

บรรยาย ซักถามปญหา

12 -ระบบการเลือกตั้ง, รัฐบาลกลาง และการปกครองสวน ทองถ่ิน -ระบบรัฐสภาของประเทศอินโดเนเซีย -สถาบันสุลตาน กษัตริยในปจจุบันของอินโดเนเซีย

บรรยาย ซักถามปญหา

13 -โครงสรางทางการเมืองและการปกครองของจังหวดั ตางๆในอินโดเนเซีย (รวมทั้งหมด 33 จังหวัด และเขต

บรรยาย ซักถามปญหา

Page 4: ใบประมวลการสอนวิชา 431-336 เทอม 1 ปีการศึกษา 2553

4

ปกครองพิเศษ) 14 -โครงสรางทางการเมืองและการปกครองของจังหวดั

ตางๆในอินโดเนเซีย (รวมทั้งหมด 33 จังหวัด และเขต ปกครองพิเศษ)

บรรยาย ซักถามปญหา

15 -ปญหาทางการเมืองและการปกครองของประเทศอินโดเนเซีย กรณีอาเจะห, ปาปวตะวันตก และโมลุกะ

บรรยาย ซักถามปญหา

16 -โครงสรางทางการเมืองและการปกครองของชาวมลาย ู ในประเทศสงิคโปรและฟลิปปนส -ปญหาทางการเมืองและการปกครองของประเทศฟลิปปนส กรณีมุสลิมมินดาเนา

บรรยาย ซักถามปญหา

17-18 สอบปลายภาค หมายเหตุ : 1. วิทยากรภายนอกและตางประเทศจะทําการบรรยายตามเวลาที่เอื้ออํานวย 2. เชิญวิทยากรจากสถานกงสุล หรือ สถานทูตอินโดเนเซียมาบรรยายเกีย่วกับอินโดเนเซีย และ วิทยากรจากสถานกงสลุ หรือ สถานทูตมาเลเซียมาบรรยายเกีย่วกบัมาเลเซีย 3.เนื้อหาวิชาบางสวนอาจเปลี่ยนแปลงหรือเพิม่เนื้อหาตามสถานการณปจจุบันและตามความ เหมาะสม 4. การลงภาคสนาม จะเปนการทัศนศึกษา หนวยงานราชการของรัฐกลันตัน, รัฐเปรัค หรือ รัฐเคดะห ประเทศมาเลเซีย

5.กรณีมีเหตุการณปจจุบันเกดิขึ้นในประเทศที่เกี่ยวของ จะทําการศึกษา วิเคราะหสถานการณที ่ เกิดขึ้นในประเทศนัน้ๆ

เอกสารที่ใชการประกอบกาสอน 1.เอกสารประกอบการสอนวชิา 431-366 2. Newspaper clipping 3. บทความวิชาการที่ใชศึกษาในมหาวิทยาลัยในประเทศมาเลเซียและอินโดเนเซีย 4. แผนภาพ หนังสือและเอกสารภาษาไทย

สถานเอกอัครราชทูต อินโดเนเซีย.2530.อินโดเนเซียโดยสังเขป.กรุงเทพมหานคร : สถานเอกอัครราชทูตอินโดเนเซีย.

Page 5: ใบประมวลการสอนวิชา 431-336 เทอม 1 ปีการศึกษา 2553

5

ภูวดล ทรงประเสริฐ.2547.อินโดนีเซีย : อดีตและปจจุบนั.กรุงเทพมหานคร : จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย

เสาวภา ธานีรัตน2547.อินโดนีเซีย ฉบับปฐมฤกษ.นครศรีธรรมราช : ศูนยอินโดนีเซียศึกษา มหาวิทยาลัยราชภัฏนครศรีธรรมราช

ชมพูนุท กองชนะ.2547.เท่ียวรอบโลกชุดดินแดนในฝน มาเลเซีย-บรูไน.กรุงเทพมหานคร : อทิตตา เทิรนบุลล, แมรี่.2540.ประวัติศาสตรมาเลเซีย สิงคโปรและบรูไน.กรุงเทพมหานคร : กรมวิชาการ

กระทรวงศกึษาธิการ แอนโทน ี รีด.2548.เอเชียตะวันออกเฉียงใตในยคุการคา ค.ศ.1450-1680 = Southeast Asia in the

Age of Commerce.พงษศรี เลขะวัฒนะ ผูแปล กรุงเทพมหานคร : ซิลคเวอรม สถาบันเอเชียศึกษา จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย.เอเชียตะวันออกเฉียงใตในโลกปจจุบัน

กรุงเทพมหานคร : ไทพัน อินเตอร แอคท ศิริพร สมัคร2541.สโมสรบรูไน : อาณานิคมของอังกฤษ.กรุงเทพมหานคร : สํานักงานกองทุน

สนับสนุนการวิจัย บุญเสริม ฤทธาภิรมย. 2523.สิงคโปรเมืองเนรมิตร.กรุงเทพมหานคร : บรรณกิจ

หนังสือและเอกสารภาษามลายูและอังกฤษ Abdul Latiff Abu Bakar.2001.Dunia Melayu dunia Islam : belia dalam pembangunan. Konvensyen Dunia Melayu Dunia Islam (IKSEP: Melaka). Abdul Latiff Abu Bakar.1996. Konsep patriotisme dan nasionalisme.Melaka dan arus gerakan kebangsaan Malaysia, diselenggarakan oleh Abdul Latiff Abu Bakar (Kuala Lumpur : Penerbit Universiti Malaya,) : 1-8. Abdul Latiff Abu Bakar.1990. Melayu Sri Lanka : kumpulan esei dan kertas kerja. Simposium Dunia Melayu (Ke-2 : 1985 : Sri Lanka)Kuala Lumpur : Biro Penerbitan GAPENA dan Kumpulan Asas, Jabatan Penulisan, Universiti Malaya. Abdul Latiff Abu Bakar. 1981.Ibrahim Haji Yaakob : kegelisahan dan impian seorang pejuang Melayu.Hari Sastera (6th : 1980 : Ipoh). Imej dan cita-cita (Kuala Lumpur : Dewan Bahasa dan Pustaka,) : 212-237. Hafiz Faisal Abdul Karim Bacarat Al-Haj.2001.Adat Melayu Mindanao.Adat Melayu serumpun, diselenggarakan oleh Abdul Latiff Abu Bakar (Melaka : Perbadanan Muzium Melaka, Kerajaan Negeri Melaka,), 419-423.

Page 6: ใบประมวลการสอนวิชา 431-336 เทอม 1 ปีการศึกษา 2553

6

Gallman, Andrew Franklin.1983.Proto East Mindanao and its internal relationships.Thesis (Ph.D.) - The University of Texas at Arlington.

Mastura, Datu Michael O.1982.Legal status of the Sulu Sultanate and the Mindanao principalities.Workshop on Malay Sultanates and Malay Culture, 3rd,1st-4th Nov, Kuala Lumpur

George, Thayil Jacob Sony.1980. Revolt in Mindanao : the rise of Islam in Philippine politics.Kuala Lumpur ; New York : Oxford University Press.

Abubakar, Asiri J. 1973. Muslims Philippines : with reference to the Sulus, Muslim-Christian contradictions, and the Mindanao crisis Salazar, Zeus A.1998.The Malayan Connection: Ang Pilipinas sa Dunia Melayu.Lunsod Quezon: Palimbagan ng Lahi.

Gerakan Islam Dunia Melayu .1988.The Bangsa Moro Muslims of South Philippines.Seminar Gerakan Islam Dunia Melayu (2nd: 2-5 Dec: Petaling Jaya)

Mohd. Hassan Cana. 2006Bahasa dan budaya Melayu di Filipina: dahulu, sekarang dan peranan di masa depan dalam dunia Melayu.Persidangan Antarabangsa Bahasa, Sastera dan Budaya Melayu (Ke-2 : :Serdang) : Paper 7 (13p.)

Matlob.1992.Emilio Equinaldo : pahlawan Filipina yang unggul .Johore Baharu : Badan Bookstore.

Alatas, Syed Hussein.1989.Mitos peribumi malas : imej orang Jawa, Melayu dan Filipina dalam kapitalisme penjajah.Kuala Lumpur : Dewan Bahasa dan Pustaka. Majul, Cesar Adib.1988.Islam di Filipina.Kuala Lumpur : Dewan Bahasa dan Pustaka.

Roman, Guillermo R. 1988.Filipina dalam konteks dunia Melayu.Seminar Dunia Melayu (24-25 Jan : Alor Setar) : Paper 8.

Corpuz, Onofre D. 1982.Filipina .Kuala Lumpur : Dewan Bahasa dan Pustaka. Zaide, Gregorio F. 1972.Sejarah politik dan kebudayaan Filipina.Kuala Lumpur : Dewan Bahasa dan Pustaka. Abdullah Abbas Nasution. 1953.Sejarah Melayu Raya : tarikh perjuangan dan ekonomi Indonesia, Filipina dan Malaya.Pulau Pinang : Persama Press. Craig, Austin.2002.Lineage, life and labors of José Rizal, Philippine patriot.Manila : Tulay Foundation, Inc. Rajaretnam, M. 1995.Jose Rizal : a legacy of sensibility and dignity (background paper) International Conference on Jose Rizal and the Asian Renaissance (1-4 Oct : Kuala Lumpur): pp.17-35.

Page 7: ใบประมวลการสอนวิชา 431-336 เทอม 1 ปีการศึกษา 2553

7

Corpuz, O. D. 1995. Dr Jose Rizal : the first Filipino.International Conference on Jose Rizal and the Asian Renaissance (1-4 Oct: Kuala Lumpur): Paper 3 (18p.)

Zaide, Gregorio F. 1994.Jose Rizal : Life, works and writings of a genius, writer, scientist and national hero.Manila : All Nations. Palma, Rafael.1966.The pride of the Malay race : a biography of Jose Rizal .New York : Prentice-Hall.

Saleeby, Najeeb Mitry.1976.Studies in Moro history, law and religion.Manila : Filipiniana Book Guild. Ismail Hussein, Tan Sri.2000. Perkembangan kegiatan dunia Melayu di Malaysia.Seminar Antarabangsa Dunia Melayu-Dunia Indocina : Hubungan Sejarah dan Kebudayaan (21-22 Nov : Kuala Lumpur) : Paper 7 (8p.) Ismail Hussein, Tan Sri. 1997.Antara dunia Melayu dengan dunia kebangsaan.Dunia Melayu : menyongsong abad kedua puluh satu, oleh Ismail Hussein dan Wan Hashim Wan Teh (Bangi : Penerbit Universiti Kebangsaan Malaysia,) : 11-67. Ismail Hussein, Tan Sri.1997.Tamadun Melayu : menyongsong abad kedua puluh satu.Bangi, Selangor : Penerbit Universiti Kebangsaan Malaysia. Ismail Hussein, Tan Sri.1995.Dunia Melayu dan dunia Indocina.Kuala Lumpur : Dewan Bahasa dan Pustaka, Kementerian Pendidikan, Malaysia.

Ismail Hussein, Tan Sri.1989-1995. Tamadun Melayu.Jilid I-VI .Kuala Lumpur : Dewan Bahasa dan Pustaka.

Ismail Hussein, Tan Sri.1988. Antara dunia Melayu dengan dunia Indonesia.Pemikiran sastera Nusantara, diselenggarakan oleh Hamzah Hamdani (Kuala Lumpur : Dewan Bahasa dan Pustaka,) : 213-231.

Yahaya Ismail.1977. Kepimpinan Melayu didalam kebudayaan.Kuala Lumpur : Jabatan Pengajian Melayu, Universiti Malaya.

Bachtiar, Harsja Wardhana.1980. Muhammad Yamin : dari desa ke Indonesia Raya.Hari Sastera: Ipoh). Imej dan cita-cita (Kuala Lumpur : Dewan Bahasa dan Pustaka, 1981) : 191-211.

Muhammad Yamin.1972.. Gadjah Mada : Pahlawan Persatoean Noesantara.Djakarta : Balai Poestaka.

Yamin, Muhammad, Hadji.1946.Tan Malaka, bapak Republik Indonesia.Djawa Timur : Moerba Berdjoeang.

Page 8: ใบประมวลการสอนวิชา 431-336 เทอม 1 ปีการศึกษา 2553

8

Muhammad Yamin.1945.Gadjah Mada, pahlawan persatuan Noesantara : jaitoe riwayat perdjoengan pengandjoer gadjah mada membentoek dan membesarkan negara Madjapahit .Djakarta : Balai Pustaka.

Yamin, Muhammad, Hadji.1945. Tatanegara Madjapahit, jaitu risalah saptaparwa berisi 7 parwa hasil penelitian ketatanegaraan Indonesia tentang dasar dan bentuk negara Nusantara bernama Madjapahit, 1293-1525.Djakarta : Jajasan Prapantja. Horace Geoffrey Quaritch .1974.Langkasuka and Tambralinga some archaeological notes Wheatley, Paul.Langkasuka. Leiden : E. J. Brill, [n.d.] Farish A. Noor.2005.From Majapahit to Putrajaya : searching for another Malaysia.Kuala Lumpur : Silverfish Books.

Braginsky, V. I. 1990"The war of books" : Malacca-Majapahit conflict in Sejarah Melayu.Tenggara, 30 () : 119-132.

Kartawiriaputra, Suwarno.1978.. Wijaya pendiri kerajaan Majapahit : bacaan untuk sekolah dasar.Bandung : Tarate.

Slametmuljana, R. B. 1976.A story of Majapahit.Singapore : Singapore University Press. Ya'kub Haji Hasan. 1949.Mengenal Indonesia, mengupaskan sejarah keagongan empira2

Seri Wijaya, Majapahit dan Melaka, serta mengenalkan asal Indonesia.Kelantan : Mustafa. Prapanca, Rakawi of Majapahit. 1960.Java in the 14th century : a study in cultural history : the Nagara-Kertagama.M. Nijhoff, Prapanca, Rakawi of Majapahit. 1979.Nagarakretagama dan tafsir sejarahnya.Bhratara Karya Aksara. Hadijah Haji Hassan.1991.Perambahan Brunei.Bandar Seri Begawan, Brunei Darusalam : Dewan Bahasa dan Pustaka Brunei. Mahayudin Haji Yahaya. 2005.Persejarahan Melayu-Islam Brunei : suatu kajian rintis.Seminar Sejarah Sosial Malaysia Peringkat Kebangsaan dan Serantau (22-23 Jul : Kuala Lumpur) : Vol.1 Paper 20

Wan Ariffin Wan Yon. 2005.Kesultanan Melayu Brunei : kemunculan, perkembangan dan pertembungan dengan peradaban asing.Dissertation (M.A. (Civilization Stud.) Pengajian Peradaban, Fakulti Sastera dan Sains Sosial, Universiti Malaya.

Page 9: ใบประมวลการสอนวิชา 431-336 เทอม 1 ปีการศึกษา 2553

9

Awg Asbol Haji Mail, Haji.2002.Kesultanan Brunei abad ke sembilan belas : sistem politik dan struktur pentadbiran.Thesis (Ph.D.) Jabatan Sejarah, Fakulti Sastera dan Sains Sosial, Universiti Malaya. Ishaq, Isjoni.2002.Orang Melayu : sejarah, sistem, norma, dan nilai adat .Pekanbaru, Riau : Unri Press.

Dewan Bahasa dan Pustaka.1991.. Ensiklopedia sejarah dan kebudayaan Melayu.Kuala Lumpur : Dewan Bahasa dan Pustaka. Hafizan Abd Halim.2006.. Tuntutan institusi Kesultanan Melayu Melaka baru : satu tinjauan sejarah.Academic exercise (B.A.)Jabatan Sejarah, Fakulti Sastera dan Sains Sosial, Universiti Malaya. Ishak Saat.2006.Sejarah sosiobudaya Melayu.Shah Alam, Selangor : Karisma Publications.

Abdul Rashid Melebek.2006.Sejarah Bahasa Melayu.Kuala Lumpur : Utusan Publications. Abdul Rahman Haji Ismail. 2004.Sulalat-us-Salatin atau Sejarah Melayu : apa ada pada nama dan di manakah tarikhnya?Seminar Kebangsaan Sulalatus Salatin (24 Jul : Pulau Pinang) : Paper 2 (13p.)

Nik Hassan Shuhaimi Nik Abd. Rahman.2006. Warisan seni arca pra-Islam di alam Melayu lambang tamadun Melayu. Warisan seni budaya Melayu : pelestarian dan pembangunan : prosiding Persidangan Antarabangsa Pengajian Melayu yang berlangsung pada 8-9 November di Petaling Jaya, Selangor, editor Puteri Roslina Abd. Wahid (Kuala Lumpur: Akademi Pengajian Melayu, Universiti Malaya, 2006), v.1, 222-230.

Dharma, Po. 2000.Campa dilihat dalam Sejarah Melayu versi Raffles (MS 18).Seminar Antarabangsa Dunia Melayu-Dunia Indocina : Hubungan Sejarah dan Kebudayaan (21-22 Nov : Kuala Lumpur) : Paper 9 (3p.) Jamsari Moktar. 1999.Hikayat Raja Pasai : pemikiran tamadun Melayu.Dissertation (M.A)(Pengajian Peradaban) Pusat Dialog Peradaban, Fakulti Sastera dan Sains Sosial, Universiti Malaya. Hussainmiya, B. A. (Bachamiya Abdul) 1984.Orang Rejimen : the Malays of the Ceylon Rifle Regiment.Ph. D. Thesis, University of Peradeniya. Sri Lanka.

Abdul Latif Haji Ibrahim, Haji. 1986.Brunei dalam lintasan sejarah tamadun Melayu.Persidangan Antarabangsa mengenai Tamadun Melayu (11-13 Nov : Kuala Lumpur) : Vol. 1, paper 7.

Page 10: ใบประมวลการสอนวิชา 431-336 เทอม 1 ปีการศึกษา 2553

10

Phoeun, Mak. 1995.Masyarakat Cam Islam di Kemboja pada abad ke-15 hingga abad ke-19 : penetapan dan penglibatan mereka dalam sistem politik Khmer.Dunia Melayu dan dunia Indocina (Kuala Lumpur : Dewan Bahasa dan Pustaka,) : 86-99. Teh, Yik Koon.2002. Money politics in Malaysia.Journal of Contemporary Asia 32.3 : 338-345. Liow, Joseph Chin Yong.2005.The politics of Indonesia-Malaysia relations : one kin, two nations.London : RoutledgeCurzon. Noorul Ainur Mohd. Nur.2003.Privatization in Malaysia at the crossroads : politics and efficiency.Thesis (Ph.D.) City University of New York. Lee, Hwok Aun.2003.Development in Malaysia : economics and politics of an idea.Kuala Lumpur : Faculty of Economics & Administration, University of Malaya. Lau, Albert.2003.A moment of anguish : Singapore in Malaysia and the politics of disengagement.Singapore : Times Media Private Limited. Loh, Francis Kok-Wah.2003. New politics in Malaysia.Singapore : Institute of Southeast Asian Studies.

Norani Othman.2003.Malaysia : Islam, society and politics.Singapore : Institute of Southeast Asian Studies.

Abdul Razak Abdullah Baginda.2003.Malaysia in transition : politics and society London : Asean Academic Press Ltd.

Kamarulnizam Abdullah.2002.The politics of Islam in contemporary Malaysia.Bangi, Selangor : Penerbit Universiti Kebangsaan Malaysia. Peletz, Michael G.2002.Islamic modern : religious courts and cultural politics in Malaysia.Princeton, NJ : Princeton University Press. Rappa, Antonio L.2002.Modernity & consumption : theory, politics and the public in Singapore and Malaysia.New Jersey : World Scientific. Stauth, Georg.2002.Politics and cultures of Islamization in Southeast Asia : Indonesia and Malaysia in the nineteen-nineties.Bielefeld : Transcript. Hefner, Robert W., 2001. The politics of multiculturalism : pluralism and citizenship in Malaysia, Singapore, and Indonesia.Honolulu : University of Hawai'i Press. Nicholas, Colin. 2000.The Orang Asli and the contest for resources : indigenous politics, development and identity in Peninsular Malaysia.Copenhagen : IWGIA.

Page 11: ใบประมวลการสอนวิชา 431-336 เทอม 1 ปีการศึกษา 2553

11

Loh, Francis Kok Wah.1998.Ethnic politics and democracy in Malaysia.Regional Roundtable on Islam, Culture and Democracy (17-18 Aug : Kuala Lumpur) : Paper 6 (20p.) Kahn, Joel S.1998.Southeast Asian identities : culture and the politics of representation in Indonesia, Malaysia, Singapore, and Thailand.Singapore : Institute of Southeast Asian Studies. Milne, R. S. (Robert Stephen).1992.Politik dan kerajaan di Malaysia.Kuala Lumpur : Dewan Bahasa dan Pustaka. Shamsul Amri Baharuddin. 1990.From British to Bumiputera rule : local politics and rural development in Peninsular Malaysia.Singapore : Institute of Southeast Asian Studies. Syed Ahmad Hussein.1988.Islam and politics in Malaysia 1969-1982 : the dynamics of competing tradition.Thesis (Ph.D.)Yale University. Goh, Cheng Teik. 1989.Racial politics in Malaysia.Petaling Jaya : FEP International. Dancz, Virginia H. (Virginia Helen)1987.Women and party politics in Peninsular Malaysia.Singapore : Oxford University Press.

Zakaria Haji Ahmad.1987.Government and politics of Malaysia.Singapore : Oxford University Press. Honna, Jun.2005.Military politics and democratization in Indonesia.London : Routledge. Porter, Donald J.2005.Managing politics and Islam in Indonesia.London : Routledge Curzon. Aspinall, Edward.2003.Local power and politics in Indonesia : decentralisation & democratization.Singapore : Institute of Southeast Asian Studies.

Stauth, Georg.2002.Indonesia - Malaysia : structures of embeddedness of Islam and the multi-ethnic condition of Asia.Politics and cultures of Islamization in Southeast Asia: Indonesia and Malaysia in nineteen-nineties, by Georg Stauth (Bielefeld : Transcript,), 45-86.

Kingsbury, Damien.2002.The politics of Indonesia.Melbourne : Oxford University Press. Suryadinata, Leo.2002.Elections and politics in Indonesia.Singapore : Institute of Southeast

Asian Studies. Hefner, Robert W. 2001.The politics of multiculturalism : pluralism and citizenship in

Malaysia, Singapore, and Indonesia.Honolulu : University of Hawai'i Press. การวัดและประเมินผล

รายงานการวัดผล วิธีการวัดผล น้ําหนกั 1. การมีสวนรวมในชัน้เรียน การมาเรียนและสังเกต 10 %

Page 12: ใบประมวลการสอนวิชา 431-336 เทอม 1 ปีการศึกษา 2553

12

พฤติกรรม การกลาแสดงออก 2. สอบยอย 3. รายงาน

สอบดวยขอสอบความเรียง ทํารายงานตามหัวขอที่กําหนด

30 %

4. สอบกลางภาค สอบดวยขอสอบความเรียง 20 % 5. สอบปลายภาค สอบดวยขอสอบความเรียง 40 % วิธีการตัดเกรด แบบอิงเกณฑ เกณฑการใหเกรด

เกณฑอิงรอยละ เกรด A คะแนน 85 ขึ้นไป เกรด B+ คะแนน 80-84 เกรด B คะแนน 75-79 เกรด C+ คะแนน 70-74 เกรด C คะแนน 65-69 เกรด D+ คะแนน 60-64 เกรด D คะแนน 55-59 เกรด E คะแนน 0-54

หมายเหตุ : เกณฑคะแนนอาจจะมกีารเปลี่ยนแปลงตามดุลพินิจของผูสอน ขอตกลงระหวางผูเรียนกับผูสอน

1. ตองมีเวลาเรียนไมต่ํากวา 80 % จึงจะมีสิทธิสอบปลายภาค 2. รายงานที่สงหลังวันกําหนดจะไดรับการตรวจ แตจะไมมีการใหคะแนน 3. ทุจริตในการสอบปรับตกวิชา 431-336 4. แตงเครื่องแบบนักศึกษาใหเรียบรอยทกุครั้งที่เขาชั้นเรียน 5. ปดเสียงโทรศัพทมือถือทุกครั้งที่เขาชั้นเรียน 6. ขาดสอบยอย ไมมีสิทธิ์ขอสอบภายหลัง