9
1 ใบประมวลการสอน (Course Syllabus) รายวิชา 431-337 ระบบกฎหมายในภูมิภาคมลายู ( Legal System in Nusantara ) 3 (3-0-6) ภาคเรียนที2 ปการศึกษา 2553 ภาควิชาภาษาตะวันออก คณะมนุษยศาสตรและสังคมศาสตร มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร วิทยาเขตปตตานี ……………………………………………. ผูสอน นายนิอับดุลรากิ๊บ บินนิฮัสซัน หองพัก 50330 ( ศูนยขอมูลมลายูศึกษา ) โทร. 3026 Email : malaystudies.gmail.com Website : http://nikrakib.blogspot.com ลักษณะรายวิชา บังคับวิชาเอก หลักสูตรศิลปศาสตรบัณฑิต สาขาภาษามลายูและมลายูศึกษา แนวมลายูศึกษา คําบรรยายรายวิชา เปรียบเทียบการใชกฎหมายอิสลามของประเทศในภูมิภาคมลายูและประเทศ ไทย กฎหมายทางทะเล กฎหมายเกี่ยวกับเศรษฐกิจ รวมทั้งการใช กฎหมายระหวางประเทศ ของประเทศเหลานีวัตถุประสงคการสอน 1. เพื่อใหนักศึกษามีความรูพื้นฐานเกี่ยวกับระบบกฎหมายในกลุมประเทศภูมิภาคมลายู 2. เพื่อใหนักศึกษามีความรูและความเขาใจในระบบกฎหมายในกลุมประเทศภูมิภาค มลายู 3. เพื่อใหนักศึกษามีความสามารถศึกษา คนควา ภูมิหลังดานระบบกฎหมายของ ประเทศตางๆในกลุมประเทศภูมิภาคมลายู 4. เพื่อใหนักศึกษามีประสบการณ และความคิดสรางสรรคดานการศึกษา คนควา ระบบกฎหมายของประเทศตางๆในกลุมประเทศภูมิภาคมลายู

ใบประมวลการสอนวิชา 431-337 เทอม 2 ปีการศึกษา 2553

Embed Size (px)

DESCRIPTION

ใบประมวลการสอนวิชา 431-337 เทอม 2 ปีการศึกษา 2553 แผนกวิชามลายูศึกษา คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ ม. สงขลานครินทร์ ปัตตานี

Citation preview

Page 1: ใบประมวลการสอนวิชา 431-337 เทอม 2 ปีการศึกษา 2553

1

ใบประมวลการสอน (Course Syllabus) รายวิชา 431-337 ระบบกฎหมายในภมูิภาคมลายู

( Legal System in Nusantara ) 3 (3-0-6) ภาคเรียนที่ 2 ปการศึกษา 2553

ภาควิชาภาษาตะวันออก คณะมนุษยศาสตรและสังคมศาสตร มหาวทิยาลัยสงขลานครินทร วิทยาเขตปตตานี

……………………………………………. ผูสอน นายนิอับดุลรากิ๊บ บินนิฮัสซัน หองพัก 50330 ( ศูนยขอมลูมลายูศึกษา ) โทร. 3026 Email : malaystudies.gmail.com Website : http://nikrakib.blogspot.com ลกัษณะรายวชิา บังคับวิชาเอก หลักสูตรศิลปศาสตรบณัฑิต สาขาภาษามลายูและมลายูศึกษา แนวมลายูศกึษา คําบรรยายรายวชิา เปรยีบเทียบการใชกฎหมายอิสลามของประเทศในภูมภิาคมลายแูละประเทศ

ไทย กฎหมายทางทะเล กฎหมายเกี่ยวกับเศรษฐกิจ รวมท้ังการใช กฎหมายระหวางประเทศ ของประเทศเหลานี้

วตัถุประสงคการสอน

1. เพื่อใหนักศึกษามีความรูพ้ืนฐานเกี่ยวกับระบบกฎหมายในกลุมประเทศภูมิภาคมลาย ู2. เพื่อใหนักศึกษามีความรูและความเขาใจในระบบกฎหมายในกลุมประเทศภูมิภาค

มลาย ู3. เพื่อใหนักศึกษามีความสามารถศกึษา คนควา ภูมิหลังดานระบบกฎหมายของ

ประเทศตางๆในกลุมประเทศภูมิภาคมลาย ู4. เพื่อใหนักศึกษามีประสบการณ และความคิดสรางสรรคดานการศึกษา คนควา

ระบบกฎหมายของประเทศตางๆในกลุมประเทศภูมภิาคมลาย ู

Page 2: ใบประมวลการสอนวิชา 431-337 เทอม 2 ปีการศึกษา 2553

2

กระบวนการเรียนการสอน

1. บรรยายเนื้อหา 2. แบงกลุมศึกษา คนควา และเสนอรายงาน 3. ลงภาคสนาม 4. เชิญวิทยากรตางประเทศมาใหความรู

เน้ือหาวิชาและกิจกรรมการสอน สัปดาหท่ี เน้ือหา กจิกรรมการเรยีนการสอน

1 อภิปรายสังเขปรายวิชาและขอตกลงตางๆ - ขอบเขตตางๆของรายวิชา - จุดประสงคหลักของการศกึษารายวิชานี ้

บรรยาย ซักถาม

2 - โครงสรางระบบศาลของประเทศมาเลเซีย - รัฐธรรมนญูมาเลเซีย โดยเนนมาตราที่ม ี ความสําคัญ

บรรยาย ซักถาม

3 - ความแตกตางระหวางรัฐธรรมนญูสหพันธรัฐกับ รัฐธรรมนูญแหงรัฐตางๆ - รัฐธรรมนญูรัฐกลันตัน

บรรยาย ซักถาม

4 - กฎหมายความมั่นคงของมาเลเซีย ( Internal Security Act )

บรรยาย ซักถาม

5 - กฎหมายเกีย่วกับครอบครวัและอิสลามใน รัฐธรรมนูญมาเลเซีย - กฎหมายอิสลามในประเทศไทย

บรรยาย ซักถาม

6 - กฎหมายแรงงานของมาเลเซีย - กฎหมายทางทะเลของประเทศมาเลเซีย

บรรยาย ซักถาม

7 - กฎหมายทางธุรกิจของประเทศมาเลเซยี - ลงภาคสนาม - เชิญวิทยากรจากตางประเทศ

บรรยาย ซักถาม

Page 3: ใบประมวลการสอนวิชา 431-337 เทอม 2 ปีการศึกษา 2553

3

8

- โครงสรางระบบศาลของประเทศบรไูน - รัฐธรรมนญูประเทศบรไูน - กฎหมายการปกครองและกฎหมายอิสลามของ บรูไน

บรรยาย ซักถาม

9 สอบกลางภาค

10 - โครงสรางระบบศาลของประเทศอินโดเนเซีย - รัฐธรรมนญูของประเทศอนิโดเนเซีย ( UUD 45 ) โดยเนนมาตราที่มีความสําคัญ

บรรยาย ซักถาม

11 - กฎหมายทางทะเลของอนิโดเนเซีย - กฎหมายทางธุรกิจของอินโดเนเซีย

บรรยาย ซักถาม

12 - กฎหมายเกีย่วกับอิสลามและครอบครัวอิสลาม ของอินโดเนเซีย

บรรยาย ซักถาม

13 - กฎหมายแรงงานของอินโดเนเซีย บรรยาย ซักถาม

14 - โครงสรางระบบศาลของประเทศสิงคโปร - รัฐธรรมนญูของประเทศสงิคโปร - กฎหมายอิสลามในสิงคโปร

บรรยาย ซักถาม

15

- โครงสรางระบบศาลของประเทศฟลิปปนส - กฎหมายอิสลามในฟลิปปนส - กฎหมายที่ใชในกิจการของ Autonomous Region Of Muslim in Mindanao

บรรยาย ซักถาม

16 - สรุปบทเรียนทั้งหมด บรรยาย ซักถาม

17-18 สอบปลายภาค

เอกสารที่ใชประกอบในการการสอน -เอกสารประกอบการสอนวชิา 431-335 -Newspaper Clipping -Handout

Page 4: ใบประมวลการสอนวิชา 431-337 เทอม 2 ปีการศึกษา 2553

4

-แผนภาพ เน้ือหาและการบรรยาย เนื้อหาประมาณ 20 % เปนภาษาอังกฤษและการบรรยายประมาณ 15 % เปนภาษาองักฤษ หนังสือประกอบการเรียน หนังสือภาษาไทย อุกฤษฎ ปทมานันท, ชปา จิตตประทุม. 2542.วิกฤตการณมาเลเซีย : เศรษฐกิจ การเมือง-วัฒนธรรม.

กรุงเทพมหานคร:สถาบันเอเชีย จุฬาลงกรณมหาวิทยาลยั. สีดา สอนศร.ี2544.เอเชียตะวนัออกเฉียงใต การเมอืงการปกครองหลังสิน้สุดสงครามเย็น. กรุงเทพมหานคร : คณะรัฐศาสตร มหาวิทยาลยัธรรมศาสตร. ธํารงศกัดิ์ อายวุัฒนะ.25--.มาเลเซียกับ 3 จงัหวัดภาคใตของไทย.กรุงเทพมหานคร : ม.ป.พ. สีดา สอนศร.ี2548.ผูนําในเอเชียตะวันออกเฉียงใต : ศึกษาเฉพาะประเทศอินโดนีเซีย ฟลิปปนส สิงคโปร มาเลเซีย และไทย .กรุงเทพมหานคร : โครงการวิชาโทเอเชียตะวันออกเฉียงใต มหาวิทยาลยัธรรมศาสตร. สีดา สอนศรี และคณะ.2545.พรรคการเมืองในเอเชียตะวันออกเฉียงใต : ศึกษาเฉพาะประเทศ อินโดนีเซีย ฟลิปปนส ไทย และมาเลเซีย. กรุงเทพมหานคร : สถาบันเอเชียตะวันออกศึกษา มหาวิทยาลยัธรรมศาสตร.

หนังสือตางประเทศ Ahmad Ibrahim, Tan Sri,2005.Sistem undang-undang di Malaysia.Kuala Lumpur : Dewan Bahasa Dan Pustaka. Abdullah Alwi Haji Hassan.2005. Pengajian dan pengamalan undang-undang Islam di Malaysia : Antara tradisi dan moderniti.Kuala Lumpur : Bahagian Komunikasi Korporat, Universiti Malaya. Abg Gharul Annuar Abg Abd Ghani.2003/2004.Isu tanah terbiar di Malaysia : penyelesaiannya mengikut undang-undang Islam.Academic exercise (B.A.)Jabatan Syariah Undang- Undang, Bahagian Pengajian Syariah, Akademi Pengajian Islam, Universiti Malaya.

Page 5: ใบประมวลการสอนวิชา 431-337 เทอม 2 ปีการศึกษา 2553

5

Abu Bakar Hashim. 1996. Latar belakang Singapura dan hubungannya dengan negeri-negeri lain di Semenanjung. Seminar Antarabangsa Pentadbiran Undang-Undang Islam (23-24 Jul 1996 : Kuala Lumpur) : Paper 8 (34p.) Ahmad Ibrahim et al.1999. Perkembangan Undang-Undang Perlembagaan Persekutuan. Kuala Lumpur: Dewan Bahasa dan Pustaka. Ahmad Sarji Abdul Hamid. 1993.Malaysia's vision 2020 : understanding the concept, implications

and challenges.Kuala Lumpur : Pelanduk. Ariffin, Bustanol.1996. Pentadbiran undang-undang Islam di Indonesia (Administration of Islamic law in Indonesia) .Seminar Antarabangsa Pentadbiran Undang-Undang Islam (23- 24 Jul 1996 : Kuala Lumpur) : Paper 9 (57p.) Badariah Sahamid.c2005. Jurisprudens dan teori undang-undang dalam konteks Malaysia.Kuala Lumpur: Sweet & Maxwell Asia. Bakry, K. H. Hasbullah.1981. Kumpulan lengkap undang-undang dan peraturan perkawinan di Indonesia Jakarta : Djambatan. George, T.J.S. 1980. Revolt in Mindanao :the Rise of Islam in Philippines poltics. Kuala Lumpur : Oxford University Press. Himpunan Undang-undang Dasar : undang-undang dan beberapa peraturan perundangan lainnya tentang pemerintah daerah di Indonesia.Jakarta : Pradnya Paramita, 1981. Kansil, C. S. T. 1981. Sistem pemerintahan Indonesia : berdasarkan Undang-Undang Dasar 1945 dan ketetapan-ketetapan MPR 1978, serta dilengkapi dengan pedoman penghayatan dan pengalaman pancasila dan pendalaman UUD 1945 Jakarta : Aksara Baru. Mahmud Soedon A. Othman. 1998. Institut Pentadbiran Undang- Undang & Kehakiman Islam. Mulyadi.2003.Fasakh kerana keganasan rumah tangga menurut undang-undang No.1 Tahun 1974 dan PP No.9 Tahun 1975 : kajian di pengadilan agama Kerinchi, Jambi, Sumatera, Indonesia. Dissertation (M.Syariah) Jabatan Syariah dan Undang-Undang, Akademi Pengajian Islam, Universiti Malaya. Mahmud Zaki Fuad.2002. Pembaharuan dalam undang-undang Islam : kajian terhadap status

hakim wanita di Indonesia.Dissertation (M.Syariah) Jabatan Syariah dan Undang-Undang, Bahagian Pengajian Syariah, Akademi Pengajian Islam, Universiti Malaya.

Page 6: ใบประมวลการสอนวิชา 431-337 เทอม 2 ปีการศึกษา 2553

6

Mohamad, Mahathir. 1995.The Malaysian System of Government. Kuala Lumpur : Prime Minister's Office. Mead, Richard.1988.Malaysia's national language policy and the legal system.New Haven : Yale

University Southeast Asia Studies. Musolf, Lloyd D.1979.Malaysia's parliamentary system : representative politics and policy making in a divided society . Boulder : Westview Press. Metussin Haji Baki, Haji.2005.Wanita hamil : dalam undang-undang syariah dan undang- undang Islam di Brunei.Bandar Serti Begawan: Dewan Bahasa dan Pustaka Brunei. Masnon Haji Ibrahim, Hajah.2001.Hak wanita dalam undang-undang keluarga Islam di Brunei Thesis (Ph.D) Akademi Pengajian Islam, Universiti Malaya. Mahmud Saedon Awang Othman.1996. Perlaksanaan dan pentadbiran undang-undang Islam di

Negara Brunei Darusalam : satu tinjauan. Bandar Seri Begawan, Brunei : Dewan Bahasa dan Pustaka Brunei.

Mahmud Saedon Awang Othman. 1996.Pentadbiran undang-undang Islam di negara Brunei Darussalam (Administration of Islamic law in Brunei) : Seminar Antarabangsa Pentadbiran Undang-Undang Islam (23-24 Jul 1996 : Kuala Lumpur) : Paper 2 (34p.)

Mazlah Yaacob. 2004.Hukuman sebat : kajian dari perspektif hukum Islam dan undang-undang jenayah di Malaysia.Dissertation (M.Syariah) Jabatan Syariah dan Undang-Undang, Bahagian Pengajian Syariah, Akademi Pengajian Islam, Universiti Malaya.

Nasser A. MaroHomsalic. 2001. Aristocrats of The Malay Race : A History of The Bangsa Moro in The Philippines. Quezon City : VJ Graphics Arts.

Rasyidi, Lili.1989. Undang-undang perkahwinan dan penceraian di Malaysia dan Indonesia.Kuala Lumpur : Pustaka Bina Jaya.Supomo, Raden.1965. Undang-undang Dasar Sementara Republic Indonesia.jakarta :Pradnjaparamita. Shaik Mohd. Noor Alam S. M. Hussain.1992. Keadilan kontrak: perspektif bandingan undang- Undang kontrak Indonesia dan Malaysia. Journal of Malaysian and Comparative Law 1992 : 19 : 99-124. Shaik Mohd. Noor Alam S. M. Hussain.1990.Antara cakap dengan upaya: satu tinjauan undang-

Page 7: ใบประมวลการสอนวิชา 431-337 เทอม 2 ปีการศึกษา 2553

7

undang kontrak Malaysia dan Indonesia. Kanun : Jurnal Undang-Undang Malaysia : 1990 : (3) : 1-4. Shaikh Mohd. Noor Alam bin S. M. Hussain. 1988. Federalisme di Malaysia. Kuala Lumpur: Dewan Bahasa dan Pustaka. Taufiq, H. Peranan.1986. kehakiman dalam perkembangan undang-undang Islam : pengalaman

Indonesia. International Shariah Conference on the Role of the Judiciary in the Development of Islamic Law (21-23 Nov 1986: Petaling Jaya).

Teh, Liang Gie.1981. Kumpulan pembahasan terhadap undang-undang tentang pokok-pokok pemerintahan daerah Indonesia.Yogyakarta : Penerbit Supersukses.

Undang-undang perkawinan di Indonesia [U.U. No.1 Tahun 1974] dan peraturan pelaksanaannya [P.P. No.9 Tahun 1975]. Indonesia. Laws, statutes. Jakarta : Pradnya Paramita, 1980. Undang-Undang Republik Indonesia nomor 5 tahun 1979 tentang pemerintahan desa Indonesia. Jakarta : Sungguh Bersaudara. 1979 Undang-undang perkahwinan dan perceraian di Malaysia dan Indonesia Rasyidi, Lili.1978. Undang-undang perkahwinan dan perceraian di Malaysia dan Indonesia Dissertation (LL.M) Fakulti Undang-Undang, Universiti Malaya. Rus-Sanani Hassan 2005. Hak-hak wanita dalam undang-undang keluarga Islam dan enakmen Keluarga Islam di Malaysia : rujukan khusus di negeri Kelantan.Thesis (Ph.D.) Akademi Pengajian Islam, Universiti Malaya. Suhana Dupree.1987/88. Undang-undang pentadbiran Islam di Singapura : satu tinjauan ringkas Academic exercise (B.A.) Fakulti Syariah, Akademi Islam Universiti Malaya, 1987/88. Yamin, Muhammad, Hadji.1960. Pembahasan Undang-undang Dasar Republik Indonesia 1903-

1962.jakarta : Prapantja. Zanariah Dimon.2004.Perkembangan undang-undang jenayah Islam di Malaysia.Dissertation

(M.Syariah) -- Jabatan Syariah dan Undang-Undang, Bahagian Pengajian Syariah, Akademi Pengajian Islam, Universiti Malaya.

Page 8: ใบประมวลการสอนวิชา 431-337 เทอม 2 ปีการศึกษา 2553

8

การวัดและประเมินผล

รายการวัดผล วธิกีารวัดผล นํ้าหนกั 1. การมีสวนรวมในชัน้เรียน การมาเรยีนและสังเกตพฤติกรรมการ

กลาแสดงออก 10 %

2. สอบยอย/รายงาน สอบยอยดวยขอสอบความเรียงและPresent ทํารายงานตามหัวขอท่ีกําหนด

10 % 20 %

3. สอบกลางภาค สอบดวยขอสอบความเรยีง 20 % 4. สอบปลายภาค สอบดวยขอสอบความเรยีง 40 % วธิกีารตดัเกรด การตดัเกรดแบบอิงเกณฑ

เกรด เกณฑรอยละ A คะแนน 85 ข้ึนไป

B+ คะแนน 80-84 B คะแนน 75-79

C+ คะแนน 70-74 C คะแนน 65-69

D+ คะแนน 60-64 D คะแนน 55-59 E คะแนน 0-54

หมายเหตุ : คะแนนตามเกณฑน้ีอาจจะเปลี่ยนแปลงตามดุลยพินิจของผูสอน ขอตกลงระหวางผูเรียนกับผูสอน 1. ตองมีเวลาเรียนไมตํ่ากวา 80 % จึงจะมสิีทธิสอบปลายภาค 2. รายงานที่สงหลังวนักําหนดจะไดรับการตรวจ แตจะถกูหักคะแนน 20 % 3. ทุจริตในการสอบปรับตก

Page 9: ใบประมวลการสอนวิชา 431-337 เทอม 2 ปีการศึกษา 2553

9

4. แตงเครื่องแบบนักศึกษาใหเรียบรอยทุกครั้งที่เขาชั้นเรยีน 5. ปดเสียงโทรศพัทมือถือทุกครั้งที่เขาชั้นเรยีน 6. ขาดสอบยอย หากไปขอสอบภายหลังจะถูกหกัคะแนน 20 %