33
สสสสสสสสสสสสสสส สสสสสสสสสสสสสสสสสสสส สสสสส สสสสสสสสสสสสสสสสสสส 1 สสสสส สสสสสสสสสส สสสสสสสสสสสสสส สสสสสสสสสสสสสสสสสสสสสส 1 สสสส สสสสสสสสสสสสสสสสสสสสสส 2 สส สสสสสสสสสสสสสสสสสสสสสส 3 สสสสสส สสสสสสสสสสสสสสสสสสสสสส 4 สสสสสส สสสสสสสสสสสสสสสสสสสสสส 5 สสสสสส

สื่อการเรียนรู้ กลุ่มสาระการเรียนรู้ศิลปะ หน่วยการเรียนรู้ที่

  • Upload
    walter

  • View
    103

  • Download
    0

Embed Size (px)

DESCRIPTION

สื่อการเรียนรู้ กลุ่มสาระการเรียนรู้ศิลปะ หน่วยการเรียนรู้ที่ 1 ศิลปะในธรรมชาติ และสิ่งแวดล้อม. แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1 เส้น แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 2 สี แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 3 รูปร่าง แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 4 รูปทรง แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 5 พื้นผิว. เส้น ความหมายของเส้น - PowerPoint PPT Presentation

Citation preview

Page 1: สื่อการเรียนรู้ กลุ่มสาระการเรียนรู้ศิลปะ หน่วยการเรียนรู้ที่

สื่อการเรยีนรู้กลุ่มสาระการเรยีนรูศิ้ลปะ

หน่วยการเรยีนรูท่ี้ 1 ศิลปะในธรรมชาติและสิง่แวดล้อม

แผนการจดัการเรยีนรูท่ี้ 1 เสน้ แผนการจดัการเรยีนรูท่ี้ 2 สี แผนการจดัการเรยีนรูท่ี้ 3 รูปรา่ง แผนการจดัการเรยีนรูท่ี้ 4 รูปทรง แผนการจดัการเรยีนรูท่ี้ 5 พื้นผิว

Page 2: สื่อการเรียนรู้ กลุ่มสาระการเรียนรู้ศิลปะ หน่วยการเรียนรู้ที่

เสน้ความหมายของเสน้

เสน้ เกิดจากการเคลื่อนที่ของจุด (Moving dot) จำานวนมาก ไปในทิศทางที่กำาหนด หรอืเสน้คือทางเดินของจุดไปในทิศทางเดียวกันที่กำาหนด เสน้ เป็นแนวเชื่อมโยงระหวา่ง จุดสองจุดขึน้ไป เสน้จะมปีฏิกิรยิา โต้ตอบ กับสายตาของมนุษยใ์ห้เคลื่อนที่ไป ตามลักษณะของเสน้ ได้เป็นอยา่งดี เราจะเห็นเสน้ในการ เคลื่อนไหวของมนุษย ์เสน้รูปทรงของสตัว ์วตัถ ุและธรรมชาติ ที่แตกต่างกัน รูปลักษณะของเสน้เหล่านี้ไมว่า่จะเป็นเสน้ที่ปรากฏตามสายตา(Visual Elements) หรอืเสน้ที่ที่ปรากฏในความคิด(Conceptual Elements) ก็ตาม สามารถทำาให้เกิดความรูส้กึต่าง ๆ เชน่ตื่นเต้น สงบราบเรยีบ นิ่มนวล รา่เรงิ เครง่ขรมึ อ่อนหวาน เป็นต้น เสน้ จงึเป็นองค์ประกอบหนึ่ง ที่สามารถถ่ายทอดความรูส้กึของ ผู้สรา้ง งาน ศิลปะ ให้ผู้อื่นได้สมัผัสได้เป็นอยา่งดี

Page 3: สื่อการเรียนรู้ กลุ่มสาระการเรียนรู้ศิลปะ หน่วยการเรียนรู้ที่

ลักษณะของเสน้ เสน้มมีติิเดียว คือ ความยาวไมม่คีวามกวา้งมแีต่ มี

ความหนาท่ีเรยีกวา่ เสน้หนา เสน้บาง เสน้ใหญ่ เสน้เล็ก ความหนาของเสน้ จะต้องพจิารณาเปรยีบเทียบกับความยาวด้วย คือถ้าเสน้นัน้สัน้ แต่มคีวามหนามากจะหมดคณุลักษณะ ของความเป็นเสน้ กลายเป็น รูปรา่งสีเ่หลี่ยมผืนผ้าไป เสน้มทีิศทางต่างกัน เชน่ แนวราบ แนวดิ่ง แนวเฉียง และมลีักษณะต่าง ๆเชน่ ตรง คด เป็นคลื่น ก้นหอย ชดั พรา่ ประ ฯลฯ ทิศทาง และลักษณะของเสน้ ให้ความรูส้กึต่อผู้สมัผัส แตกต่างกัน ออกไปดังต่อไปนี้

Page 4: สื่อการเรียนรู้ กลุ่มสาระการเรียนรู้ศิลปะ หน่วยการเรียนรู้ที่

1 .เสน้ตรง (Straight Line) หมายถึงเสน้ตรงในทิศทางใด ทิศทางหนึ่ง ให้ความรูส้กึ แขง็แรง แน่นอน หยุดนิ่ง ถกูต้อง ตรง เขม้แขง็

ไมป่ระนีประนอม รุนแรง เด็ดเดี่ยว ให้ความรูส้กึหยาบ และการ

เอาชนะ เสน้ตรงใชม้ากในทัศนศิลป ์ประเภทสถาปัตยกรรม

Page 5: สื่อการเรียนรู้ กลุ่มสาระการเรียนรู้ศิลปะ หน่วยการเรียนรู้ที่

2. เสน้โค้ง (Curved Line) เสน้โค้ง ให้ความรูส้กึมีการเคลื่อนไหว เสน้โค้ง มหีลายลักษณะ คือ เสน้โค้งน้อย ๆ หรอืเป็นคลื่นน้อย ๆ ให้ความรูส้กึสบาย เปลี่ยนแปลงได้ เลื่อนไหลต่อเนื่อง คลายความกระด้างมคีวามกลมกลืน ในการเปลี่ยน ทิศทาง มคีวามเคลื่อนไหวชา้ ๆ สภุาพ เยา้ยวน มคีวามเป็นผู้หญิง นุ่มนวล และอิ่มเอิบ ถ้าใชเ้สน้แบบนี้มากเกินไป จะให้ความรูส้กึกังวล เรื่อย ๆ เฉื่อยชา ขาดจุดหมาย

Page 6: สื่อการเรียนรู้ กลุ่มสาระการเรียนรู้ศิลปะ หน่วยการเรียนรู้ที่

เสน้โค้งก้นหอย ให้ความรูส้กึ หมุนเวยีน เคลื่อนไหว คลี่คลาย เจรญิเติบโต เป็นเสน้โค้งที่ขยายตัวออกไมม่ีจุดจบ เมื่อมองจากภายในออกมา แต่ถ้ามองจากภายนอกเขา้ไป จะให้ความรูส้กึที่ไมส่ิน้สดุของพลังเคลื่อนไหว

Page 7: สื่อการเรียนรู้ กลุ่มสาระการเรียนรู้ศิลปะ หน่วยการเรียนรู้ที่

3. เสน้ฟนัปลา หรอืเสน้ซกิแซก็ (Zigzag Line) เป็นเสน้คดที่หักเห โดย กระทันหัน เปลี่ยนทิศทาง รวดเรว็มาก ทำาให้ประสาทกระตกุ ให้ความรูส้กึรุนแรง ตื่นเต้น สบัสน วุน่วาย ไมแ่น่นอน ให้จงัหวะ กระแทก เกรง็ ทำาให้นึกถึงพลังไฟฟา้ ฟา้ผ่า กิจกรรมที่ขดัแยง้ ความรุนแรง ต่อสู ้การทำาลาย และสงคราม

Page 8: สื่อการเรียนรู้ กลุ่มสาระการเรียนรู้ศิลปะ หน่วยการเรียนรู้ที่

ทิศทางของเสน้เสน้ทกุเสน้มทีิศทาง คือ ทางแนวนอน ทางแนวตั้ง

หรอืทางแนวเฉียง ในแต่ละทิศทางจะให้ความรูส้กึแตกต่างกัน ดังนี้

1. เสน้แนวนอน (Horizontal Line) เป็นเสน้เดินทางตามแนวนอนกลมกลืนกับแรงดึงดดูของโลก ให้ความรูส้กึในทางราบ กวา้ง พกัผ่อน เงียบ เฉย สงบ นิ่ง เป็นสญัลักษณ์ของการพกัผ่อน ผ่อนคลาย ที่ให้ความรูส้กึ เชน่นี้มาจากท่าทางของคนนอนที่เป็นการพกัผ่อน ไปจนถึง ความสงบที่เหมอืนกับท่านอนของคนไมม่ชีวีติ เสน้ในแนว

นอนให้ความรูส้กึเหมอืนคนนอนพกัผ่อน

Page 9: สื่อการเรียนรู้ กลุ่มสาระการเรียนรู้ศิลปะ หน่วยการเรียนรู้ที่

2. เสน้แนวตั้ง (Vertical Line) เป็นเสน้ที่มลีักษณะตรงกันขา้ม กับเสน้นอน คือเป็นเสน้ที่เดินทางในแนวดิ่ง ให้ความสมดลุ มัน่คง แขง็แรง สงูสง่า พุง่ขึน้ จรงิจงั และเงียบขรมึ เป็นสญัลักษณ์ของ ความถกูต้อง ซื่อสตัย ์มคีวามสมบูรณ์ในตัว เป็นผู้ดี จรงิจงัเครง่ขรมึ สง่า ทะเยอทะยาน และรุง่เรอืง ทั้งนี้มาจากท่าทางมนุษย ์เวลาตื่นตัวมพีลังจะอยูใ่นลักษณะยนืขึน้มากกวา่การนอนราบ ความรูส้กึเสน้ในแนวตั้ง หรอืแนวดิ่ง ให้ความรูส้กึมาจากท่าทางมนุษยเ์วลาตื่นตัวมพีลังจะอยูใ่นลักษณะยนื

Page 10: สื่อการเรียนรู้ กลุ่มสาระการเรียนรู้ศิลปะ หน่วยการเรียนรู้ที่

3. เสน้แนวเฉียง (Diagonal Line) เป็นเสน้ที่อยู่ระหวา่งเสน้นอน กับเสน้ตั้ง ให้ความรูส้กึเคลื่อนไหว รวดเรว็ ไมส่มบูรณ์ ไมม่ัน่คง ต้องการเสน้เฉียง อีกเสน้หนึ่งมาชว่ยให้มคีวามมัน่คง สมดลุขึน้ เสน้ที่เฉียง และโค้ง ให้ความรูส้กึที่ขาดระเบยีบ ตามยถากรรม ให้ความรูส้กึพุง่เขา้ หรอืพุง่ออกจากที่วา่ง ในงานออกแบบทัศนศิลป์

เสน้เฉียง ให้ประโยชน์ในการลดความกระด้าง จากการใชเ้สน้ตั้ง และเสน้นอน ความรูส้กึเสน้ในแนวเฉียง ให้ความรูส้กึมาจากท่าทางมนุษย ์เวลาเคลื่อนไหว รุดไปขา้งหน้า

Page 11: สื่อการเรียนรู้ กลุ่มสาระการเรียนรู้ศิลปะ หน่วยการเรียนรู้ที่

ความหมายของสีส ีหมายถึง แสงที่มากระทบวตัถแุล้วสะท้อนเขา้ตา

เรา ทำาให้เห็นเป็นสตี่างๆการที่เรามองเห็นวตัถเุป็นสใีดๆ ได้ เพราะวตัถนุัน้ดดูแสงสอีื่น สะท้อนแต่สขีองมนัเองเชน่ วตัถสุแีดง เมื่อมแีสงสอ่งกระทบ ก็จะดดูทกุส ีสะท้อนแต่สแีดง ทำาให้เรามองเห็นเป็นสแีดงที่มาของสี

1. สทีี่มนุษยใ์ชอ้ยูท่ั่วไป ได้มาจากสสารที่มอียูต่ามธรรมชาติ และนำามาใช้โดยตรง หรอืด้วยการสกัด ดัดแปลงบา้ง จากพชื สตัว ์ดิน แรธ่าตตุ่าง ๆ

2. สสารที่ได้จากการสงัเคราะห์ซึง่ผลิตขึน้โดยกระบวนการทางเคม ีเป็นสารเคมทีี่ผลิตขึน้เพื่อให้สามารถนำามาใชไ้ด้ สะดวกมากขึน้ ซึง่เป็นสทีี่เราใชอ้ยูท่ั่วไปในปัจจุบนั

Page 12: สื่อการเรียนรู้ กลุ่มสาระการเรียนรู้ศิลปะ หน่วยการเรียนรู้ที่

3. แสง เป็นพลังงานชนิดเดียวที่ให้ส ีโดยอยูใ่นรูปของรงัส ี(Ray) ที่มคีวามเขม้ของแสงอยูใ่นชว่งที่สายตามองเห็นได้ความสำาคัญของสี

ส ีคือลักษณะของแสงที่ปรากฏแก่สายตาให้เห็นเป็นสใีนทางวทิยาศาสตร ์ให้คำาจำากัดความของสวีา่ เป็นคลื่นแสงหรอืความเขม้ของแสง ที่สายตาสามารถมองเห็นในทางศิลปะ สคีือ ทัศนธาตอุยา่งหนึ่งที่เป็นองค์ประกอบสำาคัญของงานศิลปะ และใชใ้นการสรา้งงานศิลปะโดยจะทำาให้ผลงานมคีวามสวยงาม ชว่ยสรา้งบรรยากาศมคีวามสมจรงิเด่นชดั และน่าสนใจมากขึน้

Page 13: สื่อการเรียนรู้ กลุ่มสาระการเรียนรู้ศิลปะ หน่วยการเรียนรู้ที่

คณุลักษณะของสมี ี3 ประการ คือ1. สแีท้ หรอืความเป็นส ี(Hue ) หมายถึง สทีี่อยูใ่น

วงจรสธีรรมชาติ ทั้ง 12 ส ีส ีที่เราเห็นอยูท่กุวนันี้แบง่เป็น 2 วรรณะ โดยแบง่วงจรสอีอก

เป็น 2 สว่น จากสเีหลือง วนไปถึงสมีว่ง คือ

1. สรีอ้น (Warm Color) ให้ความรูส้กึรุนแรง รอ้น ตื่นเต้น ประกอบด้วยสเีหลือง สเีหลืองสม้ สสีม้ สแีดงสม้ สแีดง สมีว่งแดง สีมว่ง

2. สเียน็ (Cool Color) ให้ความรูส้กึเยน็ สงบ สบายตา ประกอบด้วย สเีหลือง สเีขยีวเหลือง สเีขยีว สนีำ้าเงินเขยีว สนีำ้าเงิน สมีว่งนำ้าเงิน สมีว่ง2. ความจดัของส ี(Intensity) หมายถึง ความสด หรอืความบรสิทุธิข์องสใีดสหีนึ่ง สท่ีีถกูผสมด้วย สดีำาจนหมน่ลง ความจดั หรอืความบรสิทุธิจ์ะลดลง ความจดัของสจีะเรยีงลำาดับจากจดัที่สดุ ไปจน หมน่ที่สดุ ได้หลายลำาดับ ด้วยการค่อยๆ เพิม่ปรมิาณของสดีำาที่ผสมเขา้ไปทีละน้อยจนถึงลำาดับที่ความจดัของสมีีน้อยที่สดุ คือเกือบเป็นสดีำา

Page 14: สื่อการเรียนรู้ กลุ่มสาระการเรียนรู้ศิลปะ หน่วยการเรียนรู้ที่

3. นำ้าหนักของส ี(Values) หมายถึง สทีี่สดใส (Brightness) สกีลาง (Grayness) สทีึบ (Darkness) ของสแีต่ละส ีสทีกุสีจะมนีำ้าหนักในตัวเอง ถ้าเราผสมสขีาวเขา้ไปในสใีดสหีนึ่ง สนีัน้จะสวา่งขึน้ หรอืมีนำ้าหนักอ่อนลง ถ้าเพิม่สขีาวเขา้ไปทีละน้อยๆ ตามลำาดับ เราจะได้นำ้าหนักของสท่ีีเรยีงลำาดับจากแก่สดุไปจนถึงอ่อนสดุ นำ้าหนักอ่อนแก่ของสกี็ได้ เกิดจากการผสมด้วยสขีาว เทา และ ดำา นำ้าหนักของสยีงัหมายถึงการเรยีงลำาดับนำ้าหนักของสแีท้ด้วยกันเอง โดยเปรยีบเทียบนำ้าหนักอ่อนแก่กับสขีาว ดำา–

Page 15: สื่อการเรียนรู้ กลุ่มสาระการเรียนรู้ศิลปะ หน่วยการเรียนรู้ที่

ทฤษฎีสีแมส่จีติวทิยา คือสทีี่เราพบเห็นจะสามารถโน้มน้าว

ชวน ให้รูส้กึตื่นเต้นโศกเศรา้ โดยมากมกัใชใ้นการรกัษาคนไขไ้ด้ เชน่โรคประสาท หรอืโรคทางจติ แมส่จีติวทิยาส ี4 สปีระกอบด้วย สแีดง สเีหลือง สเีขยีว และสนีำ้าเงิน

แมส่วีทิยาศาสตร ์เป็นสทีี่เกิดจากการสรา้ง หรอืประดิษฐข์ึน้จากกระบวนการทางวทิยาศาสตร ์เชน่ สขีองหลอดไฟ สทีี่ผ่านแท่งแก้วปรซิมึ ที่เกิดจากการสะท้อน และการหักเหของแสง แมส่ีในกลุ่มนี้ประกอบด้วย สแีสด สเีขยีวมรกต และสมีว่ง

แมส่ศิีลปะแมส่ศิีลปะ หรอืบางครัง้เรยีกวา่ แมส่วีตัถธุาต ุ

หมายถึงสทีี่ใชใ้นการวาดภาพ หรอืสรา้งสรรค์ผลงานทางศิลปะทั่วๆ ไปซึง่เมื่อนำามาผสมกัน ในปรมิาณต่างๆที่ต่างอัตราสว่นกันจะเกิดสสีนัต่างๆมากมายให้เราได้เลือก หรอืนำามาใชใ้นการสรา้งสรรค์

Page 16: สื่อการเรียนรู้ กลุ่มสาระการเรียนรู้ศิลปะ หน่วยการเรียนรู้ที่

แมส่ ีPrimary Colorsแมส่ ีPrimary Colors หรอืแมส่ขีองแสง คือ สี

ที่นำามาผสมกันแล้ว ทำาให้เกิดสใีหม ่ที่มลีักษณะแตกต่างไปจากสเีดิมวงจรสี

วงจรส ีประกอบด้วยสขีัน้ที่ 1 ม ี3 ส ีคือ สแีดง, สเีหลือง, สนีำ้าเงินสขีัน้ที่ 2 ม ี3 ส ีคือ สสีม้, สมีว่ง, สเีขยีวและสขีัน้ที่ 3 ม ี6 ส ีคือ สสีม้แดง, สมีว่งแดง, สเีขยีวเหลือง, สเีขยีวนำ้าเงิน, สมีว่งนำ้าเงิน และสสีม้เหลืองรวมทั้งสิน้ 12 สี

Page 17: สื่อการเรียนรู้ กลุ่มสาระการเรียนรู้ศิลปะ หน่วยการเรียนรู้ที่

วงจรส ี12 สี

สมีว่งแดง

สแีดง(แมส่)ี

สนีำ้าเงิน(แมส่)ี

สสีม้

สเีหลือง(แมส่ี)

สมีว่ง

สมีว่งนำ้าเงิน

สเีขยีวเหลือง

สสีม้เหลือง

สสีม้แดง

สเีขยีว

สเีขยีวนำ้าเงิน

Page 18: สื่อการเรียนรู้ กลุ่มสาระการเรียนรู้ศิลปะ หน่วยการเรียนรู้ที่

สขีัน้ที่ 1 คือ แมส่ ีได้แก่ สแีดง สเีหลือง และสนีำ้าเงิน

 

สขีัน้ที่ 2 คือ สทีี่เกิดจากสขีัน้ที่ 1 หรอืแมส่ผีสมกันในอัตราสว่นที่เท่ากัน จะทำาให้เกิดสใีหม ่3 ส ีได้แก่ สแีดง ผสมกับสเีหลือง ได้สสีม้ สแีดง ผสมกับสนีำ้าเงิน ได้สมีว่งสเีหลือง ผสมกับสนีำ้าเงิน ได้สเีขยีว

Page 19: สื่อการเรียนรู้ กลุ่มสาระการเรียนรู้ศิลปะ หน่วยการเรียนรู้ที่

สขีัน้ที่ 3 คือ สทีี่เกิดจากสขีัน้ที่ 1 ผสมกับสขีัน้ที่ 2 ในอัตราสว่นที่เท่ากัน จะได้สอีื่น ๆอีก 6 ส ีคือสแีดง ผสมกับสสีม้ ได้สสีม้แดง,สแีดง ผสมกับสมีว่ง ได้สมีว่งแดง, สเีหลือง ผสมกับสีเขยีว ได้สเีขยีวเหลือง, สนีำ้าเงิน ผสมกับสเีขยีว ได้สเีขยีวนำ้าเงิน, สนีำ้าเงิน ผสมกับสมีว่ง ได้สมีว่งนำ้าเงิน, สเีหลือง ผสมกับสสีม้ ได้สสีม้เหลือง

Page 20: สื่อการเรียนรู้ กลุ่มสาระการเรียนรู้ศิลปะ หน่วยการเรียนรู้ที่

วรรณะของสีคือสทีี่ให้ความรูส้กึรอ้น และเยน็ในวงจรสจีะมสีี

รอ้น 7 ส ีและสเียน็ 7 ส ีซึง่แบง่ที่สมีว่งกับสเีหลืองซึง่เป็นได้ทั้งสองวรรณะ

สวีรรณะเยน็ (Cool tone)

สวีรรณะรอ้น (Warm tone)

Page 21: สื่อการเรียนรู้ กลุ่มสาระการเรียนรู้ศิลปะ หน่วยการเรียนรู้ที่

สตีรงขา้ม หรอืสตัีดกัน หรอืสคีู่ปฏิปักษ์เป็นสทีี่มคี่าความเขม้ของส ีตัดกันอยา่งรุนแรง ใน

ทางปฏิบตัิ ไมน่ิยมนำามาใชร้ว่มกัน เพราะจะทำาให้แต่ละสไีมส่ดใสเท่าที่ควร การนำาสตีรงขา้มกันมาใช้รว่มกัน อาจกระทำาได้ ดังนี้ มพีื้นที่ของสหีนึ่งมาก อีกสหีนึ่งน้อย ผสมสอีื่นๆ ลงไปสีสใีดสหีนึ่ง หรอืทั้งสองส ีผสมสตีรงขา้มลงไปในสทีั้งสองสี

Page 22: สื่อการเรียนรู้ กลุ่มสาระการเรียนรู้ศิลปะ หน่วยการเรียนรู้ที่

สกีลาง คือ สทีี่เขา้ได้กับสทีกุส ีสกีลางในวงจรส ีม ี2 ส ีคือ สีนำ้าตาล กับสเีทา

สนีำ้าตาล เกิดจากสตีรงขา้มกันในวงจรสผีสมกัน ในอัตราสว่นท่ีเท่ากัน สนีำ้าตาลมคีณุสมบตัิสำาคัญ คือใชผ้สมกับสอีื่นแล้วจะทำาให้สนีัน้ๆเขม้ขึน้โดยไมเ่ปลี่ยนแปลงค่าส ีถ้าผสมมาก ๆ เขา้ก็จะกลายเป็นสนีำ้าตาล

สเีทา เกิดจากสทีกุส ีๆ สใีนวงจรสผีสมกัน ในอัตราสว่นเท่ากันสเีทา มคีณุสมบตัิที่สำาคัญ คือ ใชผ้สมกับสอีื่น ๆ แล้วจะทำาให้ มดืหมน่ ใชใ้นสว่นที่เป็นเงา ซึง่มนีำ้าหนักอ่อนแก่ในระดับต่าง ๆ ถ้าผสมมาก ๆ เขา้จะกลายเป็นสเีทา

Page 23: สื่อการเรียนรู้ กลุ่มสาระการเรียนรู้ศิลปะ หน่วยการเรียนรู้ที่

รูปรา่ง (Shape)รูปรา่ง (Shape) คือ รูปแบน ๆ ม ี2 มติิ มคีวาม

กวา้ง กับความยาว ไมม่คีวามหนาเกิดจากเสน้รอบนอกที่แสดงพื้นที่ขอบเขตของรูปต่าง ๆ เชน่ รูปวงกลม รูปสามเหลี่ยม หรอื รูปอิสระ ที่แสดงเนื้อที่ของผิวที่เป็นระนาบมากกวา่แสดงปรมิาตร หรอืมวลรูปรา่ง แบง่ออกเป็น 3 ประเภท คือ

1. รูปรา่งธรรมชาติ (Natural Shape) หมายถึง รูปรา่งท่ีเกิดขึน้เองตามธรรมชาติ เชน่ คน สตัว ์ และพชื เป็นต้น

Page 24: สื่อการเรียนรู้ กลุ่มสาระการเรียนรู้ศิลปะ หน่วยการเรียนรู้ที่

2. รูปรา่งเรขาคณิต (Geometrical Shape) หมายถึง รูปรา่งที่มนุษยส์รา้งขึ้นมโีครงสรา้งแน่นอน เชน่ รูปสามเหลี่ยม รูปสีเ่หลี่ยม และรูปวงกลม เป็นต้น

3. รูปรา่งอิสระ (Free Shape) หมายถึง รูปรา่งที่เกิดขึ้นตามความต้องการของผู้สรา้งสรรค์ ใหค้วามรูส้กึที่เป็นเสร ีไมม่โีครงสรา้งที่แน่นอนของตัวเอง เป็นไปตามอิทธพิลของสิง่แวดล้อม เชน่ รูปรา่งของหยดน้ำ้า เมฆ และควนั เป็นต้น

Page 25: สื่อการเรียนรู้ กลุ่มสาระการเรียนรู้ศิลปะ หน่วยการเรียนรู้ที่

ความหนาแน่น มมีวลสาร ที่เกิดจากการใชค้่าน้ำ้าหนัก หรอืการจดัองค์ประกอบของรูปทรง หลายรูปรวมกัน

รูปเรขาคณิต (Geometric Form) มรีูปที่แน่นอน มาตรฐานสามารถวดั หรอืค้ำานวณได้ง่าย มกีฎเกณฑ์ เกิดจากการสรา้งของมนุษย ์เชน่ รูปสีเ่หลี่ยม รูปวงกลม รูปวงร ีนอกจากนี้ยงัรวมถึงรูปทรง ของสิง่ที่มนุษยป์ระดิษฐค์ิดค้นขึ้นอยา่งมแีบบแผนแน่นอน เชน่ รถยนต์ เครื่องจกัรกล เครื่องบนิ สิง่ของเครื่องใชต้่างๆ ที่ผลิตโดยระบบอุตสาหกรรม ก็จดัเป็นรูปเรขาคณิต เชน่กัน รูปเรขาคณิตเป็นรูป ที่ให้โครงสรา้งพื้นฐานของรูปต่าง ๆดังนัน้ การสรา้งสรรค์รูปอื่น ๆ ควรศึกษารูปเรขาคณิตให้เขา้ใจถ่องแท้เสยีก่อน

รูปอินทรยี ์(Organic Form) เป็นรูปของสิง่ที่มชีวีติ หรอืคล้ายกับสิง่มชีวีติที่สามารถเจรญิเติบโต เคลื่อนไหว หรอืเปลี่ยนแปลงรูปได้เชน่ รูปของคน สตัว ์ พชื

Page 26: สื่อการเรียนรู้ กลุ่มสาระการเรียนรู้ศิลปะ หน่วยการเรียนรู้ที่

รูปอิสระ (Free Form) เป็นรูปที่ไมใ่ชแ่บบเรขาคณิต หรอืแบบอินทรยี ์แต่เกิดขึ้นอยา่งอิสระ ไมม่โีครงสรา้งที่แน่นอน ซึ่งเป็นไปตามอิทธพิล และการกระท้ำาจากสิง่แวดล้อม เชน่ รูปก้อนเมฆ ก้อนหนิ หยดน้ำ้า ควนั ซึ่งใหค้วามรูส้กึที่เคลื่อนไหว มพีลัง รูปอิสระจะมลีักษณะ ขดัแยง้กับรูปเรขาคณิต แต่กลมกลืน กับรูปอินทรยี ์รูปอิสระอาจเกิดจากรูปเรขาคณิต หรอืรูปอินทรยี ์ที่ถกูกระท้ำาจนมรีูปลักษณะเปลี่ยนไปจากเดิม จนไมเ่หลือสภาพ เชน่ รถยนต์ที่ถกูชนจนยบัเยนิทัง้คัน เครื่องบนิตก ตอไมท้ี่ถกูเผาท้ำาลาย หรอืซากสตัวท์ี่เน่าเปื่ อยผุพงั

Page 27: สื่อการเรียนรู้ กลุ่มสาระการเรียนรู้ศิลปะ หน่วยการเรียนรู้ที่

รูปทรง (Form) หมายถึง โครงสรา้งทัง้หมดของวตัถทุี่ปรากฎแก่สายตาในลักษณะ 3 มติิ คือมทีัง้สว่นกวา้ง สว่นยาว สว่นหนา หรอืลึก คือจะใหค้วามรูส้กึเป็นแท่ง มีเนื้อที่ภายใน มปีรมิาตร และมนี้ำ้าหนัก

ความหมายของพื้นผิวในทางทัศนศิลป์พื้นผิว หรอื ผิวสมัผัส (Texture)พื้นผิว หมาย

ถึงบรเิวณผิวนอก ของสิง่ ต่าง ๆ ที่ปรากฎให้เห็น รบัรูไ้ด้ด้วยการ รบัสมัผัสทางตา และกายสมัผัส ก่อให้เกิดความรูส้กึใน ลักษณะต่าง ๆ กัน เชน่ หยาบ ละเอียด มนัวาว ด้าน และขรุขระ พื้นผิว เป็นสว่นประกอบ (Element) ที่สำาคัญของศิลปะอันหนึ่ง ที่ถกูนำามาใช้สรา้งสรรค์ทัศนศิลป ์เพราะพื้นผิวสามารถ

Page 28: สื่อการเรียนรู้ กลุ่มสาระการเรียนรู้ศิลปะ หน่วยการเรียนรู้ที่

ก่อให้เกิดปฎิกิรยิาทางด้านความรูส้กึรบัรูไ้ด้ด้วยการรบัสมัผัสทางตา และจบัต้องได้ทางกาย สมัผัส หน้าที่ของนักออกแบบ และศิลปินก็คือ การนำาเอาพื้นผิวในลักษณะต่าง ๆ มาใชเ้พื่อสรา้งสรรค์ ความงาม และประโยชน์ใชส้อย

พื้นผิวมคีวามสำาคัญมากสำาหรบั การสรา้งสรรค์ งานทัศนศิลป ์และการออกแบบ พื้นผิวจะถกู นำามาใชใ้นลักษณะต่าง ๆ กัน เชน่ ในผลงานจติรกรรม ประติมากรรม สถาปัตยกรรม ศิลปินจะใชพ้ื้นผิว สรา้งความงาม และค่านำ้าหนัก เพื่อให้ เกิดความประสานกลมกลืน ความ แตกต่าง และจุดเด่น เป็นต้น

Page 29: สื่อการเรียนรู้ กลุ่มสาระการเรียนรู้ศิลปะ หน่วยการเรียนรู้ที่

การเกิดของพื้นผิว พื้นผิวที่สมัผัสได้ มแีหล่งกำาเนิด 2 แหล่ง คือ1 .เกิดขึน้ตามธรรมชาติ ได้แก่พื้นผิวของสิง่ต่าง ๆ ใน

ธรรมชาติ และสิง่มชีวีติ เชน่ เปลือกไม ้ก้อนกรวด ก้อนหิน กิ่งไม ้ใบไม ้ผิวหนังสตัว์

2. เกิดขึน้โดยมนุษยส์รา้งขึน้ ได้แก่ การขูด ขดี ระบาย ฯลฯ ให้เกิดเป็นรอ่งรอยพื้นผิว ในลักษณะต่าง ๆ ในงานจติรกรรม การสรา้งพื้นผิวหยาบ และละเอียด ในงานประติมากรรม และสถาปัตยกรรม

Page 30: สื่อการเรียนรู้ กลุ่มสาระการเรียนรู้ศิลปะ หน่วยการเรียนรู้ที่

3. เกิดขึน้โดยกระบวนการผลิตของเครื่องจกัร การเกิดของพื้นผิวลักษณะนี้ ถือวา่เกิดขึน้โดยมนุษยเ์ชน่เดียวกัน แต่ผ่านทางเครื่องจกัร ์ไมใ่ชโ่ดยนำ้ามอื มนุษยโ์ดยตรง ซึง่ทำาให้ได้ พื้นผิวที่หลากหลาย และพื้นผิวที่เกิดขึน้นี้ มีทั้งล้อเลียนจากธรรมชาติ และพื้นผิวที่สรา้งขึน้มาใหม ่เพื่อประโยชน์ ทางใดทางหนึ่ง

Page 31: สื่อการเรียนรู้ กลุ่มสาระการเรียนรู้ศิลปะ หน่วยการเรียนรู้ที่

ลักษณะของพื้นผิวพื้นผิว ไมว่า่จะเกิดจากธรรมชาติ หรอืจากมนุษย ์

และเครื่องจกัร ์จะมีลักษณะ ที่สมัผัสได้ ใน 2 ลักษณะ คือ

1. พื้นผิวจรงิ (Real Textures) หมายถึงพื้นผิวที่สามารถจบัต้องได้ เชน่ เปลือกของต้น ไม ้ใบไม ้ก้อนหิน ก้อนกรวด ผลไม ้ผิวหนังคน สตัว ์ฯลฯ พื้นผิวลักษณะนี้มนุษยส์ามารถ สมัผัสได้ ทั้งทางจกัษุสมัผัส และกายสมัผัส (Tactile Textures ) และความรูส้กึที่สมัผัสได้ ก็มกัจะตรงกัน ทั้งที่ตาเห็นและการสมัผัส พื้นผิวจรงิ จะมคีณุสมบตัิของสว่นประกอบอื่น มาเกี่ยวขอ้งโดยตรงก็คือ นำ้าหนัก และทิศทาง ของแสงและเงา เพราะสิง่นี้ จะทำาให้การ เกิดของพื้นผิว เด่นชดัขึน้

Page 32: สื่อการเรียนรู้ กลุ่มสาระการเรียนรู้ศิลปะ หน่วยการเรียนรู้ที่

2. พื้นผิวเทียม (Artificial Textures) หมายถึงพื้นผิวที่เลียนแบบพื้นผิวจรงิ และเป็นพื้นผิวที่ รบัรูไ้ด้ทางจกัษุสมัผัส(Visual Textures) โดยรูส้กึได้ โดยประสบการณ์ที่เคย รบัรูจ้ากพื้นผิวจรงิ เชน่มองเห็นวา่ เรยีบมนั หยาบ ขรุขระ ฯลฯ แต่เมื่อสมัผัสจากทางกาย อาจจะมลีักษณะคล้อยตามกับที่ตาเห็น หรอืค้านกับที่ตาเห็นก็ได้

Page 33: สื่อการเรียนรู้ กลุ่มสาระการเรียนรู้ศิลปะ หน่วยการเรียนรู้ที่

ขอกราบขอบคณุท่านปนัดดา พริยิชนานันท์

ผู้อ้ำานวยการสถานศึกษาโรงเรยีนนครนนท์วทิยา 3

วดันครอินทร์ที่ใหก้ารสนับสนุนในการจดัท้ำาสื่อการสอนชุดนี้ และกราบขอบคณุหน่วยงานท่ีเกี่ยวขอ้งที่สนับสนุน และจดักิจกรรมนี้

จดัท้ำาโดยนายปิยะ ศรลีะออผู้ชว่ยเจา้หน้าที่ธุรการโรงเรยีนนครนนท์วทิยา 3 วดันครอินทร์ส้ำานักการศึกษา เทศบาลนครนนทบุร ีจงัหวดันนทบุรี

สื่อการสอนท่ีจดัท้ำาขึ้นชุดนี้ เป็นการน้ำาตัวอยา่งรูปภาพมาใช ้เพื่อชว่ยให้

นักเรยีนเขา้ใจ และเขา้สูบ่ทเรยีนได้ง่ายขึ้น โดยใชแ้นวทางจากคู่มอืครูวชิาศิลปะ ป.3

ของ สถาบนัพฒันาคณุภาพวชิาการ (พว.)