20
นลิน วงศ์ขัตติยะ คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยแม่โจ้ [email protected]

การจำแนกแบคทีเรีย Bacterial determination determination.pdf · Nutritional type Energy source C source Example Photoautotroph Light CO 2 Cyanobacteria,

Embed Size (px)

Citation preview

นลิน วงศ์ขัตติยะ คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยแมโ่จ้ [email protected]

การจัดหมวดหมู่เป็นการบอกว่าสิ่งมีชีวติแต่ละกลุ่มมีความสมัพันธ์กับสิ่งมชีีวิตอีกกลุม่หน่ึงหรือไม่

ความเหมือนหรอืแตกต่าง ลักษณะของสิ่งมีชีวติที่น ามาใช้ในการจดัหมวดหมู่

ลักษณะทางสณัฐานวิทยา (morphological characteristics)

ลักษณะทางกายวิภาค (anatomy)

สรีรวิทยา (physiology) วิธีการจัดจ าแนกจะใช้การเปรยีบเทียบลักษณะความเหมือนหรือแตกต่างจาก

dichotomous key การตั้งชื่อ (nomenclature) โดยใช้หลักการของ binomial system of

nomenclature

Kingdom Monera Kingdom Fungi Kingdom Protista Kingdom Plantae Kingdom Animalia

การจัดจ าแนกสิ่งมีชีวิต (molecular systematics) จากการเปรียบเทียบล าดับเบส (base sequence) ใน ribosomal RNA ของส่ิงมีชีวิตจ านวนมาก สามารถสรุปได้ว่าสิ่งมีชีวิตมีต้นก าเนิดมาจากบรรพบุรุษเดียวกันและเมื่อมีวิวัฒนาการแยกออกเป็น 3 สาย (lineage) ตั้งแต่เมื่อ 1.5 พันล้านปี แต่ละสายวิวัฒนาการ เรียกว่า โดเมน (domain) ซึ่งเป็น taxon ที่ใหญ่กว่า kingdom โดยแบ่งออกเป็น 3 โดเมนและ 6 อาณาจักร

1. โดเมนแบคทีเรีย (domain Bacteria)

Kingdom Bacteria 2. โดเมนอาร์เคีย (domain Archaea)

Kingdom Archaea 3. โดเมนยูคาร์ยา (domain Eukarya)

Kingdom Protista

Kingdom Fungi

Kingdom Plantae

Kingdom Animalia

ลักษณะทางสัณฐานวิทยา

องค์ประกอบทางเคมีของเซลล์

ลักษณะการเลี้ยงเชื้อ

ลักษณะทางเมตาบอลิสม

ลักษณะทางแอนติเจน

ลักษณะทางพันธุกรรม

ความสามารถในการท าให้เกิดโรค

ลักษณะทางนิเวศวิทยา

Pattern อื่นๆ เช่น antibiotic pattern, phage pattern, protein pattern เป็นต้น

จุลินทรีย์ทีม่ลีักษณะเป็นเซลล์

โปรคาริโอต

▪ แบคทีเรีย

ยูคาริโอต

▪ รา

▪ สาหร่าย

▪ โปรโตซัว จุลินทรีย์ทีม่ลีักษณะเป็นอนุภาค

ไวรัส

Phylum Schizophyta: Bacteria Phylum Cyanophyta: Cyanobacteria (Blue-green algae)

Nutritional type Energy source C source Example

Photoautotroph Light CO2 Cyanobacteria,

some purple and green bacteria

Photoheterotroph Light Organic compounds

Green bacteria

and some purple bacteria

Chemoautotroph Inorganic

compounds (H2, NH3, NO2, H2S)

CO2 Archaea, a few bacteria

Chemoheterotroph Organic compounds

Organic compounds

Bacteria, some archaea

http://images.google.co.th/imgres?imgurl=http://www.astronomynotes.com/science-religion/NormLevan/300px-

Flagella.png&imgrefurl=http://www.astronomynotes.com/science-religion/NormLevan/s7-annot.htm&usg=__mH6573aUKCQRLH11pwWtpABfLyE=&h=353&w=300&sz=90&hl=th&start=12&um=1&tbnid=XjhrxgD9ZqxSrM:&tbnh=121&tbnw=103&prev=/images%3Fq%3Dbacterial%2Bflagella%26hl%3Dth%26sa%3DN%26um%3D1

A: Monotrichous (monopolar flagellation) B: Lophotrichous (monopolar flagellation) C: Amphitrichous (bipolar flagellation) D: Peritrichous

Aerobic bacteria Microaerophilic bacteria Facultative bacteria Anaerobic bacteria

Psychrophile Mesophile Thermophile

1. The spirochete 2. Aerobic GN 3. non-motile GN 4. GN aerobic rod/cocci 5. Fac anaerobic GNR 6. GN anaerobic 7. Sulfer-reducing bacteria 8. Anaerobic GNC 9. Rickettsia/Chlamydia 10. Anoxygenic photothrophic bacteria 11. Oxygenic photothrophic bacteria 12. Aerobic chemolithotrophic bacteria 13. Budding bacteria 14. Sheathed bacteria 15. Non photosynthetic bacteria 16. The myxobacteria 17. GPC

18. Endospore forming GPR/C 19. Regular, Non sporing GPR 20. irregular, Non sporing GPR 21. The mycobacteria 22. Nocardioform actinomycetes 23. Multilocular sporangia 24. Actinoplanetes 25. Streptomycetes 26. Maduromycetes 27. Thermomonospora 28. Thermoactinomycetes 29. Other genera 30. The mycoplasma 31. The methanogens 32. Archaeal sulfate reducers 33. Halobacteria 34. Cell wall-less archaeobacteria 35. Extreamly thermophilic

น้ ายา/สารเคมี

อาหารเลี้ยงเชื้อ

เครื่องมือ

บุคลากร