20
กติกาขอที1 องคกรที่ดําเนินการควบคุมดูแล สหพันธกีฬาลีลาศนานาชาติ (IDSF) เปนองคกรที่กํากับดูแลการแขงขันกีฬาลีลาศและนักกีฬาลีลาศ, รวม ไปถึงการแขงขันของสมัครเลนทุกระดับชั้น, ในแตละประเทศตลอดจนถึงประเทศที่เปนสมาชิกของสหพันธกีฬา ลีลาศนานาชาติ และที่เปนระดับสากล กติกาขอที2 การประยุกตใชกติกา 1. กติกาขอนี้ใหประยุกตใชกับการแขงขันกีฬาลีลาศนานาชาติ ซึ่งจัดโดยองคกรที่เปนสมาชิกของสหพันธฯ รวมถึงการแขงขันประเภท Standard, Latin American, New Vogue, American Style, Rock’n Roll, Old Time, Modern และ Latin Sequence สําหรับกติกาของ Rock’n Roll ใหใชกติกาที่กําหนดโดยสมาพันธ เวิลด ร็อค แอนด โรล (World Rock’n Roll Confederation) ซึ่งเปนสมาชิกรวมของสหพันธกีฬาลีลาศนานาชาติ 2. คณะกรรมการบริหารของสหพันธกีฬาลีลาศนานาชาติ จะเปนผูพิจารณาวาจะสามารถประยุกตใชรวมกับกติกา ไดหรือไม 3. สําหรับรายการแขงขันที่เปนกรณีพิเศษ 4. ผูเขารวมในการแขงขันของสหพันธกีฬาลีลาศนานาชาติจะตองสังกัดในองคกรที่เปนสมาชิกของสหพันธกีฬา ลีลาศนานาชาติ กติกาขอที3 เงินรางวัล ในการแขงขันกีฬาลีลาศของสหพันธกีฬาลีลาศนานาชาติ เงินรางวัลสามารถที่จะจายใหไดเทากับทาง สหพันธฯ จายใหกับการแขงขันเวิลด โอเพน (IDSF World Open) แตถาผูที่จัดการแขงขันกําหนดเงินรางวัลไวสูง กวาการแขงขันเวิลด โอเพน ของสหพันธฯ จะตองไดรับความเห็นชอบจากคณะกรรมการบริหารของสหพันธฯ กอน กติกาขอที4 การโฆษณา 1. ในการแขงขันที่ไดรับการรับรองจากสหพันธกีฬาลีลาศนานาชาติ คูแขงขันจะติดปายโฆษณาของผูใหการ สนับสนุนไดไมเกิน 2 ราย บนชุดสําหรับแขงขันและใหมีขนาดไมเกิน 40 ตารางเซนติเมตร ตอผูใหการสนับสนุน 1 ราย ตําแหนงที่ติดปายจะอยูที่บริเวณเอว หนาอก หรือแขนเสื้อ ปายโฆษณาจะติดอยูที่ฝายหญิงหรือฝายชายก็ได หรือฝายหญิง 1 ราย ฝายชาย 1 รายก็ได 2. โฆษณาที่จะลงบนหมายเลขประจําตัวของผูแขงขันจะตองมีขนาดไมเกิน 20% ของขนาดหมายเลขประจําตัวผูเขา แขงขัน

แล - mwit.ac.thjat/contents/40206/Rule Dance.pdf · กก) ประเภท Standard (จังหวะ Waltz, Tango, Viennese Waltz, Slow Foxtrot และ Quickstep) กข)

Embed Size (px)

Citation preview

Page 1: แล - mwit.ac.thjat/contents/40206/Rule Dance.pdf · กก) ประเภท Standard (จังหวะ Waltz, Tango, Viennese Waltz, Slow Foxtrot และ Quickstep) กข)

กติกาขอท่ี 1 องคกรท่ีดําเนนิการควบคุมดูแล

สหพันธกีฬาลีลาศนานาชาติ (IDSF) เปนองคกรที่กํากับดูแลการแขงขันกีฬาลีลาศและนักกีฬาลีลาศ, รวมไปถึงการแขงขันของสมัครเลนทุกระดับชั้น, ในแตละประเทศตลอดจนถึงประเทศที่เปนสมาชิกของสหพันธกีฬาลีลาศนานาชาติ และที่เปนระดับสากล

กติกาขอท่ี 2 การประยุกตใชกติกา 1. กติกาขอนี้ใหประยุกตใชกับการแขงขันกีฬาลีลาศนานาชาติ ซ่ึงจัดโดยองคกรที่เปนสมาชิกของสหพันธฯ

รวมถึงการแขงขันประเภท Standard, Latin American, New Vogue, American Style, Rock’n Roll, Old Time, Modern และ Latin Sequence สําหรับกติกาของ Rock’n Roll ใหใชกติกาที่กําหนดโดยสมาพันธ เวิลด ร็อค แอนด โรล (World Rock’n Roll Confederation) ซ่ึงเปนสมาชิกรวมของสหพนัธกีฬาลีลาศนานาชาติ

2. คณะกรรมการบริหารของสหพันธกีฬาลีลาศนานาชาติ จะเปนผูพิจารณาวาจะสามารถประยุกตใชรวมกับกติกาไดหรือไม

3. สําหรับรายการแขงขันที่เปนกรณีพิเศษ 4. ผูเขารวมในการแขงขันของสหพันธกีฬาลีลาศนานาชาติจะตองสังกัดในองคกรที่เปนสมาชิกของสหพันธกีฬา

ลีลาศนานาชาติ

กติกาขอท่ี 3 เงินรางวัล

ในการแขงขันกีฬาลีลาศของสหพันธกีฬาลีลาศนานาชาติ เงินรางวัลสามารถที่จะจายใหไดเทากับทางสหพันธฯ จายใหกับการแขงขันเวิลด โอเพน (IDSF World Open) แตถาผูที่จัดการแขงขันกําหนดเงินรางวัลไวสูงกวาการแขงขันเวิลด โอเพน ของสหพันธฯ จะตองไดรับความเห็นชอบจากคณะกรรมการบริหารของสหพันธฯ กอน

กติกาขอท่ี 4 การโฆษณา 1. ในการแขงขันที่ไดรับการรับรองจากสหพันธกีฬาลีลาศนานาชาติ คูแขงขันจะติดปายโฆษณาของผูใหการ

สนับสนุนไดไมเกิน 2 ราย บนชุดสําหรับแขงขันและใหมีขนาดไมเกิน 40 ตารางเซนติเมตร ตอผูใหการสนบัสนนุ 1 ราย ตําแหนงที่ติดปายจะอยูที่บริเวณเอว หนาอก หรือแขนเสื้อ ปายโฆษณาจะติดอยูที่ฝายหญิงหรือฝายชายก็ได หรือฝายหญิง 1 ราย ฝายชาย 1 รายก็ได

2. โฆษณาที่จะลงบนหมายเลขประจําตัวของผูแขงขันจะตองมีขนาดไมเกิน 20% ของขนาดหมายเลขประจําตัวผูเขาแขงขัน

Page 2: แล - mwit.ac.thjat/contents/40206/Rule Dance.pdf · กก) ประเภท Standard (จังหวะ Waltz, Tango, Viennese Waltz, Slow Foxtrot และ Quickstep) กข)

กติกาขอท่ี 5 ระดับของการแขงขนั 5.1 การแขงขันชิงแชมปเปยนโลกของสหพันธกีฬาลีลาศนานาชาติ (IDSF World Championships)

5.1.1 รุนผูใหญ(Adult) เยาวชน(Youth) และยุวชน II (Junior II) ก) ประเภทของการแขงขัน

การแขงขันชิงแชมปเปยนโลกของ IDSF ประกอบดวย กก) ประเภท Standard (จังหวะWaltz, Tango, Viennese Waltz, Slow Foxtrot และ Quickstep) กข) ประเภท Latin American (จังหวะSamba, Cha Cha Cha, Rumba, Paso Doble และ Jive) กค) ประเภทOver Ten Dance (Standard และ Latin American) กง) ประเภท Formation (Standard และ Latin American)

ตามกติกาขอที ่14 ขอที่ 2-13 ใหใชกับรุนผูใหญเทานั้น

ข) การเชิญเขารวมการแขงขนั สหพันธกีฬาลีลาศนานาชาตจิะเชิญไปยังทกุๆ สมาคมที่เปนสมาชิกของสหพันธฯ

ค) จํานวนผูเขารวมการแขงขนั สมาคมที่เปนสมาชิกของสหพันธมีสิทธิ์สงคูแขงขันเขารวมการแขงขันไดสมาคมละ 2 คู

การแขงขัน Ten Dance ชิงแชมปเปยนโลก สมาคมตาง ๆ สามารถสงคูเขาแขงขันได 1 คู

การแขงขัน Formation ชิงแชมปเปยนโลก แตละสมาคมที่เปนสมาชิกของสหพันธฯ จะถูกเชิญใหเขารวมการแขงขนัรวม 2 ทีมในแตละรายการ

ง) การจายคาตอบแทนตางๆ การจายคาตอบแทนตางๆ ใหดูกตกิาขอที่ 8

5.1.2 รุนอาวุโส (Senior) ก) ประเภทของการแขงขัน

การแขงขันกีฬาลีลาศชิงแชมปเปยนโลกรุนอาวุโสของสหพันธกีฬาลีลาศนานาชาติ ประกอบดวย กก) ประเภท Standard (จังหวะ Waltz, Tango, Viennese Waltz, Slow Foxtrot และ Quickstep) กข) ประเภท Latin American (จังหวะ Samba, Cha Cha Cha, Rumba, Paso Doble และ Jive)

ข) การเชิญเขารวมการแขงขนั สหพันธกีฬาลีลาศนานาชาตจิะเชิญไปยังทกุๆ สมาคมที่เปนสมาชิกของสหพันธฯ

Page 3: แล - mwit.ac.thjat/contents/40206/Rule Dance.pdf · กก) ประเภท Standard (จังหวะ Waltz, Tango, Viennese Waltz, Slow Foxtrot และ Quickstep) กข)

ค) การกําหนดจํานวนผูเขารวมการแขงขนั สมาคมที่เปนสมาชิกของสหพันธฯ มีสิทธิสงผูเขาแขงขันได 2 คู

ง) การจายคาตอบแทน สหพันธกีฬาลีลาศนานาชาติจะรับผิดชอบจายคาที่พักใหแกผูเขารวมการแขงขัน 1 คืนแตไมรวมคาใชจายในการเดินทาง สวนคาใชจายของประธานกรรมการ และกรรมการผูตัดสินใหเปนไปตามกฏขอที่ 8

จ) เกณฑอายุของผูเขารวมการแขงขนั ผูเขารวมการแขงขันรุนอาวุโสนานาชาติ อยางนอยทั้งคูจะตองมีอายุครบ 35 ปบริบูรณ ในปที่มีการแขงขัน

5.2 การแขงขนักีฬาลีลาศชงิแชมปเปยนระดับภาคพื้นทวีปยุโรปของสหพันธกีฬาลีลาศนานาชาต ิ (IDSF Continental Championships) ก) ประเภทของการแขงขัน

การแขงขันกีฬาลีลาศชิงแชมปเปยนระดับภาคพื้นทวีปยุโรปของสหพันธกีฬาลีลาศนานาชาติประกอบดวย

กก) ประเภท Standard (จังหวะWaltz, Tango, Viennese, Slow Foxtrot และ Quickstep) กข) ประเภท Latin American (จังหวะ Samba, Cha Cha Cha, Rumba, Paso Doble และ Jive) กค) ประเภท Over Ten Dance (Standard และ Latin American) กง) ประเภท Formation (Standard และ Latin American),

ตามกฎขอที่ 14, ขอที่ 2-13

ข) การเชิญเขารวมการแขงขนั สหพันธกีฬาลีลาศนานาชาติจะเชิญไปยังทุกๆ สมาคมที่เปนสมาชิกของสหพันธฯ ที่มีที่ตั้งตามทวีปตางๆ ทั้งนี้ในระบบทางการกีฬาใหถือวาประเทศอิสราเอลจัดอยูในกลุมทวีปยุโรป

ค) การกําหนดจํานวนผูเขารวมการแขงขนั ก. ทุกๆสมาชิกของสหพันธฯ มีสิทธิ์สงนักกีฬาเขารวมการแขงขันไดสมาคมละ 2 คู ข. การแขงขัน Ten Dance ชิงแชมปเปยนภาคพื้นทวีปของสหพันธฯ กําหนดใหแตละสมาคมสงคู

เขารวมการแขงขันไดสมาคมละ 1 คู เทานั้น ค. การแขงขันประเภท Formation ชิงแชมปเปยนภาคพื้นทวีปยุโรปของสหพันธฯ สมาชิกของ

สหพันธฯ จะถูกเชิญเขารวมการแขงขันสมาคมละ 2 ทีมในแตละรายการ

ง) การจายคาตอบแทน การจายคาตอบแทนใหดูกติกาขอที่ 8

Page 4: แล - mwit.ac.thjat/contents/40206/Rule Dance.pdf · กก) ประเภท Standard (จังหวะ Waltz, Tango, Viennese Waltz, Slow Foxtrot และ Quickstep) กข)

5.3 การแขงขนักฬีาลีลาศชงิแชมปเปยนภาคพื้นอนุทวีปยุโรปของสหพนัธกีฬาลีลาศนานาชาติ

(IDSF Sub-Continental Championships) ก) ประเภทของการแขงขัน

การแขงขันกฬีาลีลาศชิงแชมปเปยนภาคพืน้อนุทวีปยุโรป มีดังนี ้กก) ประเภท Standard (จังหวะWaltz, Tango, Viennese, Slow Foxtrot และ Quickstep) กข) ประเภท Latin American (จังหวะ Samba, Cha Cha Cha, Rumba, Paso Doble และ Jive) กค) ประเภท Over Ten Dance (Standard และ Latin American)

ข) การเชิญเขารวมการแขงขนั สหพันธกีฬาลีลาศนานาชาติจะเชิญไปยังทุกๆ สมาคมที่เปนสมาชิกของสหพันธฯ อยางนอย 4 สมาคม

ค) การกําหนดจํานวนผูเขารวมการแขงขนั

สมาชิกของสหพันธฯ ที่ไดรับเชิญแตละสมาคม มีสิทธิ์ที่จะสงตัวแทนเขารวมในการแขงขันสมาคมละ 2 คู ผูจัดการแขงขันอาจเชิญ 1 คู จากประเทศที่เขารวม

ง) การจายคาตอบแทน การจายคาตอบแทนใหดกูตกิาขอที่ 8

5.4 การแขงขนัสะสมคะแนนเพือ่จัดอันดับโลกของสหพันธกีฬาลีลาศนานาชาติ

(IDSF World Ranking Tournaments)

การแขงขนัสะสมคะแนนเพือ่จัดอันดับโลกมี 4 ประเภทดวยกัน

ก) การแขงขันซุปเปอรเวิลดคัพของสหพันธกีฬาลีลาศนานาชาติ (IDSF Super World Cup)

ข) การแขงขันเวลิดโอเพนของสหพันธกีฬาลีลาศนานาชาต ิ(IDSF World Cup)

สหพันธกีฬาลีลาศนานาชาติจะจัดการแขงขันเวิลดโอเพนในประเภท Standard และ Latin Americanโดยจะมีเงินรางวัลและการสะสมคะแนนในการจัดอันดับโลกโดยคํานวณดวยคอมพิวเตอร

ค) การแขงขันอินเตอรเนชั่นแนล โอเพนของสหพันธกีฬาลีลาศนานาชาติ (IDSF International Open)

สหพันธกีฬาลีลาศนานาชาติ จะจัดการแขงขันอินเตอรเนชั่นแนลโอเพนในประเภท Standard และLatin American โดยมีคะแนนสะสมซึ่งคํานวณโดยการใชเครื่องคอมพิวเตอร เพื่อจัดอันดับโลกประกอบกับการพิจารณาเห็นชอบจากคณะกรรมการบริหารของสหพันธฯ

ง) การแขงขัน ไอ ดี เอส เอฟ โอเพน (IDSF Open)

สหพันธกีฬาลีลาศนานาชาติจะจัดการแขงขัน ไอ ดี เอส เอฟ โอเพน (IDSF Open) ในประเภทStandard และLatin American โดยมีคะแนนสะสมซึ่งคํานวณโดยการใชเครื่องคอมพิวเตอร ในการจัดอันดับโลกประกอบกับการพิจารณาเห็นชอบจากคณะกรรมการบริหารของสหพันธฯ

Page 5: แล - mwit.ac.thjat/contents/40206/Rule Dance.pdf · กก) ประเภท Standard (จังหวะ Waltz, Tango, Viennese Waltz, Slow Foxtrot และ Quickstep) กข)

อนึ่ง ในรายละเอียดของระเบียบการแขงขันที่ไดกลาวมาขางตนนี้ คณะกรรมการบริหารของสหพันธกีฬาลีลาศนานาชาติ จะแจงใหทราบเปนครั้งๆ ไป

5.5 การแขงขันอินเตอรเนชั่นแนล อินวิเทชั่น (International Invitation Competitions)

ก. คําจํากัดความของการแขงขนัอินเตอรเนชัน่แนลอินวิเทชั่น

นอกจากการแขงขันประเภททีมแมทช และการแขงขันประเภทแปรขบวนหมู ใหเปรียบเสมือนเปนการแขงขันระดับนานาชาติ ซ่ึงตองมีคูเขารวมแขงขันอยางนอย 4 ประเทศ

ข. การเชิญเขารวมการแขงขนั

สหพันธกีฬาลีลาศนานาชาติจะเชิญเฉพาะสมาชิกของสหพันธฯ เขารวมในการแขงขันเทานั้น หรือมิเชนนั้นใหขึ้นอยูกับการพิจารณาของคณะกรรมการบริหารของสหพันธฯ

ค. การจายคาตอบแทนตางๆ

การจายคาตอบแทนของผูเขารวมการแขงขันใหเปนไปตามขอตกลงระหวางสมาคมที่เปนสมาชิกของสหพันธฯ

5.6 การแขงขนัอนิเตอรเนชั่นแนล อินวิเทชั่น สําหรับ ฟอรเมชั่น – ทีม

(International Invitation Competitions for Formation - Teams)

ก) คําจํากัดความของการแขงขนัอินเตอรเนชัน่แนลอินวิเทชั่นสําหรับฟอรเมชั่น - ทีม

การแขงขันนี้อาจใชช่ือวา “การแขงขันฟอรเมชั่นนานาชาติ” ถามี ฟอรเมชั่น - ทีมสงคูแขงขันเขารวมการแขงขันไมนอยกวา 4 ประเทศ

ข) การเชิญเขารวมการแขงขนั

สหพันธกีฬาลีลาศนานาชาติจะเชิญเฉพาะสมาชิกของสหพันธฯ เขารวมการแขงขันเทานั้น หรือมิเชนนั้นใหขึ้นอยูกับการพิจารณาของคณะกรรมการบริหารของสหพันธฯ

ค) การจายคาตอบแทนตางๆ

การชดเชยคาใชจายของผูเขารวมการแขงขัน ใหเปนไปตามขอตกลงระหวางสมาคม ที่เปนสมาชิกของสหพันธฯ

5.7 การแขงขันเวิลดคัพของสหพันธกีฬาลีลาศนานาชาต ิ(IDSF World Cups)

ก) ประเภทของการแขงขัน

การแขงขันเวลิดคัพสของสหพันธกฬีาลีลาศนานาชาติ ประกอบดวย กก) ประเภท Standard (จังหวะWaltz, Tango, Viennese, Slow Foxtrot และ Quickstep) กข) ประเภท Latin American (จังหวะ Samba, Cha Cha Cha, Rumba, Paso Doble และ Jive) กค) ประเภท Over Ten Dance (Standard และ Latin American)

Page 6: แล - mwit.ac.thjat/contents/40206/Rule Dance.pdf · กก) ประเภท Standard (จังหวะ Waltz, Tango, Viennese Waltz, Slow Foxtrot และ Quickstep) กข)

ข) การเชิญเขารวมการแขงขนั:

สหพันธกีฬาลีลาศนานาชาตจิะเชิญไปยังทกุๆ สมาคมที่เปนสมาชิกของสหพันธฯ

ค) การกําหนดจํานวนผูเขารวมการแขงขนั:

สมาคมที่เปนสมาชิกของสหพันธกีฬาลีลาศนานาชาติที่ไดรับเชิญสามารถสงคูแขงขันเขารวมการแขงขันไดเพียง 1 คู

ง) การจายคาตอบแทนตางๆ

การจายคาตอบแทน ใหดกูติกาขอที่ 8

5.8 การแขงขันชิงถวยของภาคพื้นทวีปยุโรปของสหพันธกีฬาลีลาศนานาชาติ (IDSF Continental Cups)

ก) ประเภทของการแขงขัน:

การแขงขันชิงถวยภาคพื้นทวีปยุโรปของสหพันธกฬีาลีลาศนานาชาติ ประกอบดวย กก) ประเภท Standard (จังหวะWaltz, Tango, Viennese, Slow Foxtrot และ Quickstep) กข) ประเภท Latin American (จังหวะ Samba, Cha Cha Cha, Rumba, Paso Doble และ Jive) กค) ประเภท Over Ten Dance (Standard และ Latin American) กง) ประเภท Formation (Standard และ Latin American), ทั้งนี้ใหดูกตกิาขอที่ 14 ขอยอยที่ 2 - 13

ประกอบ

ข) การเชิญเขารวมการแขงขนั:

สหพันธกีฬาลีลาศนานาชาติจะเชิญไปยังทุกๆ สมาคมที่เปนสมาชิกของสหพันธฯ ที่มีที่ตั้งตามทวีปตางๆ ทั้งนี้ในระบบทางการกีฬาใหถือวาประเทศอิสราเอลจัดอยูในกลุมทวีปยุโรป

ค) การกําหนดจํานวนคูท่ีเขารวมการแขงขนั

สมาคมที่เปนสมาชิกของสหพันธกีฬาลีลาศนานาชาติ ที่ไดรับเชิญสามารถสงเขารวมการแขงขันไดสมาคมละ 1 คู / 1 ทีม – ฟอรเมชั่น

ง) การจายคาตอบแทนตางๆ

การจายคาตอบแทนใหดกูตกิาขอที่ 8

5.9 การแขงขนัทีมแมทชนานาชาต ิ(International Team Matches)

ก) ประเภทของการแขงขัน:

การแขงขันทมีแมทชนานาชาติ ประกอบดวย กก) ประเภท Standard (จังหวะWaltz, Tango, Viennese, Slow Foxtrot และ Quickstep) กข) ประเภท Latin American (จังหวะ Samba, Cha Cha Cha, Rumba, Paso Doble และ Jive)

Page 7: แล - mwit.ac.thjat/contents/40206/Rule Dance.pdf · กก) ประเภท Standard (จังหวะ Waltz, Tango, Viennese Waltz, Slow Foxtrot และ Quickstep) กข)

ข) การเชิญเขารวมการแขงขนั

การแขงขันทีมแมทช นานาชาติ เปนการจัดการแขงขันที่ตกลงกันเองระหวางสมาคมที่เปนสมาชิกของสหพันธกีฬาลีลาศนานาชาติ โดยจัดขึ้นเพียงปละหนึ่งครั้งในประเทศและระหวางสมาชิกของสหพันธเดียวกัน

ค) การกําหนดจํานวนคูท่ีเขารวมการแขงขนั ( คําจํากัดความของคําวา “ทีม” )

ในแตละทีมตองมีผูเขารวมอยางนอย 4 คู คัดเลือกจากการจัดอันดับคะแนนสะสมของแตละประเทศ และตองไมมีการเปลี่ยนคูในระหวางที่มีการแขงขัน

ง) การจายคาตอบแทนตางๆ

การจายคาตอบแทน ใหตกลงกันเองโดยอิสระระหวางสมาคมที่เปนสมาชิกของสหพันธฯ ที่เกี่ยวของ

5.10 การแขงขันประเภทโอเพน (Open Competitions)

เปนการแขงขันที่เปดใหเขารวมเฉพาะคูแขงขันของสมาคม ที่เปนสมาชิกของสหพันธกีฬาลีลาศนานาชาติเทานั้น คูแขงขันที่มาจากประเทศหรือสมาคมใดที่มิไดอยูในเครือของสหพันธฯ หากจะเขารวมทําการแขงขันตองผานการพิจารณาจากคณะกรรมการบริหารของสหพันธฯ กอน

5.11 ระยะเวลาที่อนุญาตใหใชในการแขงขนัและอัตราความเร็วของจังหวะดนตร ี

ในทุกรอบของการแขงขัน ระยะเวลาของดนตรีที่ใชสําหรับจังหวะจังหวะWaltz , Tango , Slow Foxtrot , Quickstep , Samba , Cha Cha Cha , Rumba และ Paso Doble จะตองมีอยางนอย 1 นาทีคร่ึง สําหรับในจังหวะ Viennese Waltz และ Jive จะตองมีระยะเวลาไมนอยกวา 1 นาที และไมเกินหนึ่งนาทีครึ่ง, ประธานผูตัดสินอาจใหระยเวลาของดนตรีเพิ่มขึ้นตามความวินิจฉัยของเขา/หลอน เพื่อความจําเปนสําหรับการตัดสินที่บริสุทธิ์ยุติธรรมในจังหวะของการแขงขันในแตละรายการ

อัตราความเร็วของจังหวะดนตรีในแตละรูปแบบของการลีลาศมีดังนี ้Waltz 28-30 บารตอนาที Samba 50-52 บารตอนาที Tango 31-33 บารตอนาที Cha Cha Cha 30-32 บารตอนาที Viennese Waltz 58-60 บารตอนาที Rumba 25-27 บารตอนาที Slow Foxtrot 28-30 บารตอนาที Paso Doble 60-62 บารตอนาที Quickstep 50-52 บารตอนาที Jive 42-44 บารตอนาที

ประเภทของดนตร ี

ในทุกรายการแขงขันของสหพันธกีฬาลีลาศนานาชาติ ดนตรีที่ใชจะตองมีเอกลักษณเฉพาะของจังหวะที่ใชในการแขงขัน ตัวอยางเชน ไมอนุญาตใหใชดนตรีที่จัดอยูในประเภทดิสโก ในการลีลาศประเภทลาตินอเมริกัน

Page 8: แล - mwit.ac.thjat/contents/40206/Rule Dance.pdf · กก) ประเภท Standard (จังหวะ Waltz, Tango, Viennese Waltz, Slow Foxtrot และ Quickstep) กข)

5.12 กฎระเบียบท่ีเขมงวด

1. ในการแขงขันทุกรายการที่ไดรับการรับรองโดยสหพันธกีฬาลีลาศนานาชาติภายใตกติกา ขอท่ี 5 มีกฎระเบียบที่เข็มงวดอยูเพียงขอเดียวเทานั้น คือ ระเบียบการแตงกายของนักลีลาศที่อยูในทุกเกณฑอายุของรุนเด็ก (Juveniles)

กฎระเบียบที่เขมงวดใดๆ ที่ไดจัดทําขึ้นโดยคณะกรรมาธิการที่แตงตั้งขึ้นโดยสหพันธกีฬาลีลาศนานาชาติ ระเบียบการที่มีการเปลี่ยนแปลงจะมีผลใชบังคับเมื่อไดเผยแพรประชาสัมพันธโดยทั่วถึงใหสมาคมที่เปนสมาชกิของสหพันธกีฬาลีลาศนานาชาติไดทราบลวงหนา หลังจากที่ประกาศไปแลว 12 เดือน

2. กฎระเบียบที่เข็มงวดจะตองถูกสังเกตเห็นจากผูทรงคุณวุฒิอยางนอยหนึ่งคน ผูทรงคุณวุฒิจะตองไดรับการแตงตั้งจากชาติของสมาคมที่เปนสมาชิกของสหพันธกีฬาลีลาศนานาชาติ และตองไดรับการยืนยันจากสหพันธกีฬาลีลาศนานาชาติ

3. ผูทรงคุณวุฒิรองเรียนไปถึงประธานกรรมการ ในขอที่วามีการทําผิดกฏระเบียบขึ้นในรอบแรกของการแขงขันคูแขงขันจะไดรับคําเตือนจากประธานกรรมการ หากมีการทําผิดกฏระเบียบซ้ําขึ้นอีกในรอบถัดไป หรือถึงรอบสุดทาย คูแขงขันจะถูกประธานกรรมการตัดสิทธิ์ใหออกจากการแขงขัน

กติกาขอท่ี 6สิทธิในการจัดการแขงขนั

1. คณะกรรมการบริหารของสหพันธกีฬาลีลาศนานาชาติมีสิทธิอันชอบธรรมในการจัดการแขงขันตามกติกา ขอที่ 5 ขอยอยที่ 1-8 และมีสิทธิในการจัดเก็บคาธรรมเนียม (ดูกฏระเบียบวาดวยการเงิน)

การแขงขันเหลานี้ ยกเวนการแขงขันที่อยูภายใตกติกาขอ 5 ขอยอยที่ 5 และ 6 จะตองมีจดหมายเวียนลวงหนาไปยังเหลาสมาชิก ในกรณีที่เปนพิเศษ คณะกรรมการบริหารของสหพันธกีฬาลีลาศนานาชาติมีอํานาจที่จะจัดการแขงขัน โดยออกคําส่ังโดยตรงใหกับเมืองหรือประเทศที่เปนสมาชิกฯ โดยแจงเปนลายลักษณอักษร

2. การจัดการแขงขันตามกฏกติกาขอ 5 ยอหนาที่ 5 ตองมีการรับรองจากสหพันธกีฬาลีลาศและตองเสียคาลงทะเบียน 20,00. CHF ซ่ึงองคกรที่จัดจะตองไดรับความเห็นชอบจากสมาชิกขององคกรดวย

กติกาขอท่ี 7 การเชิญเขารวมแขงขนัการเชิญเขารวมแขงขัน ในการแขงขันอินเตอรเนชั่นแนล อินวิเทชั่น (International Invitation Competitions) จะตองดําเนินการขึ้นระหวางสมาคมที่เปนสมาชิก การเชิญตองระบุวันที่ ที่ไดลงในทะเบียนการแขงขันของสหพันธกีฬาลีลาศนานาชาติ

Page 9: แล - mwit.ac.thjat/contents/40206/Rule Dance.pdf · กก) ประเภท Standard (จังหวะ Waltz, Tango, Viennese Waltz, Slow Foxtrot และ Quickstep) กข)

กติกาขอท่ี 8การชดเชยคาใชจายตาง ๆ

การชดเชยคาใชจายขั้นต่ําตางๆ ใหกับคูแขงขัน ประธานและกรรมการผูตัดสินในการแขงขันครอบคลุมไปถึง กติกาขอที่ 5 ขอยอยที่ 1-4 , 7 และ 8 ใหเปนสิทธิ์ขาดของคณะกรรมการบริหารของสหพันธฯ

สมาชิกจะตองระบุจํานวนเงนิลวงหนา

กติกาขอท่ี 9

การใชสารตองหาม

สหพันธกีฬาลีลาศนานาชาติมีกฎขอหามมิใหมีการใชสารตองหาม ซ่ึงเปนไปตามกฎระเบียบการควบคุมหามใชสารตองหาม

กติกาขอท่ี 10 วิธีการสําหรับการจัดการแขงขันระดับนานาชาตติาง ๆ

1. ประธานกรรมการผูตัดสิน ( ที่ไมตองลงคะแนน ) ที่ไดรับการแตงตั้งจากคณะกรรมการบริหารของสหพันธกีฬาลีลาศนานาชาติ เปนผูซ่ึงรับผิดชอบในการควบคุมดูแลการแขงขันที่ไดรับการรับรองจากสหพันธฯ ในรายการแขงขันระดับนานาชาติใดๆ ที่สหพันธฯ ไมไดมีการแตงตั้งประธานผูตัดสิน - ผูจัดการแขงขันจะตองแตงตั้งประธานผูตัดสิน ( ที่ไมตองลงคะแนน ) เอาเอง

2. กรรมการผูตัดสิน

ในการแขงขันระดับนานาชาติตางๆ จะตองมีกรรมการผูตัดสิน ทําหนาที่ตัดสินอยางนอย 7 คน โดยเปนไปตามกติกาขอที่ 5 ขอยอยที่ 1, 2, 4 a-c และ 7 กรรมการผูตัดสินอยางนอย 5 คน ในขอยอยที่ 3, 5, 6 และ 8 กรรมการผูตัดสินอยางนอย 3 คน ในการแขงขันประเภททีมแมทช ( Team Matches )

3. สําหรับการแขงขันตางๆ ที่อยูภายใตกติกาขอที่ 5 ยกเวนขอยอยท่ี 5 และ 6 กรรมการผูตัดสินจะตองถือใบอนุญาตเปนผูตัดสินของสหพันธกีฬาลีลาศนานาชาติ

4. กรรมการผูตัดสินของการแขงขัน ครอบคลุมโดยกติกาขอท่ี 5, ขอยอยท่ี 1-4 a+b , 7 และ 8 จะตองไดรับการแตงตั้งจากคณะกรรมการบริหารของสหพันธกีฬาลีลาศนานาชาติ

5. สําหรับการแขงขันภายใตกติกาขอที่ 5 ขอยอยที่ 1-4, 7 และ 8 คณะกรรมการผูตัดสินจะตองเชิญจากประเทศตางๆ ที่ไมซํ้ากัน

6. ในทุกๆ การแขงขันระดับนานาชาติ คณะกรรมการผูตัดสินจะตองไดรับการรับรองเปนทางการโดยคณะกรรมการบริหารของสหพันธกีฬาลีลาศนานาชาติ

7. กรรมการผูตัดสินจะตองไมทําการตัดสินการแขงขันและตองถอนตัวออกจากคณะกรรมการผูตัดสินในการแขงขันนั้น หากพบวามีคูแขงขันคนใดคนหนึ่งเปนเครือญาติหรือครอบครัวของตัวเอง รวมไปถึงการมีพันธะ

Page 10: แล - mwit.ac.thjat/contents/40206/Rule Dance.pdf · กก) ประเภท Standard (จังหวะ Waltz, Tango, Viennese Waltz, Slow Foxtrot และ Quickstep) กข)

ผูกพัน หรือความสัมพันธสวนตัว สําหรับคําที่เขาใจงายและชัดเจนคือ “การมีความสัมพันธเปนเครือญาติ” รวมไปถึงการมีความสัมพันธทางสายเลือดหรือการแตงงาน, การเปนญาติที่ใกลชิดหรือลูกบุญธรรม หรือเปนบุคคลที่ผูตัดสินอยูอาศัยดวยและการอยูกินกันฉันสามีภรรยากัน

กติกาขอท่ี 11 การกําหนดเกณฑอาย ุ

1. การแบงเกณฑอายุดังตอไปนี้ เปนสิ่งที่จําเปนอยางยิ่งในทุกๆ การแขงขันระดับนานาชาติ และระดับชิงแชมปเปยนตางๆ

รุนเด็กระดับ I (Juvenile I) นับถึงอายุ 9 ป หรือต่ํากวาในปปฏิทินที่มีการแขงขัน รุนเด็กระดับ II (Juvenile II) นับถึงอายุ 10-11 ปในปปฏิทินที่มีการแขงขัน ยุวชนระดับ I (Junior I) นับถึงอายุ 12-13 ป ในปปฏิทินที่มีการแขงขัน ยุวชนระดับ II (Junior II) นับถึงอายุ 14-15 ป ในปปฏิทินที่มีการแขงขัน

เยาวชน (Youth) นับถึงอายุ 16-17 และ 18 ป ในปปฏิทินทีม่ีการแขงขัน ผูใหญ (Adult) นับถึงอายุ 19 ป ในปปฏิทินที่มีการแขงขนั อาวุโส (Senior I) นับถึงอายุ 35 ป หรือ มากกวา ในปปฏิทินที่มีการแขงขนั อาวุโส (Senior II) นับถึงอายุ 45 ป หรือ มากกวา ในปปฏิทินที่มีการแขงขนั

อนุญาตใหกลุมอายุ 2 กลุม สามารถเขาแขงขันรวมกันได ตัวอยางเชน รุนเด็กระดับ I และ II และรุนยุวชนระดับ I และ II ก็เชนเดียวกัน รุนเยาวชนก็อนุญาตใหเขารวมในการแขงขันของรุนผูใหญได ในกลุมเกณฑอายุของทุกรุน คูเตนคนใดคนหนึ่งสามารถมีอายุนอยกวาได ยกเวนในรุนอาวุโส

2. ในการสมัครชื่อคูแขงขันเขารวมในการแขงขัน สมาชิกของผูจัดการแขงขันตองแจง วัน เดือน ป ที่เกิด แกผูจัดการแขงขัน

กติกาขอท่ี 12

เคร่ืองแตงกายในการแขงขัน

สําหรับการแขงขันทุกรายการที่ไดจัดขึ้นโดยสหพันธกีฬาลีลาศนานาชาติ ภายใตกติกาขอที่ 5 การแตงกายของผูเขาแขงขันใหปฏิบัติสอดคลองกับระเบียบการแตงกายของสหพันธกีฬาลีลาศนานาชาติ ระเบียบวาดวยการแตงกายสําหรับการแขงขันของสหพันธฯ เหลานี้ เปนองคประกอบหนึ่งของกติกาการแขงขันของสหพันธกีฬาลีลาศนานาชาติ

สําหรับทุกๆ เกณฑอาย ุ

สวนสะโพกของฝายหญิงตองปกปดไวใหมิดชิดตลอดเวลา ประธานกรรมการหรือผูอํานวยการฝายกีฬาของสหพันธกีฬาลีลาศนานาชาติ มีอํานาจที่จะตัดสิทธิ์คูแขงขันที่สวมใสชุดแขงขันที่ไมเปนไปตามกฏระเบียบของขอนี้ นอกเหนือจากนี้แลว คณะกรรมการบริหารของสหพันธฯ จะลงโทษทางวินัยตัดสิทธิ์ไมใหคูแขงขันเขารวมในการแขงขันตางๆ ชวงระยะเวลาหนึ่ง

Page 11: แล - mwit.ac.thjat/contents/40206/Rule Dance.pdf · กก) ประเภท Standard (จังหวะ Waltz, Tango, Viennese Waltz, Slow Foxtrot และ Quickstep) กข)

กติกาขอท่ี 13 คูแขงขัน 1. คําจํากัดความของคูแขงขัน คูแขงขัน 1 คู จะประกอบดวยชาย 1 คน คูเตนที่เปนหญงิ 1 คน

2. คูแขงขันที่ตางสัญชาติกัน

2.1 คูแขงขันหนึ่งคูสามารถเปนตัวแทนไดเพียงหนึ่งประเทศในทุกรายการแขงขันในระดับชิงแชมเปยน หรือชิงถวยรางวัลของสหพันธๆ ถาคูแขงขันคนใดคนหนึ่งถือครองหนังสือเดินทางที่ยังไมหมดอายุของประเทศที่เปนตัวแทนขณะที่ขึ้นทะเบียนและอยูในชวงเวลาที่ตรงกับการแขงขัน

2.2 คูแขงขันหนึ่งคูสามารถเปนตัวแทนไดเพียงหนึ่งประเทศในทุกรายการแขงขันในระดับนานาชาติ แตละคูแขงอนุญาตใหเขารวมแขงขันโดยเปนตัวแทนของสมาชิกของสหพันธๆขณะที่ขึ้นทะเบียนและอยูในชวงเวลาที่ตรงกับการแขงขัน

2.3 คูแขงขันที่เปนตัวแทนของประเทศใดประเทศหนึ่งในการแขงขันนานาชาติของสหพันธกีฬาลีลาศนานาชาติ หรือการแขงขันชิงถวยรางวัลของสหพันธฯ จะไมสามารถเปนตัวแทนของประเทศอื่นได จนกวาจะผานพนระยะเวลา 12 เดือน เร่ิมตั้งแตการเปนตัวแทนเขารวมการแขงขันครั้งสุดทาย

2.4 คูแขงขันที่ไดเปนตัวแทนของประเทศใดประเทศหนึ่งในทัวนาเมนทของการสะสมคะแนนโลกของสหพันธกีฬาลีลาศนานาชาติ หรือรายการแขงขันโอเพน ไมอนุญาตใหเปนตัวแทนของประเทศอื่นจนกวาจะพนระยะเวลา 6 เดือน ซ่ึงตองใหผูอํานวยการฝายกีฬาของสหพันธฯ อนุญาตเปนลายลักษณอักษร ถาเกิดมีปญหาวาสองสมาชิกของสหพันธฯ ตกลงกันเองโดยแจงเปนลายลักษณอักษรที่จะเปลี่ยนแปลงตัวแทนเขารวมการแขงขัน ดังนั้นผูเขาแขงขันจะตองเปนตัวแทนของสมาคมใหมโดยทันที กําหนดระยะ 6 เดือน โดยเริ่มจากวันที่ไดยื่นใบสมัครใหกับผูอํานวยการฝายกีฬาของสหพันธฯ ที่จะเปนตัวแทนของประเทศอื่น การยื่นสมัครตองทําเปนลายลักษณอักษร โดยสมาคมที่เปนสมาชิกของสหพันธฯ

2.4.1 ในการแขงขันที่จัดโดยคณะกรรมการโอลิมปคสากล (IOC) หรือสมาคมเวิลดเกมสนานาชาติ (IWGA) จะไมอนุญาตใหคูแขงขันที่ตางสัญชาติเขารวมการแขงขัน สอดคลองกับกติกาของการแขงขันกีฬาโอลิมปกที่นักแขงขันตองเปนตัวแทนชาติของตนเอง นักแขงขันตองถือครองหนังสือเดินทางของประเทศสมาชิกของสหพันธกีฬาลีลาศนานาชาติที่เปนตัวแทนในชวงเวลาที่รวมอยูในรายการแขงขันของ IOC หรือ IWGA นักกีฬาเปนตัวแทนไดเพียงประเทศเดียวในรายการแขงขันของ IOC, OCA หรือ IWGA ถาเขา/หลอน ไดรับอนุญาตใหเขารวมแขงขันโดยสมาชิกของสหพันธฯ ในประเทศนั้น และระยะเวลาที่ไดรับการอนุญาตรวม 6 เดือนกอนวันที่มีการแขงขัน

2.5 การแขงขันชิงแชมปเปยน/ชิงถวยรางวัลฟอรเมชั่น-ทีม ของ IDSF

ในการแขงขันชิงแชมปเปยนหรือชิงถวยรางวัล นักแขงขันตองมีอยางนอย 12 คู ในหนึ่งทีมและตองถือครองหนังสือเดินทางประเทศสมาชิกของสหพันธฯในขณะนั้น เขา/หลอนที่ไดรับการแตงตั้งเปนตัวแทนของสมาชิกนั้นและอยูในชวงเวลาของการแขงขันชิงแชมปเปยนหรือชิงถวยรางวัลในขณะนั้น

Page 12: แล - mwit.ac.thjat/contents/40206/Rule Dance.pdf · กก) ประเภท Standard (จังหวะ Waltz, Tango, Viennese Waltz, Slow Foxtrot และ Quickstep) กข)

กติกาขอท่ี 14 การแขงขนัชงิแชมเปยนฟอรเมชั่นนานาชาติ (International Formation Championships)

1. การจัดการแขงขันชิงแชมปเปยนฟอรเมชัน่อาจจัดขึน้ได 2 รูปแบบ

ก) ประเภท Standard ข) ประเภท Latin American

2. เครื่องแตงกายที่ใชในการแขงขัน

ประเภท Standard การแตงกายของชายจะตองเปนสีดํา หรือสีกรมทา ประเภท Latin American การแตงกายของชายใหมีสีสันหลากหลายได แตฝายชายจะตองใสชุดแขงขันเปน

สีเดียวกันหมดทั้งทีม ไมอนุญาตใหสวมใสเครื่องประดับใดๆ ทั้งส้ิน

3. ทีมของการแขงขันประเภท Standard จะตองเลือกใชรูปแบบของเบสิคอยางนอย 16 บาร ในแตละรูปแบบของการแขงขันในจังหวะ Waltz, Tango, Viennese Waltz, Slow Foxtrot และ Quickstep ในทุกๆ รูปแบบของการลีลาศรวมไปถึงการลีลาศประเภท Latin American

4. ทีมของการแขงขันประเภท ลาตินอเมริกัน จะตองเลือกใชรูปแบบของเบสิคอยางนอย 16 บาร ในแตละรูปแบบของการลีลาศในจังหวะ Samba, Cha Cha Cha, Rumba, Paso Doble และ Jive รวมไปถึงการลีลาศประเภท Standard

5. การแสดงเดี่ยว ในประเภทสแตนดารดจะจํากัดใหแสดงไดไมเกิน 24 บาร การนี้ไมรวมไปถึงประเภทลาตินอเมริกัน ที่ซ่ึงการแยกตัวออกจากกันในแบบแสดงเดี่ยวเปนปกติของการแสดง การยกลอยขึ้นไมอนุญาตใหใชในการแสดงของทั้งสองประเภท

ขอสังเกต ุ การยกลอยขึ้นในลักษณะของการเคลื่อนไหวใดๆ ระหวางนักลีลาศคนใดคนหนึ่งที่เทาทั้งสองขางยกพนพื้น ซ่ึงขณะเดียวกันเปนเวลาที่ไดรับการชวยสนับสนุนจากคูของตนเอง

6. ในทีมของการแขงขันชิงแชมปทั้งหมดกําหนดใหมี 6 คู หรือ 8 คู ในหนึ่งทีม หามคนใดคนหนึ่งรวมแขงขันเกินกวาหนึ่งทีมในการแขงขันครั้งเดียวกัน

7. ในการแขงขันชิงแชมปเปยน สมาชิกของทีมอาจมีการเปลี่ยนตัวผูเลนที่เปนตัวสํารองได 4 คร้ัง

8. ไมใหทีม Formation ใดใชรูปแบบของการแสดงยาวเกินกวา 6 นาที รวมไปถึงการเขาและการออก ในเวลา 6 นาทีนี้ ชวงเวลาของการตัดสินของกรรมการผูตัดสินจะมีไมเกิน 4 นาที ครึ่ง และตองระบุใหเห็นอยางชัดเจนในการจัดรูปแบบ ในการเริ่มตนและการสิ้นสุดของการแสดง ทีมใดไมปฏิบัติตามขอปฏิบัตินี้อาจถูกตัดสิทธิ์ออกจากการแขงขัน โดยประธานกรรมการ

9. คณะกรรมการตัดสินควรเปนผูที่มีประสบการณในการตัดสินในการแขงขันประเภทฟอรเมชั่น ซ่ึงตองมีอยางนอย 7 คน โดยเลือกจากประเทศตางๆ ไมซํ้ากัน 7 ประเทศ

10. ควรใชเทปบันทึกเสียง หรือเครื่องเสียงระบบใดกไ็ด

Page 13: แล - mwit.ac.thjat/contents/40206/Rule Dance.pdf · กก) ประเภท Standard (จังหวะ Waltz, Tango, Viennese Waltz, Slow Foxtrot และ Quickstep) กข)

11. ควรตองจัดใหมีการฝกซอมอยางเพียงพอ สําหรับทีมที่เขารวมการแขงขันและจัดแบงเวลาฝกซอมใหเทาเทียมกันในสถานที่แขงขันพรอมกับการใหใชดนตรี

12. ตองมีการแตงตั้งประธานกรรมการและประธานกรรมการตองการเขารวมในการฝกซอม มีหนาที่คอยตักเตือนทีมที่ฝาฝนกฏกติกาและถากติกาถูกฝาฝนในระหวางที่ทําการแขงขัน ประธานจะมีสิทธิ์ที่จะตัดสิทธิ์ทีมที่ฝาฝนออกจากการแขงขันหลังจากที่ไดหารือกับคณะกรรมการผูตัดสินแลว

ดนตรีที่ใชและรูปแบบของการแสดง ในการฝกซอมจะตองเปนรูปแบบเดียวกัน ในการแขงขันจริงและไมอนุญาตใหสับเปลี่ยนชุดระหวางที่มีการแขงขัน

13. หากมีทีมเขารวมในการแขงขันเกิน 5 ทีม ในการแขงขันจะตองจัดใหมีรอบที่ 2 (Second Round)

กติกาขอท่ี 15

อํานาจของคณะกรรมการบริหารของสหพันธกีฬาลีลาศนานาชาต ิ

คณะกรรมการบริหารของสหพันธฯ มีอํานาจเต็มในการตัดสินปญหาที่อยูนอกเหนอืกติกาเหลานี ้

กติกาขอท่ี 16 การประยุกตใชกติกา

สหพันธกีฬาลีลาศนานาชาติยินยอมใหชาติที่เปนสมาชิกนํากติกาเหลานี้ไปใชเปนแนวทางในการปฏิบัติและใหยึดถือเปนกติกาของประเทศนั้นๆ

Page 14: แล - mwit.ac.thjat/contents/40206/Rule Dance.pdf · กก) ประเภท Standard (จังหวะ Waltz, Tango, Viennese Waltz, Slow Foxtrot และ Quickstep) กข)

การกําหนดเกณฑอายุของนกักฬีา

กลุมเกณฑอายุ ปที่มีการแขงขัน

พ.ศ. 2550 พ.ศ. 2551 รุนการแขงขนั

ปที่เกิด ปที่เกิด

รุนจูเวนไนล 1 (Juvenile I) ตั้งแตป พ.ศ. 2541 ขึ้นไป ตั้งแตป พ.ศ. 2542 ขึ้นไป

รุนจูเวนไนล 2 (Juvenile II) พ.ศ. 2539-2540 พ.ศ. 2540-2541

รุนจูเนียร 1 (Junior I) พ.ศ. 2537-2538 พ.ศ. 2538-2539

รุนจูเนียร 2 (Junior II) พ.ศ. 2535-2536 พ.ศ. 2536-2537

รุนยูธท (Youth) พ.ศ. 2532-2534 พ.ศ. 2533-2535

รุนอะเดาท (Adult) พ.ศ. 2531 หรือกอน พ.ศ. 2532 หรือกอน

รุนซีเนียร 1 (Senior I) พ.ศ. 2515 หรือกอน พ.ศ. 2516 หรือกอน

รุนซีเนียร 2 (Senior II) พ.ศ. 2505 หรือกอน พ.ศ. 2506 หรือกอน

การนับอายุของนักกีฬา การนับอายุของนักกีฬา ใหเปนไปตามขอบังคับการกีฬาแหงประเทศไทย วาดวยการ แขงขันกีฬาเยาวชนแหงชาติ พ.ศ. 2544 และที่แกไขเพิ่มเติม (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2545 หมวด 5 ขอท่ี 19 ( สอดคลองกับกฎขอบังคับของสหพันธกีฬาลีลาศนานาชาติ ขอที่ 11 )

Page 15: แล - mwit.ac.thjat/contents/40206/Rule Dance.pdf · กก) ประเภท Standard (จังหวะ Waltz, Tango, Viennese Waltz, Slow Foxtrot และ Quickstep) กข)

ระเบียบการแตงกายของสหพนัธกีฬาลลีาศนานาชาติ(IDSF)

กฏกติกาเหลานี้เปนสวนหนึง่ของระเบียบการจัดการแขงขันของสหพนัธกีฬาลีลาศนานาชาติ (IDSF) ในกฏขอ 12 ขอบเขตอํานาจและความเหมาะสม

กฏกติกาเหลานี้ไดถูกนํามาประยุกตใชกับรายการแขงขันกีฬาลีลาศที่ใชช่ือของสหพันธกีฬาลีลาศนานาชาติ และสอดคลองกับมติของที่ประชุมในการประชุมประจําปของสหพันธกีฬาลีลาศนานาชาติ (IDSF), และรูปแบบของกติกาการแขงขันภายในประเทศสําหรับสมาชิกของสหพันธฯ จะมีกรณียกเวนที่สมาชิกของสหพันธฯ สามารถที่จะไตรตรองโดยเพิ่มเติมขอกําหนดระเบียบการแตงกายขึ้นเอง ในรายการแขงขันภายในประเทศที่ไมไดใชช่ือของ “IDSF” คณะกรรมการบริหารของสหพันธกีฬาลีลาศนานาชาติ (IDSF) สงวนอํานาจที่จะกําหนดกฏขอเฉพาะหรือจํากัดวงหรืออาจจะแกไขหรือมีขอยกเวนสําหรับรายการแขงขันที่เปนกรณีพิเศษ

กติกาโดยทั่วไป

1. ชุดแตงกายตองออกแบบใหมีรูปแบบ-ลักษณะที่เหมาะสมตามแตละประเภทของการแขงขัน ( สแตนดารด - ลาตินอเมริกัน )

2. ชุดแตงกายตองออกแบบใหปกปดสวนของรางกายที่เปนของลับ ( ของสงวน ) ของนักแขงขัน

3. การแตงกายและการเม็คอัพตองใหมีความเหมาะสมกับวยัและระดับของนักกฬีาลีลาศ

4. ไมอนุญาตใหใชสัญลักษณทางศาสนามาเปนเครื่องประดับ หรือตกแตงดวยเครื่องประดับที่เปนเพชร - พลอย (ไมรวมถึงเครื่องประดับที่เปนของสวนตัว)

5. ประธานเทคนิคของการแขงขันมีสิทธิที่จะใหผูแขงขันถอดชุดแขงขันหรือเครื่องตกแตงที่เปนเพชร-พลอย ช้ินที่อาจจะกอใหเกิดอันตรายกับนักกีฬาหรือบุคคลอื่น

6. อนุญาตใหใชชุดแขงขันในระดับหรือเกณฑอายุที่รองลงมาได

กฏเกณฑในรสนิยม

ในกรณีที่มีการใชวัสดุ หรือสีหรือการออกแบบประดิษฐที่คานกับกติกาการแตงกายนี้ ถึงแมวาจะไมมีในความหมายของคําตามตัวอักษรของระเบียบการแตงกายนี้, ชองวางของกติกาเหลานี้จะถูกชี้ขาดโดยประธานผูตัดสิน

บทลงโทษ ในกรณีที่คูแขงขันฝาฝนไมปฏิบัติใหสอดคลองตามระเบียบวาดวยการแตงกายนี้ และไดรับการเตือนจากประธานผูตัดสิน เขาเหลานั้นตองยินยอมปฏิบัติตามกฏระเบียบหรืออาจถูกตัดสิทธิ์ออกจากการแขงขันโดยทันทีจากประธานฯ, คณะกรรมการบริหารฯ มีสิทธิ์ที่จะลงโทษเพิ่มเติม รวมไปถึงการใหพักจากการแขงขันในกรณีที่มีการละเมิดซ้ํา

Page 16: แล - mwit.ac.thjat/contents/40206/Rule Dance.pdf · กก) ประเภท Standard (จังหวะ Waltz, Tango, Viennese Waltz, Slow Foxtrot และ Quickstep) กข)

คําอธิบายของประโยค

บริเวณสวนท่ีเปนท่ีลับ (Intimacy area) – บริเวณสวนที่เปนที่ลับ, สวนของรางกายที่จะตองถูกปกปดใหมิดชิดดวยวัสดุที่ทึบ หรือสวนที่ใชวัสดุโปรงใส บดบังดวยวัสดุที่ทึบ หากใชสีเนื้อตองปกปดดวยการตกแตง

สําหรับคูลีลาศที่เปนหญิง - ไมอนุญาตใหใช กางเกงชั้นในที่เวาลึกไมคลุมสะโพก (tangas) - ไมอนุญาตใหสวมกางเกงชัน้ในสีเนื้อ - สวนหนาอกตองปกปดใหมดิชิด - ชวงหางของฝาครอบทรงตองหางไมเกนิ 5 ซม.

บริเวณสวนเวาสวนโคงของรางกาย (Shape area) – บริเวณสวนนอยที่ตองปกปดนี้ อนุญาตใหใชวัสดุหรือผาที่โปรงใสได กรณีนี้ใชสีอะไรก็ได

วัสดุท่ีใชเปนหลัก – - ที่มีแสงสะทอน (โลหะ, กากเพชร, เล่ือม, …) - ที่ไมมีแสงสะทอน

การตกแตง – การใชส่ิงตางๆ ติดลงบนวัสดุที่เปนหลัก, บนผม, ผิวหนงั - ที่มีแสงสะทอน (พลอยเทียม, เล่ือม, ลูกปด, มุก, …) - ที่ไมมีแสงสะทอน (ขนนก, ดอกไม, โบว, ไหมญี่ปุน, ส่ิงถัก-ทอ, ริบบิ้น, …)

ที่หนีบไทด, กระดุม, ผาพันคอ, หัวเข็มขัด ไมถือวาเปนสิ่งตกแตง

แนวของสะโพก (Hip Line) – ขอบกางเกงชั้นใน (ขนาดของความต่ํา) แนวตรงของขอบ, แนวสูงสุดดานบนอยูบริเวณกลามเนือ้สะโพก (intergluteal line) ตองไมดูโจงแจง

Page 17: แล - mwit.ac.thjat/contents/40206/Rule Dance.pdf · กก) ประเภท Standard (จังหวะ Waltz, Tango, Viennese Waltz, Slow Foxtrot และ Quickstep) กข)

ชุดเฉพาะเจาะจง

1. ชุดแขงขนัท่ีไดรับอนุญาต

รายการ ชาย หญิง

คูเตนรํา สแตนดารด ลาตินอเมริกัน สแตนดารด ลาตินอเมริกัน

เสื้อเช้ิตแขนยาวสีขาว กางเกงขายาวสีดํา

เนคไทหรือหูกระตายสีดํา

เสื้อไมรัดรูปสีขาว ชุดบอดี้สูทหรือทีเช๊ิต

กระโปรงสีดํา

ชุดกระโปรงธรรมดา“สีเดียว” ยกเวนไมใหใช “สีเนื้อ”

ชุดกระโปรง+กางเกงชั้นใน

ชุดบอดี้สูทพรอมดวยชุดกระโปรง สีเดียวกัน

จูเวนไนล

รายละเอียดการตัดเย็บ – ดูแบบตัวอยางที่ 1 รายละเอียดการตัดเย็บ – ดูแบบตัวอยางที่ 2

จูเนียร 1

เสื้อเช๊ิตแขนยาวสีขาว เสื้อกั๊กสีดํา

กางเกงขายาวสีดํา เนคไทหรือหูกระตายสีขาวหรือดํา

เช๊ิตหรือเสื้อแขนยาว สีขาวหรือดําเทานั้น เสื้อกั๊กสีดําก็ได กางเกงขายาวสีดํา

ชุดแจ็คเก็ตสูท (กางเกงสีดําหรือกรมทาแจ็คเก็ตสีดําหรือกรมทา,เสื้อเช๊ิตสีขาว

,เนคไทสีดําหรือกรมทา)

ชุดหางยาวสีดํา (กางเกงสีดํา,

เสื้อหางยาวสีดํา, ผาคาดเอวสีขาว, เสื้อช้ันในที่ใชกับเสื้อหางยาว, หูกระตายสีขาว)

จูเนียร 2 ยูธท อเดาท ซีเนียร

เสื้อทอนบนสีอะไรก็ไดกางเกงขายาวสีอะไรก็ได

ยกเวนสีเนื้อ

ชุดแขงขัน จูเนียร 1 - ใชสีอะไรก็ไดนอกจากสีเนื้อ รุนอื่นๆ - ใชสีอะไรก็ได

ไมอนุญาตใหใชชุดที่เปน 2 ทอน

ความหมายของคํายอ IA – บริเวณสวนที่เปนที่ลับ PL – สวนที่เปนกางเกงใน SA – สวนที่เปนสวนเวา - สวนโคง (SHAPE) HL – สวนที่เปนสะโพก (HIP)

ชุดแขงขัน จูเนียร 1 - ใชสีอะไรก็ไดนอกจากสีเนื้อ รุนอื่นๆ - ใชสีอะไรก็ได

ทอนบนและกางเกงชั้นใน ตองไมใชบิกินี

Page 18: แล - mwit.ac.thjat/contents/40206/Rule Dance.pdf · กก) ประเภท Standard (จังหวะ Waltz, Tango, Viennese Waltz, Slow Foxtrot และ Quickstep) กข)

2. เคร่ืองประดับท่ีมีแสง

รายการ ชาย หญิง

คูเตนรํา สแตนดารด ลาตินอเมริกัน สแตนดารด ลาตินอเมริกัน

จูเวนไนล ไมอนุญาตใหมีการตกแตง ไมอนุญาตใหใชผาที่เปนเลื่อมหรือมีแสงแวววาว

จูเนียร 1

ไมอนุญาตใหมีการตกแตง ไมอนุญาตใหใชผาที่เปนเลื่อมหรือมีแสงแวววาว

ไมอนุญาตใหใชวัสดุที่มีแสงแวววาวตกแตง (ตกแตงไดแตตองไมใชวัสดุที่มีแสงแวววาว)

ไมอนุญาตใหใชผาที่เปนเลื่อมหรือมีแสงแวววาว จูเนียร 2– ซีเนียร ไมเขมงวด

3. รองเทา, ถุงเทา, ถุงนอง รายการ ชาย หญิง คูเตนรํา สแตนดารด ลาตินอเมริกัน สแตนดารด ลาตินอเมริกัน

จูเวนไนล สนสูงไมเกิน 2.5 ซม. ตองใสถุงเทาสีดํา

สน block สูงไมเกิน 3.5 ซม. อนุญาตใหใชถุงเทาสั้นสีอะไรก็ได

ไมอนุญาตใหใชถุงนองตาขายแตใชถุงนองสีเนื้อได

จูเนียร 1 สนสูงไมเกิน 5 ซม. ใสถุงเทาสั้นได

ไมอนุญาตใหใสถุงนองตาขาย จูเนียร 2– ซีเนียร

รองเทาไมเขมงวด ตองสวมถุงเทาสีดํา

ไมเขมงวด

4. ทรงผม

รายการ ชาย หญิง คูเตนรํา สแตนดารด ลาตินอเมริกัน สแตนดารด ลาตินอเมริกัน จูเวนไนล ไมอนุญาตใหมีการตกแตงทรงผมและใชสเปรยที่มีสี จูเนียร 1 ไมอนุญาตใหตกแตงทรงผมที่มีแสงแวววาวหรือใชสเปรยที่มีสี

จูเนียร 2– ซีเนียร ถาผมยาวตองรวบเปนหางมา

ไมเขมงวด

5. การเม็คอัพ

รายการ ชาย หญิง คูเตนรํา สแตนดารด ลาตินอเมริกัน สแตนดารด ลาตินอเมริกัน

จูเวนไนล, จูเนียร 1 ไมอนุญาตใหแตงหนา

จูเนียร 2– ซีเนียร ไมเขมงวด

6. การตกแตงเครื่องประดับ (ไมใชเคร่ืองประดับสวนตัว) รายการ ชาย หญิง คูเตนรํา สแตนดารด ลาตินอเมริกัน สแตนดารด ลาตินอเมริกัน จูเวนไนล ไมอนุญาตใหตกแตงดวยเครื่องประดับสะทอนแสง จูเนียร 1 อนุญาตใหตกแตงดวยเครื่องประดับสะทอนแสงได

จูเนียร 2 – ซีเนียร ไมเขมงวด

Page 19: แล - mwit.ac.thjat/contents/40206/Rule Dance.pdf · กก) ประเภท Standard (จังหวะ Waltz, Tango, Viennese Waltz, Slow Foxtrot และ Quickstep) กข)

แบบตัวอยางที ่1: ชุดแตงกายของเด็กชายรุนจูเวนไนล เสื้อเชิ๊ต :

- เสื้อเชิ๊ตแขนยาวเรียบงายธรรมดา - ไมอนุญาตใหใชผาที่สองประกายหรือผาที่มีลวดลายควรจะเปนผาที่เปนฝายหรือใยสังเคราะห - ไมอนุญาตใหใสเสื้อคอปก - หามพับแขนเสื้อ - ตองสอดเสื้อเขาในกางเกง

แบบตัวอยางที ่2 : ชุดแตงกายของเด็กหญิงในรุนจูเวนไนล A. ชวงคอเสื้อ – ใหเจยีนหรือตดั, วิธีอ่ืนไมอนญุาต

B. แขนเสื้อ – ใหเจียนหรือตัด, วิธีอ่ืนไมอนุญาต

Page 20: แล - mwit.ac.thjat/contents/40206/Rule Dance.pdf · กก) ประเภท Standard (จังหวะ Waltz, Tango, Viennese Waltz, Slow Foxtrot และ Quickstep) กข)

C. กระโปรง - อนุญาตใหเปนกระโปรงเรยีบหรือจับจีบตัดเย็บไมนอยกวา 1 คร่ึงวงกลมและไมเกนิ 3 คร่ึงวงกลมเทานั้น

อนุญาตใหมีซับในธรรมดา 1 วงกลม ไมอนุญาตใหมีซับในที่ใหญกวานั้น - ไมอนุญาตใหมีการติดระบายบนตวักระโปรงและชายกระโปรง การกุนหรือการแซกชายกระโปรง - ความยาวของชายกระโปรงตองอยูเหนือเขาไมเกิน 10 ซม. และยาวไดไมเกนิคลุมเขา - ไมอนุญาตใหมีการตัดเย็บดวยวิธีอ่ืนอีก

ตัวอยาง