8

Click here to load reader

04 แบบจำลองอะตอมของโบร์และกลุ่มหมอก

Embed Size (px)

Citation preview

Page 1: 04 แบบจำลองอะตอมของโบร์และกลุ่มหมอก

แผนการจัดการเรียนรู้ รหัส-ชื่อรายวิชา ว30131 เคมีพื้นฐาน ชั้น ม.4 ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2555 แผนการเรียนรู้ เรื่อง แบบจ าลองอะตอมของโบร์และแบบจ าลองอะตอมกลุ่มหมอก เวลา 2 คาบ กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ โรงเรียนจุฬาภรณราชวิทยาลัย เชียงราย ------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------ 1.มาตรฐานการเรียนรู้/ตัวช้ีวัด (หลักสูตรโรงเรียนวิทยาศาสตร์และหลักสูตรแกนกลาง 2551)

มาตรฐานที่ 1 เข้าใจสมบัติของสาร ความสัมพันธ์ระหว่างสมบัติของสารกับโครงสร้างและแรงยึดเหนี่ยวระหว่างอนุภาค มีกระบวนการสืบเสาะหาความรู้และจิตวิทยาศาสตร์ สื่อสารสิ่งที่เรียนรู้ น าความรู้ไปใช้ประโยชน์

ตัวช้ีวัด 1.1 สืบค้นข้อมูลและอธิบายโครงสร้างอะตอม และสัญลักษณ์นิวเคลียร์ของธาตุ 1.2 วิเคราะห์และอธิบายการจัดเรียงอิเล็กตรอนในอะตอม ความสัมพันธ์ระหว่างอิเล็กตรอนในระดับพลังงาน

นอกสุดกับสมบัติของธาตุและการเกิดปฏิกิริยา มาตรฐาน ว 8.1 ใช้กระบวนการทางวิทยาศาสตร์และจิตวิทยาศาสตร์ในการสืบเสาะหาความรู้ การ

แก้ปัญหา รู้ว่าปรากฏการณ์ทางธรรมชาติที่เกิดขึ้นส่วนใหญ่มีรูปแบบที่แน่นอน สามารถอธิบายและตรวจสอบได้ ภายใต้ข้อมูลและเครื่องมือที่มีอยู่ในช่วงเวลานั้นๆ เข้าใจว่า วิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี สังคม และสิ่งแวดล้อมมีความเกี่ยวข้องสัมพันธ์กัน

ตัวช้ีวัด ว 8.1 ม.4-6/1 ตั้งค าถามที่อยู่บนพ้ืนฐานของความรู้และความเข้าใจทางวิทยาศาสตร์ หรือความสนใจ หรือ

จากประเด็นที่เกิดข้ึนในขณะนั้น ที่สามารถ ท าการส ารวจตรวจสอบหรือศึกษาค้นคว้าได้อย่างครอบคลุมและเชื่อถือได้ ว 8.1 ม.4-6/2 สร้างสมมติฐานที่มีทฤษฎีรองรับ หรือคาดการณ์สิ่งที่จะพบ หรือสร้างแบบจ าลองหรือสร้าง

รูปแบบ เพ่ือน าไปสู่การส ารวจตรวจสอบ ว 8.1 ม.4-6/3 ค้นคว้ารวบรวมข้อมูลที่ต้องพิจารณาปัจจัยหรือ ตัวแปรส าคัญ ปัจจัยที่มีผลต่อปัจจัยอ่ืน

ปัจจัยที่ ควบคุมไม่ได ้และจ านวนครั้งของการส ารวจ ตรวจสอบเพื่อให้ได้ผลที่มีความเชื่อม่ันอย่างเพียงพอ ว 8.1 ม.4-6/4 เลือกวัสดุ เทคนิควิธี อุปกรณ์ท่ีใช้ในการสังเกต การวัด การส ารวจตรวจสอบอย่างถูกต้องทั้ง

ทางกว้างและลึก ในเชิงปริมาณและคุณภาพ ว 8.1 ม.4-6/5 รวบรวมข้อมูลและบันทึกผลการส ารวจตรวจสอบอย่างเป็นระบบถูกต้อง ครอบคลุมทั้งใน

เชิงปริมาณและคุณภาพ โดยตรวจสอบความเป็นไปได ้ความเหมาะสมหรือความผิดพลาดของข้อมูล ว 8.1 ม.4-6/6 จัดกระท าข้อมูล โดยค านึงถึงการรายงานผลเชิงตัวเลขที่มีระดับความถูกต้องและน าเสนอ

ข้อมูลด้วยเทคนิควิธีที่เหมาะสม ว 8.1 ม.4-6/7 วิเคราะห์ข้อมูล แปลความหมายข้อมูลและประเมินความสอดคล้องของข้อสรุปหรือ

สาระส าคัญ เพ่ือตรวจสอบกับสมมติฐานที่ตั้งไว้ ว 8.1 ม.4-6/8 พิจารณาความน่าเชื่อถือของวิธีการ และผลการส ารวจตรวจสอบ โดยใช้หลักความ

คลาดเคลื่อนของการวัดและการสังเกต เสนอแนะการปรับปรุงวิธีการส ารวจตรวจสอบ ว 8.1 ม.4-6/9 น าผลของการส ารวจตรวจสอบที่ได้ ทั้งวิธีการและองค์ความรู้ที่ได้ไปสร้างค าถามใหม่

น าไปใช้แก้ปัญหาในสถานการณ์ใหม่และในชีวิตจริง ว 8.1 ม.4-6/10 ตระหนักถึงความส าคัญในการที่จะต้องมี ส่วนร่วมรับผิดชอบการอธิบาย การลงความเห็น

และการสรุปผลการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ ที่น าเสนอต่อสาธารณชนด้วยความถูกต้อง ว 8.1 ม.4-6/11 บันทึกและอธิบายผลการส ารวจตรวจสอบอย่างมีเหตุผล ใช้พยานหลักฐานอ้างอิงหรือ

ค้นคว้าเพ่ือเติม เพ่ือหาหลักฐานอ้างอิงที่เชื่อถือได้ และยอมรับว่าความรู้เดิมอาจมีการเปลี่ยนแปลงได้ เมื่อมีข้อมูลและ

Page 2: 04 แบบจำลองอะตอมของโบร์และกลุ่มหมอก

ประจักษ์พยานใหม่เพ่ิมเติมหรือโต้แย้งจากเดิม ซึ่งท้าทายให้มีการตรวจสอบ อย่างระมัดระวัง อันจะน ามาสู่ การยอมรับเป็นความรู้ใหม่

ว 8.1 ม.4-6/12 จัดแสดงผลงาน เขียนรายงาน และ/หรืออธิบายเกี่ยวกับแนวคิด กระบวนการ และผลของโครงงานหรือชิ้นงานให้ผู้อ่ืนเข้าใจ 2. สาระส าคัญ

โบร์เสนอแบบจ าลองอะตอมว่าอะตอมประกอบด้วยนิวเคลียสอยู่ตรงกลาง มีโปรตอน และนิวตรอนอยู่ภายใน ส่วนอิเล็กตรอนจะเคลื่อนที่อยู่โดยรอบเป็นระดับพลังงานที่มีค่าพลังงานเฉพาะคล้ายกับวงโคจรของดาวเคราะห์รอบดวงอาทิตย์ ส่วนแบบจ าลองอะตอมแบบกลุ่มหมอกใช้ความรู้ทางกลศาสตร์ควอนตัมสร้างสมการ เพ่ือค านวณหาโอกาสที่จะพบอิเล็กตรอนในระดับพลังงาน อะตอมประกอบด้วยกลุ่มหมอกของอิเล็กตรอนเคลื่อนที่รอบนิวเคลียสอย่างรวดเร็วตลอดเวลาไปทั่วทั้งอะตอม บริเวณท่ีกลุ่มหมอกทึบ แสดงว่ามีโอกาสที่จะพบอิเล็กตรอนมากกว่าบริเวณที่มีกลุ่มหมอกจาง

3. จุดประสงค์การเรียนรู้ 3.1 ความรู้

1. อธิบายลักษณะแบบจ าลองอะตอมของโบร์ได้ 2. อธิบายลักษณะของแบบจ าลองอะตอมแบบกลุ่มหมอกได้

3.2 ทักษะกระบวนการ สามารถวาดรูปแบบจ าลองอะตอมและบอกความแตกต่างของแบบจ าลองอะตอมของดอลตัน ทอมสัน รัทเทอร์ฟอร์ด โบร์และแบบจ าลองอะตอมแบบกลุ่มหมอกได้ 3.3 คุณลักษณะอันพึงประสงค์

1. เข้าเรียน ปฏิบัติกิจกรรม และส่งงานตรงเวลา 2. ร่วมมือในการเรียน แสวงหาความรู้ ตอบค าถาม ยอมรับความคิดเห็นของผู้อ่ืน และแสดงความคิดเห็น

อย่างมีเหตุผล 3. บันทึกข้อมูลจากการปฏิบัติกิจกรรม 4. รักษาความสะอาดผลงาน ห้องเรียนและสถานที่ปฏิบัติกิจกรรม

4. สาระการเรียนรู ้ แบบจ าลองอะตอมของนีลส์ โบร์ จากผลการศึกษาเกี่ยวกับการเกิดสเปกตรัมของธาตุ ท าให้นักวิทยาศาสตร์พบว่าอิเล็กตรอนที่อยู่รอบ ๆ

นิวเคลียสนั้นไม่ได้อยู่รวมกันที่เดียวทั้งหมด แต่แบ่งออกเป็นกลุ่ม ๆ ตามระดับพลังงานต่าง ๆ รอบ ๆ นิวเคลียส ในปี พ.ศ. 2428 - 2505 นีลส์ โบร์ (Neils Bohr) นักวิทยาศาสตร์ชาวเดนมาร์ก ได้น ามาสร้างแบบจ าลองอะตอมข้ึนใหม่โดยขยายจากแบบจ าลองรัทเทอร์ฟอร์ด ดังนี้ “อะตอมประกอบด้วยโปรตอนและนิวตรอนรวมเป็นนิวเคลียส และมีอิเล็กตรอนในอะตอมวิ่งอยู่รอบ ๆ นิวเคลียสเป็นชั้น ๆ ตามระดับพลังงาน”

แบบจ าลองอะตอมของนิลส์ โบร์ ท าให้เห็นมโนภาพเกี่ยวกับการจัดอิเล็กตรอนภายในอะตอมรอบ ๆ นิวเคลียส ซึ่งเปรียบเสมือนกับระบบสุริยจักรวาลที่มีดวงอาทิตย์อยู่ตรงกลาง และมีดาวเคราะห์โคจรอยู่รอบ ๆ

Page 3: 04 แบบจำลองอะตอมของโบร์และกลุ่มหมอก

นอกจากนี้ โบร์ยังได้ก าหนดสัญลักษณ์ส าหรับพลังงานชั้นต่าง ๆ ไว้ด้วย โดยให้ระดับพลังงานที่อยู่ใกล้นิวเคลียสที่สุดเป็นชั้น K และชั้นถัด ๆ ไปเป็นชั้น L, M, N , …… ซึ่งในปัจจุบันเรียกระดับพลังงานที่อยู่ใกล้นิวเคลียสที่สุดว่าระดับพลังงาน n = 1 และระดับพลังงานถัดออกไปเป็น n = 2 , n = 3 ,n = 4,…. ตามล าดับ

แบบจ าลองอะตอมของโบร์ใช้อธิบายการเกิดสเปกตรัมได้ดี โดยเฉพาะกับอะตอมที่มีขนาดเล็ก และมีอิเล็กตรอนเดี่ยว เช่น อะตอมของไฮโดรเจน แต่สามารถใช้อธิบายอะตอมที่มีหลาย ๆ อิเล็กตรอนได้ นอกจากนี้ยังทราบแต่เพียงว่าอิเล็กตรอนภายในอะตอมมีการจัดเรียงตัวเป็นชั้น ๆ ตามระดับพลังงาน แต่ไม่ทราบว่าในแต่ละระดับพลังงานจะมีอิเล็กตรอนอยู่กี่ตัว จึงได้มีการค้นคว้าเพิ่มเติม และเป็นเหตุให้แบบจ าลองอะตอมเปลี่ยนไปอีก แบบจ าลองอะตอมกลุ่มหมอก

แบบจ าลองอะตอมของโบร์ ใช้อธิบายเกี่ยวกับเส้นสเปกตรัมของธาตุไฮโดรเจนได้ดี แต่ไม่สามารถอธิบายเส้นสเปกตรัมของอะตอมที่มีหลายอิเล็กตรอนได้ จึงได้มีการศึกษาเพ่ิมเติมทางกลศาสตร์ควอนตัม แล้วสร้างสมการส าหรับใช้ค านวณ โอกาสที่จะพบอิเล็กตรอนในระดับพลังงานต่าง ๆ ขึ้นมา จนได้แบบจ าลองใหม่ ที่เรียกว่าแบบจ าลองอะตอมแบบกลุ่มหมอก ลักษณะส าคัญของแบบจ าลองอะตอมแบบกลุ่มหมอกอธิบายได้ดังนี้ อิเล็กตรอนเคลื่อนที่รอบนิวเคลียสอย่างรวดเร็ว ด้วยรัศมีไม่แน่นอนจึงไม่สามารถบอกต าแหน่งที่แน่นอนของอิเล็กตรอนได้บอกได้แต่เพียงโอกาสที่จะพบอิเล็กตรอนในบริเวณต่าง ๆ ปรากฏการณ์แบบนี้เรียกว่ากลุ่มหมอกของอิเล็กตรอน บริเวณท่ีมีกลุ่มหมอกอิเล็กตรอนหนาแน่นจะมีโอกาสพบอิเล็กตรอนมากกว่าบริเวณท่ีเป็นหมอกจาง การเคลื่อนที่ของอิเล็กตรอนรอบนิวเคลียสอาจเป็นรูปทรงกลมหรือรูปอื่น ๆ ขึ้นอยู่กับระดับพลังงานของอิเล็กตรอน แต่ผลรวมของกลุ่มหมอกของอิเล็กตรอนทุกระดับพลังงาน การใช้ทฤษฎีควันตัม จะสามารถอธิบายการจัดเรียงตัวของอิเล็กตรอนรอบนิวเคลียส ได้ว่าอิเล็กตรอนจัดเรียงตัวเป็นออร์บิทัล(orbital) ในระดับพลังงานย่อย s , p , d , f แต่ละออร์บิทัล จะบรรจุอิเล็กตรอนเป็นคู่ดังนี้

s – orbital มี 1 ออร์บิทัล หรือ 2 อิเล็กตรอน p – orbital มี 3 ออร์บิทัล หรือ 6 อิเล็กตรอน d – orbital มี 5 ออร์บิทัล หรือ 10 อิเล็กตรอน f – orbital มี 7 ออร์บิทัล หรือ 14 อิเล็กตรอน

แต่ ละออร์บิทัลจะมีรูปร่างลักษณะแตกต่างกัน ขึ้นอยู่กับการเคลื่อนที่ของอิเล็กตรอนในออร์บิทัล และระดับพลังงานของอิเล็กตรอนในออร์บิทัลนั้นๆ เช่น

s – orbital มีลักษณะเป็นทรงกลม p – orbital มีลักษณะเป็นกรวยคล้ายหยดน้ า ลักษณะแตกต่างกัน 3 แบบ ตามจ านวนอิเล็กตรอนใน 3 ออร์บิทัล คือ Px , Py , Pz d – orbital มีลักษณะและรูปทรงของกลุ่มหมอก แตกต่างกัน 5 แบบ ตามจ านวนอิเล็กตรอนใน 5 ออร์บิทัล คือ dx2-y2 , dz2 , dxy , dyz , dxz

แบบจ าลองอะตอมกลุ่มหมอก เป็นแบบจ าลองอะตอมในทัศนะปัจจุบัน ซึ่งได้แก้ไขข้อบกพร่องของแบบจ าลองอะตอมต่าง ๆ ที่กล่าวมา สรุปแบบจ าลองอะตอมกลุ่มหมอกดังนี้ “อะตอมประกอบด้วยกลุ่มหมอกของอิเล็กตรอนรอบนิวเคลียส มีลักษณะเป็นทรงกลม บริเวณกลุ่มหมอกทึบแสดงว่าโอกาสพบอิเล็กตรอนมีมาก และบริเวณท่ีกลุ่มหมอกจางโอกาสที่จะพบอิเล็กตรอนมีน้อย” 5. หลักฐาน หรือร่องรอยของการเรียนรู้ การวัดผลและประเมินผล

5.1 ความรู้ ภาระงาน/ชิ้นงาน

วิธีการวัด เครื่องมือ เกณฑ์ที่ใช้ประเมิน ผู้ประเมิน

Page 4: 04 แบบจำลองอะตอมของโบร์และกลุ่มหมอก

แผนผังความคิด (Graphic Organize)

วัดเมื่อจบบทเรียน ตามตัวชี้วัดต่อไปนี้ 1. การก าหนดและเชื่อมโยงแนวความคิดหลัก แนวความคิดรอง แนวความคิดย่อย 2. การเชื่อมโยงความรู้ 3. การเชื่อมโยงประเด็นต่างๆอย่างสมเหตุสมผล มีค าเชื่อมถูกต้อง ชัดเจน

- Concept map - แบบประเมินแผนผังความคิด

ระดับ 4 ดีเยี่ยม 4 คะแนน = ท าได้ถูกต้องทุกตัวชี้วัด ระดับ 3 ดี 3 คะแนน = ท าได้ถูกต้องจ านวนมาก ระดับ 2 พอใช้ 2 คะแนน = ท าได้ถูกต้องจ านวนน้อย ระดับ 1 ต้องปรับปรุง 1 คะแนน = ท าได้ถูกต้องน้อยมาก หรือไม่ถูกต้องเลย

คร ู

ภาระงาน/ชิ้นงาน

วิธีการวัด เครื่องมือ เกณฑ์ที่ใช้ประเมิน ผู้ประเมิน

ตอบค าถามสะท้อนความคิด (Exit ticket)

ตรวจค าตอบของค าถามสะท้อนความคิด ตามตัวชี้วัดต่อไปนี้ 1. ความถูกต้องครอบคลุมสิ่งที่ได้เรียนรู้ 2. ความสมเหตุสมผล ชัดเจน ของค าตอบ 3. การตั้งค าถามท่ีอยากรู้

- Exit ticket - แบบประเมินการตอบค าถามสะท้อนความคิด

ระดับ 4 ดีเยี่ยม 4 คะแนน = ท าได้ถูกต้องทุกตัวชี้วัด ระดับ 3 ดี 3 คะแนน = ท าได้ถูกต้องจ านวนมาก ระดับ 2 พอใช้ 2 คะแนน = ท าได้ถูกต้องจ านวนน้อย ระดับ 1 ต้องปรับปรุง 1 คะแนน = ท าได้ถูกต้องน้อยมาก หรือไม่ถูกต้องเลย

คร ูนักเรียน

5.2 ทักษะกระบวนการ

ภาระงาน/ชิ้นงาน

วิธีการวัด เครื่องมือ เกณฑ์ที่ใช้ประเมิน ผู้ประเมิน

ใบกิจกรรมการทดลอง

สังเกตพฤติกรรมการ - การวางแผนการทดลอง -การออกแบบตารางบันทึกผลการทดลอง -การปฏิบัติการทดลอง

- แบบประเมินทักษะในการปฏิบัติการทดลอง

- ต้องได้ไม่ต่ ากว่าระดับคุณภาพ 3 คือ ดี จากระดับคุณภาพ 4 คือ ดีมาก

คร ู

Page 5: 04 แบบจำลองอะตอมของโบร์และกลุ่มหมอก

-การสังเกตและบันทึกผลการทดลอง -การจัดกระท ากับข้อมูล การวิเคราะห์ อภิปรายและสรุปผลการทดลอง -การน าเสนอข้อสรุป

5.3 คุณลักษณะอันพึงประสงค์

คุณลักษณะอันพึง

ประสงค์

ภาระงาน/ชิ้นงาน/

พฤติกรรม วิธีการวัด เครื่องมือ

เกณฑ์ที่ใช้ประเมิน

ผู้ประเมิน

ตรงต่อเวลา

เข้าเรียน ปฏิบัติกิจกรรม ส่งงานตรงเวลา

- สังเกตพฤติกรรมการเข้าเรียน การปฏิบัติกิจกรรมและการส่งงานของนักเรียน

แบบประเมินคุณลักษณะอันพึงประสงค์

ต้องได้ไม่ต่ ากว่าระดับคุณภาพ 3 คือ ดี จากระดับคุณภาพ 4 คือ ดีมาก

คร ู

ใฝ่เรียนรู้ ร่วมมือในการเรียน แสวงหาความรู้ ตอบค าถาม ยอมรับความคิดเห็นผู้อื่น และแสดงความคิดเห็นอย่างมีเหตุผล

- สังเกตพฤติกรรมความร่วมมือในการเรียน การแสวงหาความรู้ การตอบค าถาม การยอมรับความคิดเห็นผู้อ่ืน และการแสดงความคิดเห็นอย่างมีเหตุผล

แบบประเมินคุณลักษณะอันพึงประสงค์

ต้องได้ไม่ต่ ากว่าระดับคุณภาพ 3 คือ ดี จากระดับคุณภาพ 4 คือ ดีมาก

คร ู

ซื่อสัตย์ บันทึกข้อมูลจากการปฏิบัติกิจกรรม ท าแบบฝึกหัด ท าแบบทดสอบ ด้วยความซื่อสัตย์

- สังเกตพฤติกรรมการบันทึกข้อมูล จากการปฏิบัติกิจกรรม การท าแบบฝึกหัดและการท าแบบทดสอบ

แบบประเมินคุณลักษณะอันพึงประสงค์

ต้องได้ไม่ต่ ากว่าระดับคุณภาพ 3 คือ ดี จากระดับคุณภาพ 4 คือ ดีมาก

คร ู

รักสะอาด รักษาความสะอาดผลงานห้องเรียนและ

- สังเกตพฤติกรรมการรักษาความสะอาดผลงาน การ

แบบประเมินคุณลักษณะอันพึงประสงค์

ต้องได้ไม่ต่ ากว่าระดับคุณภาพ 3 คือ ดี

คร ูเพ่ือนนักเรียน

Page 6: 04 แบบจำลองอะตอมของโบร์และกลุ่มหมอก

สถานที่ปฏิบัติกิจกรรม

ท าความสะอาดห้องเรียน และสถานที่ปฏิบัติกิจกรรม

จากระดับคุณภาพ 4 คือ ดีมาก

6. ค าถามส าคัญ

1. แบบจ าลองไฮโดรเจนตามทฤษฎีของโบร์ มีลักษณะอย่างไร 2. ที่สถานะพ้ืน อะตอมมีพลังงานอย่างไร 3. แบบจ าลองอะตอมแบบกลุ่มหมอก มีลักษณะอย่างไร 7. การจัดกระบวนการเรียนรู้

ขั้นสร้างความสนใจ (Engagement) 1. ครูยกสถานการณ์การศึกษาสเปกตรัมของแก๊สไฮโดรเจน ที่มีลักษณะเป็นเส้นๆ แยกจากกันพร้อมภาพประกอบ โดยประกอบแสงสีต่างกันได้แก่ สีแดง สีน้ าเงินและสีม่วง และสเปกตรัมของแก๊สนีออน เห็นสีแดง สีส้มและสีเหลือง และชี้ว่าสเปกตรัมของแก๊สชนิดหนึ่งประกอบด้วยชุดของแสงสีเฉพาะ แตกต่างกับสเปกตรัมของแก๊สชนิดอ่ืน ถือว่าเป็นสมบัติเฉพาะตัวของธาตุแต่ละชนิด 2. ครูทบทวนเกี่ยวกับสมมติฐานของพลังค์และแบบจ าลองอะตอมของรัทเทอร์ - ฟอร์ด ท าให้โบร์ตั้งสมมติฐาน 2 ข้อ เพ่ือแก้ปัญหาที่ว่า ท าไมอิเล็กตรอนที่วิ่งวนรอบนิวเคลียสด้วยความเร่ง จึงไม่แผ่คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าและเข้าไปรวมกับนิวเคลียส (ทบทวน เชื่อมโยง ตรวจสอบความรู้เดิม และเปิดโอกาสให้ซักถามเพ่ิมเติมเพ่ือกระตุ้นความสนใจ) หลังจากนั้นให้นักเรียนเขียนในสิ่งที่รู้ และสิ่งที่อยากรู้เก่ียวกับแบบจ าลองอะตอมของโบร์และแบบจ าลองอะตอมกลุ่มหมอก ลงในกระดาษที่แจกให้ เพ่ือตรวจสอบความเข้าใจเพ่ือใช้เป็นแนวทางในการจัดการเรียนการสอน (KWL)

ขั้นส ารวจและค้นหา (Exploration) 1. จัดกลุ่มนักเรียน 3 คน ที่ประกอบด้วยนักเรียนที่มีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน สูง ปานกลาง และอ่อน

(สร้างผลสัมฤทธิ์ของทีม: Student Teams Achievement Division STAD) 2. ครูแจกใบความรู้ เรื่อง แบบจ าลองอะตอมของโบร์และแบบจ าลองอะตอมกลุ่มหมอก 3. ครูสอนโดยใช้สื่อ Power Point (PPT) เรื่องแบบจ าลองอะตอมของโบร์และแบบจ าลองอะตอมกลุ่ม

หมอก (โดยเว้นให้นักเรียนซักถามและเขียนตอบลงในใบความรู้ฉบับนักเรียนเป็นระยะ) 4. ครูให้นักเรียนคิดเดี่ยว คิดคู่ หรือคิดกลุ่ม (Think Pair Share) ร่วมกันอภิปรายเปรียบเทียบความ

แตกต่างและความเหมือนกันของแบบจ าลองอะตอมทั้ง 5 แบบจ าลองอะตอม จากนั้นบันทึกความเห็นของกลุ่มลงในกระดาษบรู๊ฟแผ่นใหญ่และติดบริเวณท่ีก าหนด

5. นักเรียนแต่ละกลุ่มเดินชมแลกเปลี่ยนเรียนรู้ผลงานของกลุ่มอ่ืน (Gallery walk) อภิปรายและสรุปข้อคิดเห็นของกลุ่ม และเขียนเครื่องหมายในกระดาษค าตอบของเพ่ือน

- เขียนเครื่องหมาย √ หน้าค าตอบที่ถูกต้อง - เขียนเครื่องหมาย X หน้าค าตอบที่ไม่ถูกต้อง - เขียนเครื่องหมาย ? หน้าค าตอบที่ไม่แน่ใจ

Page 7: 04 แบบจำลองอะตอมของโบร์และกลุ่มหมอก

ขั้นอธิบายและลงข้อสรุป (Explanation) 1. ตัวแทนนักเรียนกลุ่มที่ตอบค าถามได้ถูกต้องมากท่ีสุด น าเสนอผลงานหน้าชั้นเรียน 2. ครูน าค าตอบของนักเรียนมาใช้อภิปรายร่วมกับนักเรียนเพื่อสรุปค าตอบ

ขั้นขยายความรู้ (Elaboration) 1. ครูอธิบายเพิ่มเติมว่า เกี่ยวกับการเปรียบเทียบแบบจ าลองอะตอมทั้ง 5 แบบจ าลองอะตอม ที่เป็นประเด็น

ที่นักเรียนยังสงสัย หรือไม่ได้น าเสนอหน้าชั้นเรียน 2. ครูให้นักเรียนแต่ละคนสรุปองค์ความรู้เปรียบเทียบความเหมือนและความแตกต่างระหว่างแบบจ าลอง

อะตอมของโบร์และแบบจ าลองอะตอมกลุ่มหมอก เป็นแบบแผนภาพเวนน์ (Venn Diagrams) ขั้นประเมิน (Evaluation)

นักเรียนเขียนสรุปความรู้ที่ได้รับจากการเรียนรู้ลงในสมุดบันทึกการเรียนรู้ (Learning logs) และ ประเมินผลสะท้อนการเรียนรู้ลงใน 3-2-1 Ticket (Exit Ticket)

8. สื่อ วัสดุ อุปกรณ์/ แหล่งเรียนรู้

1. ใบความรู้ เรื่อง แบบจ าลองอะตอมของโบร์และแบบจ าลองอะตอมกลุ่มหมอก 2. Power Point (PPT) เรื่อง แบบจ าลองอะตอมของโบร์และแบบจ าลองอะตอมกลุ่มหมอก 3. กระดาษบรู๊ฟแผ่นใหญ่ 4. แบบประเมินแผนผังความคิด 6. แบบประเมินการตอบค าถามสะท้อนความคิด

7. แบบประเมินคุณลักษณะอันพึงประสงค์

Page 8: 04 แบบจำลองอะตอมของโบร์และกลุ่มหมอก

บันทึกหลังสอน รหัส-ชื่อรายวิชา ว30131 เคมีพื้นฐาน ชั้น ม.4 กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ แผนการเรียนรู้ เรื่อง แบบจ าลองอะตอมของโบร์และแบบจ าลองอะตอมกลุ่มหมอก โรงเรียนจุฬาภรณราชวิทยาลัย เชียงราย

ประเด็นการบันทึก ผลการใช้แผนการสอน 1. เนื้อหาที่สอน (สอนได้สมบูรณ์ครบถ้วนหรือไม่)

....................................................................................................................

.................................................................................................................... 2. เวลา (เหมาะสมหรือไม่)

....................................................................................................................

....................................................................................... ............................. 3. กิจกรรมที่ใช้สอน (ตามแผนหรือไม่)

....................................................................................................................

........................................................................ ............................................ 4. ปัญหาและอุปสรรค

....................................................................................................................

......................................................................... ........................................... ผลการเรียนของนักเรียน

ชั้น เข้าเรียน (คน) ขาด (คน) ม.4/1 ม.4/2 ม.4/3 ม.4/4 ม.4/5 ม.4/6

ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน ผ่านเกณฑ์…………………………………….

ไม่ผ่านเกณฑ์…………………………………..

การมอบหมายหน้าที่และความรับผิดชอบ ……………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… บรรยากาศในการเรียน……………………………………………………….………………………………………………………………………… ………………………………………………..…………………………………………………………………………………………………………………… ปัญหาและอุปสรรค……………………………………………………….……………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………..………………………………………………………

ลงช่ือ (นางธิดารัตน์ แสงฮวด)