60

1. - reo06.mnre.go.th · รายงานสถานการณ ป 2550 1. ข อมูลทั่วไป 1.1 ที่ตั้งและอาณาเขต พื้นที่รับผิดชอบของส

  • Upload
    others

  • View
    10

  • Download
    0

Embed Size (px)

Citation preview

Page 1: 1. - reo06.mnre.go.th · รายงานสถานการณ ป 2550 1. ข อมูลทั่วไป 1.1 ที่ตั้งและอาณาเขต พื้นที่รับผิดชอบของส
Page 2: 1. - reo06.mnre.go.th · รายงานสถานการณ ป 2550 1. ข อมูลทั่วไป 1.1 ที่ตั้งและอาณาเขต พื้นที่รับผิดชอบของส

รายงานสถานการณ ป 2550

1. ขอมูลทั่วไป

1.1 ท่ีต้ังและอาณาเขต พื้นที่รับผิดชอบของสํานักงานสิ่งแวดลอมภาคที่ 6 นนทบุรี ครอบคลุมพื้นที่ภาคกลางในพื้นที่ลุมน้ําเจาพระยา ประกอบดวย 6 จังหวัด คือ สิงหบุรี อางทอง พระนครศรีอยุธยา ปทุมธานี นนทบุรี และสมุทรปราการ มีพื้นที่รวมกันทั้งหมด 7,499.74 ตารางกิโลเมตร(หรือ 4.69 ลานไร) โดยแสดงขอบเขตจังหวัดดังรูปที่ 1-1 และมีอาณาเขตติดตอ ดังนี้

ทิศเหนือ ติดกับ จังหวดัชัยนาทและนครสวรรค ทิศใต ติดกับ อาวไทย ทิศตะวนัออก ติดกับ จังหวดัลพบุรี สระบุรี นครนายกและฉะเชิงเทรา ทิศตะวนัตก ติดกับ จังหวดัสุพรรณบุรีและนครปฐม

1.2 ลักษณะภูมปิระเทศ สภาพภู มิ ป ระ เทศส วนใหญ เ ป นที่ ร าบลุ มตั้ ง แต จั งหวั ดสิ งห บุ รี อ า งทอง พระนครศรีอยุธยา ปทุมธานี นนทบุรี จนถึงที่ราบชายฝงทะเลในเขตจังหวัดสมุทรปราการ การใชประโยชนที่ดินสวนใหญเปนนาขาว พืชไร ไมผลและไมยืนตน ลักษณะของพื้นที่ลุมน้ํามีความลาดชันและความสูงจากระดับน้ําทะเลปานกลาง (รทก.) ต่ํา จึงทําใหพื้นที่บริเวณชายฝงทะเลไดรับอิทธิพลจากน้ําทะเลหนุนอยูตลอดเวลา นอกจากนี้บริเวณที่เปนที่ราบลุมแมน้ํามักเกิดน้ําทวมขัง สาเหตุมาจากฝนตกหนักและน้ําเหนือไหลหลากจากพื้นที่ตนน้ําตอนบนของประเทศ ทําใหประสบปญหาอุทกภัยเปนประจําทุกป 1.2.1 แมน้ํา/คลองท่ีสําคัญในลุมน้ําเจาพระยา 1) แมน้ําเจาพระยามีจุดกําเนิดอยูที่ตําบลปากน้ําโพ อําเภอเมือง จังหวัดนครสวรรค ไหลจากทิศเหนือลงมาทางตอนใต ผานที่ราบภาคกลางตั้งแตจังหวัดชัยนาท สิงหบุรี อางทอง พระนครศรีอยุธยา ปทุมธานี นนทบุรี และลงสูอาวไทยที่จังหวัดสมุทรปราการ 2) แมน้ํานอย แยกออกจากแมน้ําเจาพระยาที่ตําบลชัยนาท อําเภอเมือง จังหวัดชัยนาท แลวไหลผานจังหวัดสิงหบุรี อางทอง พระนครศรีอยุธยา โดยไหลมาบรรจบกับคลองบางบาลที่บานสีกุก (แมน้ําเจาพระยาสายเดิม) แลวไหลบรรจบกับแมน้ําเจาพระยาที่อําเภอบางไทร จังหวัดพระนครศรีอยุธยา

Page 3: 1. - reo06.mnre.go.th · รายงานสถานการณ ป 2550 1. ข อมูลทั่วไป 1.1 ที่ตั้งและอาณาเขต พื้นที่รับผิดชอบของส

ขอมูลทั่วไป

รายงานสถานการณ ป 2550 1-2

รูปท่ี 1-1 แผนที่ขอบเขตพื้นท่ีรับผิดชอบสาํนักงานสิ่งแวดลอมภาคท่ี 6 นนทบุรี

Page 4: 1. - reo06.mnre.go.th · รายงานสถานการณ ป 2550 1. ข อมูลทั่วไป 1.1 ที่ตั้งและอาณาเขต พื้นที่รับผิดชอบของส

ขอมูลทั่วไป

รายงานสถานการณ ป 2550 1-3

3) แมน้ําลพบุรี แยกออกจากแมน้ําเจาพระยาบริเวณตําบลมวงหมู อําเภอเมือง จังหวัดสิงหบุรี ไหลผานจังหวัดลพบุรีมาบรรจบกับแมน้ําปาสักที่อําเภอพระนครศรีอยุธยา จังหวัดพระนครศรีอยุธยา 4) แมน้ําปาสัก มีตนกําเนิดอยูบริเวณเทือกเขาเพชรบูรณในเขตอําเภอดานซาย จังหวัดเลย และไหลผานจังหวัดเพชรบูรณ ลพบุรี สระบุรี และไหลมาบรรจบกับแมน้ําเจาพระยาในเขตอําเภอพระนครศรีอยุธยา จังหวัดพระนครศรีอยุธยา 5) คลองเชื่อมตอแมน้ําเจาพระยา ไดแก คลองบางปลากด คลองสําโรง คลองพระโขนง คลองลัดหลวง คลองดาวคะนอง คลองบางกอกใหญ คลองมอญ คลองบางกอกนอย และคลองบางกรวย ฯลฯ คลองสวนใหญอยูในจังหวัดสมุทรปราการและนนทบุรี นอกจากนี้ลักษณะของพื้นที่ลุมน้ําเจาพระยาตอนลาง เปนแหลงรองรับน้ําจากพื้นที่ตนน้ําตอนบนของประเทศ ดังนั้นจึงไดรับอิทธิพลจากแมน้ําหลายสาย สําหรับแมน้ําที่สําคัญในลุมน้ําเจาพระยา แสดงดังรูปที่ 1-2

1.3 ลักษณะภูมิอากาศ สภาพภูมิอากาศในพื้นที่โดยทั่วไปอยูภายใตอิทธิพลของลมมรสุมตะวันตกเฉียงใตและลมมรสุมตะวันออกเฉียงเหนือ จึงทําใหเกิดฤดูกาล 3 ฤดู คือ 1) ฤดูฝนตั้งแตเดือนพฤษภาคมถึงเดือนตุลาคม 2) ฤดูหนาวตัง้แตเดือนพฤศจิกายนถึงกลางเดือนกุมภาพนัธ 3) ฤดูรอนตั้งแตกลางเดือนกุมภาพนัธจนถึงตนเดือนพฤษภาคม

ตารางที่ 1-1 ขอมูลลักษณะภูมิอากาศในพืน้ท่ี

จังหวัด ปริมาณฝนรายปเฉล่ีย (มม.)

จํานวนวันท่ีฝนตก (วัน)

อุณหภูมิ (องศาเซลเซียส)

ความชื้นสัมพทัธ(เปอรเซ็นต)

สิงหบุรี 1,013.00 66 38.00 – 16.40 69.44 อางทอง 1,539.70 54 33.80 – 23.54 71.38 พระนครศรีอยธุยา 1,304.30 102 33.69 – 23.21 73.18 ปทุมธานี 1,431.90 133 34.08 – 24.20 66.50 นนทบุรี 1,126.20 90 33.40 – 25.60 68.70 สมุทรปราการ 940.10 99 30.73 – 26.43 70.58 ที่มา : กรมอุตุนิยมวิทยา, 2549

Page 5: 1. - reo06.mnre.go.th · รายงานสถานการณ ป 2550 1. ข อมูลทั่วไป 1.1 ที่ตั้งและอาณาเขต พื้นที่รับผิดชอบของส

ขอมูลทั่วไป

รายงานสถานการณ ป 2550 1-4

จากขอมูลลักษณะภูมิอากาศในตารางที่ 1-1 แสดงใหเห็นวา ปริมาณน้ําฝนที่ตกในพื้นที่รับผิดชอบของสํานักงานฯ มีปริมาณนอย เฉลี่ยทั้งปอยูระหวาง 940.10-1,539.70 มิลลิเมตร มีอุณหภูมิเฉลี่ยอยูระหวาง 38.00 – 16.40 องศาเซลเซียส และมีความชื้นสัมพัทธอยูระหวาง 66.50-73.18 เปอรเซ็นต นอกจากนี้มีพายุฝนฟาคะนอง จนทําใหเกิดพายุไดเปนครั้งคราว โดยเฉพาะในชวงมรสุม

1.4 ประชากรและการปกครอง 1.4.1 ประชากร จํานวนประชากรในพื้นที่รับผิดชอบ 6 จังหวัด ในป 2547 , 2548 และ2549 มีประมาณ 4,005,191 4,113,346 และ 4,223,528 คน ตามลําดับ มีความหนาแนนของประชากรเฉลี่ย 651 , 669 และ 687 คนตอตารางกิโลเมตร ตามลําดับ โดยจํานวนประชากรมีแนวโนมเพิ่มมากขึ้น เมื่อเปรียบเทียบขอมูลรายจังหวัด พบวา จังหวัดที่มีประชากรมากที่สุด คือ จังหวัดสมุทรปราการ โดยในป 2547 , 2548 และ2549 มีจํานวนประชากรประมาณ 1,049,416 1,077,523 และ 1,107,626 คน ตามลําดับ และจังหวัดที่มีประชากรนอยที่สุด คือ จังหวัดสิงหบุรี โดยในป 2547 , 2548 และ2549 มีจํานวนประชากรประมาณ 220,121 217,744 และ 216,969 คน ตามลําดับ รายละเอียดดังตารางที่ 1-2 1.4.2 การปกครอง เขตการปกครองในพืน้ที่รับผิดชอบ 6 จังหวดั แบงออกเปน 2 สวนดังนี ้ 1) การปกครองสวนภูมิภาค ประกอบดวย 6 จังหวัด 47 อําเภอ 1 กิ่งอําเภอ 487 ตําบล 3,548 หมูบาน 2) การปกครองสวนทองถ่ิน ประกอบดวย องคการบริหารสวนจังหวัด 6 แหง เทศบาลนคร/เทศบาลเมือง/เทศบาลตําบล 83 แหง และองคการบริหารสวนตําบล 347 แหง รายละเอียดดังตารางที่ 1-3

Page 6: 1. - reo06.mnre.go.th · รายงานสถานการณ ป 2550 1. ข อมูลทั่วไป 1.1 ที่ตั้งและอาณาเขต พื้นที่รับผิดชอบของส

ขอมูลทั่วไป

รายงานสถานการณ ป 2550 1-5

ตารางที่ 1-2 จํานวนประชากรในป 2547-2549

ป 2547 ป 2548 ป 2549 จํานวนประชากร (คน) จํานวนประชากร (คน) จํานวนประชากร (คน)

จังหวัด

พื้นท่ี

(ตร.กม.) ชาย หญิง รวม ความ

หนาแนน(คน/ ตร.กม.)

ชาย หญิง รวม ความ

หนาแนน(คน/

ตร.กม.)

ชาย หญิง รวม ความ

หนาแนน(คน/

ตร.กม.) สิงหบุรี 822.48 105,704 114,417 220,121 267 104,407 113,337 217,744 264 103,902 113,067 216,969 263 อางทอง 968.37 136,400 146,567 282,967 292 136,699 147,079 283,778 293 136,657 147,286 283,943 293 พระนคร- ศรีอยุธยา

2,556.64 359,212 381,185 740,397 289 361,947 384,972 746,919 292 365,173 389,422 754,595 295

ปทุมธานี 1,525.86 371,021 398,977 769,998 504 391,909 423,493 815,402 534 412,882 448,456 861,338 564 นนทบุรี 622.30 448,399 493,893 942,292 1,514 462,010 510,270 972,280 1,562 473,790 525,267 999,057 1,605

สมุทรปราการ 1,004.09 508,858 540,558 1,049,416 1,045 523,247 554,276 1,077,523 1,073 538,638 568,988 1,107,626 1,103

รวม 7,499.74 1,929,594 2,075,597 4,005,191 651 1,980,219 2,133,127 4,113,346 669 2,031,042 2,192,486 4,223,528 687

ที่มา : www.dopa.go.th , กรกฎาคม 2550

ตารางที่ 1-3 เขตการปกครองในพืน้ท่ี

เขตการปกครอง สวนภูมิภาค (แหง) สวนทองถิ่น (แหง)

จังหวัด อําเภอ / ก่ิงอําเภอ

ตําบล หมูบาน เทศบาล อบต.

สิงหบุรี 6 43 364 7 38 อางทอง 7 73 513 10 55 พระนครศรีอยุธยา 16 209 1,452 29 129 ปทุมธานี 7 60 529 14 51 นนทบุรี 6 52 326 10 35 สมุทรปราการ 5/1 50 399 16 32

รวม 48 487 3,523 86 340

ที่มา : www.dopa.go.th , กรกฎาคม 2550

Page 7: 1. - reo06.mnre.go.th · รายงานสถานการณ ป 2550 1. ข อมูลทั่วไป 1.1 ที่ตั้งและอาณาเขต พื้นที่รับผิดชอบของส

ขอมูลทั่วไป

รายงานสถานการณ ป 2550 1-6

1.5 สภาพสังคมและเศรษฐกจิ สภาพทางสังคมและเศรษฐกิจในพื้นที่ 6 จังหวัด (สิงหบุรี อางทอง พระนครศรีอยุธยา ปทุมธานี นนทบุรี และสมุทรปราการ) สรุปขอมูลไดดังนี้

อาชีพ ประชากรสวนใหญในพื้นที่ 6 จังหวัด ประกอบอาชีพรับจาง รองลงมาคือ อาชีพเกษตรกรรม ไดแก ทํานา ทําไร ทําสวน เล้ียงสัตว และประมง นอกจากนั้นประกอบอาชีพรับราชการ/รัฐวิสาหกิจและอื่นๆ

การศึกษา มีสถานศึกษาในระบบ 1,720 แหง ประกอบดวย สถานศึกษาระดับกอนประถม-มัธยมศึกษา 1,628 แหง และสถานศึกษาระดับอาชีวศึกษาและอุดมศึกษา 92 แหง มีครูทั้งสิ้น 32,726 คน , นักเรียน 707,033 คน , จํานวนหองเรียน 23,138 หอง , มีอัตราสวนระหวางนักเรียนตอหองเรียนเฉลี่ยเทากับ 31 : 1 และนักเรียนตอครูเฉลี่ยเทากับ 23 : 1 กลาวไดวาสภาพทางการศึกษาในพื้นที่ทั้ง 6 จังหวัดโดยรวมดีกวาเกณฑมาตรฐานการวัดทางสังคมดานการศึกษาที่กําหนดไวในแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติ โดยกําหนดใหมีอัตราสวนระหวางนักเรียนตอหองเรียนเทากับ 40 : 1 และนักเรียนตอครูเทากับ 25 : 1

ศาสนา ประชาชนสวนใหญนับถือศาสนาพุทธ โดยมีศาสนสถานรวมทั้งหมด 1,498 แหง ไดแก วัด 1,336 แหง , สํานักสงฆ 24 แหง , โบสถคริสต 19 แหง และมัสยิด 119 แหง และมีพระภิกษุรวม 16,400 รูป , สามเณร 4,525 รูป (ยังไมไดรวมขอมูลพระภิกษุและสามเณรของจังหวัดสมุทรปราการ)

การสาธารณสุข มีสถานพยาบาล 1,856 แหง แยกเปนโรงพยาบาลของรัฐบาล 54 แหง , โรงพยาบาลเอกชน 45 แหง , สถานีอนามัย 545 แหง และคลินิกทุกประเภท 1,212 แหง มีบุคลากรดานสาธารณสุข 7,402 คน ประกอบดวย แพทย 1,142 คน , ทันตแพทย 202 คน และพยาบาลวิชาชีพ 6,058 คน , มีอัตราสวนแพทย 1 คน ตอประชากร 3,626 คน ทันตแพทย 1 คน ตอประชากร 19,073 คน ตามลําดับ และมีอัตราสวนจํานวนเตียงผูปวยตอประชากร คือ 1 : 329 (เตียงตอคน)

Page 8: 1. - reo06.mnre.go.th · รายงานสถานการณ ป 2550 1. ข อมูลทั่วไป 1.1 ที่ตั้งและอาณาเขต พื้นที่รับผิดชอบของส

ขอมูลทั่วไป

รายงานสถานการณ ป 2550 1-7

สภาพเศรษฐกิจ พบวา มูลคาผลิตภัณฑมวลรวม(GDP)ในพื้นที่ 6 จังหวัด มีมูลคารวมประมาณ 777,725 ลานบาท , รายไดเฉลี่ยตอหัว(มูลคาผลิตภัณฑเฉลี่ย) 166,204.5 บาท/ป ซ่ึงสูงกวามูลคาผลิตภัณฑเฉลี่ยของประเทศ (85,951 บาท/คน/ป) สําหรับรายไดของประชาชนสวนใหญมาจากภาคนอกเกษตร ประมาณ 752,111 ลานบาท ไดแก 1) สาขาการผลิตอุตสาหกรรม ประมาณ 558,628 ลานบาท ซ่ึงมีสัดสวนมากที่สุด 2) สาขาการขายสง/ขายปลีกฯ ประมาณ 48,224 ลานบาท และรายไดจากภาคการเกษตร ประมาณ 25,614 ลานบาท (กรมทรัพยากรน้ํา,2548) นอกจากนี้ไดจากรายไดอ่ืนๆ

Page 9: 1. - reo06.mnre.go.th · รายงานสถานการณ ป 2550 1. ข อมูลทั่วไป 1.1 ที่ตั้งและอาณาเขต พื้นที่รับผิดชอบของส

รายงานสถานการณ ป 2550

2.สิ่งแวดลอมเมืองและชุมชน 2.1 ความเปนมา

ปจจุบันประเทศไทยไดใหความสําคัญกับการบริหารจัดการทรัพยากรธรรมชาติและส่ิงแวดลอม ตลอดจนการพัฒนาพื้นที่สีเขียวในเขตเมืองและพื้นที่รอบเมืองเพื่อสรางสมดุลของส่ิงแวดลอม และระบบนิเวศของเมือง โดยเฉพาะในชุมชนเมืองขนาดใหญ ซ่ึงเทศบาลทุกแหงไดใหความสําคัญตอการพัฒนาพื้นที่สีเขียว เนื่องจากเปนภารกิจหนึ่งของเทศบาลที่ไดมีการกําหนดไวในพระราชบัญญัติเทศบาล พ.ศ.2496 นอกจากนั้นการพัฒนาพื้นที่สีเขียวในชุมชนยังถือเปนตัวช้ีวัดหนึ่งที่สามารถบงบอกถึงคุณภาพชีวิตของประชาชนในชุมชน ซ่ึงเปนลักษณะหนึ่งของเมืองนาอยู ดังนั้น จึงมีความจําเปนที่จะตองมีการดําเนินงานวางแผนและจัดการ เพื่อเสริมสรางใหมีพื้นที่สีเขียวในเมือง โดยเนนการเพิ่มพื้นที่สีเขียวในบทบาทและคุณคาที่สงเสริมสนับสนุนซึ่งกันและกันของพื้นที่ สีเขียวประเภทตาง ๆ ทั้งในเชิงคุณภาพและปริมาณใหเพียงพอที่จะเสริมสรางสภาพแวดลอม และภูมิทัศนของเมือง ตลอดจนเนนการเสริมสรางระบบนิเวศเมืองและคุณภาพชีวิตของประชากรใหดียิ่งขึ้น

2.2 พื้นที่สีเขียว

หมายถึง พื้นที่กลางแจง และกึ่งกลางแจงที่มีขอบเขตที่ดินทั้งหมดหรือบางสวนปกคลุมดวยพืชพรรณที่ปลูกบนดินที่ซึมน้ําได โดยที่ดินนั้นอาจมีส่ิงปลูกสรางหรือพื้นผิวแข็งที่ไมซึมน้ํารวมอยูหรือไมก็ได หมายรวมถึงพื้นที่สีเขียวในเขตเมืองและนอกเขตนอกเมือง อาจเปนพื้นที่สาธารณะหรือเอกชนที่สาธารณะชนสามารถใชประโยชน ประกอบดวยพื้นที่สีเขียวเพื่อนันทนาการและความงามทางภูมิทัศน พื้นที่อรรถประโยชน เชน พื้นที่เกษตรกรรมและพื้นที่สาธารณูปการ พื้นที่แนวกันชน พื้นที่สีเขียวในสถาบันตาง ๆ พื้นที่ธรรมชาติและกึ่งธรรมชาติอันเปนถ่ินที่อยูของส่ิงมีชีวิต ไดแก พื้นที่ปา พื้นที่ชุมน้ํา รวมถึงพื้นที่ชายหาด พื้นที่ริมน้ํา พื้นที่ที่เปนร้ิวยาวตามแนวเสนทางคมนาคมทางบก ทางน้ํา และแนวสาธารณูปการตาง ๆ หรือพื้นที่อ่ืน ๆ เชน พื้นที่สีเขียวที่ปลอยรกราง พื้นที่สีเขียวที่ถูกรบกวนสภาพธรรมชาติ และพื้นที่สีเขียวที่มีการใชประโยชนผสมผสานกัน โดยสรุปความหมายของพื้นที่สีเขียวในชุมชนแบงออกเปน 2 นัย คือ พื้นที่สีเขียวตามกฎกระทรวงบังคับใชผังเมืองรวมของการใชที่ดินประเภทชนบทและเกษตรกรรม และพื้นที่สีเขียวเพื่อการนันทนาการและการอนุรักษส่ิงแวดลอม ที่ส่ือความหมายในเชิงบวกตอการพัฒนาคุณภาพชีวิตของประชาชนโดยภาพรวมแบงตามประเภทพื้นที่สีเขียวดังนี้

Page 10: 1. - reo06.mnre.go.th · รายงานสถานการณ ป 2550 1. ข อมูลทั่วไป 1.1 ที่ตั้งและอาณาเขต พื้นที่รับผิดชอบของส

สิ่งแวดลอมเมืองและชุมชน

รายงานสถานการณ ป 2550 2-2

1) แถบสีเขียว (Green Belt) Green Belt ไดถูกนํามาใชพรอมกับแนวคิดในการวางผังเมือง โดยใชแนวคิดลักษณะทางธรรมชาติมาใชในการแบงสวนหรือประเภทการใชที่ดินใหแยกออกจากกัน เพื่อวัตถุประสงคในการแบงขอบเขตและเปนตัวปดกั้นปดลอมผลกระทบจากการใชที่ดินประเภทตาง ๆ

2) พื้นท่ีสีเขียวในเมือง (Urban Greenery) 2.1) พื้ นที่ สี เ ขี ย ว ริ มแม น้ํ า ลํ า คลอง คื อ บ ริ เ วณ ริมแม น้ํ า ลํ า คลองที่ เ ป นที่สาธารณประโยชนนํามาจัดใหมีการปลูกตนไมยืนตน หรืออาจจะมีการจัดภูมิทัศนใหสวยงามรวมดวย ซ่ึงประโยชนที่ไดรับใชเปนแนวกันชนจากการบุกรุกพื้นที่ ชวยชะลอการไหลของน้ําในฤดูฝน ลดการกัดเซาะหนาดินและริมตลิ่ง และยังชวยอุมน้ําไวในดินดวย 2.2) สวนสาธารณะ คือ พื้นที่เฉพาะที่ทองถ่ินจัดเปนสวนสาธารณะเมือง โดยการจัดภูมิทัศนและปลูกตนไมยืนตนใหเปนองคประกอบหลัก โดยมีการจัดแบงพื้นที่โลงใหพอเหมาะและสวยงาม ประโยชนที่ไดรับจะเปนแหลงเพิ่มออกซิเจนและกรองมลพิษอากาศ และยังใชเพื่อการพักผอนหยอนใจ 2 .3) สวนหยอม หมายถึง พื้นที่ขนาดเล็กที่ ไมได ใชประโยชนหรือที่สวนสาธารณประโยชนขนาดเล็กที่จะจัดใหมีการปลูกตนไมในพื้นที่ เชน ริมถนน เกาะกลางถนน หรือพื้นที่วางตาง ๆ ในสถานที่ราชการ วัด โรงเรียน เปนตน ซ่ึงสวนใหญจะใชประโยชนเพื่อความสวยงาม 2.4) ปาไมในเมือง หมายถึง พื้นที่สาธารณะขนาดใหญในเขตเมืองที่มีตนไมยืนตน ที่ควรอนุรักษไว ซ่ึงจะเปนประโยชนตอประชาชนในการเพิ่มพื้นที่สีเขียว 2.5) สวนปาริมทาง เปนสวนปาประเภทเดียวที่ไมไดปลูกตนไมเปนแปลงตาง ๆ (ดังคํานิยามของคําวา สวนปา) เพราะอาจเปนเพียงการปลูกตนไมเพียงแถวเดียวขนานกันไปกับแนวถนนก็ได และตางไปจากที่พักริมทาง (Rest Areas) ของกรมทางหลวง ซ่ึงปลูกหรือตกแตงสถานที่ริมทางหลวงเปนจุด ๆ คลายสวนหยอมตนไมที่ปลูกในสวนปาริมทาง นอกจากจะใหความรมร่ืนแลวยังใหความสวยงามแกเสนทางสัญจรอีกดวย จึงตองมีความพิถีพิถันในการเลือกรูปทรง สีสัน และเรือนยอดระบบรากของตนไมพอสมควร เมื่อตนไมถึงอายุตัดฟนก็อาจจะตัดฟนมาใชประโยชนได แตตองปลูกทดแทนภายหลังการตัดฟน คุณประโยชนของตนไมริมทางไมเพียงแตใหรมเงาแกผูใชถนนหรือสัญจรไปมาเทานั้น ตนไมริมทาง ยังทําหนาที่เปนเครื่องชี้แนวทางบอกความกวางของถนน ชวยปองกันทรายพัดพาไปทับบนถนนเปนแนวปองกันลม เปนที่อยูอาศัยของนกและเมื่อดอกไมบานก็มีโอกาสใหผ้ึงทํารังได รวมทั้ง ผลอาจใชเปนอาหารของคนและสัตวก็ได นอกจากนั้น ตนไมริมทางในตัวเมืองใหญ ๆ ยังมีบทบาทอยางมากในอันที่จะชวยลดควันพิษจากยานพาหนะลงไดดวย

Page 11: 1. - reo06.mnre.go.th · รายงานสถานการณ ป 2550 1. ข อมูลทั่วไป 1.1 ที่ตั้งและอาณาเขต พื้นที่รับผิดชอบของส

สิ่งแวดลอมเมืองและชุมชน

รายงานสถานการณ ป 2550 2-3

2.3 ความสําคัญและประโยชนของพื้นที่สีเขียว 1. ชวยบรรเทาปญหาภาวะโลกรอน 2. เพื่อเปนแหลงนันทนาการ และสถานที่พักผอนหยอนใจของคนในชุมชนทุกเพศทุกวัย 3. พืชพรรณในพื้นที่สีเขียวชวยลดอุณหภูมิของเมืองที่เกิดจากการพัฒนาสิ่งกอสรางในเมือง 4. เปนถ่ินที่อยูอาศัยของ นก ปลา แมลง และสัตวอ่ืน ๆ เปนทางสีเขียวเชื่อมโยงแหลงที่อยูอาศัยเขาดวยกัน และ ชวยปองกันการกัดเซาะพังทลายของดนิ ชวยปรับปรุงระบบการระบายน้ํา 5. ชวยลดเสียงรบกวนลงได โดยอาศัยพุมใบที่หนาทึบของไมยืนตน และไมพุมที่ชวยดูดซับมลภาวะทางเสียง 6. เปนสิ่งเชื่อมโยงผูคนใหไดสัมผัสกับธรรมชาติอยางใกลชิด ทําใหเปนเมือง/ชุมชนนาอยูอยางยั่งยืน

2.4 ประเภทของพื้นที่สีเขียว การจําแนกประเภทพื้นที่สีเขียว แบงออกเปน 6 ประเภท ดังนี้ 1. พื้นที่สีเขียวเพื่อนันทนาการและความงามทางภูมิทัศน เชน สวนสาธารณะระดับตาง ๆ สวนพฤกษศาสตร สวนสัตว เปนตน 2. พื้นที่สีเขียวอรรถประโยชน เชน นาขาว แปลงพืชสวน พื้นที่จอดรถ พื้นที่ฝงกลบและทิ้งขยะ เปนตน 3. พื้นที่สีเขียวเพื่อการอนุรักษ เชน พื้นที่ชุมน้ํา พื้นที่ปา ถ่ินอาศัยอ่ืน ๆ เปนตน 4. พื้นที่สีเขียวที่เปนร้ิวยาว เชน ฝงแมน้ําและฝงคลอง ร้ิวแนวทางเดิน เขตทางรถไฟ เขตทางหลวง เปนตน 5. พื้นที่สีเขียวอ่ืน ๆ เชน ที่ดินวางเปลา พื้นที่ยานการคารกราง พื้นที่ที่ถูกรบกวนสภาพธรรมชาติ เปนตน 6. พื้นที่สีเขียวพิเศษ เชน พิพิธภัณฑธรรมชาติที่มีชีวิต แหลงเรียนรูพืชพรรณธรรมชาติ เปนตน

2.5 แนวทางการพัฒนาพื้นที่สีเขียว แนวคิดตนแบบพัฒนาบนหลักการของ “Water Sensitive Design” ที่คํานึงถึงการออกแบบวางผังและการบริหารจัดการพื้นที่ในดานการจัดการระบบน้ํา เพื่อใหเกิดดุลยภาพของระบบนิเวศธรรมชาติมากที่สุด ซ่ึงสอดคลองกับแนวพระราชดําริของพระบาทสมเด็จพระเจาอยูหัว ที่ไดพระราชทานแกปวงชนชาวไทยและยังทรงงานอยูเพื่อแกปญหาภัยแลงและน้ําทวมของประเทศไทยอยูตราบจนทุกวันนี้ ประกอบกับเทคนิคแนวใหมทางภูมิสถาปตยกรรมที่เปน “Soft Approach”

Page 12: 1. - reo06.mnre.go.th · รายงานสถานการณ ป 2550 1. ข อมูลทั่วไป 1.1 ที่ตั้งและอาณาเขต พื้นที่รับผิดชอบของส

สิ่งแวดลอมเมืองและชุมชน

รายงานสถานการณ ป 2550 2-4

หลักการสําคัญของ “Water Sensitive Design” ซ่ึงเปนแนวปฏิบัติที่ดีที่สุดในการบริหารจัดการส่ิงแวดลอมเกี่ยวกับน้ําฝนในเมือง ประกอบดวย 1. การปกปองสภาพธรรมชาติ 2. การบูรณาการ การจัดการน้ําฝนใหเขากับภูมิทัศน 3. การรักษาคุณภาพน้ํา 4. การลดปริมาณน้ําไหลบาและอัตราการไหลสูงสุด และ 5. การสรางมูลคาเพิ่มในขณะที่ลดการลงทุนตองบประมาณการสรางระบบระบายน้ําของเมือง แนวคิดอื่น ๆ ที่เกี่ยวของเพื่อสรางนวัตกรรมใหมของการพัฒนาพื้นที่สีเขียวเพิ่มเติม ไดแก การเชื่อมโยงระบบเครือขายพื้นที่สีเขียว (Green Web) ดวยระบบเสนทาง (Corridors) ที่เนนความเปนสีเขียว (Greenways) การกําหนดกิจกรรมใหเหมาะสมกับพื้นที่สีเขียวแตละประเภท สอดคลองกับการกําหนดกิจกรรมใหเหมาะสมกับพื้นที่สีเขียวแตละประเภท สอดคลองกับลักษณะเฉพาะของพื้นที่และเอกลักษณของชุมชน เปนการแยกกลุมกิจกรรมตามประเภทของพื้นที่สีเขียว (Green Cluster) การเลือกใชพืชพรรณที่มีขนาดและหนาที่ใชสอยครบ เนนชนิดพันธุทองถ่ินเปนหลัก การออกแบบที่มีสัดสวนของพื้นที่ซับน้ําตามหลักการ “Water Sensitive Design” ที่คํานึงถึงลักษณะภูมิประเทศ และที่สําคัญคือการบริหารจัดการพื้นที่สีเขียวภายใตแนวคิด Good Practice Management ที่มีการจัดทําคูมือและแนวปฏิบัติ (Guideline) ที่สามารถติดตามประเมินผลไดตลอดเวลา

Page 13: 1. - reo06.mnre.go.th · รายงานสถานการณ ป 2550 1. ข อมูลทั่วไป 1.1 ที่ตั้งและอาณาเขต พื้นที่รับผิดชอบของส

สิ่งแวดลอมเมืองและชุมชน

รายงานสถานการณ ป 2550 2-5

2.6 แผนงาน โครงการ และการจัดการพื้นที่สีเขียว เปนองคประกอบที่สะทอนถึงคุณลักษณะความเปนชุมชนเมืองที่ดี มีแผนงาน โครงการและการจัดระบบพื้นที่สีเขียวที่ดี เนนการมีสวนรวมและความโปรงใส มีตัวช้ีวัดที่เกี่ยวของกันในดานของการจัดทําแผนงาน โครงการ การบริหารจัดการ การดูแลรักษา และการควบคุมดวยขอกําหนดและกฎหมาย ตลอดจนการมีสวนรวมของประชาชนในงานตาง ๆ ที่เกี่ยวของกับพื้นที่สีเขียวของชุมชนเมือง ไดแก

จํานวนแผนงานและโครงการที่เกี่ยวของกับพื้นที่สีเขียวของเมือง จํานวนแผนงานของพื้นที่สีเขียวที่มีการบูรณาการ (Integration) ระหวางหนวยงานดวยกัน

รอยละของงบประมาณในการพัฒนาพื้นที่สีเขียวของชุมชนเมือง รอยละของงบประมาณในการดูแลรักษาพื้นที่สีเขียวของชุมชนเมือง จํานวนครั้งของการปรับปรุงระบบฐานขอมูลพื้นที่สีเขียว จํานวนผูเขาใชระบบสารสนเทศ ฐานขอมูลพื้นที่สีเขียวและฐานขอมูลพืชพรรณ จํานวนบุคลากรทางดานภูมิทัศนหรือภูมิสถาปตยกรรมของหนวยงานทองถ่ิน จํานวนครั้งที่บุคลากรเขารับการฝกอบรมเพิ่มพูนความรูเกี่ยวกับพื้นที่สีเขียว จํานวนครั้งที่บุคลากรเขารับการศึกษาดูงานเกี่ยวกับการจัดการพื้นที่สีเขียวของชุมชนเมือง

รอยละของการมีสวนรวมของประชาชนในโครงการที่เกี่ยวของกับพื้นที่สีเขียวของชุมชนเมือง

จํานวนขอกําหนดและกฎหมายที่เกี่ยวของกับพื้นที่สีเขียวของชุมชนเมือง สภาพความสมบูรณและความเสียหายของตนไมในพื้นที่สีเขียว เพื่อการดูแลและการจัดการอยางยั่งยืน

Page 14: 1. - reo06.mnre.go.th · รายงานสถานการณ ป 2550 1. ข อมูลทั่วไป 1.1 ที่ตั้งและอาณาเขต พื้นที่รับผิดชอบของส

สิ่งแวดลอมเมืองและชุมชน

รายงานสถานการณ ป 2550 2-6

2.7 สถานการณการจัดการพื้นที่สีเขียว

จังหวัดนนทบุรี

จังหวัดนนทบุรีมีพื้นที่สีเขียวจํานวน 322,893 ไรคิดเปนรอยละ 79 ของพื้นที่ทั้งจังหวัดซ่ึงเปนพื้นที่สีเขียวประเภทพื้นที่บริหารมี 2 รูปแบบ คือ 1) รูปแบบสวนสาธารณะขนาดใหญและสนามกีฬาของจังหวัด ซ่ึงมีความสอดคลองกับพฤติกรรมของคนเมืองที่ตองมีสถานที่พักผอนหยอนใจออกกําลังกายในเวลาวาง และ 2) พื้นที่นันทนาการขนาดเล็ก เชน สนามเด็กเลน สนามกีฬาชุมชน สวนสุขภาพ เปนตน เปนพื้นที่จํานวน 946.419 ไร คิดเปนรอยละ 0.30 ของพื้นที่ทั้งจังหวัดเมื่อเปรียบเทียบกับเกณฑมาตรฐานตามแผนที่กรมผังเมือง สวนสาธารณะควรจะมีขนาด 1.80 ไร ตอประชากร 1,000 คน พบวามีพื้นที่สวนสาธารณะประมาณเพียงครึ่งหนึ่งตามเกณฑมาตรฐาน ในแผนปฏิบัติการเพื่อการจัดการคุณภาพสิ่งแวดลอม ปงบประมาณ พ.ศ. 2551-2554 ไดมีแผนงาน/โครงการ จํานวน 70 โครงการที่เกี่ยวของกับการจัดการสิ่งแวดลอมเมืองและชุมชน ภายใตแนวทาง

1. เพิ่มพื้นที่สีเขียว 2. ปรับปรุงภูมิทัศน และฟนฟูสภาพพื้นที่สีเขียวที่มีอยูเดิม

จังหวัดสมุทรปราการ

สถานการณปาไมในปจจุบันพบวาในพื้นที่จังหวัดสมุทรปราการ ไมมีการประกาศเปนเขตปาสงวนแหงชาติ จากการสํารวจขอมูลเกี่ยวกับโครงการพื้นที่ปาชายเลนเขตอนุรักษในทองที่จังหวัดสมุทรปราการ พบวาสภาพพื้นที่ชายฝงทะเลตะวันออก (ริมถนนสุขุมวิท) ตั้งแตตําบลปากน้ํา อําเภอเมืองสมุทรปราการ ไปจนถึงตําบลคลองดาน อําเภอบางบอ สภาพโดยทั่วไปบางแหงถูกน้ําทะเลกัดเซาะพังทลาย บริเวณตั้งแตหาดอัมราจนถึงคลองดาน ตลอดแนวชายฝงมีไมโกงกาง ไมโปรง และไมแสม ขึ้นเปนหยอม เชน บริเวณหาดอัมรา สวางคนิวาส บางเมฆขาว บางเสาธง บางปู เฉพาะบริเวณบางปู ตําบลปางปูใหม อําเภอเมือง สมุทรปราการ มีพื้นที่ปาชายเลนเนื้อที่ประมาณ 487 ไร มีไมโกงกางขึ้นอยูทั่วไป เปนที่ราชพัสดุกระทรวงการคลัง อยูในความดูแลของกองทัพบก

สําหรับพื้นที่ชายฝงทะเลตะวันตก ตั้งแตปอมพระจุลจอมเกลา ตําบลแหลมฟาผา อําเภอพระสมุทรเจดีย ริมทะเล โดยท่ัวไปตลอดแนวมีไมโกงกางขึ้นอยูประปราย เปนพื้นที่ที่มีเอกสารสิทธิ์ สําหรับบริเวณปอมพระจุลจอมเกลา เนื้อที่ประมาณ 1,650 ไร อยูในความดูแลของกองทัพเรือ และเนื้อที่ปาไมซ่ึงเปนปาชายเลนทั้งหมดของทั้งจังหวัด ในป 2544 มีจํานวน 1,856.25 ไร หรือประมาณ 2.97% ของเนื้อที่ทั้งหมดของจังหวัด

Page 15: 1. - reo06.mnre.go.th · รายงานสถานการณ ป 2550 1. ข อมูลทั่วไป 1.1 ที่ตั้งและอาณาเขต พื้นที่รับผิดชอบของส

สิ่งแวดลอมเมืองและชุมชน

รายงานสถานการณ ป 2550 2-7

ในแผนปฏิบัติการเพื่อการจัดการคุณภาพสิ่งแวดลอม ปงบประมาณ พ.ศ. 2551-2554 ไดมีแผนงาน/โครงการ การจัดการสิ่งแวดลอมเมือง ภายใตแผนงานการรณรงคและการมีสวนรวมของทุกภาคสวน จํานวน 11 โครงการ

จังหวัดปทุมธานี

ในป พ.ศ. 2541 ที่ผานมาหนวยงานที่เกี่ยวของ อาทิเชน สํานักงานปาไมจังหวัดปทุมธานี สํานักงานปาไมอําเภอธัญบุรี ดานปาไมลาดหลุมแกว สังกัดสํานักปองกันและปราบปราม เขตหามลาสัตวปาวัดไผลอมและวัดอัมพุวราราม สังกัดสํานักอนุรักษทรัพยากรธรรมชาติ หนวยสงเสริมการเพาะชํากลาไมที่ 4 จังหวัดปทุมธานี สังกัดสํานักสงเสริมการปลูกปา ไดดําเนินการขึ้นทะเบียนเปนสวนปา 496.225 ไร คิดเปนพื้นที่ 0.052% ของเนื้อที่ทั้งหมด มีแปลงปลูกปาตามโครงการปลูกปาถาวรเฉลิมพระเกียรติฯ 6.944.05 ไร คิดเปนพื้นที่ 0.728% ของเนื้อที่ทั้งหมด และมีสวนปาตามโครงการสงเสริมปลูกไมเศรษฐกิจ 50 ไร คิดเปนพื้นที่ 0.0052% ของเนื้อที่ทั้งหมด

ในแผนปฏิบัติการเพื่อการจัดการคุณภาพสิ่งแวดลอม ปงบประมาณ พ.ศ. 2551-2554 ไดมีแผนงาน/โครงการจํานวน 11 โครงการ ที่เกี่ยวของกับการจัดการสิ่งแวดลอมเมือง ภายใตแผนงานการรณรงคและการมีสวนรวมของทุกภาคสวน

จังหวัดพระนครศรีอยุธยา

พื้นที่สวนใหญเปนพื้นที่เกษตรกรรมที่เหลือเปนเขตชุมชนและที่อยูอาศัย เขตพื้นที่สาธารณประโยชนและแหลงทองเที่ยว เปนตน แตอยางไรก็ตามหนวยงานที่เกี่ยวของไดมีการดําเนินการปลูกตนไมเพื่อเพิ่มพื้นที่สีเขียว

ในแผนปฏิบัติการเพื่อการจัดการคุณภาพสิ่งแวดลอม ปงบประมาณ พ.ศ. 2551-2554 ไดมีแผนงาน/โครงการ การจัดการสิ่งแวดลอมเมือง จํานวน 2 โครงการภายใตแผน 2 แผน คือ

1. แผนกํากับดูแลและฟนฟูทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม 2. แผนงานเพิ่มประสิทธิภาพการบริหารจัดการทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม

จังหวัดอางทอง

จังหวัดอางทองไมมีปาสงวนแหงชาติ อุทยานแหงชาติแตอยางใด พื้นที่ปาไมธรรมชาติจะมีอยูตามวัด ปาริมหนองน้ําและบริเวณที่ดินของเอกชน ซ่ึงทิ้งรางเอาไว แตมีอยูไมมากนัก กลุมปฏิบัติภารกิจในราชการบริหารสวนภูมิภาค (ดานปาไม) จังหวัดอางทอง รายงานพื้นที่ขึ้นทะเบียนสวนปา เมื่อวันที่ 27 ธันวาคม 2549 รวมทั้งสิ้น 591-3-72.5 ไร แยกเปนทองที่อําเภอเมืองอางทอง จํานวน 64-3-22 ไร อําเภอปาโมก จํานวน 25-3-59 ไร อําเภอไชโย จํานวน 50-2-80 ไร อําเภอโพธิ์ทอง

Page 16: 1. - reo06.mnre.go.th · รายงานสถานการณ ป 2550 1. ข อมูลทั่วไป 1.1 ที่ตั้งและอาณาเขต พื้นที่รับผิดชอบของส

สิ่งแวดลอมเมืองและชุมชน

รายงานสถานการณ ป 2550 2-8

จํานวน 72-3-41 ไร อําเภอแสวงหา จํานวน 199-2-40 ไร อําเภอสามโก จํานวน 11-1-32 ไร และอําเภอวิเศษชัยชาญ จํานวน 166-2-98 ไร นอกจากนี้ยังไดทําการปลูกเพื่อนําไมมาใชสอยหรือพื้นที่สีเขียว จํานวน 728 ไร และปลูกเพื่อการอนุรักษนอกเขตปา ตามโครงการปลูกปาถาวรเฉลิมพระเกียรติฯ โครงการ 12 สิงหาเทิด 72 พรรษามหาราช โครงการโพธิ์ทองของชาวไทย ตั้งแตป 2537-2541 รวม 118 ไร ในแผนปฏิบัติการเพื่อการจัดการคุณภาพสิ่งแวดลอม ปงบประมาณ พ.ศ. 2551-2554 มีแผนงาน/โครงการ ที่เกี่ยวของกับการจัดการสิ่งแวดลอมเมืองและชุมชน ภายใตแนวทางเสริมสรางพื้นที่สีเขียวในเมืองหรือชุมชน

จังหวัดสิงหบุรี

จังหวัดสิงหบุรี ไมมีพื้นที่ปาไมขนาดใหญ และปาสงวนแหงชาติ แตมีปาไมในลักษณะปาชุมชน โดยจังหวัดสิงหบุรี มีพื้นที่ปลูกปาชุมชน 1,272 ไร สวนใหญอยูใกลแหลงน้ํา ไดแก แมน้ํานอย ลําโพธิ์ชัย และเปนปาชุมชนขนาดเล็ก พื้นที่ปลูกปาชุมชนแบงรายอําเภอตามลําดับพื้นที่ไดดังนี้ อําเภออินทรบุรี พื้นที่ 360 ไร อําเภอเมืองสิงหบุรี พื้นที่ 288 ไร อําเภอทาชาง พื้นที่ 175 ไร อําเภอบางระจัน พื้นที่ 205 ไร อําเภอคายบางระจัน พื้นที่ 181 ไร และอําเภอพรหมบุรี พื้นที่ 181 ไร นอกจากนี้ยังคงมีปาที่ขึ้นเองตามธรรมชาติ บริเวณริมแมน้ํานอย แมน้ําลพบุรี และแมน้ําเจาพระยา ซ่ึงอยูในที่ดินของวัดเปนสวนใหญ

ตารางที่ 2-1 พื้นท่ีปาชุมชนในเขตพื้นท่ีจังหวัดสิงหบุรี

ลําดับท่ี อําเภอ เนื้อท่ี (ไร) สภาพปาชุมชน 1 สิงหบุรี 239 มีอางเก็บน้ําขนาดเล็ก,สวนใหญปลูกตนประดู คูณ สะเดา

ยู คาลิปตัส จามจุะ ตีนเปด 2 อินทรบุรี 360 มีอางเก็บน้ําขนาดเล็ก, ปลูกตนประดู ยูคาลิปตัส สะเดา ขี้เหล็ก 3 พรหมบุรี 181 มีอางเก็บน้ําขนาดเล็ก, ปลูกตนประดู สะเดา จามจุรี หางนกยูง 4 คายบางระจัน 181 มีอางเก็บน้ําขนาดเล็ก, ปลูกตนประดู สะเดา ยูคาลิปตัส

หางนกยูง จามจุรี ขี้เหล็ก 5 บางระจัน 136 มีอางเก็บน้ําขนาดเล็ก, ปลูกตนสัก ขี้เหล็ก จามจุรี สะเดา คูณ

ตีนเปด 6 ทาชาง 175 มีอางเก็บน้ําขนาดเล็ก, ปลูกตนประดู ยูคาลิปตัส กาหลง ชงโค

ขี้เหล็ก หางนกยูง สะเดา ที่มา : สวนปาไม สํานักงานทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอมจังหวัดสิงหบุรี ป 2549

Page 17: 1. - reo06.mnre.go.th · รายงานสถานการณ ป 2550 1. ข อมูลทั่วไป 1.1 ที่ตั้งและอาณาเขต พื้นที่รับผิดชอบของส

สิ่งแวดลอมเมืองและชุมชน

รายงานสถานการณ ป 2550 2-9

กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม โดยสํานักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและส่ิงแวดลอม ไดจัดทํามาตรการในการเพิ่มและการจัดการพื้นที่สีเขียวในเขตชุมชนอยางยั่งยืน เพื่อใหไดรูปแบบของมาตรการในการเพิ่มและการจัดการพื้นที่สีเขียวอยางยั่งยืนที่สามารถนําไปปฏิบัติไดอยางมีประสิทธิภาพ โดยเนนการใชมาตรการจูงใจ 3 ประเด็นหลัก คือ

• มาตรการทางดานเศรษฐศาสตรในการเพิ่มพื้นที่สีเขียว

• มาตรการทางผังเมืองเพื่อการเพิ่มและการจัดการพื้นที่สีเขียวในเขตชุมชนอยางยั่งยืน

• มาตรการดานกฎหมายในการปรับปรุงกฎหมาย โดยเฉพาะกฎหมายลําดับรองและกฎระเบียบที่เกี่ยวของ เพื่อสนับสนุนและเอื้ออํานวยตอการดําเนินงานตามมาตรการตาง ๆ ในการเพิ่มและการจัดการพื้นที่สีเขียว

นอกจากนี้ ยังไดขยายผลลงสูทองถ่ิน อันเปนการวางแผนเชิงรุกลงสูพื้นที่ โดยการจัดกิจกรรมนํารองเพิ่มพื้นที่สีเขียวชุมชนอยางยั่งยืน ซ่ึงในปงบประมาณ พ.ศ.2550 สํานักงานส่ิงแวดลอมภาคที่ 6 นนทบุรี รวมกับสํานักงานทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอมจังหวัดนนทบุรี รวมกิจกรรมนํารองเพิ่มพื้นที่สีเขียวชุมชนอยางยั่งยืน เมื่อวันที่ 27 กรกฎาคม พ.ศ.2550 ณ โรงเรียนซอและฮศึกษา อําเภอบางบัวทอง จังหวัดนนทบุรี ซ่ึงดําเนินการโดยสํานักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม พิธีเปดโดยนายกองคการบริหารสวนตําบลละหาร พรอมแขกผูมีเกียรติ ผูอํานวยการโรงเรียนซอและฮศึกษา โตะอิหมามตําบลละหาร และชุมชนตําบลละหาร กิจกรรมประกอบดวยการใหความรูเพื่อสรางจิตสํานึกในการรักธรรมชาติและส่ิงแวดลอม และรวมมือรวมใจกันปลูกตนไมเพื่อเพิ่มพื้นที่สีเขียว

Page 18: 1. - reo06.mnre.go.th · รายงานสถานการณ ป 2550 1. ข อมูลทั่วไป 1.1 ที่ตั้งและอาณาเขต พื้นที่รับผิดชอบของส

สิ่งแวดลอมเมืองและชุมชน

รายงานสถานการณ ป 2550 2-10

2.8 มาตรฐานพื้นที่สีเขียวของกรุงเทพมหานคร

กองผังเมืองรวม กรมโยธาธิการและผังเมือง ไดศึกษาวิจัยมาตรฐานเนื้อที่สวนสาธารณะของกรุงเทพมหานคร โดยพิจารณาจากจํานวนประชากร การใชที่ดิน ความหนาแนนของอาคาร พื้นที่วางตลอดจนขนาดและจํานวนสวนสาธารณะที่มีอยูในปจจุบัน และไดกําหนดไว ดังนี้ - เขตชั้นใน ควรมีเนื้อที่ 2.5 ไร ตอประชากร 1,000 คน - เขตชั้นกลาง ควรมีเนื้อที่ 5 ไร ตอประชากร 1,000 คน - เขตชั้นนอก ควรมีเนื้อที่ 10 ไร ตอประชากร 1,000 คน

โดยแยกเปนพื้นที่สีเขียวประเภทตาง ๆ ดังนี้ 1) สวนสาธารณะขนาดเลก็และสนามเดก็เลน ควรมขีนาด 1.8 ไร ตอประชากร 1,000 คน 2) สนามกฬีาและที่เลนกฬีาประเภทตาง ๆ ควรมีขนาด 1.8 ไร ตอประชากร 1,000 คน 3) สวนสาธารณะขนาดใหญ ควรมีขนาดต่ําสุดประมาณ 50 ไรขึ้นไป มาตรฐาน

ใหบริหารเทากับ 1.5 ไร ตอประชากร 1,000 คน 4) สําหรับพื้นที่สีเขียวอ่ืน ซ่ึงมีวัตถุประสงคเพื่อการพักผอนหยอนใจเฉพาะอยาง ควร

กําหนดใหมีอยูในบริเวณพื้นที่ช้ันนอกของเมือง เนื่องจากตองการพื้นที่ขนาดใหญ และสภาพทางธรรมชาติที่เปนที่โลงและสวยงามโดยมีมาตรฐาน 0.9 ไร ตอประชากร 1,000 คน

2.9 มาตรฐานพื้นที่สีเขียวชุมชนในระดับเทศบาลของไทย เนื่องจากขณะนี้ยังไมมีเกณฑพื้นที่สีเขียวที่จะใชเปนมาตรฐานสําหรับทองถ่ินใชอางอิงในการพัฒนาพื้นที่สีเขียวของทองถ่ิน จึงใชผลการศึกษาเรื่อง “มาตรการในการเพิ่มและการจัดการพื้นที่สีเขียวในเขตชุมชนอยางยั่งยืน” ในป พ.ศ. 2547 ที่ไดเสนอแนะใหมีการจัดทําเกณฑมาตรฐานพื้นที่สีเขียวอยางจริงจัง โดยในเบื้องตน ไดเสนอแนะการคํานวณพื้นที่สีเขียวโดยใชสัดสวนของพื้นที่ และสัดสวนของจํานวนประชากร ในการกําหนดขนาดพื้นที่สีเขียวโดยรวม และการกําหนดสัดสวนพื้นที่สีเขียวเฉพาะกิจกรรมใน “ที่วาง” ตาม พ.ร.บ. ควบคุมอาคาร ดังนี้

ขนาดพื้นท่ีสีเขียวโดยรวม

ประเภทเทศบาล ขนาดพื้นท่ีสีเขียวยัง่ยืน ขนาดพื้นท่ีสีเขียวบริการ

เทศบาลนคร 7.5 ไร ตอ 1,000 คน

12 ตารางเมตร ตอคน

2.5 ไร ตอ 1,000 คน

4 ตารางเมตร ตอคน

เทศบาลเมือง รอยละ 10 ของพื้นที่ทั้งหมด รอยละ 5 ของพื้นที่ทั้งหมด

เทศบาลตําบล รอยละ 10 ของพื้นที่ทั้งหมด รอยละ 3 ของพื้นที่ทั้งหมด

Page 19: 1. - reo06.mnre.go.th · รายงานสถานการณ ป 2550 1. ข อมูลทั่วไป 1.1 ที่ตั้งและอาณาเขต พื้นที่รับผิดชอบของส

สิ่งแวดลอมเมืองและชุมชน

รายงานสถานการณ ป 2550 2-11

ขนาดพื้นท่ีสีเขียวเฉพาะกิจ

ประเภทกิจกรรม ขอกําหนด “พื้นท่ีวาง”

ตาม พ.ร.บ. ควบคมุอาคาร สัดสวนพื้นท่ีสีเขียวควรมี

โครงการบานพักอาศัย ทุกประเภท

รอยละ 30 ของแปลงที่ดิน รอยละ 50 ของ “พื้นที่วาง”

โครงการอาคารพาณิชย สํานักงาน สถานบริการ

รอยละ 10 ของแปลงที่ดิน รอยละ 50 ของ “พื้นที่วาง”

ปจจุบันชุมชนสําหรับกรุงเทพมหานครและปริมณฑล เชน สมุทรปราการ นนทบุรี ปทุมธานี เปนตน ยังขาดพื้นที่สีเขียวจํานวนมาก ถาหากพิจารณาตามมาตรฐานสากล กําหนดพื้นที่เมืองควรมีเนื้อที่สาธารณะ 15 ตารางเมตร ตอประชากร 1 คน แตประชาชนของกรุงเทพมหานคร มี

พื้นที่สีเขียวเพียง 0.52 ตารางเมตร ซ่ึงถือวานอยมาก และเปนปญหาสิ่งแวดลอมของชุมชนเมืองที่สงผลกระทบตอปญหาภาวะโลกรอน ดังนั้นการเพิ่มพื้นที่สีเขียวเปนแนวทางการแกไขปญหาภาวะโลกรอนโดยตรง โดยที่ตนไมเปนสิ่งมีชีวิตที่สามารถดูดซับกาซคารบอนไดออกไซดจากบรรยากาศไดจากกระบวนการสังเคราะหแสงซึ่งเปนการใชกาซคารบอนไดออกไซด (CO2) ในการสรางเนื้อไม โดยทั่วไปพืชที่อยูกลางแจงและพืชที่มีขนาดใหญ จะมีความสามารถในการลดปริมาณกาซคารบอนไดออกไซดไดมากกวา เนื่องจากพื้นที่ทรงพุม จํานวนใบ พื้นที่เฉลี่ยของใบ และดัชนีพื้นที่ใบมากกวา นอกจากนั้นพื้นที่สีเขียวยังมีผลตอการลดความรอนในเมือง เปนการสรางสมดุลดานการใชพื้นที่ใหเกิดความเหมาะสม เปนการกรองมลพิษและผลผลิตออกซิเจนใหกับเมือง และชวยลดอุณหภูมิของพื้นผิวในพื้นที่นั้น ๆ ลงไดอยางนอย 2 องศาเซลเซียส

Page 20: 1. - reo06.mnre.go.th · รายงานสถานการณ ป 2550 1. ข อมูลทั่วไป 1.1 ที่ตั้งและอาณาเขต พื้นที่รับผิดชอบของส

สิ่งแวดลอมเมืองและชุมชน

รายงานสถานการณ ป 2550 2-12

ขอเสนอแนะตอการเพิ่มพื้นที่สีเขียว จากความตองการของประชาชน โดยสวนใหญ คือ 1. สงเสริมการปลูกตนไมในพื้นที่ตาง ๆ ทั้งพื้นที่สาธารณะ สถานที่ราชการ และสถานศึกษา 2. จัดทําขอกําหนด และการบังคับใชที่จะนําไปสูการเพิ่มพื้นที่สีเขียว เชน กําหนดเขตหรือเพิ่มพื้นที่สีเขียว โดยวางผังเมืองหรือจัด Zoning ที่มีสัดสวนของพื้นที่สีเขียวสอดคลองกันอยางสมบูรณ 3. ออกขอกฎหมายการกอสรางอาคารบานเรือนใหมีสัดสวนพื้นที่สีเขียว ในพื้นที่ปลูกสรางใหมากขึ้นจากปจจุบัน 4. ดูแลบํารุงรักษาตนไมอยางดี 5. ใหขอมูลขาวสารและการศึกษาเพื่อสรางความเขาใจอันดีตอการแกไขปญหาภาวะโลกรอน 6. จัดตั้งเครือขายในการบริหารจัดการพื้นที่สีเขียว

Page 21: 1. - reo06.mnre.go.th · รายงานสถานการณ ป 2550 1. ข อมูลทั่วไป 1.1 ที่ตั้งและอาณาเขต พื้นที่รับผิดชอบของส

รายงานสถานการณ ป 2550

3. แหลงกําเนิดมลพิษ

แหลงกําเนิดมลพิษที่สําคัญในพื้นที่ รับผิดชอบของสํานักงานสิ่งแวดลอมภาคที่ 6 นนทบุรี แบงออกเปน 5 ประเภท คือ แหลงกําเนิดมลพิษทางน้ํา แหลงกําเนิดมลพิษทางอากาศ แหลงกําเนิดมลพิษทางเสียง แหลงกําเนิดมลพิษจากมูลฝอย และแหลงกําเนิดมลพิษจากของเสียอันตราย โดยรายละเอียดแหลงกําเนิดมลพิษในพื้นที่แตละประเภทสรุปไดดังนี้

3.1 แหลงกําเนิดมลพิษทางน้ํา แหลงน้ําตามธรรมชาติโดยปกติแลวสามารถรักษาสมดุลไมใหเกิดปญหาน้ําเนาเสียได

เนื่องจากจุลินทรียที่อาศัยอยูในน้ําจะทําการยอยสลายสิ่งสกปรกที่ปนเปอน โดยอาศัยออกซิเจนที่ละลายในน้ําเปนแหลงพลังงานในการสันดาป ทั้งนี้สาเหตุสําคัญที่ทําใหน้ําเนาเสียที่พบในปจจุบันมีแหลงกําเนิดที่สําคัญดังนี้

1) โรงงานอุตสาหกรรม เปนน้ําเสียจากกระบวนการในการผลิตหรือกิจกรรมอื่น ๆ ที่มาจากโรงงานอุตสาหกรรม

2) ชุมชน ไดแก น้ําทิ้งจากอาคารบานเรือน รานคา ตลาด โรงแรม สถานบริการตาง ๆ สวนใหญน้ําเสียจากแหลงตาง ๆ เหลานี้ไมไดผานการบําบัดกอนที่จะปลอยลงสูระบบระบายน้ําและแหลงน้ําตาง ๆ

3) การเกษตรกรรม เปนน้ําเสียที่เกิดจากกิจกรรมสาขาเกษตรกรรม เชน การกสิกรรม การประมง กระจัดกระจายไปตามพื้นที่ตาง ๆ น้ําเสียเหลานี้จะมีการปนเปอนของสารมลพิษจากสารเคมีกําจัดศัตรูพืช หรือการใชปุยเคมีตาง ๆ เมื่อฝนตกลงมาชะลางลงสูแหลงน้ํา ทําใหน้ําในแหลงน้ํามีคุณภาพเสื่อมโทรมลงได

4) ฟารมปศุสัตว ไดแก การเลี้ยงหมู ไก โคกระบือ และบอปลา เศษอาหารที่เหลือและมูลสัตวที่ระบายลงสูแหลงน้ํา

จากขอมูลโรงงานอุตสาหกรรม ของกรมโรงงาน พ.ศ.2549 พบวาโรงงานอุตสาหกรรมจํานวน 14,086 แหง เปนแหลงกําเนิดมลพิษทางน้ําที่สําคัญในพื้นที่รับผิดชอบของสํานักงาน โดยจงัหวดัที่มีโรงงานอุตสาหกรรมมากที่สุด คือ จังหวัดสมุทรปราการ รองลงมาไดแก จังหวัดปทุมธานี และ

Page 22: 1. - reo06.mnre.go.th · รายงานสถานการณ ป 2550 1. ข อมูลทั่วไป 1.1 ที่ตั้งและอาณาเขต พื้นที่รับผิดชอบของส

แหลงกําเนิดมลพิษ

รายงานสถานการณ ป 2550 3-2

จังหวัดนนทบุรี ตามลําดับ (ดังรูปที่ 3-1) คุณภาพน้ําแหลงน้ําผิวดินในพื้นที่รับผิดชอบสํานักงานส่ิงแวดลอมภาคที่ 6 นนทบุรี พบวาคุณภาพน้ําในแมน้ําสายหลักบริเวณชุมชนหนาแนนที่ไหลผานจังหวัดพระนครศรีอยุธยา ปทุมธานี นนทบุรี และสมุทรปราการ มีคาความสกปรกในรูปสารอินทรีย (BOD) สูงขึ้น คาออกซิเจนละลาย (DO) ต่ํา และบางชวงของแมน้ําที่ไหลผานพื้นที่ชุมชนพบการปนเปอนจากแบคทีเรียกลุมโคลิฟอรมทั้งหมด (TCB) คอนขางสูง ในแมน้ําปาสัก แมน้ําลพบุรี และแมน้ํานอย

3.2 แหลงกําเนิดมลพิษทางอากาศ อากาศเปนทรัพยากรธรรมชาติประเภทหมุนเวียนปญหาที่เกิดกับอากาศจึงเปนปญหา

เกี่ยวกับอากาศเสียมากกวาการขาดแคลนอากาศ โดยสาเหตุสําคัญของอากาศเสีย คือ 1) เกิดขึ้นเองตามธรรมชาติ เชน ฝุนละอองจากลมพายุ ภูเขาไฟ

ระเบิด แผนดินไหว ไฟไหมปา กาซธรรมชาติ อากาศเสียที่เกิดขึ้นโดยธรรมชาติเปนอันตรายตอมนุษยนอยมาก เนื่องจากแหลงกําเนิดอยูไกล และปริมาณที่ เขาสูสภาพแวดลอมของมนุษยและสัตวมีนอย

2) เกิดขึ้นจากมนุษยสรางขึ้น ไดแก ทอไอเสียของรถยนต จากโรงงานอุตสาหกรรม จากกระบวนการผลิตที่ทําใหเกิดฝุน เกิดจากกิจกรรมดานการเกษตร การระเหยของกาซบางชนิด เกิดจากขยะมูลฝอยและของเสีย เปนตน

309 461

1,615

2,5692,023

7,109

0

2,000

4,000

6,000

8,000

จํานวนโรงงาน

สิงหบ

รุี

อางทอง

อยุธยา

ปทมุธ

านี

นนทบ

รุี

สมุทรปราการ จังหวัด

รูปท่ี 3-1 จํานวนโรงงานอุตสาหกรรมในพื้นที่รับผิดชอบ 6 จังหวัด

Page 23: 1. - reo06.mnre.go.th · รายงานสถานการณ ป 2550 1. ข อมูลทั่วไป 1.1 ที่ตั้งและอาณาเขต พื้นที่รับผิดชอบของส

แหลงกําเนิดมลพิษ

รายงานสถานการณ ป 2550 3-3

สิงหบุรี12%

อางทอง12%

อยุธยา49%

ปทุมธานี8%

นนทบุรี11%

สมุทรปราการ8%

รูปท่ี 3-2 จํานวนรถใหมท่ีจดทะเบียนในป 2550

จากขอมูลโรงงานอุตสาหกรรมของกรมโรงงานอุตสาหกรรม พ.ศ. 2549 พบวาโรงงานจํานวน 14,086 แหง เปนแหลงกําเนิดมลพิษทางอากาศในพื้นที่รับผิดชอบของสํานักงาน และจากขอมูลกรมการขนสงทางบก พ.ศ. 2550 พบวารถยนตที่จดทะเบียนใหมป 2550 ในพื้นที่รับผิดชอบของสํานักงาน 6 จังหวัด จํานวนทั้งสิ้น 34,144 คัน โดยจังหวัดที่มีปริมาณรถจดทะเบียนสูงสุด คือ จังหวัดพระนครศรีอยุธยา รองลงมาไดแก จังหวัด สิงหบุรี และจังหวัดอางทอง ตามลําดับ ขอมูลคุณภาพอากาศในพื้นที่รับผิดชอบของสํานักงานสิ่งแวดลอมภาคที่ 6 ทําการตรวจวัดโดยกรมควบคุมมลพิษ พบวาคุณภาพอากาศที ่อยู ใกลเคียงกับพื ้นที่ชุมชนหนาแนน โดยเฉพาะกาซโอโซน (O3) และฝุนละอองขนาดเล็ก ยังมีปญหาโดยคาความเขมขนมีคาคอนขางสูง สวนกาซซัลเฟอรไดออกไซด (SO2) กาซคารบอนมอนนอกไซด (CO) กาซคารบอนไดออกไซด (CO2) อยูในระดับเกณฑมาตรฐาน

3.3 แหลงกําเนิดมลพิษทางเสียง เสียงเปนพลังงานที่เกิดจากการสั่นสะเทือนและเคลื่อนตัวของอณูของกาซในบรรยากาศผานมากระทบหูใหไดยิน แหลงที่กอใหเกิดเสียงรบกวน แบงเปนประเภทใหญ ๆ ดังนี้

1) เสียงจากการจราจรทางบก เชน รถไฟ รถบรรทุก รถยนต รถจักรยานยนต เปนตน 2) เสียงในสถานประกอบการตาง ๆ ไดแก โรงงานตาง ๆ อาทิ โรงงานทอผา

โรงไม โรงพิมพ โรงงานทําน้ําแข็ง อูซอมรถยนต และการกอสราง 3) เสียงในชุมชนที่อยูอาศัยหรือธุรกิจการคา แหลงบันเทิงและสถานเริงรมยตาง ๆ

อาทิ โรงแรม สถานอาบอบนวด ไนตคลับ เปนตน คุณภาพเสียงในพื้นที่รับผิดชอบของสํานักงานสิ่งแวดลอมภาคที่ 6 นนทบุรี พบวาระดับเสียงเฉลี่ย 24 ช่ัวโมงไมเกิน 70 เดซิเบลเอ อยูในเกณฑมาตรฐาน

Page 24: 1. - reo06.mnre.go.th · รายงานสถานการณ ป 2550 1. ข อมูลทั่วไป 1.1 ที่ตั้งและอาณาเขต พื้นที่รับผิดชอบของส

แหลงกําเนิดมลพิษ

รายงานสถานการณ ป 2550 3-4

ปริมาณมูลฝอย ตัน/วัน

อางทอง532%

สมุทรปราการ121845%

นนทบุรี71227%

ปทุมธานี40415%

พระนครศรีอยุธยา2529%

สิงหบุรี472%

3.4 แหลงกําเนิดมลพิษจากมูลฝอย ขยะมูลฝอยคือของเหลือจากกระบวนการผลิตและจากการใชสอยของมนุษย ซ่ึงนับเปนปญหาสิ่งแวดลอมที่สําคัญของชุมชนทุกแหง เนื่องจากการเติบโตของชุมชนและการขยายตัวทางเศรษฐกิจและการเพิ่มขึ้นของประชากรที่เปนไปอยางรวดเร็ว โดยปริมาณขยะมูลฝอยที่พบมากมาจากแหลงกําเนิด 3 ประเภท คือ

1) แหลงชุมชนและพาณิชยกรรม เปนขยะมูลฝอยรวมที่มาจากบานเรือน อาคารพาณิชยหรือแหลงทองเที่ยว เพราะมีลักษณะสมบัติและองคประกอบคลายกัน

2) โรงงานอุตสาหกรรม เปนขยะมูลฝอยที่มีองคประกอบตางจากขยะมูลฝอยชุมชน สวนใหญเปนกากหรือขยะมูลฝอยที่เหลือใชจากกระบวนการผลิต

3) โรงพยาบาลและสถานพยาบาล เปนขยะมูลฝอยชนิดพิเศษและอันตราย เพราะถาไมมีวิธีการกําจัดที่ดีและถูกตองอาจทําใหเกิดปญหาการแพรเชื้อโรคได

จากการดําเนินงานติดตามตรวจสอบการจัดการขยะมูลฝอยของเทศบาล พบวาจังหวัดที่มีปริมาณขยะมูลฝอยมากที่ สุด คือ จังหวัดสมุทรปราการ รองลงมาไดแก นนทบุรี ปทุมธานี พระนครศรีอยุธยา อางทอง และสิงหบุรี ตามลําดับ วิธีกําจัดมูลฝอยของเทศบาลในพื้นที่รับผิดชอบของสํานักงานสวนใหญกําจัดมูลฝอยโดยการเทกองบนพื้นและเผาเปนครั้งคราว

รูปท่ี 3-3 ปริมาณมูลฝอยในเขตเทศบาลในพื้นท่ีรับผดิชอบ 6 จังหวัด

Page 25: 1. - reo06.mnre.go.th · รายงานสถานการณ ป 2550 1. ข อมูลทั่วไป 1.1 ที่ตั้งและอาณาเขต พื้นที่รับผิดชอบของส

แหลงกําเนิดมลพิษ

รายงานสถานการณ ป 2550 3-5

3.5 แหลงกําเนิดมลพิษจากของเสียอันตรายจากชุมชน ของเสียอันตรายจากชุมชน หมายถึง ของเสียอันตรายที่เกิดจากกิจกรรมตาง ๆ ในครัวเรือนและสถานประกอบการพาณิชยกรรมตาง ๆ ในชุมชน เชน อูซอมรถ สถานีบริการน้ํามัน รานลางอัดขยายภาพ รานซักแหง ทาเรือ สนามบิน โรงพยาบาล หองปฏิบัติการ พื้นที่เกษตรกรรม ฯลฯ ซ่ึงของเสียอันตรายเหลานี้สวนใหญถูกทิ้งรวมกับมูลฝอยทั่วไป โดยไมผานการบําบัดและกําจัดอยางถูกตองตามหลักวิชาการ กอใหเกิดการปนเปอนและแพรกระจายของสารอันตรายสูส่ิงแวดลอมเขาสูหวงโซอาหาร และเกิดผลกระทบตอสุขภาพอนามัยของประชาชนไดตัวอยางของเสียอันตรายจากชุมชน ไดแก

1) ของเสียอันตรายจากบานพักอาศัย เชน ถานไฟฉายซึ่งมีสารแคดเมียมซึ่งทําใหเกิดอันตรายตอโครงสรางกระดูก หลอดไฟฟลูออเรสเซนตมีสารปรอทซึ่งทําอันตรายตอระบบประสาท

2) ของเสียอันตรายจากทาเรือ เชน สารเคมีเหลือทิ้ง ซากสารเคมีที่ถูกเผาไหม น้ํามันและกากน้ํามัน

3) ของเสียอันตรายจากการพาณิชยกรรม เชน สีและทินเนอรมีตัวทําละลายซึ่งมีฤทธิ์ไวไฟและเปนพิษ แบตเตอรี่รถยนตมีแผนธาตุตะกั่วที่สามารถทําอันตรายตอระบบการสรางเม็ดเลือดแดงของมนุษย น้ํามันหลอล่ืนใชแลวจากสถานีบริการน้ํามัน และสารเคมีจากกระบวนการลางอัดขยายภาพเปนตน

4) ของเสียอันตรายจากเกษตรกรรม เชน ภาชนะบรรจุสารกําจัดแมลงและสารกําจัดวัชพืช ซ่ึงกอใหเกิดการเปลี่ยนแปลงตอกระบวนการเมตาบอลิซึมของรางกายสิ่งมีชีวิต

ปริมาณของเสียอันตรายที่มาจากชุมชนในเขตเทศบาลในพื้นที่รับผิดชอบของสํานักงานจังหวัดที่มีปริมาณของเสียอันตรายจากชุมชนมากที่สุด คือ จังหวัดสมุทรปราการ รองลงมา ไดแก จังหวัดนนทบุรี จังหวัดปทุมธานี จังหวัดพระนครศรีอยุธยา จังหวัดอางทอง และจังหวัดสิงหบุรี ตามลําดับ (การประเมินอางอิงจาก โครงการเปรียบเทียบความเหมาะสมของวิธีการกําจัดขยะมูลฝอยของกรมควบคุมมลพิษ ป 2536 ที่สรุปวาการปนเปอนของสารพิษและสารอันตรายในขยะมูลฝอย

Page 26: 1. - reo06.mnre.go.th · รายงานสถานการณ ป 2550 1. ข อมูลทั่วไป 1.1 ที่ตั้งและอาณาเขต พื้นที่รับผิดชอบของส

แหลงกําเนิดมลพิษ

รายงานสถานการณ ป 2550 3-6

ปริมาณของเสียอันตราย ตัน/วัน

สมุทรปราการ10.7636%

อางทอง0.522%

นนทบุรี9.5733%

ปทุมธานี5.0918%

พระนครศรีอยุธยา2.539%

สิงหบุรี0.472%

ทั่วไปของชุมชนในเขตเทศบาลนคร/เมือง มีคาเฉลี่ยรอยละ 1.40 ของน้ําหนักมูลฝอย และในเขตเทศบาลตําบล มีคาเฉลี่ยรอยละ 0.7 ของน้ําหนักมูลฝอย)

รูปท่ี 3-4 ปริมาณของเสียอันตรายจากชุมชนในเขตเทศบาลในพื้นท่ีรับผิดชอบ 6 จังหวัด

Page 27: 1. - reo06.mnre.go.th · รายงานสถานการณ ป 2550 1. ข อมูลทั่วไป 1.1 ที่ตั้งและอาณาเขต พื้นที่รับผิดชอบของส

รายงานสถานการณ ป 2550

4. สถานการณและปญหาสิ่งแวดลอม

4.1 สถานการณคุณภาพน้ําแหลงน้ําผิวดิน ป 2550 สํานักงานสิ่งแวดลอมภาคที่ 6 นนทบุรี ไดดําเนินการติดตาม ตรวจสอบและเฝาระวัง

คุณภาพน้ําแหลงน้ําบริเวณแมน้ําเจาพระยา คลองเชื่อมตอแมน้ําเจาพระยา และแมน้ําสายหลักในภาคกลางตอนลาง ไดแก แมน้ํานอย แมน้ําปาสัก และแมน้ําลพบุรี โดยมีสถานีติดตามตรวจสอบคุณภาพน้ํา จํานวน 36 สถานี (แสดงดังรูปที่ 4-1) มีการเก็บตัวอยางน้ํา 4 คร้ังตอป จากการติดตาม ตรวจสอบและเฝาระวังคุณภาพน้ํา สามารถสรุปผลการประเมินสถานการณคุณภาพน้ําไดดังนี้

รูปท่ี 4-1 สถานีติดตาม ตรวจสอบและเฝาระวังคุณภาพน้ําแมน้ําเจาพระยา และคลองเชื่อมตอ

Page 28: 1. - reo06.mnre.go.th · รายงานสถานการณ ป 2550 1. ข อมูลทั่วไป 1.1 ที่ตั้งและอาณาเขต พื้นที่รับผิดชอบของส

สถานการณและปญหา

รายงานสถานการณ ป 2550 4-2

4.1.1 แมน้ําเจาพระยา

แมน้ําเจาพระยานับวาเปนแมน้ําธรรมชาติที่มีความสําคัญตอชีวิตในการอุปโภคและบริโภคของประชาชนในภาคกลาง จากปญหาการเพิ่มขึ้นอยางรวดเร็วของประชากร และมีการขยายตัวทางดานเศรษฐกิจ ทําใหมีความตองการใชน้ํามากขึ้น อีกทั้งยังเปนที่รองรับน้ําเสียจากอุตสาหกรรม เกษตรกรรม และชุมชน โดยไมผานการบําบัด เปนสาเหตุใหญที่ทําใหแมน้ําเจาพระยา และแมน้ําสาขา มีคุณภาพเสื่อมโทรมลง โดยบางชวงอยูในภาวะที่นาเปนหวงยิ่ง (คุณภาพน้ําในแตละดัชนีบงชี้แสดงดังรูปที่ 4-2 – 4-6)

0

1

2

3

4

5

6

7

8

CH01 CH03 CH06 CH08 CH10 CH12 CH15 CH16.1 CH17 CH18 CH20 CH21 CH24 CH25 CH27 CH28

DO (m

g/l)

รูปท่ี 4-2 ปริมาณออกซิเจนละลายในน้าํ (DO) ของแมน้ําเจาพระยา

0

1

2

3

4

5

6

CH01 CH03 CH06 CH08 CH10 CH12 CH15 CH16.1 CH17 CH18 CH20 CH21 CH24 CH25 CH27 CH28

BOD

(mg/l

)

รูปท่ี 4-3 ปริมาณความสกปรกในรูปสารอนิทรีย (BOD) ของแมน้ําเจาพระยา

คุณภาพน้ําประเภทที่ 2

คุณภาพน้ําประเภทที่ 3

คุณภาพน้ําประเภทที่ 4

คุณภาพน้ําประเภทที่ 2 คุณภาพน้ําประเภทที่ 3

คุณภาพน้ําประเภทที่ 4

Page 29: 1. - reo06.mnre.go.th · รายงานสถานการณ ป 2550 1. ข อมูลทั่วไป 1.1 ที่ตั้งและอาณาเขต พื้นที่รับผิดชอบของส

สถานการณและปญหา

รายงานสถานการณ ป 2550 4-3

0

0.5

1

1.5

2

2.5

CH01 CH03 CH06 CH08 CH10 CH12 CH15 CH16.1 CH17 CH18 CH20 CH21 CH24 CH25 CH27 CH28

แอมโมเนีย

(mg/l

)

รูปท่ี 4-4 ปริมาณแอมโมเนียของแมน้ําเจาพระยา

0

20,000

40,000

60,000

80,000

100,000

120,000

CH01 CH03 CH06 CH08 CH10 CH12 CH15 CH16.1 CH17 CH18 CH20 CH21 CH24 CH25 CH27 CH28

TCB

(MPN

/100 m

l.)

รูปท่ี 4-5 ปริมาณแบคทีเรียกลุมโคลิฟอรมท้ังหมด (TCB) ของแมน้ําเจาพระยา

0

10,000

20,000

30,000

40,000

50,000

60,000

70,000

80,000

90,000

100,000

CH01 CH03 CH06 CH08 CH10 CH12 CH15 CH16.1 CH17 CH18 CH20 CH21 CH24 CH25 CH27 CH28

FCB

(MPN

/100 m

l.)

รูปท่ี 4-6 ปริมาณฟคัลโคลิฟอรมแบคทีเรีย (FCB) ของแมน้ําเจาพระยา

มาตรฐานคุณภาพน้ําประเภทที่ 2 , 3 , 4

Page 30: 1. - reo06.mnre.go.th · รายงานสถานการณ ป 2550 1. ข อมูลทั่วไป 1.1 ที่ตั้งและอาณาเขต พื้นที่รับผิดชอบของส

สถานการณและปญหา

รายงานสถานการณ ป 2550 4-4

1) แมน้ําเจาพระยาชวงที่ 1 แมน้ําเจาพระยาชวงที่ 1 ตั้งแตบริเวณพระสมุทรเจดีย จังหวัดสมุทรปราการ จนถึงศาลา

กลางหลังเกา อําเภอเมือง จังหวัดนนทบุรี ไดถูกกําหนดใหเปนแหลงน้ําประเภทที่ 4 โดยมาตรฐานคุณภาพน้ําแหลงน้ํา จะตองมีปริมาณออกซิเจนละลายไมต่ํากวา 2 มิลลิกรัมตอลิตร ปริมาณความสกปรกในรูปสารอินทรียไมเกินกวา 4 มิลลิกรัมตอลิตร แมน้ําเจาพระยาชวงนี้เปนชวงที่มีโรงงานอุตสาหกรรมตั้งอยูเปนจํานวนมาก ทั้งในรูปของนิคมอุตสาหกรรม และตั้งเปนโรงงานเดี่ยว ทําใหน้าํเสียจากโรงงานอุตสาหกรรมถูกปลอยออกมาเปนปริมาณมาก และชุมชนที่ตั้งอยูอยางหนาแนนในพื้นที่มีการปลอยน้ําเสียโดยไมผานการบําบัด ถึงแมจะอยูติดกับทะเลแตการระบายน้ําออกสูทะเลไมสามารถทําไดตลอดเวลาเนื่องจากชวงเวลาที่น้ําทะเลหนุนน้ําในแมน้ําจะถูกกั้นไวดวยน้ําทะเล และยังเปนที่รองรับความสกปรกที่ยังหลงเหลือตั้งแตตนน้ํามากองรวมกัน ทําใหแหลงน้ําไมสามารถบําบัดน้ําเสียตามธรรมชาติใหกลับคืนสูสมดุลไดทัน แหลงน้ําจึงเสื่อมโทรมลงอยางรวดเร็ว

จากการติดตาม ตรวจสอบและเฝาระวังคุณภาพน้ํา ในป 2550 พบวาคุณภาพน้ําแมน้ําเจาพระยาตั้งแตทาเรือกรุงเทพ ถึง พระสมุทรเจดีย จังหวัดสมุทรปราการ เมื่อเทียบกับเกณฑมาตรฐานคุณภาพน้ําในแหลงน้ําผิวดิน จัดอยูในประเภทที่ 5 (เสื่อมโทรมมาก) สวนคุณภาพน้ําตั้งแต สะพานกรุงเทพฯ ถึงสะพานพระรามหก จัดอยูในประเภทที่ 4 (เสื่อมโทรม) โดยมีดัชนีบงชี้ที่สําคัญไดแก ปริมาณออกซิเจนที่ละลายในน้ํา (DO) ซ่ึงมีคาโดยเฉลี่ย 3.4 มิลลิกรัมตอลิตร ปริมาณความสกปรกในรูปสารอินทรีย (BOD) มีคาโดยเฉลี่ย 3.2 มิลลิกรัมตอลิตร ปริมาณแอมโมเนีย มีคาโดยเฉลี่ย 0.8 มิลลิกรัมตอลิตร ปริมาณโคลิฟอรมแบคทีเรีย (TCB) มีคาโดยเฉลี่ย 50,083 เอ็ม.พี.เอ็น/100 มิลลิลิตร และฟคัลโคลิฟอรมแบคทีเรีย (FCB) มีคาโดยเฉลี่ย 25,346 เอ็ม.พี.เอ็น/100 มิลลิลิตร รายละเอียดแสดงดังตารางที่ 4-1

Page 31: 1. - reo06.mnre.go.th · รายงานสถานการณ ป 2550 1. ข อมูลทั่วไป 1.1 ที่ตั้งและอาณาเขต พื้นที่รับผิดชอบของส

สถานการณและปญหา

รายงานสถานการณ ป 2550 4-5

ตารางที่ 4-1 คุณภาพน้ําแมน้าํเจาพระยาชวงท่ี 1

ดัชนีชี้วัดคุณภาพน้ํา สัญลักษณ สถานีเก็บตัวอยางน้ํา

DO BOD NH3 TCB FCB

คุณภาพน้ํา ประเภท

CH01 พระสมุทรเจดีย จังหวัดสมุทรปราการ

5.3 3.3 1.07 16,500 9,575 5

CH03 หนาที่วาการอําเภอพระประแดง จังหวัดสมุทรปราการ

3.9 3.5 0.83 52,750 23,675 5

CH06 ทาเรือกรุงเทพ เขตยานนาวา กรุงเทพฯ

2.4 5.2 2.22 105,750 86,075 5

CH08 สะพานกรุงเทพฯ เขตดาวคะนอง 2.6 2.8 0.28 38,250 12,250 4

CH10 สะพานพุทธยอดฟา เขตสัมพันธวงค กรุงเทพฯ

3.0 2.7 0.28 66,000 14,500 4

CH12 สะพานพระรามหก อําเภอบางกรวย จังหวัดนนทบุรี

3.0 1.9 0.12 21,250 6,000 4

คาเฉลี่ย 3.4 3.2 0.80 50,083 25,346 5

มาตรฐานแหลงน้ําประเภทที่ 2 ≥6.0 ≤1.5 0.5 ≤5,000 1,000

มาตรฐานแหลงน้ําประเภทที่ 3 ≥4.0 ≤2.0 0.5 ≤20,000 4,000

มาตรฐานแหลงน้ําประเภทที่ 4 ≥2.0 ≤4.0 0.5 - -

มาตรฐานแหลงน้ําประเภทที่ 5 - - - - -

2) แมน้ําเจาพระยาชวงที่ 2 แมน้ําเจาพระยาชวงที่ 2 ตั้งแตศาลากลางหลังเกา อําเภอเมือง จังหวัดนนทบุรี ถึงปอม

เพชร อําเภอพระนครศรีอยุธยา จังหวัดพระนครศรีอยุธยา ไดถูกกําหนดใหเปนแหลงน้ําประเภทที่ 3 โดยมาตรฐานคุณภาพน้ําแหลงน้ํา จะตองมีปริมาณออกซิเจนละลายไมต่ํากวา 4 มิลลิกรัมตอลิตร ปริมาณความสกปรกในรูปสารอินทรียไมเกินกวา 2 มิลลิกรัมตอลิตร ปริมาณแบคทีเรียกลุมโคลิฟอรมทั้งหมดไมเกิน 20,000 เอ็ม.พี.เอ็น./100 มิลลิลิตร และปริมาณแบคทีเรียกลุมฟคัลโคลิฟอรมไมเกิน 4,000 เอ็ม.พี.เอ็น./100 มิลลิลิตร

Page 32: 1. - reo06.mnre.go.th · รายงานสถานการณ ป 2550 1. ข อมูลทั่วไป 1.1 ที่ตั้งและอาณาเขต พื้นที่รับผิดชอบของส

สถานการณและปญหา

รายงานสถานการณ ป 2550 4-6

จากการติดตาม ตรวจสอบและเฝาระวังคุณภาพน้ํา ในป 2550 พบวาคุณภาพน้ําแมน้ํา

เจาพระยาชวงนี้ เมื่อเทียบกับเกณฑมาตรฐานคุณภาพน้ําในแหลงน้ําผิวดินจัดอยูในประเภทที่ 3 โดยมีดัชนีบงชี้ที่สําคัญไดแก ปริมาณออกซิเจนที่ละลายในน้ํา (DO) ซ่ึงมีคาโดยเฉลี่ย 4.46 มิลลิกรัมตอลิตร ปริมาณความสกปรกในรูปสารอินทรีย (BOD) มีคาโดยเฉลี่ย 1.76 มิลลิกรัมตอลิตร ปริมาณแอมโมเนีย มีคาโดยเฉลี่ย 0.08 มิลลิกรัมตอลิตร ปริมาณโคลิฟอรมแบคทีเรีย (TCB) มีคาโดยเฉลี่ย 14,660 เอ็ม.พี.เอ็น/100 มิลลิลิตร และฟคัลโคลิฟอรมแบคทีเรีย (FCB) มีคาโดยเฉลี่ย 3,280 เอ็ม.พี.เอ็น/100 มิลลิลิตร รายละเอียดแสดงดังตารางที่ 4-2

ตารางที่ 4-2 คุณภาพน้ําแมน้าํเจาพระยาชวงท่ี 2

ดัชนีช้ีวัดคุณภาพน้ํา สัญลักษณ สถานีเก็บตัวอยางน้ํา

DO BOD NH3 TCB FCB

คุณภาพน้ํา ประเภท

CH15 สะพานนนทบุรี อําเภอเมือง จังหวัดนนทบุรี

3.7 1.8 0.05 30,750 7,600 4

CH16.1 จุดสูบน้ําดิบเพื่อการประปาสําแล จังหวัดปทุมธานี

4.5 1.7 0.03 6,850 750 3

CH17 บริเวณ อําเภอสามโคก ตําบลบางเตย จังหวัดปทุมธานี

4.6 1.7 0.05 11,500 3,500 3

CH18 โรงงานกระดาษบางปะอิน จังหวัดพระนครศรีอยุธยา

4.8 1.7 0.20 11,525 2,875 3

CH20 ปอมเพชร อําเภอพระนครศรีอยุธยา จังหวัด พระนครศรีอยุธยา

4.7 1.9 0.06 12,675 1,675 3

คาเฉลี่ย 4.46 1.76 0.08 14,660 3,280 3

3) แมน้ําเจาพระยาชวงที่ 3 แมน้ําเจาพระยาชวงที่3 ตั้งแตปอมเพชร อําเภอพระนครศรีอยุธยา จังหวัด

พระนครศรีอยุธยา ถึงบริเวณเขื่อนเจาพระยา จังหวัดชัยนาท ไดถูกกําหนดใหเปนแหลงน้ําประเภทที่ 2 ตามมาตรฐานคุณภาพน้ําในแหลงน้ําผิวดิน ซ่ึงจะตองมีปริมาณออกซิเจนละลายไมต่ํากวา 6 มิลลิกรัมตอลิตร ปริมาณความสกปรกในรูปสารอินทรียไมเกินกวา 1.5 มิลลิกรัมตอลิตร และปริมาณแบคทีเรียกลุมโคลิฟอรมทั้งหมดไมเกิน 5,000 เอ็ม.พี.เอ็น/100 มิลลิลิตร

Page 33: 1. - reo06.mnre.go.th · รายงานสถานการณ ป 2550 1. ข อมูลทั่วไป 1.1 ที่ตั้งและอาณาเขต พื้นที่รับผิดชอบของส

สถานการณและปญหา

รายงานสถานการณ ป 2550 4-7

จากการติดตาม ตรวจสอบและเฝาระวังคุณภาพน้ํา ในป 2550 พบวาคุณภาพน้ําแมน้ํา

เจาพระยาชวงนี้ เมื่อเทียบกับเกณฑมาตรฐานคุณภาพน้ําในแหลงน้ําผิวดินจัดอยูในประเภทที่ 3 -4 โดยมีดัชนีบงชี้ที่สําคัญไดแก ปริมาณออกซิเจนที่ละลายในน้ํา (DO) ซ่ึงมีคาโดยเฉลี่ย 6.02 มิลลิกรัมตอลิตร ปริมาณความสกปรกในรูปสารอินทรีย (BOD) มีคาโดยเฉลี่ย 1.28 มิลลิกรัมตอลิตร ปริมาณแอมโมเนีย มีคาโดยเฉลี่ย 0.22 มิลลิกรัมตอลิตร ปริมาณโคลิฟอรมแบคทีเรีย (TCB) มีคาโดยเฉลี่ย 34,400 เอ็ม.พี.เอ็น/100 มิลลิลิตร และฟคัลโคลิฟอรมแบคทีเรีย (FCB) มีคาโดยเฉลี่ย 5,315 เอ็ม.พี.เอ็น/100 มิลลิลิตร รายละเอียดแสดงดังตารางที่ 4-3

ตารางที่ 4-3 คุณภาพน้ําแมน้าํเจาพระยาชวงท่ี 3

ดัชนีชี้วัดคุณภาพน้ํา สัญลักษณ สถานีเก็บตัวอยางน้ํา

DO BOD NH3 TCB FCB

คุณภาพน้ํา ประเภท

CH21 สะพานขามแมน้ํา อําเภอเมือง จังหวัดอางทอง

6.5 1.1 0.37 88,000 10,675 4

CH24 สะพานขามแมน้ําเจาพระยา ตําบลบางพุทรา จังหวัดสิงหบุรี

5.9 1.3 0.3 37,425 8,175 4

CH25 บริเวณใตตลาด อําเภออินทรบุรี จังหวัดสิงหบุรี

7.1 1.7 0.34 11,075 2,700 3

CH27 เขื่อนเจาพระยา ตําบลบางหลวง อําเภอสรรพยา จังหวัดชัยนาท

5.4 1.2 0.05 11,175 600 3

CH28 ศาลากลาง ตําบลในเมือง อําเภอเมือง จังหวัดชัยนาท

5.2 1.1 0.04 24,325 4,425 4

คาเฉลี่ย 6.02 1.28 0.22 34,400 5,315 4

จากการติดตาม ตรวจสอบและเฝาระวังคุณภาพน้ําแมน้ําเจาพระยา ป 2550 เมื่อเปรียบเทียบกับคุณภาพน้ําของป 2549 พบวาในชวงที่ 1 และชวงที่ 3 คุณภาพน้ํามีแนวโนมเสื่อมโทรมลง สวนคุณภาพน้ําในชวงที่ 2 มีแนวโนมดีขึ้น

4.1.2 แมน้ํานอย แมน้ํานอยเปนแมน้ําแยกจากแมน้ําเจาพระยา บริเวณปากแพรกเหนือวัดบรมธาตุ อําเภอ

เมือง จังหวัดชัยนาท ไหลผานอําเภอเมือง และอําเภอสรรพยา จังหวัดชัยนาท เขาเขตอําเภอโพธิ์ทอง อําเภอวิเศษชัยชาญ จังหวัดอางทอง และไหลเขาเขตอําเภอผักไห อําเภอบางบาล แลวไหลมาบรรจบกับแมน้ําเจาพระยาที่อําเภอบางไทร จังหวัดพระนครศรีอยุธยา มีความยาวทั้งสิ้น 155 กิโลเมตร

Page 34: 1. - reo06.mnre.go.th · รายงานสถานการณ ป 2550 1. ข อมูลทั่วไป 1.1 ที่ตั้งและอาณาเขต พื้นที่รับผิดชอบของส

สถานการณและปญหา

รายงานสถานการณ ป 2550 4-8

จากการติดตาม ตรวจสอบและเฝาระวังคุณภาพน้ํา ในป 2550 พบวาคุณภาพน้ําแมน้ํา

นอย เมื่อเทียบกับเกณฑมาตรฐานคุณภาพน้ําในแหลงน้ําผิวดินจัดอยูในประเภทที่ 4 โดยมีดัชนีบงชี้ที่สําคัญไดแก ปริมาณออกซิเจนที่ละลายในน้ํา (DO) ซ่ึงมีคาโดยเฉลี่ย 5.24 มิลลิกรัมตอลิตร ปริมาณความสกปรกในรูปสารอินทรีย (BOD) มีคาโดยเฉลี่ย 2.28 มิลลิกรัมตอลิตร ปริมาณแอมโมเนีย มีคาโดยเฉลี่ย 0.296 มิลลิกรัมตอลิตร ปริมาณโคลิฟอรมแบคทีเรีย (TCB) มีคาโดยเฉลี่ย 42,287 เอ็ม.พี.เอ็น/100 มิลลิลิตร และฟคัลโคลิฟอรมแบคทีเรีย (FCB) มีคาโดยเฉลี่ย 13,273 เอ็ม.พี.เอ็น/100 มิลลิลิตร รายละเอียดแสดงดังตารางที่ 4-4

ตารางที่ 4-4 คุณภาพน้ําแมน้าํนอย

ดัชนีชี้วัดคุณภาพน้ํา สัญลักษณ สถานีเก็บตัวอยางน้ํา

DO BOD NH3 TCB FCB

คุณภาพน้ํา ประเภท

NO01 หนาที่วาการ ตําบลราชคราม อําเภอบางไทร จังหวัดพระนครศรีอยุธยา

5.2 1.7 0.06 38,733 4,967 4

NO02 สะพานทายเมือง ตําบลหนาโคก อําเภอผักไห จังหวัดพระนครศรีอยุธยา

4.3 4.3 0.52 66,000 31,767 5

NO03 สะพานอําเภอโพธิ์ทอง ตําบลบางเจาฉา จังหวัดอางทอง

5.9 2.4 0.51 60,667 18,233 5

NO04 สะพานอําเภอบางระจัน ตําบลสิงห จังหวัดสิงหบุรี

5.7 2.1 0.33 27,333 6,733 4

NO05 สะพานใตเขื่อนเจาพระยา ตําบลชัยนาท อําเภอเมือง จังหวัดชัยนาท

5.1 0.9 0.06 18,700 4,667 4

คาเฉลี่ย 5.24 2.28 0.30 42,287 13,273 4

4.1.3 แมน้ําปาสัก แมน้ําปาสักมีตนกําเนิดอยูบริเวณทิวเขาเพชรบูรณ ไหลผานจังหวัด ลพบุรี สระบุรี

พระนครศรีอยุธยา โดยมีหวยมวกเหล็ก ซ่ึงมีตนน้ําอยูที่เขาอินทร อําเภอปากชอง จังหวัดนครราชสีมา แมน้ําไดไหลผานจังหวัดสระบุรีมารวมกับแมน้ําปาสักฝงซายที่อําเภอแกงคอย จังหวัดสระบุรี ตอจากนั้นก็จะไหลลงสูจังหวัดพระนครศรีอยุธยาและไหลลงสูแมน้ําเจาพระยาฝงซายที่ปอมเพชร จังหวัดพระนครศรีอยุธยา

Page 35: 1. - reo06.mnre.go.th · รายงานสถานการณ ป 2550 1. ข อมูลทั่วไป 1.1 ที่ตั้งและอาณาเขต พื้นที่รับผิดชอบของส

สถานการณและปญหา

รายงานสถานการณ ป 2550 4-9

จากการติดตาม ตรวจสอบและเฝาระวังคุณภาพน้ํา ในป 2550 พบวาคุณภาพน้ําแมน้ําปาสัก

เมื่อเทียบกับเกณฑมาตรฐานคุณภาพน้ําในแหลงน้ําผิวดินจัดอยูในประเภทที่ 4 โดยมีดัชนีบงชี้ที่สําคัญไดแก ปริมาณออกซิเจนที่ละลายในน้ํา (DO) ซ่ึงมีคาโดยเฉลี่ย 4.8 มิลลิกรัมตอลิตร ปริมาณความสกปรกในรูปสารอินทรีย (BOD) มีคาโดยเฉลี่ย 2.1 มิลลิกรัมตอลิตร ปริมาณแอมโมเนีย มีคาโดยเฉลี่ย 0.07 มิลลิกรัมตอลิตร ปริมาณโคลิฟอรมแบคทีเรีย (TCB) มีคาโดยเฉลี่ย 26,667 เอ็ม.พี.เอ็น/100 มิลลิลิตร และฟคัลโคลิฟอรมแบคทีเรีย(FCB) มีคาโดยเฉลี่ย 4,211 เอ็ม.พี.เอ็น/100 มิลลิลิตร รายละเอียดแสดงดังตารางที่ 4-5

ตารางที่ 4-5 คุณภาพน้ําแมน้าํปาสัก

ดัชนีชี้วัดคุณภาพน้ํา สัญลักษณ สถานีเก็บตัวอยางน้ํา

DO BOD NH3 TCB FCB

คุณภาพน้ํา ประเภท

PS01 สะพานแมน้ําปาสัก ตําบลสําเภาลม อําเภอพระนครศรีอยุธยา จังหวัดพระนครศรีอยุธยา

4.2 2.4 0.07 15,667 2,133 4

PS02 สะพานแมน้ําปาสัก ตําบลนครหลวง อําเภอนครหลวง จังหวัดพระนครศรีอยุธยา

4.7 2.3 0.05 34,000 5,033 4

PS03 สะพานแมน้ําปาสัก ตําบลทาเรือ อําเภอทาเรือ จังหวัดพระนครศรีอยุธยา

5.5 1.5 0.10 30,333 5,467 4

คาเฉลี่ย 4.8 2.1 0.07 26,667 4,211 4

4.1.4 แมน้ําลพบุรี แมน้ําลพบุรีเปนแมน้ําแยกจากแมน้ําเจาพระยาฝงซายที่อําเภอเมือง จังหวัดสิงหบุรีไหล

ผ านจั งหวัดลพบุ รี และจั งหวัดพระนครศรีอยุ ธยา และไหลลงสู แมน้ํ าป าสั กที่ จั งหวั ดพระนครศรีอยุธยา โดยมีความยาว 305 กิโลเมตร

Page 36: 1. - reo06.mnre.go.th · รายงานสถานการณ ป 2550 1. ข อมูลทั่วไป 1.1 ที่ตั้งและอาณาเขต พื้นที่รับผิดชอบของส

สถานการณและปญหา

รายงานสถานการณ ป 2550 4-10

จากการติดตาม ตรวจสอบและเฝาระวังคุณภาพน้ํา ในป 2550 พบวาคุณภาพน้ําแมน้ํา

ลพบุรี เมื่อเทียบกับเกณฑมาตรฐานคุณภาพน้ําในแหลงน้ําผิวดินจัดอยูในประเภทที่ 4 โดยมีดัชนีบงชี้ที่สําคัญไดแก ปริมาณออกซิเจนที่ละลายในน้ํา (DO) ซ่ึงมีคาโดยเฉลี่ย 5.0 มิลลิกรัมตอลิตร ปริมาณความสกปรกในรูปสารอินทรีย (BOD) มีคาโดยเฉลี่ย 3.3 มิลลิกรัมตอลิตร ปริมาณแอมโมเนีย มีคาโดยเฉลี่ย 0.28 มิลลิกรัมตอลิตร ปริมาณโคลิฟอรมแบคทีเรีย (TCB) มีคาโดยเฉลี่ย 58,611 เอ็ม.พี.เอ็น/100 มิลลิลิตร และฟคัลโคลิฟอรมแบคทีเรีย (FCB) มีคาโดยเฉลี่ย 47,211 เอ็ม.พี.เอ็น/100 มิลลิลิตร รายละเอียดแสดงดังตารางที่ 4-6

ตารางที่ 4-6 คุณภาพน้ําแมน้าํลพบุรี

ดัชนีชี้วัดคุณภาพน้ํา สัญลักษณ สถานีเก็บตัวอยางน้ํา

DO BOD NH3 TCB FCB

คุณภาพน้ํา ประเภท

LB01 ทาน้ําวัดบรมวงศ ตําบลสวนพริก อําเภอพระนครศรีอยุธยา จังหวัดพระนครศรีอยุธยา

5.5 3.4 0.17 73,333 58,133 4

LB02 สะพานขามแมน้ําลพบุรี ตําบลบานแพรก จังหวัดพระนครศรีอยุธยา

4.9 3.2 0.25 17,000 2,800 4

LB05 จุดแยกตอกับแมน้ําเจาพระยา ตําบลมวงหมู อําเภอเมือง จังหวัดสิงหบุรี

4.5 3.4 0.43 85,500 80,700 4

คาเฉลี่ย 5.0 3.3 0.28 58,611 47,211 4

เมื่อเปรียบเทียบคุณภาพน้ําแมน้ําสายหลักทั้ง 3 สาย พบวา คุณภาพน้ําของแมน้ํานอย

คอนขางจะเสื่อมโทรม มากกวาแมน้ําปาสัก และแมน้ําลพบุรี (ดังรูปที่ 4-7 – 4-11)

Page 37: 1. - reo06.mnre.go.th · รายงานสถานการณ ป 2550 1. ข อมูลทั่วไป 1.1 ที่ตั้งและอาณาเขต พื้นที่รับผิดชอบของส

สถานการณและปญหา

รายงานสถานการณ ป 2550 4-11

0

1

2

3

4

5

6

7

LB01 LB02 LB05 PS01 PS02 PS03 NO01 NO02 NO03 NO04 NO05

DO (m

g/l)

0

1

2

3

4

5

LB01 LB02 LB05 PS01 PS02 PS03 NO01 NO02 NO03 NO04 NO05

BOD

(mg/l

)

รูปท่ี 4-7 ปริมาณออกซิเจนละลายในน้ํา (DO)

ของแมน้ําสายหลัก รูปท่ี 4-8 ปริมาณความสกปรกในรูปสารอินทรีย (BOD)

ของแมน้ําสายหลัก

0

20,000

40,000

60,000

80,000

100,000

LB01 LB02 LB05 PS01 PS02 PS03 NO01 NO02 NO03 NO04 NO05

TCB

0

20,000

40,000

60,000

80,000

100,000

LB01 LB02 LB05 PS01 PS02 PS03 NO01 NO02 NO03 NO04 NO05

FCB

รูปท่ี 4-9 ปริมาณแบคทีเรียกลุมโคลิฟอรมท้ังหมด (TCB)

ของแมน้ําสายหลัก รูปท่ี 4-10 ปริมาณฟคัลโคลิฟอรมแบคทีเรีย (FCB)

ของแมน้ําสายหลัก

0.0

0.1

0.2

0.3

0.4

0.5

0.6

LB01 LB02 LB05 PS01 PS02 PS03 NO01 NO02 NO03 NO04 NO05

แอมโมเนีย

(มก.

/ล.)

รูปท่ี 4-11 ปริมาณแอมโมเนียของแมน้ําสายหลัก

Page 38: 1. - reo06.mnre.go.th · รายงานสถานการณ ป 2550 1. ข อมูลทั่วไป 1.1 ที่ตั้งและอาณาเขต พื้นที่รับผิดชอบของส

สถานการณและปญหา

รายงานสถานการณ ป 2550 4-12

4.1.5 คลองเชื่อมตอแมน้ําเจาพระยา จากการเฝาระวัง ติดตาม ตรวจสอบและเก็บตัวอยางน้ําบริเวณคลองเชื่อมตอแมน้ํา

เจาพระยา ระหวางจังหวัดสมุทรปราการ กรุงเทพมหานคร และนนทบุรี สรุปไดวาคุณภาพน้ําจัดอยูในแหลงน้ําประเภทที่ 5 เสื่อมโทรมมาก ซ่ึงเมื่อเปรียบเทียบกับคุณภาพน้ําในแตละคลอง พบวาคลองพระโขนง มีความเสื่อมโทรมมากที่สุด (ดังตารางที่ 4-7 และรูปที่ 4-12 – 4-16)

ตารางที่ 4-7 คุณภาพน้ําคลองเชื่อมตอแมน้าํเจาพระยา

ดัชนีชี้วัดคุณภาพน้ํา สัญลักษณ สถานีเก็บตัวอยางน้ํา

DO BOD NH3 TCB FCB

คุณภาพน้ํา ประเภท

BPC คลองบางปลากด อําเภอพระสมุทรเจดีย จังหวัดสมุทรปราการ

5.4 3.3 1.07 85,667 35,233 5

SRC คลองสําโรง อําเภอพระประแดง จังหวัดสมุทรปราการ

2.1 6.6 1.46 64,333 58,667 5

PKC คลองพระโขนง เขตพระโขนง กรุงเทพมหานคร

1.8 11.1 5.50 160,000 160,000 5

LLC คลองลัดหลวง อําเภอพระประแดง จังหวัดสมุทรปราการ

3.2 3.6 0.53 36,333 15,667 5

DKC คลองดาวคะนอง เขตจอมทอง กรุงเทพฯ

2.5 5.2 0.62 77,333 65,333 5

BYC คลองบางใหญ เขตบางกอกใหญ กรุงเทพฯ

4.6 3.4 0.87 123,333 52,333 5

MOC คลองมอญ เขตบางกอกใหญ กรุงเทพฯ

3.7 4.2 0.74 114,667 87,667 5

BNC คลองบางกอกนอย เขตบางกอกนอย กรุงเทพฯ

3.7 3.9 0.36 66,000 57,667 4

BKC คลองบางกรวย อําเภอบางกรวย จังหวัดนนทบุรี

3.3 2.2 0.11 73,333 44,333 4

คาเฉลี่ย 3.4 4.8 1.25 89,000 64,100 5

Page 39: 1. - reo06.mnre.go.th · รายงานสถานการณ ป 2550 1. ข อมูลทั่วไป 1.1 ที่ตั้งและอาณาเขต พื้นที่รับผิดชอบของส

สถานการณและปญหา

รายงานสถานการณ ป 2550 4-13

0.0

1.0

2.0

3.0

4.0

5.0

6.0

BPC SRC PKC LLC DKC BYC MOC BNC BKC

DO (m

g/l)

0

2

4

6

8

10

12

BPC SRC PKC LLC DKC BYC MOC BNC BKC

BOD

(mg/l

)

รูปท่ี 4-12 ปริมาณออกซิเจนละลายในน้ํา (DO)

ของคลองเชื่อมตอแมน้ําเจาพระยา รูปท่ี 4-13 ปริมาณความสกปรกในรูปสารอินทรีย (BOD)

ของคลองเชื่อมตอแมน้ําเจาพระยา

020,000

40,00060,000

80,000

100,000

120,000140,000

160,000180,000

BPC SRC PKC LLC DKC BYC MOC BNC BKC

TCB

MPN

/100 m

l.

020,000

40,00060,000

80,000100,000

120,000140,000

160,000180,000

BPC SRC PKC LLC DKC BYC MOC BNC BKC

FCB

MPN

/100 m

l.

รูปท่ี 4-14 ปริมาณแบคทีเรียกลุมโคลิฟอรมท้ังหมด (TCB)

ของคลองเชื่อมตอแมน้ําเจาพระยา รูปท่ี 4-15 ปริมาณฟคัลโคลิฟอรมแบคทีเรีย (FCB)

ของคลองเชื่อมตอแมน้ําเจาพระยา

0

1

2

3

4

5

6

BPC SRC PKC LLC DKC BYC MOC BNC BKC

แอมโมเนีย

(มก.

/ล.)

รูปท่ี 4-16 ปริมาณแอมโมเนียของคลองเชื่อมตอแมน้ํา

เจาพระยา

Page 40: 1. - reo06.mnre.go.th · รายงานสถานการณ ป 2550 1. ข อมูลทั่วไป 1.1 ที่ตั้งและอาณาเขต พื้นที่รับผิดชอบของส

สถานการณและปญหา

รายงานสถานการณ ป 2550 4-14

4.2 คุณภาพอากาศและเสียง 4.2.1 สถานีตรวจวัดคุณภาพอากาศ

สํานักจัดการคุณภาพอากาศและเสียง กรมควบคุมมลพิษ ไดดําเนินการติดตั้งสถานีตรวจวัดคุณภาพอากาศ เพื่อทําการเฝาระวังคุณภาพอากาศในบรรยากาศ ในพื้นที่สํานักงานส่ิงแวดลอมภาคที่ 6 นนทบุรี จํานวน 9 สถานี ดังนี้ จังหวัดสมุทรปราการ จํานวน 5 สถานี จังหวัดนนทบุรี จํานวน 2 สถานี

จังหวัดปทุมธานี จํานวน 1 สถานี และจังหวัดพระนครศรีอยุธยา จํานวน 1 สถานี ทําการตรวจวัด ดวยเครื่องมืออัตโนมัติ ตลอด 24 ช่ัวโมง นอกจากนี้สํานักงานสิ่งแวดลอมภาคที่ 6 นนทบุรี ไดดําเนินการเฝาระวังคุณภาพอากาศในบรรยากาศ ในจังหวัดสิงหบุรีและอางทอง เพิ่มเติม โดยเก็บตัวอยาง ฝุนละอองขนาดเล็กกวา 10 ไมครอน (PM-10) ดวยเครื่องเก็บฝุนละอองชนิดปริมาตรสูง (Hi-Volume) รายละเอียดสถานีตรวจวัดคุณภาพอากาศ และตําแหนงที่ตั้ง แสดงดังตารางที่ 4-8 และรูปที่ 4-17

Page 41: 1. - reo06.mnre.go.th · รายงานสถานการณ ป 2550 1. ข อมูลทั่วไป 1.1 ที่ตั้งและอาณาเขต พื้นที่รับผิดชอบของส

สถานการณและปญหา

รายงานสถานการณ ป 2550 4-15

ตารางที่ 4-8 รายละเอียดสถานีตรวจวัดคุณภาพอากาศ ในพื้นท่ีรับผิดชอบของสํานักงานสิ่งแวดลอม

ภาคที่ 6 นนทบุรี

สถาน ี ท่ีตั้ง พารามิเตอรท่ีตรวจวัด 1. ศาลากลางจังหวัด ดานหนาศาลาประชาคม

ศาลากลางจังหวัดฯ อ.เมือง SO2, NO2, PM10

2. โรงจักรไฟฟาพระนครใต ภายในบริเวณการไฟฟาฝายผลิต โรงจักรพระนครใต ต.บางโปรง อ.พระประแดง

SO2, NO2, PM10

3. ศูนยฟนฟูอาชีพคนพิการและทุพพลภาพพระประแดง

ภายในบริเวณศูนยฟนฟูอาชีพ คนพิการและทุพพลภาพ พระประแดง อ.พระประแดง

SO2, NO2, PM10, CO

4. กรมทรัพยากรธรณีพระประแดง บริเวณบานพักชุมชน กรมทรัพยากรธรณี อ.พระประแดง (ติดแพขามฟากริมแมน้ําเจาพระยา)

SO2, NO2, PM10

5. การเคหะชุมชนบางพลี การเคหะชุมชนบางพลี (เมืองใหมบางพลี) อ.บางพลี

SO2, NO2, PM10, CO, O3

6. บริษัท กฝผ.จํากัด (มหาชน) บริเวณ บริษัท กฝผ.จํากัด (มหาชน) อ.บางกรวย จ. นนทบุรี

SO2, NO2, PM10, CO, O3

7. มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช บริเวณมหาวิทยาลัยสุโขทัย ธรรมาธิราช อ.ปากเกร็ด จ. นนทบุรี

SO2, NO2, PM10, CO, O3

8. มหาวิทยาลัยกรุงเทพ วิทยาเขตรังสิต

บริเวณมหาวิทยาลัยกรุงเทพ วิทยาเขตรังสิต อ.คลองหลวง จ. ปทุมธานี

SO2, NO2, PM10, CO, O3

9. โรงเรียนอยุธยาวิทยาลัย บริเวณโรงเรียนอยุธยาวิทยาลัย อ.พระนครศรีอยุธยา จ. พระนครศรีอยุธยา

SO2, NO2, PM10, CO, O3

10. บานพักขาราชการ กรมชลประทาน

บานพักขาราชการ กรมชลประทาน จังหวัดอางทอง

PM10

11. สํานักงานทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอมจังหวัดสิงหบุรี

ดานหนาสํานักงานทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอมจังหวัดสิงหบุรี

PM10

Page 42: 1. - reo06.mnre.go.th · รายงานสถานการณ ป 2550 1. ข อมูลทั่วไป 1.1 ที่ตั้งและอาณาเขต พื้นที่รับผิดชอบของส

สถานการณและปญหา

รายงานสถานการณ ป 2550 4-16

รูปท่ี 4-17 สถานีตรวจวดัคุณภาพอากาศ ในพื้นท่ีรับผดิชอบของสาํนักงานสิง่แวดลอมภาคที่ 6 นนทบุรี

Page 43: 1. - reo06.mnre.go.th · รายงานสถานการณ ป 2550 1. ข อมูลทั่วไป 1.1 ที่ตั้งและอาณาเขต พื้นที่รับผิดชอบของส

สถานการณและปญหา

รายงานสถานการณ ป 2550 4-17

4.2.2 ผลการตรวจวัดคุณภาพอากาศ ผลการตรวจวัดคุณภาพอากาศ ตั้งแตชวงเดือนตุลาคม 2549 ถึง กันยายน 2550

คุณภาพอากาศในบรรยากาศโดยรวมในพื้นที่สํานักงานสิ่งแวดลอมภาคที่ 6 นนทบุรี อยูในเกณฑที่ดี ยกเวนปญหาฝุนละอองขนาดเล็กกวา 10 ไมครอน (PM – 10) กาซโอโซน (O3) และกาซไนโตรเจน ไดออกไซด (NO2) โดยฝุนละอองขนาดเล็กกวา 10 ไมครอน พบวามีบางสถานีที่เกินมาตรฐานกําหนดและบางสถานีเกินมาตรฐานในบางครั้ง ยกเวนสถานี บริษัท การไฟฟาฝายผลิตแหงประเทศไทย จํากัด (มหาชน) ที่ไมมีปญหาเรื่องฝุนละอองเกินมาตรฐาน สวนกาซโอโซน พบวามีบางชวงบางสถานีที่มีคาเกินมาตรฐานกําหนด ไดแก สถานี บริษัท การไฟฟาฝายผลิตแหงประเทศไทย จํากัด (มหาชน) จังหวัดนนทบุรี สถานีการเคหะชุมชนบางพลี จังหวัดสมุทรปราการ สถานีมหาวิทยาลัยกรุงเทพ วิทยาเขตรังสิต จังหวัดปทุมธานี และสถานีโรงเรียนอยุธยาวิทยาลัย จังหวัดพระนครศรีอยุธยา สวนกาซไนโตรเจนไดออกไซด พบเกินมาตรฐานในบางครั้งที่สถานีโรงจักรพระนครใต จังหวัดสมุทรปราการ สวนจังหวัดสิงหบุรีและจังหวัดอางทองบริเวณที่ตรวจวัด พบวาปริมาณฝุนละอองขนาดเล็กกวา 10 ไมครอน มีคาไมเกินมาตรฐานกําหนด (ดังรูปที่ 4-18 – 4-20) โดยมีรายละเอียดดังนี้

0

100

200

300

400

500

อางทอง

สิงหบุรี

กฟผ.

มสธ. อย. มก

ท.บาง

พลี

ศาลากล

าง สป

.

กรมทรัพยากรธรณ

ีโรงจักร

ศูนยฟนฟูฯ

ฝุนขน

าดเล็ก

กวา 1

0 ไมค

รอน (

มคก./ลบ

.ม.)

คาสูงสุด คาเฉลี่ย คาตํ่าสุด คามาตรฐาน

รูปท่ี 4-18 ผลการตรวจวัดปริมาณฝุนขนาดเล็กกวา 10 ไมครอน (PM-10)

0

50

100

150

200

250

300

กฟผ.

มสธ. อย. มกท

.บาง

พลี

ศาลากล

าง สป.

กรมทรัพ

ยากรธรณี

โรงจักร

ศูนยฟน

ฟูฯ

กาซไ

นโตรเจน

ไดออ

กไซด

คาเฉ

ลี่ย 1 ช

ม. (p

pb.)

คาสูงสุด คาเฉลี่ย คาต่ําสุด คามาตรฐาน

รูปท่ี 4-19 ผลการตรวจวัดปริมาณกาซไนโตรเจนไดออกไซด (NO2)

120 มคก./ลบ.ม.

170 พพีีบ ี

Page 44: 1. - reo06.mnre.go.th · รายงานสถานการณ ป 2550 1. ข อมูลทั่วไป 1.1 ที่ตั้งและอาณาเขต พื้นที่รับผิดชอบของส

สถานการณและปญหา

รายงานสถานการณ ป 2550 4-18

0

20

40

60

80

100

120

140

160

กฟผ. มสธ. อย. มกท. บางพลี

กาซโ

อโซน

คาเฉลี่ย

1 ชม

. ( pp

b )

คาสูงสุด คาเฉล่ีย คาตํ่าสุด คามาตรฐาน

รูปท่ี 4-20 ผลการตรวจวัดปริมาณกาซโอโซน ( O3 ) คาเฉล่ีย 1 ชั่วโมง

1) จังหวัดสมทุรปราการ จากผลการตรวจวัดคุณภาพอากาศ จํานวน 5 สถานี พบวา คุณภาพอากาศสวนใหญอยูใน

เกณฑมาตรฐาน ยกเวนฝุนละอองขนาดเล็กกวา 10 ไมครอน (PM – 10) ซ่ึงมีคาเกินมาตรฐานทุกจุด คาที่ตรวจวัดไดมีคาเฉลี่ยอยูในชวง 60.3 – 116.5 ไมโครกรัมตอลูกบาศกเมตร คาสูงสุดเทากับ 461.5 ไมโครกรัมตอลูกบาศกเมตร และคาต่ําสุดเทากับ 6.3 ไมโครกรัมตอลูกบาศกเมตร โดยบริเวณโรงจักรไฟฟาพระนครใต กรมทรัพยากรธรณี อําเภอพระประแดง และศูนยฟนฟูอาชีพคนพิการและทุพพลภาพ พระประแดง มีจํานวนครั้งที่เกินมาตรฐาน สูงที่สุดคิดเปนรอยละ 38 , 33 และ 31 ตามลําดับ ซ่ึงจากขอมูลผลการตรวจวัดคุณภาพอากาศรายเดือนพบวาในชวงเดือนพฤศจิกายน 2549 ถึง กุมภาพันธ 2550 มีจํานวนครั้งที่เกินมาตรฐานสูงที่สุด คิดเปนรอยละ 60.35

นอกจากนี้ บริเวณโรงจักรไฟฟาพระนครใต พบกาซไนโตรเจนไดออกไซด มีคาสูงเกินมาตรฐานในบางครั้ง โดยคาที่ตรวจวัดไดมีคาเฉลี่ย 17.6 พีพีบี คาสูงสุดเทากับ 242.0 พีพีบี และคาต่ําสุดเทากับ 0 พีพีบี สวนกาซโอโซน (O3) มีการตรวจวัดเพียงสถานีเดียวคือ สถานีการเคหะชุมชนบางพลี คาที่ตรวจวัดไดมีคาเฉลี่ย 19.1 พีพีบี คาสูงสุดเทากับ 140.1 พีพีบี และคาต่ําสุดเทากับ 0 พีพีบี

2) จังหวัดนนทบุรี จากผลการตรวจวัดคุณภาพอากาศ จํานวน 2 สถานี พบวา คุณภาพอากาศสวนใหญอยูใน

เกณฑมาตรฐาน ยกเวนบริเวณมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช อําเภอปากเกร็ด ที่ปริมาณฝุนละอองขนาดเล็กกวา 10 ไมครอน (PM – 10) มีคาสูงเกินมาตรฐานในบางครั้งในเดือนกุมภาพันธ 2550 โดยคาที่ตรวจวัดไดมีคาเฉลี่ย 48.4 ไมโครกรัมตอลูกบาศกเมตร คาสูงสุดเทากับ 147.1 ไมโครกรัมตอลู กบ าศก เ มตร และค า ต่ํ า สุ ด เท า กั บ 2 2 . 6 ไมโครกรั มต อ ลู กบาศก เ มตร นอกจ ากนี้ ยังพบวากาซโอโซน (O3) บริเวณ บริษัท การไฟฟาฝายผลิตแหงประเทศไทย จํากัด (มหาชน) อําเภอ

100 พพีีบ ี

Page 45: 1. - reo06.mnre.go.th · รายงานสถานการณ ป 2550 1. ข อมูลทั่วไป 1.1 ที่ตั้งและอาณาเขต พื้นที่รับผิดชอบของส

สถานการณและปญหา

รายงานสถานการณ ป 2550 4-19

บางกรวย มีคาสูงเกินมาตรฐานในบางครั้งในชวงเดือน ตุลาคม 2549 ถึง กุมภาพันธ 2550 โดยคาที่ตรวจวัดไดมีคาเฉลี่ย 20.2 พีพีบี คาสูงสุดเทากับ 125.0 พีพีบี และคาต่ําสุดเทากับ 0 พีพีบี

3) จังหวัดปทุมธานี จากผลการตรวจวัดคุณภาพอากาศ จํานวน 1 สถานี บริเวณมหาวิทยาลัยกรุงเทพ วิทยาเขต

รังสิต อําเภอคลองหลวง พบวา คุณภาพอากาศสวนใหญอยูในเกณฑมาตรฐาน ยกเวนปริมาณฝุนละอองขนาดเล็กกวา 10 ไมครอน (PM – 10) และกาซโอโซน (O3) ที่มีคาสูงเกินมาตรฐานในบางครั้ง โดยปริมาณฝุนละอองขนาดเล็กกวา 10 ไมครอน (PM – 10) พบวามีคาสูงเกินมาตรฐานในเดือนกุมภาพันธ 2550 คาที่ตรวจวัดไดมีคาเฉลี่ย 52.7 ไมโครกรัมตอลูกบาศกเมตร คาสูงสุดเทากับ 124.4ไมโครกรัมตอลูกบาศกเมตร และคาต่ําสุดเทากับ 13.9 ไมโครกรัมตอลูกบาศกเมตร สวนกาซโอโซน (O3) มีคาสูงเกินมาตรฐานเปนครั้งคราวในชวงเดือน ตุลาคม 2549 ถึง กุมภาพันธ 2550 คาที่ตรวจวัดไดมีคาเฉลี่ย 20.8 พีพีบี คาสูงสุดเทากับ 124.0 พีพีบี และคาต่ําสุดเทากับ 0 พีพีบี

4) จังหวัดพระนครศรีอยุธยา จากผลการตรวจวัดคุณภาพอากาศ จํานวน 1 สถานี บริเวณโรงเรียนอยุธยาวิทยาลัย

อําเภอพระนครศรีอยุธยา พบวา คุณภาพอากาศสวนใหญอยูในเกณฑมาตรฐาน ยกเวนปริมาณฝุนละอองขนาดเล็กกวา 10 ไมครอน (PM – 10) และกาซโอโซน (O3) ที่มีคาสูงเกินมาตรฐานเปนครั้งคราว โดยปริมาณฝุนละอองขนาดเล็กกวา 10 ไมครอน (PM – 10) พบวามีคาสูงเกินมาตรฐานในชวงเดือนพฤศจิกายน 2549 ถึง กุมภาพันธ 2550 คาที่ตรวจวัดไดมีคาเฉลี่ย 57.9 ไมโครกรัมตอลูกบาศกเมตร คาสูงสุดเทากับ 221.1ไมโครกรัมตอลูกบาศกเมตร และคาต่ําสุดเทากับ 16.7 ไมโครกรัมตอลูกบาศกเมตร สวนกาซโอโซน (O3) มีคาสูงเกินมาตรฐานเปนครั้งคราวในชวงเดือน มกราคม ถึง เมษายน 2550 คาที่ตรวจวัดไดมีคาเฉลี่ย 21.7 พีพีบี คาสูงสุดเทากับ 123.0 พีพีบี และคาต่ําสุดเทากับ 0 พีพีบี

5) จังหวัดสงิหบุรี จากผลการตรวจวัดคุณภาพอากาศ จํานวน 1 สถานี บริเวณสํานักงานทรัพยากร

ธรรมชาติและสิ่งแวดลอมจังหวัดสิงหบุรี ซ่ึงอยูใกลกับบริเวณสี่แยกดงมะขามเทศ เปนจุดที่ใชเฝาระวังและเปนตัวแทนยานที่มีการจราจรหนาแนนพบวา ปริมาณฝุนละอองขนาดเล็กกวา 10 ไมครอน (PM-10) มีคาเฉลี่ยเทากับ 35.91 ไมโครกรัมตอลูกบาศกเมตร โดยคาสูงสุดมีคาเทากับ 68.79 ไมโครกรัมตอลูกบาศกเมตร และคาต่ําสุดเทากับ 17.41 ไมโครกรัมตอลูกบาศกเมตร ซ่ึงไมเกินมาตรฐานกําหนด

Page 46: 1. - reo06.mnre.go.th · รายงานสถานการณ ป 2550 1. ข อมูลทั่วไป 1.1 ที่ตั้งและอาณาเขต พื้นที่รับผิดชอบของส

สถานการณและปญหา

รายงานสถานการณ ป 2550 4-20

6) จังหวัดอางทอง จากผลการตรวจวัดคุณภาพอากาศ จํานวน 1 สถานี บริเวณบานพักขาราชการกรม

ชลประทาน จังหวัดอางทอง ซ่ึงเปนจุดเฝาระวังและเปนตัวแทนยานที่พักอาศัย ปริมาณฝุนละอองขนาดเล็กกวา 10 ไมครอน (PM-10) ที่ตรวจวัดไดมีคาเฉลี่ยเทากับ 43.01 ไมโครกรัมตอลูกบาศกเมตร โดยคาสูงสุดมีคาเทากับ 63.34 ไมโครกรัมตอลูกบาศกเมตร และคาต่ําสุดเทากับ 21.96 ไมโครกรัมตอลูกบาศกเมตร ซ่ึงไมเกินมาตรฐานกําหนด

4.2.3 คุณภาพเสียง สํานักจัดการคุณภาพอากาศและเสียง กรมควบคุมมลพิษ ไดดําเนินการเฝาระวังคุณภาพ

เสียง ในพื้นที่รับผิดชอบของสํานักงานสิ่งแวดลอมภาคที่ 6 นนทบุรี โดยแบงการเฝาระวังคุณภาพเสียงเปน 2 พื้นที่ คือ บริเวณพื้นที่ทั่วไปไดแก บริเวณมหาวิทยาลัยกรุงเทพ วิทยาเขตรังสิต อําเภอคลองหลวง จังหวัดปทุมธานี และ บริเวณมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช อําเภอปากเกร็ด จังหวัดนนทบุรี ซ่ึงดําเนินการตรวจวัดอยางตอเนื่องตั้งแตเดือนมกราคม ถึง กันยายน 2550 และบริเวณพื้นที่ริมถนน ซ่ึงเปนสถานีตรวจวัดชั่วคราว ในพื้นที่จังหวัดสมุทรปราการ นําผลที่ไดเปรียบเทียบกับเกณฑมาตรฐานตามประกาศคณะกรรมการสิ่งแวดลอมแหงชาติ ฉบับที่ 15 (พศ. 2540) เร่ืองกําหนดมาตรฐานระดับเสียงโดยท่ัวไป ซ่ึงกําหนดคาระดับเสียงเฉลี่ย(Leq) 24 ช่ัวโมง ไมเกิน 70 เดซิเบลเอ (dBA) จากการเฝาระวังคุณภาพเสียง ในบริเวณพื้นที่ทั่วไปทั้ง 2 แหง พบวาอยูในเกณฑมาตรฐาน สวนพื้นที่ริมถนนพบวาเกินเกณฑมาตรฐานกําหนด มีรายละเอียดดังนี้

1) บริเวณพื้นท่ีท่ัวไป มี 2 สถานี

บริเวณมหาวิทยาลัยกรุงเทพ วิทยาเขตรังสิต อําเภอคลองหลวง จังหวัดปทุมธานี พบวาคาระดับเสียงเฉลี่ย (Leq) 24 ช่ัวโมง มีคาเฉลี่ยอยูระหวาง 57.0 – 64.1 เดซิเบลเอ (dBA) โดยมีคาต่ําสุดเทากับ 51.3 เดซิเบลเอ(dBA) และคาสูงสุดเทากับ 72.3 เดซิเบลเอ(dBA) เมื่อเปรียบเทียบคาสูงสุดกับเกณฑมาตรฐานระดับเสียงโดยทั่วไปพบวาคาเฉลี่ยอยู ในเกณฑมาตรฐาน

บ ริ เ ว ณ ม ห า วิ ท ย า ลั ย สุ โ ข ทั ย ธรรมาธิราช อําเภอปากเกร็ด จังหวัดนนทบุรี พบวาคาระดับเสียงเฉลีย่ (Leq) 24 ช่ัวโมง มีคาเฉลี่ยอยูระหวาง 52.8 – 59.5 เดซิเบลเอ (dBA) โดยมีคาต่ําสุดเทากับ 46.1 เดซิเบลเอ(dBA) และคาสูงสุดเทากับ 68.2 เดซิเบลเอ(dBA) เมื่อเปรียบเทียบคาสูงสุดกับเกณฑมาตรฐานระดับเสียงโดยทั่วไปพบวาอยูในเกณฑมาตรฐาน

Page 47: 1. - reo06.mnre.go.th · รายงานสถานการณ ป 2550 1. ข อมูลทั่วไป 1.1 ที่ตั้งและอาณาเขต พื้นที่รับผิดชอบของส

สถานการณและปญหา

รายงานสถานการณ ป 2550 4-21

2) บริเวณพื้นท่ีริมหรือใกลถนน (สถานีชั่วคราว) จากการตรวจวัดระดับเสียง บริเวณริมถนนในพื้นที่จังหวัดสมุทรปราการ ระหวางเดือน

กรกฎาคม - สิงหาคม 2550 เมื่อเปรียบเทียบกับเกณฑมาตรฐานระดับเสียงโดยทั่วไปพบวาเกินเกณฑมาตรฐานกําหนด รายละเอียด ดังตารางที่ 4-9 และรูปที่ 4-21

ตารางที่ 4-9 ผลการตรวจวัดระดับเสียงริมถนน ในพืน้ท่ีจังหวัดสมุทรปราการ

จุดตรวจวดั วันที่ตรวจวดั ระดับเสียงเฉลีย่ (Leq) 24 ช่ัวโมง

(เดซิเบลเอ)

คาเฉลี่ย (Leq) 24 ช่ัวโมง

(เดซิเบลเอ) 1. สถานีตํารวจภธูรอําเภอเมือง

สมุทรปราการ ถนนสุขุมวิท 12-17 ก.ค.50 75.0-78.0 76.5

2. สถานีตํารวจภธูร สําโรงใต ถนนปูเจาสมิงพราย

8-14 ก.ค. 50 77.0-78.3 77.6

3. โรงเรียนสมุทรปราการ ถนนสุขุมวิท (สายเกา)

17-22 ก.ค.50 72.8-73.8 73.5

4. บริษัท กสท. โทรคมนาคมจํากัด (มหาชน) ถนน ศรีนครินทร

25-31 ก.ค.50 77.7-80.5 79.3

5. สํานักงานประกันสังคมสมุทรปราการ ถนนเทพารักษ

15-21 ส.ค.50 70.8-73.6 73.2

มาตรฐานกาํหนด 70

64

66

68

70

72

74

76

78

80

82

สภ.อ.สป. สภ.ต.สําโรงใต ร.ร.สมทุรปราการ บริษัท กสท. สนง.ประกันสังคม

ระดับ

เสียงเฉลี่ย

(Leq

) 24 ชั่

วโมง

(dBA

)

คาตํ่าสุด คาสูงสุด คาเฉล่ีย คามาตรฐาน

รูปท่ี 4-21 ผลการตรวจวัดระดับเสียงริมถนน ในพืน้ท่ีจังหวัดสมุทรปราการ

70 dBA

Page 48: 1. - reo06.mnre.go.th · รายงานสถานการณ ป 2550 1. ข อมูลทั่วไป 1.1 ที่ตั้งและอาณาเขต พื้นที่รับผิดชอบของส

สถานการณและปญหา

รายงานสถานการณ ป 2550 4-22

4.3 น้ําเสียชมุชน

4.3.1 ขอมูลระบบบําบัดน้ําเสีย ระบบบําบัดน้ําเสีย ในพื้นที่รับผิดชอบของ สํานักงานสิ่งแวดลอมภาคที่ 6 นนทบุรี

จํานวน 6 แหงไดมีการออกแบบระบบบําบัด ใหสามารถรองรับปริมาณน้ําเสีย ประมาณ 88,200 ลบ.ม./วัน แตปจจุบันมีน้ําเขาระบบ ประมาณ 21,700 ลบ.ม./วัน คิดเปน 24.60% โดยเทศบาลที่มีปริมาณน้ําเสียเขาระบบบําบัดน้ําเสีย มากที่สุด คือ เทศบาลนครนนทบุรี ประมาณ 13,000 ลบ.ม./วัน รองลงมาคือเทศบาลนครพระนครศรีอยุธยา ประมาณ 8,000 ลบ.ม./วัน ทั้งนี้มีระบบบําบัดน้ําเสียของเทศบาลเมืองสิงหบุรี เทศบาลเมืองอางทอง และเทศบาลตําบลพระอินทราชา ที่ไดรับผลกระทบจากปญหาน้ําทวมเมื่อเดือนตุลาคม 2549 ทําใหระบบชํารุด เสียหายไมสามารถเดินระบบได และอยูระหวางการปรับปรุงซอมแซม (แสดงดังตารางที่ 4-10)

ตารางที่ 4-10 ขอมูลระบบบําบัดน้ําเสีย และปริมาณน้ําเสียท่ีเกิดขึ้น ของเทศบาล 6 แหง

ลําดับ ที่

เทศบาล ชนิดของระบบบําบัดน้ําเสีย

ออกแบบ ระบบบําบัด

น้ําเสีย (ลบ.ม./วัน)

ปริมาณน้ําเสีย ที่เขาระบบฯ ในปจจุบนั (ลบ.ม./วัน)

คิดเปน %

1 เทศบาลเมืองสิงหบุรี SP 4,500 ไมไดเดินระบบ - 2 เทศบาลเมืองอางทอง AL 8,200 ไมไดเดินระบบ - 3 เทศบาลนครพระนครศรีอยุธยา AS 24,000 8,000 33.33 4 เทศบาลตําบลพระอินทราชา AS 3,000 ไมไดเดินระบบ - 5 เทศบาลเมืองปทุมธานี OD 10,000 700 7.00 6 เทศบาลนครนนทบุรี AS 38,500 13,000 33.77

รวม 6 แหง 88,200 21,700 24.60

ท่ีมา : ดัดแปลงจากสํานักงานสิ่งแวดลอมภาคท่ี 6 นนทบุรี, โครงการติดตามประเมินประสิทธิภาพระบบบําบัดน้ํา เสียรวมชุมชน, 2549

Page 49: 1. - reo06.mnre.go.th · รายงานสถานการณ ป 2550 1. ข อมูลทั่วไป 1.1 ที่ตั้งและอาณาเขต พื้นที่รับผิดชอบของส

สถานการณและปญหา

รายงานสถานการณ ป 2550 4-23

รูปท่ี 4-22 แผนที่แสดงที่ตั้งและประเภทระบบบําบัดน้ําเสียของเทศบาล จํานวน 6 แหงในพื้นท่ี สสภ.6 นนทบุรี

Page 50: 1. - reo06.mnre.go.th · รายงานสถานการณ ป 2550 1. ข อมูลทั่วไป 1.1 ที่ตั้งและอาณาเขต พื้นที่รับผิดชอบของส

สถานการณและปญหา

รายงานสถานการณ ป 2550 4-24

4.3.2 ผลการตรวจวิเคราะหคุณภาพน้ําท้ิงจากระบบบําบัดน้ําเสีย จากการดําเนินงานโครงการติดตามประเมินประสิทธิภาพระบบบําบัดน้ําเสียรวมชุมชน

จํานวน 6 แหงในพื้นที่ 5 จังหวัด คือ สิงหบุรี อางทอง พระนครศรีอยุธยา ปทุมธานี และนนทบุรี ป 2550 สรุปไดดังนี้

1) ระบบบําบัดน้ําเสียของเทศบาล จํานวน 3 แหง คือ เทศบาลเมืองสิงหบุรี เทศบาลเมืองอางทอง และเทศบาลตําบลพระอินทราชา ไมสามารถเดินระบบบําบัดน้ําเสียได เพราะระบบเกิดการชํารุดอันเนื่องมาจากการเกิดอุทกภัย เมื่อเดือนตุลาคม2549 และอยูระหวางการฟนฟู และซอมแซม สวนที่เสียหาย โดยเทศบาล ไดรับงบประมาณสนับสนุนในการปรับปรุง ซอมแซม ระบบรวบรวมและบําบัดน้ําเสีย จากกรมสงเสริมการปกครองสวนทองถ่ิน

2) ระบบบําบัดน้ําเสียของเทศบาลจํานวน 3 แหง ที่มีการเดินระบบไดแก เทศบาลนครนนทบุรี เทศบาลเมืองปทุมธานี และเทศบาลนครพระนครศรีอยุธยา จากผลการตรวจวิเคราะหคุณภาพน้ําจํานวน แหงละ 4 คร้ัง เมื่อเปรียบเทียบกับเกณฑมาตรฐานน้ําทิ้งอุตสาหกรรม พบวา

• น้ําทิ้งจากระบบบําบัดน้ําเสียเทศบาลนครพระนครศรีอยุธยาพบวาอยูในเกณฑมาตรฐานกําหนด จํานวน 3 คร้ัง ไมไดมาตรฐาน 1 คร้ัง โดย มีคา น้ํามันและไขมัน (Fat, Oil and Grease) เกินมาตรฐานกําหนด

• น้ําทิ้งจากระบบบําบัดน้ําเสียเทศบาลเมืองปทุมธานี มีคุณภาพน้ําอยูในเกณฑมาตรฐานกําหนด 3 คร้ัง ไมไดมาตรฐาน 1 คร้ัง โดยมีคาความสกปรกในรูปสารอินทรีย (BOD) เกินมาตรฐานกําหนด

• น้ําทิ้งจากระบบบําบัดน้ําเสียเทศบาลนครนนทบุรี มีคุณภาพน้ําอยูในเกณฑมาตรฐานกําหนด 3 คร้ัง ไมไดมาตรฐาน 1 คร้ัง โดยมีคาความสกปรกในรูปสารอินทรีย (BOD) เกินมาตรฐานกําหนดรายละเอียดแสดงดังตารางที่ 4-11 และรูปที่ 4-23 -4-26

ตารางที่ 4-11 ผลการตรวจวิเคราะหคุณภาพน้ําท้ิงจากระบบบําบัดน้ําเสียของเทศบาล จํานวน 6 แหง

ขอมูลท่ีตรวจวิเคราะหและไมไดมาตรฐาน ลําดับ ท่ี

เทศบาล ชนิดของระบบ บําบัดน้ําเสีย คร้ังที่ 1 คร้ังที่ 2 คร้ังที่ 3 คร้ังที่ 4

1 ทม.สิงหบุรี SP ไมไดเดินระบบ (เนื่องจากเสียหายจากอุทกภัย)

2 ทม.อางทอง AL ไมไดเดินระบบ (เนื่องจากเสียหายจากอุทกภัย)

3 ทต.พระอินทราชา AS ไมไดเดินระบบ (เนื่องจากเสียหายจากอุทกภัย)

4 ทน.พระนครศรีอยุธยา OD อยูในเกณฑมาตรฐาน อยูในเกณฑมาตรฐาน อยูในเกณฑมาตรฐาน Fat, Oil and Grease

5 ทม.ปทุมธานี OD อยูในเกณฑมาตรฐาน อยูในเกณฑมาตรฐาน BOD อยูในเกณฑมาตรฐาน

6 ทน.นนทบุรี AS อยูในเกณฑมาตรฐาน อยูในเกณฑมาตรฐาน BOD อยูในเกณฑมาตรฐาน

รวม 6 แหง

Page 51: 1. - reo06.mnre.go.th · รายงานสถานการณ ป 2550 1. ข อมูลทั่วไป 1.1 ที่ตั้งและอาณาเขต พื้นที่รับผิดชอบของส

สถานการณและปญหา

รายงานสถานการณ ป 2550 4-25

0

10

20

30

40

50

60

ทน.นนทบุรี

ทม.ปทุมธานี

ทน.พระนครศ

รีอยุธยา

ทม.สิงหบุรี

ทต.พระอิน

ทราชา

ทม.อาง

ทอง

BOD

(mg/l

)

คร้ังที่ 1 คร้ังที่ 2 คร้ังที่ 3 คร้ังที่ 4 มาตรฐาน

รูปท่ี 4-23 คาความสกปรกในรูปสารอินทรีย (BOD) จากระบบบําบดัน้ําเสยีท้ัง 6 แหง

0

10

20

30

40

50

60

ทน.นนทบุรี

ทม.ปทุมธานี

ทน.พระนครศ

รีอยุธยา

ทม.สิงหบุรี

ทต.พระอิน

ทราชา

ทม.อาง

ทอง

SS (m

g/l)

คร้ังที่ 1 คร้ังที่ 2 คร้ังที่ 3 คร้ังที่ 4 มาตรฐาน

รูปท่ี 4-24 ปริมาณสารแขวนลอย (SS) จากระบบบาํบดัน้าํเสียท้ัง 6 แหง

Page 52: 1. - reo06.mnre.go.th · รายงานสถานการณ ป 2550 1. ข อมูลทั่วไป 1.1 ที่ตั้งและอาณาเขต พื้นที่รับผิดชอบของส

สถานการณและปญหา

รายงานสถานการณ ป 2550 4-26

0123456789

ทน.นนทบุรี

ทม.ปทุมธา

นี

ทน.พระนครศ

รีอยุธยา

ทม.สิงหบุรี

ทต.พระอิน

ทราชา

ทม.อาง

ทอง

Fat ,

Oil

and G

rease

(mg/l

)

คร้ังที่ 1 คร้ังที่ 2 คร้ังที่ 3 คร้ังที่ 4 มาตรฐาน

รูปท่ี 4-25 ปริมาณน้ํามันและไขมัน (Fat Oil and Grease) จากระบบบําบดัน้าํเสียท้ัง 6 แหง

0.020.040.060.0

80.0100.0120.0

ทน.นนทบุรี

ทม.ปทุมธานี

ทน.พระนครศ

รีอยุธยา

ทม.สิงหบุรี

ทต.พระอิน

ทราชา

ทม.อาง

ทอง

TKN

(mg/l

)

คร้ังที่ 1 คร้ังที่ 2 คร้ังที่ 3 คร้ังที่ 4 มาตรฐาน

รูปท่ี 4-26 ปริมาณไนโตรเจนในรูปทีเคเอ็น (TKN) จากระบบบาํบดัน้าํเสียท้ัง 6 แหง

Page 53: 1. - reo06.mnre.go.th · รายงานสถานการณ ป 2550 1. ข อมูลทั่วไป 1.1 ที่ตั้งและอาณาเขต พื้นที่รับผิดชอบของส

สถานการณและปญหา

รายงานสถานการณ ป 2550 4-27

4.4 เรื่องรองเรียน รองทุกข

ในป 2550 มีการรองเรียนปญหามลพิษ ในพื้นที่รับผิดชอบของสํานักงานสิ่งแวดลอมภาคที่ 6 นนทบุรี จํานวนทั้งสิ้น 160 เร่ือง ลดลงจากป 2549 ที่มีจํานวน 175 เร่ือง คิดเปนรอยละ 9 โดยจงัหวดัที่มีการรองเรียนมากที่สุดไดแก จังหวัดสมุทรปราการ จํานวน 55 เร่ือง คิดเปนรอยละ 34 รองลงมา คือจังหวัดนนทบุรี จํานวน 35 เร่ือง คิดเปนรอยละ 22 จังหวัดปทุมธานี จํานวน 20 เร่ือง คิดเปนรอยละ 20 จังหวัดพระนครศรีอยุธยา จํานวน 21 เร่ือง คิดเปนรอยละ 10 จังหวัดอางทอง จํานวน 10 เร่ือง คิดเปนรอยละ 6 และจังหวัดสิงหบุรี จํานวน 7 เร่ือง คิดเปนรอยละ 4 ตามลําดับ (ดังแสดงในตารางที่ 4-12 และรูปที่ 4-27) โดยปญหาที่ไดรับการรองเรียนมากที่สุด คือ ปญหากลิ่นเหม็น มีการรองเรียนคิดเปนรอยละ 31 รองลงมาคือ ปญหาน้ําเสีย (รอยละ27) ปญหาฝุนละออง/เขมาควัน (รอยละ 23) ปญหาเสียงดัง/เสียงรบกวน (รอยละ 13) ปญหาขยะมูลฝอยและส่ิงปฏิกูล (รอยละ 4) และปญหาสารเคมี/สารอันตราย/ของเสียอันตราย (รอยละ 2) ตามลําดับ ดังแสดงในตารางที่ 4-13 และรูปที่ 4-28

ตารางที่ 4-12 จํานวนเรื่องรองเรียนแยกรายจังหวัดในป 2550

จังหวัด จํานวน (เรื่อง) รอยละ สมุทรปราการ 55 34 นนทบุรี 35 22 ปทุมธาน ี 32 20 อยุธยา 21 13 อางทอง 10 6 สิงหบุรี 7 4

รวม 160 100

นนทบรุี

22%

ปทมุธานี

20%

อยุธยา

13%

อางทอง

6%

สิงหบรุี

4%สมุทรปราการ

35%

รูปท่ี 4-27 สัดสวนเร่ืองรองเรียนแยกรายจังหวัดในป 2550

ตารางที่ 4-13 ปญหามลพิษท่ีมีการรองเรียนในป 2550

ประเภทปญหา จํานวน

(ปญหา)* รอยละ

กลิ่นเหม็น 68 31 น้ําเสีย 59 27 ฝุนละออง/เขมาควัน 50 23 เสียงดัง/เสียงรบกวน 28 13 ขยะมูลฝอยและส่ิงปฏิกูล 8 4 สารเคมี/สารอันตราย/ของเสียอันตราย

5 2

อื่นๆ 1 0

รวม 219 100

*หมายเหตุ : 1 เรื่องมีการรองเรียนหลายปญหา

กลิ่นเหม็น

31%

น้ําเสีย

27%

ฝุนละออง/เขมาควัน

23%

ขยะมูลฝอย

และสิ่งปฏิกูล

4%เสียงดัง/เสียงรบกวน

13%

สารเคมี/สารอันตราย/

ของเสียอันตราย

2%

อื่นๆ

0%

รูปท่ี 4-28 สัดสวนปญหามลพิษที่มีการรองเรียนในป 2550

Page 54: 1. - reo06.mnre.go.th · รายงานสถานการณ ป 2550 1. ข อมูลทั่วไป 1.1 ที่ตั้งและอาณาเขต พื้นที่รับผิดชอบของส

สถานการณและปญหา

รายงานสถานการณ ป 2550 4-28

ชองทางในการแจงเรื่องราวรองทุกขมีหลายชองทาง โดยชองทางที่มีการใชบริการมากที่สุด

ไดแก การรองเรียนผานกรมควบคุมมลพิษ จํานวน 67 เร่ือง คิดเปนรอยละ 41 รองลงมา คือ รองเรียนผานศูนยบริการประชาชน กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม จํานวน 57 เร่ือง คิดเปนรอยละ 36 รองเรียนผานสํานักงานทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอมจังหวัดหรือหนวยงานอื่นๆในจังหวัด จํานวน 27 เร่ือง คิดเปนรอยละ 17 รองเรียนผานสื่อฯ จํานวน 5 เร่ืองคิดเปนรอยละ 3 และรองเรียนมาทางศูนยบริการประชาชน สํานักงานสิ่งแวดลอมภาคที่ 6 นนทบุรี จํานวน 4 เร่ือง คิดเปนรอยละ 2 ตามลําดับ ดังแสดงในตารางที่ 4-14 และรูปที่ 4-29 ตารางที่ 4-14 ชองทางการรองเรียนท่ีมีการใชบริการ

ชองทางการรองเรียน จํานวน (เรื่อง)

รอยละ

ศูนยบริการประชาชนฯ (e-petition)

57 36

กรมควบคุมมลพษิ 67 42 ทสจ./หนวยงานในจังหวัด 27 17 สสภ.6 4 2 อื่นๆ (ส่ือฯ) 5 3

รวม 160 100

57

67

27

4 5

0

10

20

30

40

50

60

70จํานว

นเรื่อ

งรอง

เรียน

(เรื่อง

)

e-petition คพ. ทสจ.ฯ สสภ.6 อ่ืนๆ

รูปท่ี 4-29 สัดสวนชองทางการรองเรียนที่มีการใชบริการ

แหลงกําเนิดมลพิษที่มีการรองเรียนมากที่สุดคือ โรงงานอุตสาหกรรม คิดเปนรอยละ 55 รองลงมาคือสถานประกอบการ/สถานที่ที่ไมใชแหลงกําเนิดมลพิษ คิดเปนรอยละ29 สถานที่กําจัดขยะ คิดเปนรอยละ 5 ที่ดินจัดสรรและชุมชน คิดเปนรอยละ 3 เทากัน ฟารมนก-ไก คิดเปนรอยละ 2 อาคาร โรงสีขาว และสถานีบริการน้ํามัน คิดเปนรอยละ 1 เทากัน ตามลําดับ ดังแสดงในตารางที่ 4-15 และรูปที่ 4-30 ตารางที่ 4-15 แหลงกําเนิดมลพิษที่มีการรองเรียน

แหลงกําเนิด จํานวน (เรื่อง)

รอยละ

โรงงานฯ 88 55 ไมใชแหลงกําเนดิฯ 47 29 สถานที่กาํจัดขยะ 8 5 ที่ดินจดัสรร 5 3 ชุมชน 5 3 ฟารมนก-ไก 3 2 อาคาร 2 1 สถานีบริการน้ํามนั 1 1 โรงสีขาว 1 1

รวม 160 100

88

47

8 5 5 3 2 1 10

10

20

30

40

50

60

70

80

90

จํานว

นเรื่องรองเรีย

น (เรื่อง

)

โรงงานฯ

ไมใชแหลงกําเนิดฯ

สถานท

ี่กําจัดขย

ที่ดินจัดสรร

ชุมชน

ฟารมนก-ไก

อาคาร

สถานีบ

ริการนํ้ามัน

โรงสีขาว

รูปท่ี 4-30 สัดสวนแหลงกําเนิดมลพิษที่มีการรองเรียน

Page 55: 1. - reo06.mnre.go.th · รายงานสถานการณ ป 2550 1. ข อมูลทั่วไป 1.1 ที่ตั้งและอาณาเขต พื้นที่รับผิดชอบของส

สถานการณและปญหา

รายงานสถานการณ ป 2550 4-29

4.5.1 สรุปสถานการณเร่ืองรองเรียน รองทุกข ในพื้นท่ีรายจังหวัด

1) จังหวัดสมทุรปราการ ป 2550 ในเขตจังหวัดสมุทรปราการ มีการรองเรียน รองทุกข ปญหามลพิษจํานวน 55

เร่ือง โดยปญหามลพิษหลักของจังหวัดไดแกปญหาเกี่ยวกับ กล่ินเหม็น คิดเปนรอยละ 40 น้ําเสีย คิดเปนรอยละ 24 และปญหาฝุนละออง/เขมาควัน คิดเปนรอยละ 23 ตามลําดับ (ดังแสดงในตารางที่ 4-16 และรูปที่ 4-31)โดยแหลงกําเนิดมลพิษหลักรอยละ 73 มาจากโรงงานอุตสาหกรรมโดยเฉพาะโรงงานฟอกหนัง ฟอกยอมที่ปลอยน้ําเสียลงแหลงน้ําสาธารณะ และปญหาฝุนละอองและกลิ่นจากโรงงานเหล็ก หลอมโลหะและโรงงานฟอกหนัง เปนตน ดังแสดงในตารางที่ 4-17 และรูปที่ 4-32

ตารางที่ 4-16 ปญหามลพิษท่ีมีการรองเรียน ในเขตจังหวัดสมุทรปราการ ป 2550

ประเภทปญหา จํานวน

(ปญหา)* รอยละ

กลิ่นเหม็น 34 40

น้ําเสีย 20 24

ฝุนละออง/เขมาควัน 19 23

เสียงดัง/เสียงรบกวน 7 8

ขยะมูลฝอยและสิ่งปฏิกูล 3 4

สารเคมี/สารอันตราย/ ของเสียอันตราย

1 1

รวม 84 100

*หมายเหตุ : 1 เรื่องมีการรองเรียนหลายปญหา

กล่ินเหมน็

40%

นํ้าเสีย

24%

ฝุนละออง/เขมาควัน

23%

สารเคมี/สารอันตราย/

ของเสียอันตราย

1%

ขยะมลูฝอยและสิ่งปฏิกูล

4%เสียงดัง/เสียงรบกวน

8%

รูปท่ี 4-31 สัดสวนปญหามลพิษที่มีการรองเรียน ในเขตจังหวัดสมุทรปราการ

ตารางที่ 4-17 แหลงกําเนิดมลพิษท่ีมีการรองเรียนในเขตจังหวัดสมุทรปราการ ป 2550

แหลงกําเนิด จํานวน (เร่ือง)

รอยละ

โรงงานอุตสาหกรรม 40 73

ไมใชแหลงกําเนิดมลพิษ 13 24

สถานที่กําจัดขยะ 1 2

ชุมชน 1 2

รวม 55 100

สถานท่ีกําจัดขยะ

2%

ชุมชน

2%

โรงงานอุตสาหกรรม

72%

ไมใชแหลงกําเนิดมลพิษ

24%

รูปท่ี 4-32 สัดสวนแหลงกําเนิดมลพิษที่มีการรองเรียน

ในเขตจังหวัดสมุทรปราการ

Page 56: 1. - reo06.mnre.go.th · รายงานสถานการณ ป 2550 1. ข อมูลทั่วไป 1.1 ที่ตั้งและอาณาเขต พื้นที่รับผิดชอบของส

สถานการณและปญหา

รายงานสถานการณ ป 2550 4-30

2) จังหวัดนนทบุรี ป 2550 ในเขตจังหวัดนนทบุรี มีการรองเรียน รองทุกข ปญหามลพิษจํานวน 35 เร่ือง

โดยปญหามลพิษหลักของจังหวัดไดแกปญหาเกี่ยวกับ กล่ินเหม็น คิดเปนรอยละ 33 น้ําเสีย คิดเปนรอยละ 20 ปญหาฝุนละออง/เขมาควันและปญหาเสียงดัง/เสียงรบกวน คิดเปนรอยละ 18 เทากัน (ดังแสดงในตารางที่ 4-18 และรูปที่ 4-33)โดยปญหารองเรียน รองทุกขหลัก มาจากสถานประกอบการ/สถานที่ที่ไมใชแหลงกําเนิดมลพิษตามประกาศกระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและส่ิงแวดลอม เชน อูซอมรถยนต รานรับซื้อของเกา ฟารมเลี้ยงมา เปนตน คิดเปนรอยละ 40 รองลงมาคือโรงงานอุตสาหกรรม คิดเปนรอยละ 34 ดังแสดงในตารางที่ 4-19 และรูปที่ 4-34

ตารางที่ 4-18 ปญหามลพิษท่ีมีการรองเรียน ในเขตจังหวัดนนทบุรี ป 2550

ประเภทปญหา จํานวน

(ปญหา)* รอยละ

กลิ่นเหม็น 17 33

น้ําเสีย 10 20

ฝุนละออง/เขมาควัน 9 18

เสียงดัง/เสียงรบกวน 9 18

สารเคมี/สารอันตราย/ ของเสียอันตราย

3 6

ขยะมูลฝอยและสิ่งปฏิกูล 2 4

อื่นๆ 1 2

รวม 51 100

*หมายเหตุ : 1 เรื่องมีการรองเรียนหลายปญหา

กลิ่นเหม็น

32%

น้ําเสีย

20%

ฝุนละออง/เขมาควัน

18%

อื่นๆ

2%

ขยะมูลฝอย

และสิ่งปฏิกูล

4%

สารเคมี/สารอันตราย/

ของเสียอันตราย

6%

เสียงดัง/เสียงรบกวน

18%

รูปท่ี 4-33 สัดสวนปญหามลพิษที่มีการรองเรียน ในเขตจังหวัดนนทบุรี

ตารางที่ 4-19 แหลงกําเนิดมลพิษท่ีมีการรองเรียนในเขตจังหวัดนนทบุรี ป 2550

แหลงกําเนิด จํานวน (เร่ือง)

รอยละ

ไมใชแหลงกําเนิดมลพิษ 14 40

โรงงานอุตสาหกรรม 12 34

ชุมชน 4 11

ที่ดินจัดสรร 2 6

อาคาร 1 3

สถานีบริการน้ํามัน 1 3

สถานที่กําจัดขยะ 1 3

รวม 35 100

ไมใชแหลงกําเนิด

มลพิษ

40%

โรงงานอุตสาหกรรม

34%

ชุมชน

11%

ที่ดินจัดสรร

6%

อาคาร

3%

สถานีบริการน้ํามัน

3% สถานที่กําจัดขยะ

3%

รูปท่ี 4-34 สัดสวนแหลงกําเนิดมลพิษที่มีการรองเรียน

ในเขตจังหวัดนนทบุรี

Page 57: 1. - reo06.mnre.go.th · รายงานสถานการณ ป 2550 1. ข อมูลทั่วไป 1.1 ที่ตั้งและอาณาเขต พื้นที่รับผิดชอบของส

สถานการณและปญหา

รายงานสถานการณ ป 2550 4-31

3) จังหวัดปทุมธานี ป 2550 ในเขตจังหวัดปทุมธานี มีการรองเรียน รองทุกข ปญหามลพิษจํานวน 32 เร่ือง

โดยปญหามลพิษหลักของจังหวัดไดแกปญหาเกี่ยวกับ น้ําเสีย คิดเปนรอยละ 30 กล่ินเหม็น คิดเปนรอยละ 25 ปญหาฝุนละออง/เขมาควัน คิดเปนรอยละ 23 (ดังแสดงในตารางที่ 4-20 และรูปที่ 4-35) โดยปญหารองเรียน รองทุกขหลัก รอยละ 44 มาจากโรงงานอุตสาหกรรมโดยเฉพาะโรงงานเหล็ก หลอมโลหะ รองลงมา มาจากสถานประกอบการ/สถานที่ที่ไมใชแหลงกําเนิดมลพิษตามประกาศกระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม เชน รานรับซื้อของเกา อูซอมรถยนต กิจการประดับยนต เปนตน คิดเปนรอยละ 28 ดังแสดงในตารางที่ 4-21 และรูปที่ 4-36

ตารางที่ 4-20 ปญหามลพิษท่ีมีการรองเรียน ในเขตจังหวัดปทุมธานี ป 2550

ประเภทปญหา จํานวน

(ปญหา)* รอยละ

น้ําเสีย 12 30

กลิ่นเหม็น 10 25

ฝุนละออง/เขมาควัน 9 23

เสียงดัง/เสียงรบกวน 7 18

ขยะมูลฝอยและสิ่งปฏิกูล 2 5

รวม 40 100

*หมายเหตุ : 1 เรื่องมีการรองเรียนหลายปญหา

น้ําเสีย

29%

กลิ่นเหม็น

25%

ฝุนละออง/เขมาควัน

23%

เสียงดัง/เสียงรบกวน

18%

ขยะมูลฝอย

และสิ่งปฏิกูล

5%

รูปท่ี 4-35 สัดสวนปญหามลพิษที่มีการรองเรียน ในเขตจังหวัดปทุมธานี

ตารางที่ 4-21 แหลงกําเนิดมลพิษท่ีมีการรองเรียนในเขตจังหวัดปทุมธานี ป 2550

แหลงกําเนิด จํานวน (เร่ือง)

รอยละ

โรงงานอุตสาหกรรม 14 44

ไมใชแหลงกําเนิดมลพิษ 9 28

สถานที่กําจัดขยะ 4 13

ที่ดินจัดสรร 3 9

อาคาร 1 3

ฟารมนก-ไก 1 3

รวม 32 100

โรงงานอุตสาหกรรม

44%

ไมใชแหลงกําเนิด

มลพิษ

28%

สถานที่กําจัดขยะ

13%

ที่ดินจัดสรร

9%

อาคาร

3%ฟารมนก-ไก

3%

รูปท่ี 4-36 สัดสวนแหลงกําเนิดมลพิษที่มีการรองเรียน

ในเขตจังหวัดปทุมธานี

Page 58: 1. - reo06.mnre.go.th · รายงานสถานการณ ป 2550 1. ข อมูลทั่วไป 1.1 ที่ตั้งและอาณาเขต พื้นที่รับผิดชอบของส

สถานการณและปญหา

รายงานสถานการณ ป 2550 4-32

4) จังหวัดพระนครศรีอยุธยา ป 2550 ในเขตจังหวัดพระนครศรีอยุธยา มีการรองเรียน รองทุกข ปญหามลพิษจํานวน

21 เร่ือง โดยปญหามลพิษหลักของจังหวัดไดแกปญหาเกี่ยวกับ ฝุนละออง/เขมาควัน คิดเปนรอยละ 32 รองลงมาคือ น้ําเสีย คิดเปนรอยละ 28 และกล่ินเหม็น คิดเปนรอยละ 20 (ดังแสดงในตารางที่ 4-22 และรูปที่ 4-37) โดยปญหารองเรียน รองทุกขหลัก รอยละ 52 มาจากโรงงานอุตสาหกรรม รองลงมา มาจากสถานประกอบการ/สถานที่ที่ไมใชแหลงกําเนิดมลพิษตามประกาศกระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม เชน กิจการประดับยนต ทาเรือขนถายแร เปนตน คิดเปนรอยละ 33 ดังแสดงในตารางที่ 4-23 และรูปที่ 4-38

ตารางที่ 4-22 ปญหามลพิษท่ีมีการรองเรียน ในเขตจังหวัดพระนครศรีอยุธยา ป 2550

ประเภทปญหา จํานวน

(ปญหา)* รอยละ

ฝุนละออง/เขมาควัน 8 32

น้ําเสีย 7 28

กลิ่นเหม็น 5 20

เสียงดัง/เสียงรบกวน 3 12

ขยะมูลฝอยและสิ่งปฏิกูล 1 4

สารเคมี/สารอันตราย/ของเสียอันตราย

1 4

รวม 25 100

*หมายเหตุ : 1 เรื่องมีการรองเรียนหลายปญหา

ฝุนละออง/เขมาควัน

32%

น้ําเสีย

28%

กลิ่นเหม็น

20%

เสียงดัง/เสียงรบกวน

12%

ขยะมูลฝอย

และสิ่งปฏิกูล

4%

สารเคมี/สารอันตราย/

ของเสียอันตราย

4%

รูปท่ี 4-37 สัดสวนปญหามลพิษที่มีการรองเรียน ในเขตจังหวัดพระนครศรีอยุธยา

ตารางที่ 4-23 แหลงกําเนิดมลพิษท่ีมีการรองเรียนในเขตจังหวัดพระนครศรีอยุธยา ป 2550

แหลงกําเนิด จํานวน (เร่ือง)

รอยละ

โรงงานอุตสาหกรรม 11 52

ไมใชแหลงกําเนิดมลพิษ 7 33

ฟารมนก-ไก 2 10

สถานที่กําจัดขยะ 1 5

รวม 21 100

ไมใชแหลงกําเนิด

มลพิษ

33%

ฟารมนก-ไก

10%

สถานที่กําจัดขยะ

5% โรงงานอุตสาหกรรม

52%

รูปท่ี 4-38 สัดสวนแหลงกําเนิดมลพิษที่มีการรองเรียน

ในเขตจังหวัดพระนครศรีอยุธยา

Page 59: 1. - reo06.mnre.go.th · รายงานสถานการณ ป 2550 1. ข อมูลทั่วไป 1.1 ที่ตั้งและอาณาเขต พื้นที่รับผิดชอบของส

สถานการณและปญหา

รายงานสถานการณ ป 2550 4-33

5) จังหวัดอางทอง ป 2550 ในเขตจังหวัดอางทอง มีการรองเรียน รองทุกข ปญหามลพิษจํานวน 10 เร่ือง

โดยปญหามลพิษหลักของจังหวัดไดแกปญหาน้ําเสีย คิดเปนรอยละ 42 รองลงมาคือปญหาฝุนละออง/เขมาควัน คิดเปนรอยละ 25 กล่ินเหม็นและเสียงดัง/เสียงรบกวน คิดเปนรอยละ 17 เทากัน (ดังแสดงในตารางที่ 4-24 และรูปที่ 4-39) โดยปญหารองเรียน รองทุกขหลัก รอยละ 80 มาจากโรงงานอุตสาหกรรม รองลงมา มาจากสถานประกอบการ/สถานที่ที่ไมใชแหลงกําเนิดมลพิษตามประกาศกระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม เชน กิจกรรมเลี้ยงปลาในกระชังที่มีการเชือดปลาในน้ําทําใหเลือดปลาไหลลงสูแหลงน้ํา เปนตน คิดเปนรอยละ 20 ดังแสดงในตารางที่ 4-25 และรูปที่ 4-40

ตารางที่ 4-24 ปญหามลพิษท่ีมีการรองเรียน ในเขตจังหวัดอางทอง ป 2550

ประเภทปญหา จํานวน

(ปญหา)* รอยละ

น้ําเสีย 5 42

ฝุนละออง/เขมาควัน 3 25

กลิ่นเหม็น 2 17

เสียงดัง/เสียงรบกวน 2 17

รวม 12 100

*หมายเหตุ : 1 เรื่องมีการรองเรียนหลายปญหา

นํ้าเสีย

41%

ฝุนละออง/เขมาควัน

25%

กล่ินเหม็น

17%

เสียงดัง/เสียงรบกวน

17%

รูปท่ี 4-39 สัดสวนปญหามลพิษที่มีการรองเรียน ในเขตจังหวัดอางทอง

ตารางที่ 4-25 แหลงกําเนิดมลพิษท่ีมีการรองเรียนในเขตจังหวัดอางทอง ป 2550

แหลงกําเนิด จํานวน (เร่ือง)

รอยละ

โรงงานอุตสาหกรรม 8 80

ไมใชแหลงกําเนิดมลพิษ 2 20

รวม 10 100 โรงงานอุตสาหกรรม

80%

ไมใชแหลงกําเนิดมลพิษ

20%

รูปท่ี 4-40 สัดสวนแหลงกําเนิดมลพิษที่มีการรองเรียน

ในเขตจังหวัดอางทอง

Page 60: 1. - reo06.mnre.go.th · รายงานสถานการณ ป 2550 1. ข อมูลทั่วไป 1.1 ที่ตั้งและอาณาเขต พื้นที่รับผิดชอบของส

สถานการณและปญหา

รายงานสถานการณ ป 2550 4-34

6) จังหวัดสงิหบุรี ป 2550 ในเขตจังหวัดสิงหบุรี มีการรองเรียน รองทุกข ปญหามลพิษจํานวน 7 เร่ือง โดย

ปญหามลพิษหลักของจังหวัดไดแกปญหาน้ําเสีย คิดเปนรอยละ 71 รองลงมาคือปญหาฝุนละออง/เขมาควัน คิดเปนรอยละ 29 (ดังแสดงในตารางที่ 4-26 และรูปที่ 4-41) โดยปญหารองเรียน รองทุกขหลัก รอยละ 43 มาจากโรงงานอุตสาหกรรม รองลงมา มาจากสถานประกอบการ/สถานที่ที่ไมใชแหลงกําเนิดมลพิษตามประกาศกระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม เชน ปลาที่เล้ียงในกระชังตายโดยไมทราบสาเหตุ เปนตน คิดเปนรอยละ 29 และโรงสีขาวและสถานที่กําจัดขยะ คิดเปนรอยละ 14 เทากัน ดังแสดงในตารางที่ 4-27 และรูปที่ 4-42

ตารางที่ 4-26 ปญหามลพิษท่ีมีการรองเรียน ในเขตจังหวัดสิงหบุรี ป 2550

ประเภทปญหา จํานวน(ปญหา)

รอยละ

น้ําเสีย 5 71

ฝุนละออง/เขมาควัน 2 29

รวม 7 100

นํ้าเสีย

71%

ฝุนละออง/เขมาควัน

29%

รูปท่ี 4-41 สัดสวนปญหามลพิษที่มีการรองเรียน ในเขตจังหวัดสิงหบุรี

ตารางที่ 4-27 แหลงกําเนิดมลพิษท่ีมีการรองเรียนในเขตจังหวัดสิงหบุรี ป 2550

แหลงกําเนิด จํานวน (เร่ือง)

รอยละ

โรงงานอุตสาหกรรม 3 43

ไมใชแหลงกําเนิดมลพิษ 2 29

โรงสีขาว 1 14

สถานที่กําจัดขยะ 1 14

รวม 7 100

โรงงานอุตสาหกรรม

43%

สถานที่กําจัดขยะ

14%โรงสีขาว

14%

ไมใชแหลงกําเนิดมลพิษ

29%

รูปท่ี 4-42 สัดสวนแหลงกําเนิดมลพิษที่มีการรองเรียน

ในเขตจังหวัดสิงหบุรี