27
1/27 การประยุกตใช Slip Form ในงานกอสรางอาคารชลประทาน โดยมีวัตถุประสงคเพื่อนํา หลักการไปประยุกตใชทําแบบหลอคอนกรีตกับงานอาคารชลประทาน ที่มีรูปแบบใน แนวดิ่งเปนขนาดเดียวกัน ซึ่งชวยประหยัดคาใชจายและระยเวลาในการกอสราง Uผูดําเนินการ 1. Uคุณอํานวย นายมนตรี โสภักดี สํานักงานกอสราง 12 2. Uคุณลิขิต 1. นายไพฑูรย กุลไทย สํานักงานกอสราง 3 2. นายสุชาติ หิ้นนุกูล สํานักงานกอสราง 11 3. Uคุณกิจ 1. นายอโนทัย จันทรพูล สํานักงานกอสราง 1 2. นายพานิช ปราสาทแกว สํานักงานกอสราง 1 3. นายชัยณรงค สิงหยะบุศย สํานักงานกอสราง 1 4. นายประสพ มั่นแกว สํานักงานกอสราง 2 5. นายบรรพต พิลาแดง สํานักงานกอสราง 2 6. นายวันชัย เทียมทะนง สํานักงานกอสราง 2 7. นายสมพร อารยชาติสกุล สํานักงานกอสราง 3 8. นายวสันต กุมารบุญ สํานักงานกอสราง 5 9. นายปกครอง สุดใจนาค สํานักงานกอสราง 6 10. นายประเสริฐ ขิมเล็ก สํานักงานกอสราง 8 11. นายธเนศ ดิษฐปญญา สํานักงานกอสราง 8 12. นายปรัชญา ปกษี สํานักงานกอสราง 8 13. นายวัชรดุลย ธนามี สํานักงานกอสราง 8 14. นายวิวัธนชัย คงลําธาร สํานักงานกอสราง 11 15. นายภิรมย พรหมหิตาทร สํานักงานกอสราง 12 16. นายสมชัย จงวชิระชัย สํานักงานกอสราง 14 17. นายนิวัฒน หูทิพย สํานักงานกอสราง 14 18. นายสิทธิชัย สาลีพันธ สวนวิศวกรรม

1. Uค ุณอํานวยkmcenter.rid.go.th/kclproject/site/images/sampledata/innovation/slip form.pdf · การประยุกต ใช Slip Form ในงานก

  • Upload
    others

  • View
    8

  • Download
    0

Embed Size (px)

Citation preview

Page 1: 1. Uค ุณอํานวยkmcenter.rid.go.th/kclproject/site/images/sampledata/innovation/slip form.pdf · การประยุกต ใช Slip Form ในงานก

1/27

การประยุกตใช Slip Form ในงานกอสรางอาคารชลประทาน โดยมีวัตถุประสงคเพ่ือนําหลักการไปประยุกตใชทําแบบหลอคอนกรีตกับงานอาคารชลประทาน ท่ีมรีูปแบบในแนวด่ิงเปนขนาดเดียวกัน ซึ่งชวยประหยัดคาใชจายและระยเวลาในการกอสราง

Uผูดําเนินการ 1. Uคุณอํานวย

นายมนตรี โสภักด ี สํานักงานกอสราง 12

2. Uคุณลิขิต

1. นายไพฑูรย กุลไทย สํานักงานกอสราง 3

2. นายสุชาติ หิ้นนกุูล สํานักงานกอสราง 11

3. Uคุณกิจ

1. นายอโนทัย จันทรพูล สํานักงานกอสราง 1

2. นายพานิช ปราสาทแกว สํานักงานกอสราง 1

3. นายชัยณรงค สิงหยะบุศย สํานักงานกอสราง 1

4. นายประสพ ม่ันแกว สํานักงานกอสราง 2

5. นายบรรพต พิลาแดง สํานักงานกอสราง 2

6. นายวนัชัย เทียมทะนง สํานักงานกอสราง 2

7. นายสมพร อารยชาติสกุล สํานักงานกอสราง 3

8. นายวสันต กุมารบุญ สํานักงานกอสราง 5

9. นายปกครอง สุดใจนาค สํานักงานกอสราง 6

10. นายประเสริฐ ขิมเล็ก สํานักงานกอสราง 8

11. นายธเนศ ดิษฐปญญา สํานักงานกอสราง 8

12. นายปรัชญา ปกษ ี สํานักงานกอสราง 8

13. นายวัชรดลุย ธนามี สํานักงานกอสราง 8

14. นายววิัธนชัย คงลําธาร สํานักงานกอสราง 11

15. นายภิรมย พรหมหิตาทร สํานักงานกอสราง 12

16. นายสมชัย จงวชิระชัย สํานักงานกอสราง 14

17. นายนิวัฒน หูทิพย สํานักงานกอสราง 14

18. นายสิทธิชัย สาลีพันธ สวนวิศวกรรม

Page 2: 1. Uค ุณอํานวยkmcenter.rid.go.th/kclproject/site/images/sampledata/innovation/slip form.pdf · การประยุกต ใช Slip Form ในงานก

2/27

1. บทนํา ในงานโครงสรางคอนกรีตเสริมเหล็ก ท่ีมีลักษณะของการใชแบบหลอคอนกรีตซํ้าแลวซํ้าอีกเสมอ เชน ตอมอประตูระบายน้ําขนาดใหญ, ปลองลิฟท, อุโมงค ท่ีมีปริมาตรการเทคอนกรีตจํานวนมาก งานดังกลาวมีความจําเปนท่ีจะตองติดต้ังแบบหลอคอนกรีตเฉพาะใหสอดคลองกับลักษณะโครงสราง เพื่อใหงานกอสรางดําเนินการไปไดรวดเร็ว มีประสิทธิภาพและประหยัด ซ่ึงแบบหลอประเภทน้ีจะตองใชเทคโนโลยีสูงกวาแบบหลอท่ัวไป เชน การเลือกวัสดุไมหรือเหล็กมาใชเปนแบบหลอ, การประกอบและการติดต้ัง, การขับเคล่ือนแบบหลอ, การถอดแบบ จึงตองใชความรูและความชํานาญเฉพาะดานในการควบคุมงานและวิเคราะหขอบกพรองในการปฏิบัติงานในสนาม จึงมีคาลงทุนคร้ังแรกสูงมาก แตเม่ือคิดคํานวณถึงการนําแบบหลอมาใชงานซํ้า ๆ แลว ความรวดเร็วในการกอสรางจะชวยลดคาใชจายและระยะเวลาในการกอสรางไดเปนอยางมาก

Slip Form เปนระบบการเล่ือนคอนกรีตชนิดหนึ่งท่ีใชแบบเหล็กเปนแบบหลอคอนกรีตและ สามารถเล่ือนตัวข้ึนไปในแนวดิ่งได หลังจากคอนกรีตเร่ิม Set ตัว โดยใช Hydraulic Tack เปนตัวขับดันข้ึนไปเปนจังหวะอยางตอเนื่อง พรอมกับการเทคอนกรีตและผูกเหล็กเสริมไปพรอมกัน ในอัตราความเร็ว 30 cm/hr โดยประมาณ

2. วัตถุประสงค เพื่อนําหลักการ Slip Form ไปประยุกตใชในการทําแบบหลอคอนกรีตในงานอาคารชลประทาน ท่ีโครงสรางคอนกรีตเสริมเหล็ก มีหนาตัดและความสูงขนาดเดียวกันโดยอาจมีสวนเปล่ียนแปลงหรือปรับปรุงบางบางสวน เพื่อชวยเพิ่มประสิทธิภาพการกอสราง ประหยัดคาใชจายและลดระยะเวลาในการกอสราง

3. สวนประกอบของแบบหลอคอนกรีตชนิดแบบเลื่อน (Slip Form) แนวด่ิง มีช้ินสวนประกอบดวย : แผนผิว, คานรองรับ, โครงยก, ชานชาลาทํางาน, นั่งรานแขวน และระบบแจ็ค (หรือไฮโดรลิค) ซ่ึงมีหนาท่ีหลักแตละช้ินสวน ดังมีรายละเอียด ดังตอไปนี้

3.1 แผนผิว ปจจุบันนิยมใชแผนผิวเหล็ก เพราะสามารถนําไปใชงานซํ้า ๆ ไดหลายคร้ัง แตตองใชเหล็กท่ีมีความหนาทนตอแรงกระแทกจากการจ้ีคอนกรีต ซ่ึงแผนผิวจะรับแรงดันของคอนกรีตเหลว โดยจะมีคานตามแนวนอนใกล ๆ ขอบบนและลางของแบบหลอ ซ่ึงจะทําหนาท่ีรองรับแรงที่ถายจากแผนผิวและเปนสวนยึดกับโครงยกเพื่อเล่ือนแบบหลอ ความสูงของแบบหลอโดยท่ัวไป นิยมใชความสูงประมาณ 1.00 เมตร ท้ังนี้ข้ึนอยูกับอัตราการเทคอนกรีตของแตละงาน

3.2 คานรองรับ ในกรณีท่ีเปนเหล็ก จะตองมีขนาดเดียวกัน หนาท่ีของคานรองรับ ก็คือ รับแรงดันของคอนกรีตเหลวท่ีถายจากแผนผิวและจะใชเปนท่ีแขวน หรือยึดนั่งรานในการทํางาน อีกท้ังจะทํา

Page 3: 1. Uค ุณอํานวยkmcenter.rid.go.th/kclproject/site/images/sampledata/innovation/slip form.pdf · การประยุกต ใช Slip Form ในงานก

3/27 หนาท่ียึดกับโครงยก เพื่อเล่ือนแบบหลอคอนกรีตท้ังชุดข้ึนพรอม ๆ กัน ในการออกแบบคานรองรับ จะตองพิจารณาถึงแรงดึงจากการเล่ือนตัวของแบบและน้ําหนักของนั่งราน ซ่ึงตองถายน้ําหนักในแนวดิ่ง จะข้ึนกับระบบแจ็ค (ไฮโดรลิค) เพื่อเล่ือนแบบ และระบบการทํางาน

3.3 โครงยก มีลักษณะเปนโครงเฟรม ประกอบดวยคานขวางเช่ือมตอกับระบบแจ็ค (ไฮโดรลิค) ท่ียกแบบหลอ และท่ีปลายคานยกท้ังสองขางจะเปนโครงยื่นเปนขาลงมาเช่ือมยึดกับคานรองรับผิว ซ่ึงมีหนาท่ีหลักเพื่อรับแรงทางขางของคอนกรีตเหลว โครงยกคานรองรับในบางกรณีออกแบบรวมกันเปนโครงขอหมุนหรือโครงขอแข็ง แบบสามทิศทาง โดยพิจารณาท้ังแรงในแนวด่ิงและแรงในแนวนอน ควบคูกันไป แตจะตองพิจารณาถึงวิธีการถอดและติดต้ัง และการทํางานควบคูกันไป

3.4 ระบบแจ็ค (หรือระบบไฮโดลิค) ทําหนาท่ียกแบบหลอคอนกรีตท้ังชุดใหเล่ือนข้ึนสมํ่าเสมอกัน โดยตองควบคุมน้ําหนักและแรงเสียดทานไมใหเกินพิกัด โดยการเทคอนกรีต จะตองใหกระจายสม่ําเสมอท่ัวกันท้ังแบบหลอ โดยใหมีความหนาใกลเคียงกันโดยตลอด

3.5 แทนยืน จะตองกอสรางเปน ตง พาดระหวางแบบหลอแลวปูดวยไม เพื่อใชวางวัสดุและอุปกรณในการทํางาน

3.6 นั่งรานแขวน โดยการแขวนหอยโครงสรางเหล็ก จากคานรองรับตามแนวนอน หรือแขวนหอยกับโครงยกโดยตรง เพื่อใชในการแตงผิวคอนกรีตท่ีแข็งตัวแลว หลังจากท่ีแบบหลอเล่ือนตัวผานไปแลว

4. ขั้นตอนการทํางานของ Slip Form (ในงานประตูระบายน้ําขนาดใหญ) 1. ออกแบบ Slip Form และ คํานวณ Mix design Concert พรอม Pump Concert ใหเหมาะสม

กับอาคารกอสราง 2. ปรับสภาพพ้ืนท่ีหนางานกอสรางใหพรอมท่ีจะดําเนินการ 3. ประกอบโครง Slip Form โดยรอบพื้นท่ีตอมอท่ีจะเทคอนกรีต ท้ังสองตอมอท่ีอยูติดกัน

4. ประกอบคานโครงเหล็กยึดระหวางโครง Slip Form ท้ังสองตอมอ 5. ประกอบปดแบบหลอดานขางสูง 1.00 ม. 6. ประกอบคานยึดปากแบบ และคลอมพื้นท่ีท่ีจะเทคอนกรีตเปนชวง ๆ ระยะหางไมเกินชวง

ละ 2.00 ม. 7. ติดต้ังกระบอกไฮโดรลิค กับคานยึดคลอมปากแบบ โดยติดต้ังคานละ 2 ตัว พรอมใสเหล็ก

ผานแกนกระบอกไฮโดรลิค เพื่อใชคํ้ายันแบบในการเล่ือน

Page 4: 1. Uค ุณอํานวยkmcenter.rid.go.th/kclproject/site/images/sampledata/innovation/slip form.pdf · การประยุกต ใช Slip Form ในงานก

4/27

8. ตรวจสอบแนวดิ่งของแกนเหล็กคํ้ายัน เพื่อบังคับทิศทางการเคล่ือนท่ีของแบบ Slip Form ใหอยูในแนวด่ิง

9. ตอสายไฮโดรลิก จากระบอกไฮโดรลิคท่ีติดต้ังบนคานยึดปากแบบทุกตัวเขาสูแมปมไฮโดรลิคท่ีติดต้ังไวระหวางตอมอท่ีจะเทคอนกรีตท้ังสอง

10. การเล่ือนแบบ Slip Form ข้ึนในแนวดิ่งจะอาศัยแมปมไฮโดรลิคท่ีติดต้ังไวระหวางตอมอทั้งสองเพียงตัวเดียวเพื่ออัดแรงดันไฮโดรลิคเขากระบอกไฮโดรลิคท่ีติดต้ังไวบนคานยึดเหนือปากแบบพรอมกันทุกตัว

11. การเคล่ือนตัวข้ึนแตละคร้ังแบบหลอ Slip Form ท้ังชุด (ท้ังสองตอมอ) จะยกข้ึนประมาณ 2 ซม./ คร้ัง ระยะหางกันประมาณ 5 นาที/คร้ัง พรอมตรวจเช็คระดับ Slip Form ใหอยูในแนวดิ่งและแนวราบเสมอ

12. เตรียมอัตรากําลังแรงงาน เคร่ืองจักรเคร่ืองมือใหเพยีงพอสําหรับงานท่ีทําอยางตอเนื่อง 13. เทคอนกรีตและควบคุมการทํางานตามหลักการเทคอนกรีต (มีการกระจายตัวสมํ่าเสมอ)

5. การเทคอนกรีตดวยแบบ Slip Form ( ในงานกอสรางประตูระบายน้ําขนาดใหญ) 1. เม่ือประกอบแบบ Slip Form พรอมตรวจสอบระบบตาง ๆ แลวเสร็จเทคอนกรีตลงใน

แบบ Slip Form ใหช้ันความหนาของเนื้อคอนกรีตสมํ่าเสมอท่ัวท้ังแบบโดยใหความหนาแตละช้ันไมควรเกิน 25 ซม. แลวเทวนไปเร่ือย ๆ จนเต็มแบบ Slip Form

2. หลังจากเร่ิมเทคอนกรีตผานไป 4 ช่ัวโมง จึงทําการเล่ือนแบบหลอข้ึนทุก ๆ 5 นาที ซ่ึงจะเล่ือนข้ึน 2 ซม. ทุก ๆ 5 นาที และเทคอนกรีตตอเนื่องไป

3. เล่ือนแบบหลอพรอมเทคอนกรีตตามขอ 2 ตอไปเร่ือย ๆ จนถึงระดับท่ีตองการหยุดเทช่ัวคราว

4. เม่ือเทคอนกรีตถึงระดับท่ีตองการหยุดเทช่ัวคราว ใหแตงระดับคอนกรีตใหเสมอกันและคอย ๆ เคล่ือนแบบ Slip Form เปน Step ทุก ๆ 5 นาที จนกระท่ังของแบบหลอดานลาง อมคอนกรีตประมาณ 60 ซม. จึงหยุด

5. เม่ือจะทําคอนกรีตตอ ดําเนินการตามขอ 1 ถึง ขอ 4 ตอไปเร่ือยจนแลวเสร็จความตองการ

6. การถอดแบบ เม่ือแบบเล่ือนไดขับเคล่ือนไปถึงระดับสูงสุด แจ็คแมแรง (ไฮโดรลิค) ท่ียกก็จะหยุดทํางาน แตยังถอดออกไมไดจนกวาจะใหน้ําหนักของแบบเล่ือนถายลงสูกําแพงโดยใชวิธีการฝงหัวน็อตไวกอนท่ีจะถึงยอด และเม่ือถึงแลวจึงเอาน็อตตัวผูขันเขาไปในรูน็อตนั้น แลวปลอยแจ็ค (ไฮโดรลิค) ใหท้ิงน้ําหนักลงบนน็อต และถายแรงลงกําแพง หลังจากนั้นจะเร่ิมถอดแมแรงและโครงยกได สวนแทนยืนจะตองใชเปนแบบหลอพื้นเคร่ืองกวาน เม่ือพื้นเสร็จก็สามารถถอดน่ังรานแขวน และแบบแผนผิวออกเปนช้ิน ๆ ได การถอดแบบแทนยืน อาจแยกออกเปนสวน ๆ ช้ินเล็ก ๆ หรือหยอนลง

Page 5: 1. Uค ุณอํานวยkmcenter.rid.go.th/kclproject/site/images/sampledata/innovation/slip form.pdf · การประยุกต ใช Slip Form ในงานก

5/27 ท้ังชุดก็ยอมทําได แตตองเวนชองเพ่ือรอยเชือกหยอนลงดวย รอกและปนจั่นตามแตสะดวกเพื่อยายไปทํางาน ข้ึนตอนอ่ืนตอไป

7. ขอดีและประโยชนของการใช Slip Form 1. ประหยดัเวลาในการกอสราง

- สามารถลดระยะเวลากอสราง

- ลดระยะเวลาในการติดต้ังแบบนอยกวาแบบท่ัวไป

2. ประหยดัคาใชจาย

- ลดคาแรงงานและงบประมาณ

- ใชงานไดหลายคร้ัง

3. ลดลอยตอของกําแพง

- สามารถเทคอนกรีตไดตอเนือ่งโดยเฉพาะงานประเภทตอมอ หรืออาคารท่ีมีความสูง

ตอช้ินมากกวาปกติ

4. เหมาะสมกบังานท่ีมีปริมาณงานมาก ๆ

8. ขอเสียของการใช Slip Form 1. ตองใชบุคลท่ีมีความรู, ความชํานาญ และประสบการณ เฉพาะดาน เขามาควบคุมงาน

2. ใชไดเฉพาะงานท่ีมีรูปรางแบบเดยีวกัน

3. ไมเหมาะสมกับงานท่ีมีปริมาณงานนอย

9. ขอเสนอแนะ 1. ควรมีการประชุมงานแผน / ซักซอมทําความเขาใจกับทุกสายงานท่ีเกี่ยวของ

2. ควรควบคุมและปรับระดับ Slip Form ใหไดระดับแนวดิ่งและแนวราบเสมอ

3. ควรควบคุมการเทคอนกรีตใหกระจายสมํ่าเสมอ

4. ไมควรใหผิวหนาแบนแหง

Page 6: 1. Uค ุณอํานวยkmcenter.rid.go.th/kclproject/site/images/sampledata/innovation/slip form.pdf · การประยุกต ใช Slip Form ในงานก

6/27

ภาพท่ี 1 แสดงระบบไฮโดรลิค

ภาพท่ี 2 แสดงแผนผิวแบบหลอ

Page 7: 1. Uค ุณอํานวยkmcenter.rid.go.th/kclproject/site/images/sampledata/innovation/slip form.pdf · การประยุกต ใช Slip Form ในงานก

7/27

ภาพท่ี 3 แสดงนั่งรานแขวน

ภาพท่ี 4 แสดงโครงยกและระบบแจ็ค (ไฮโดรลิค) สําหรับแบบหลอเล่ือนในแนวดิ่ง

Page 8: 1. Uค ุณอํานวยkmcenter.rid.go.th/kclproject/site/images/sampledata/innovation/slip form.pdf · การประยุกต ใช Slip Form ในงานก

8/27

ภาพท่ี 5 แสดง Slip Form คู

ภาพท่ี 6 แสดง Plant Concrete

Page 9: 1. Uค ุณอํานวยkmcenter.rid.go.th/kclproject/site/images/sampledata/innovation/slip form.pdf · การประยุกต ใช Slip Form ในงานก

9/27

ภาพท่ี 7 แสดงการทํางานรวมของรถ Ready-Mix กับ รถ Pump-Concrete

ภาพท่ี 8 แสดงการเล่ือนข้ึนของแบบ Slip From เปนชวง ๆ

Page 10: 1. Uค ุณอํานวยkmcenter.rid.go.th/kclproject/site/images/sampledata/innovation/slip form.pdf · การประยุกต ใช Slip Form ในงานก

10/27

ภาพท่ี 9 แสดงการเล่ือนข้ึนของแบบภายใน Surge Tank

ภาพท่ี 9 แสดงการทาน้ํายาบมคอนกรีต

Page 11: 1. Uค ุณอํานวยkmcenter.rid.go.th/kclproject/site/images/sampledata/innovation/slip form.pdf · การประยุกต ใช Slip Form ในงานก

11/27

ภาคผนวก

Page 12: 1. Uค ุณอํานวยkmcenter.rid.go.th/kclproject/site/images/sampledata/innovation/slip form.pdf · การประยุกต ใช Slip Form ในงานก

12/27 หนวยแรงดัด การคํานวณหนวยแรงดัดจะพิจารณาท่ีจุดท่ีหางจากแกนสะเทินมากท่ีสุดจากสมการ

เม่ือ F = หนวยแรงดัดท่ีจุดซ่ึงพิจารณา กก./ซม.2

M = แรงดัดสูงสุดท่ีใชในการคํานวณ กก.ซม.2 c = ระยะไกลสุดจากแกนสะเทินของหนาตัด ซม. I = โมเมนตอินเนอรเชียของหนาตัด ซม.4 S = โมดูลัสของหนาตัด (I/c) ซม.3

ในการคํานวณออกแบบจะกําหนดหนวยแรงที่ยอมให ซ่ึงจะแตกตางกันตามวัสดุท่ีใช และคาเพื่อความปลอดภัย กลาวคือ คาหนวยแรงดัดท่ียอมใหจะมีคาเทากับคาหนวยแรงจากการทดสอบกําลังวัสดุหารดวยคาความปลอดภัย

เม่ือ Fb = หนวยแรงท่ียอมให กก./ซม.2 Ft = หนวยแรงท่ีไดจากการทดสอบ กก./ซม.2 FS = คาเพื่อความปลอดภัย

หนวยแรงที่ไดจากการทดสอบอาจพิจารณาหนวยแรงที่จุดคลาก ถาเปนเหล็ก หรือวัสดุท่ี มีกราฟความสัมพันธระหวางหนวยแรงและความเคนท่ีเปนเสนตรงในชวงอีลาสติก หรืออาจจะตองใชหนวยแรงประลัยถาเปนไมหรือวัสดุท่ีมีกราฟความสัมพันธระหวางหนวยแรงและความเคนไมเปนเสนตรง แตคาความปลอดภัยอาจพิจารณาใชตามขอเสนอแนะหรือ ขอกําหนดในมาตรฐานการออกแบบตาง ๆ ท่ีระบุการใชงานช่ัวคราว แตถาแบบหลอคอนกรีตนั้นตองท้ิงไวนาน และมีความสําคัญตอการใชงานอยางอ่ืนดวย ก็อาจจะตองพิจารณาเพิ่มคาความปลอดภัยตามดุลยพินิจของวิศวกรผูคํานวณออกแบบตามแตกรณี สําหรับการออกแบบอุปกรณแบบหลอคอนกรีตอาจเลือกใชตามท่ีระบุในตาราง หรือพิจารณาตามคําแนะนําของบริษัทผูผลิต ดังนั้น ในการคํานวณออกแบบ ซ่ึงโดยท่ัวไปจะรูคาแรงดัด (M) จากการวิเคราะห และกําหนดคาหนวยแรงท่ียอมให (fa) ตามวัสดุและสภาพการทํางาน จึงสามารถหาขนาดของช้ินสวนรับแรงดัดไดจาก

Page 13: 1. Uค ุณอํานวยkmcenter.rid.go.th/kclproject/site/images/sampledata/innovation/slip form.pdf · การประยุกต ใช Slip Form ในงานก

13/27

(2)

ซ่ึงขนาดของช้ินสวนแบบหลอคอนกรีตเหลานั้น อาจเลือกจากตารางแสดงขนาดกับคุณสมบัติหนาตัดตาง ๆ ซ่ึงมีท้ังคาโมดูลัสหนาตัด (S) โมเมนตอินเนอรเชีย (I) และระยะของแกนสะเทินถึงผิวนอกสุด (c) แตถาเปนไมหรือวัสดุอ่ืนท่ีมีลักษณะเปนแผนหรือทอนท่ีมีหนาตัดเปนรูปเหล่ียม อาจคํานวณขนาดไดเลยจาก

3

และ (1)

โดยท่ี b = ความกวางของช้ินสวน ซม. d = ความลึกของช้ินสวน ซม. I = โมเมนตอินเนอรเซียของหนาตัด ซม.4 c = ระยะไกลสุดจากแกนสะเทินถึงผิวนอกของหนาตัด ซม. S = โมดุลัสหนาตัด ซม.3

ดังนั้นเม่ือรวมสมการท่ี (1) เขากับสมการท่ี (2) จะไดสมการท่ี (3) เพือ่ใชในการหาขนาดของหนาตัดได

(3)

Page 14: 1. Uค ุณอํานวยkmcenter.rid.go.th/kclproject/site/images/sampledata/innovation/slip form.pdf · การประยุกต ใช Slip Form ในงานก

14/27 ตารางท่ี 1 ก แรงดันสูงสุดท่ียอมใหสําหรับเคราเหล็กรางน้ําบางและเหล็กรางน้ําบางมีขอบ

ในกรณีท่ีเครามีลักษณะเปนปลายยื่น (กก./ม.2)

1. ควบคุมโดยแรงดดั 2. ควบคุมโดยการแอนตัว

Page 15: 1. Uค ุณอํานวยkmcenter.rid.go.th/kclproject/site/images/sampledata/innovation/slip form.pdf · การประยุกต ใช Slip Form ในงานก

15/27 ตารางท่ี 1 ข แรงดันสูงสุดท่ียอมใหสําหรับเคราเหล็กรางน้ําบางและเหล็กรางน้ําบางมีขอบ

ในกรณีท่ีเครามีลักษณะเปนคานชวงเดียว (กก./ม.2)

1. ควบคุมโดยแรงดดั 2. ควบคุมโดยการแอนตัว

Page 16: 1. Uค ุณอํานวยkmcenter.rid.go.th/kclproject/site/images/sampledata/innovation/slip form.pdf · การประยุกต ใช Slip Form ในงานก

16/27 ตารางท่ี 1 ค แรงดันสูงสุดท่ียอมใหสําหรับเคราเหล็กรางน้ําบางและเหล็กรางน้ําบางมีขอบ

ในกรณีท่ีเครามีลักษณะเปนคานตอเนื่อง (กก./ม.2)

1. ควบคุมโดยแรงดดั 2. ควบคุมโดยการแอนตัว

Page 17: 1. Uค ุณอํานวยkmcenter.rid.go.th/kclproject/site/images/sampledata/innovation/slip form.pdf · การประยุกต ใช Slip Form ในงานก

17/27 ตารางท่ี 2 ก แรงดันสูงสุดท่ียอมใหสําหรับเคราเหล็กทอส่ีเหล่ียมกลวงในกรณีท่ีเครา

มีลักษณะเปนปลายยื่น (กก./ม.2)

1. ควบคุมโดยแรงดดั 2. ควบคุมโดยการแอนตัว

Page 18: 1. Uค ุณอํานวยkmcenter.rid.go.th/kclproject/site/images/sampledata/innovation/slip form.pdf · การประยุกต ใช Slip Form ในงานก

18/27 ตารางท่ี 2 ข แรงดันสูงสุดท่ียอมใหสําหรับเคราเหล็กทอส่ีเหล่ียมกลวง

ในกรณีท่ีเครามีลักษณะเปนคานชวงเดียว (กก./ม.2)

1. ควบคุมโดยแรงดดั 2. ควบคุมโดยการแอนตัว

Page 19: 1. Uค ุณอํานวยkmcenter.rid.go.th/kclproject/site/images/sampledata/innovation/slip form.pdf · การประยุกต ใช Slip Form ในงานก

19/27 ตารางท่ี 2 ค แรงดันสูงสุดท่ียอมใหสําหรับเคราเหล็กทอส่ีเหล่ียมกลวงในกรณีท่ีเครา มีลักษณะเปนคานตอเนื่อง (กก./ม.2)

Page 20: 1. Uค ุณอํานวยkmcenter.rid.go.th/kclproject/site/images/sampledata/innovation/slip form.pdf · การประยุกต ใช Slip Form ในงานก

20/27 ตารางท่ี 3 แรงดันคอนกรีตท่ียอมใหสําหรับคานไมรับเครา (กก./ม.2) 1. ควบคุมโดยแรงดดั 2. ควบคุมโดยการแอนตัว หมายเหตุ : คาท่ีแสดงเปนคาของคานเดีย่ว เม่ือใชเปนคานคู อนุญาตใหใชเปน 2 เทาของคาน

ท่ีแสดง

Page 21: 1. Uค ุณอํานวยkmcenter.rid.go.th/kclproject/site/images/sampledata/innovation/slip form.pdf · การประยุกต ใช Slip Form ในงานก

21/27 ตารางท่ี 3 (ตอ) แรงดันคอนกรีตท่ียอมใหสําหรับคานไมรับเครา (กก./ม.2) 1. ควบคุมโดยแรงดดั 2. ควบคุมโดยการแอนตัว หมายเหตุ : คาท่ีแสดงเปนคาของคานเดีย่ว เม่ือใชเปนคานคู อนุญาตใหใชเปน 2 เทาของคาน

ท่ีแสดง

Page 22: 1. Uค ุณอํานวยkmcenter.rid.go.th/kclproject/site/images/sampledata/innovation/slip form.pdf · การประยุกต ใช Slip Form ในงานก

22/27 ตารางท่ี 4 ก แรงดันคอนกรีตท่ียอมใหสําหรับคานเหล็กรูปพรรณ (เหล็กฉาก) (กก./ม.2) 1. ควบคุมโดยแรงดดั 2. ควบคุมโดยการแอนตัว หมายเหตุ : คาท่ีแสดงเปนคาของคานเดีย่ว เม่ือใชเปนคานคู อนุญาตใหใชเปน 2 เทาของคาน

ท่ีแสดง

Page 23: 1. Uค ุณอํานวยkmcenter.rid.go.th/kclproject/site/images/sampledata/innovation/slip form.pdf · การประยุกต ใช Slip Form ในงานก

23/27 ตารางท่ี 4 ข แรงดันคอนกรีตท่ียอมใหสําหรับคานเหล็กรูปพรรณ ( ตัว C ) (กก./ม.2) 1. ควบคุมโดยแรงดดั 2. ควบคุมโดยการแอนตัว หมายเหตุ : คาท่ีแสดงเปนคาของคานเดีย่ว เม่ือใชเปนคานคู อนุญาตใหใชเปน 2 เทาของคาน

ท่ีแสดง

Page 24: 1. Uค ุณอํานวยkmcenter.rid.go.th/kclproject/site/images/sampledata/innovation/slip form.pdf · การประยุกต ใช Slip Form ในงานก

24/27 ตารางท่ี 4 ค แรงดันคอนกรีตท่ียอมใหสําหรับคานเหล็กรูปพรรณ ( เหล็ก WF ) (กก./ม.2) 1. ควบคุมโดยแรงดดั 2. ควบคุมโดยการแอนตัว หมายเหตุ : คาท่ีแสดงเปนคาของคานเดีย่ว เม่ือใชเปนคานคู อนุญาตใหใชเปน 2 เทาของคาน

ท่ีแสดง

Page 25: 1. Uค ุณอํานวยkmcenter.rid.go.th/kclproject/site/images/sampledata/innovation/slip form.pdf · การประยุกต ใช Slip Form ในงานก

25/27 ตารางท่ี 5 ก แรงดันท่ียอมใหสําหรับคานรับเหล็กบาง (เหล็กรางน้ําบาง) (กก./ม.2) 1. ควบคุมโดยแรงดดั 2. ควบคุมโดยการแอนตัว หมายเหตุ : คาท่ีแสดงเปนคาของคานเดีย่ว เม่ือใชเปนคานคู อนุญาตใหใชเปน 2 เทาของคาน

ท่ีแสดง

Page 26: 1. Uค ุณอํานวยkmcenter.rid.go.th/kclproject/site/images/sampledata/innovation/slip form.pdf · การประยุกต ใช Slip Form ในงานก

26/27 ตารางท่ี 5 ข แรงดันท่ียอมใหสําหรับคานรับเหล็กบาง (เหล็กรางน้ําบางมีขอบ) (กก./ม.2) 1. ควบคุมโดยแรงดดั 2. ควบคุมโดยการแอนตัว หมายเหตุ : คาท่ีแสดงเปนคาของคานเดีย่ว เม่ือใชเปนคานคู อนุญาตใหใชเปน 2 เทาของคาน

ท่ีแสดง

Page 27: 1. Uค ุณอํานวยkmcenter.rid.go.th/kclproject/site/images/sampledata/innovation/slip form.pdf · การประยุกต ใช Slip Form ในงานก

27/27 ตารางท่ี 5 ค แรงดันท่ียอมใหสําหรับคานรับเหล็กบาง (เหล็กทอส่ีเหล่ียมกลวง) (กก./ม.2) 1. ควบคุมโดยแรงดดั 2. ควบคุมโดยการแอนตัว หมายเหตุ : คาท่ีแสดงเปนคาของคานเดีย่ว เม่ือใชเปนคานคู อนุญาตใหใชเปน 2 เทาของคาน

ท่ีแสดง