15
กรมโยธาธิการและผังเมือง กระทรวงมหาดไทย .. 2551 LOGO มยผ. 8302-51 มาตรฐานการออกแบบติดตั วัสดุและอุปกรณ์ป้ องกันการลามไฟ ฉบับร่ าง

2 ข้อกำหนดการออกแบบติดตั้งวัสดุและอุปกรณ์ป้องกันการลามไฟ

Embed Size (px)

Citation preview

Page 1: 2 ข้อกำหนดการออกแบบติดตั้งวัสดุและอุปกรณ์ป้องกันการลามไฟ

กรมโยธาธกิารและผงัเมอืง กระทรวงมหาดไทย

พ.ศ. 2551

LOGO

มยผ. 8302-51

มาตรฐานการออกแบบตดิต้ัง

วัสดุและอุปกรณ์ป้องกันการลามไฟ

ฉบับรา่ง

Page 2: 2 ข้อกำหนดการออกแบบติดตั้งวัสดุและอุปกรณ์ป้องกันการลามไฟ

มยผ. 8302-51 : มาตรฐานการออกแบบติดตัง้วสัดแุละอปุกรณ์ป้องกนัการลามไฟ

มาตรฐานมาตรฐานการออกแบบตดิตัง้การออกแบบตดิตัง้วัสดุและอุปกรณ์ป้องกันวัสดุและอุปกรณ์ป้องกัน การลามไฟการลามไฟ

มยผ. 8302-51 กรมโยธาธกิารและผงัเมอืง

กระทรวงมหาดไทย

LOGO

ฉบับรา่ง

Page 3: 2 ข้อกำหนดการออกแบบติดตั้งวัสดุและอุปกรณ์ป้องกันการลามไฟ

มยผ. 8302-51 : มาตรฐานการออกแบบติดตัง้วสัดแุละอปุกรณ์ป้องกนัการลามไฟ

บทนํา

การออกแบบติดตั้งวสัดุและอุปกรณ์ป้องกนัการลามไฟตามมาตรฐานน้ี ใชเ้พื่อป้องกนัการลาม

ไฟผ่านช่องเปิดท่ีเกิดจากการเจาะทะลุหรือเวน้ช่องว่างไวเ้พื่องานระบบหรือสาธารณูปโภค โดยระบุขอ้กาํหนดในการออกแบบติดตั้งและขอ้จาํกดัในการใชง้านวสัดุและอุปกรณ์ป้องกนัการลามไฟประเภทต่างๆ การออกแบบและติดตั้งดงักล่าวขอ้กาํหนดฉบบัน้ีไดจ้าํแนกตามรูปแบบการเจาะทะลุเพ่ือให้เกิดความชัดเจนในการใช้งาน และแสดงตวัอย่างรูปแบบการติดตั้ งไว ้ โดยขอ้กาํหนดเหล่าน้ีจะช่วยสนบัสนุนใหก้ารกั้นแยกอาคารมีความสมบูรณ์และปลอดภยัมากข้ึน

ทั้งน้ีเน่ืองจากวสัดุและอุปกรณ์ป้องกนัการลามไฟในปัจจุบนัมีมากมายหลายชนิด โดยเฉพาะในส่วนของอุปกรณ์ป้องกันการลามไฟซ่ึงมีการออกแบบข้ึนใหม่อยู่เสมอ หากวสัดุและอุปกรณ์ดังกล่าวไม่ได้เป็นไปตามรายละเอียดท่ีระบุในขอ้กาํหนดน้ี จะตอ้งนําอุปกรณ์ป้องกันการลามไฟดงักล่าวซ่ึงมีการติดตั้งตามการใชง้านจริงมาทดสอบตามมาตรฐานการทนไฟของวสัดุป้องกนัการลามไฟ

ฉบับรา่ง

Page 4: 2 ข้อกำหนดการออกแบบติดตั้งวัสดุและอุปกรณ์ป้องกันการลามไฟ

มยผ. 8302-51 : มาตรฐานการออกแบบติดตัง้วสัดแุละอปุกรณ์ป้องกนัการลามไฟ

คณะทาํงานจดัทาํมาตรฐาน

1) ผูจ้ดัการโครงการ รศ.วเิชียร เต็งอาํนวย 2) ผูเ้ช่ียวชาญดา้นวสัดุและผลิตภณัฑด์า้นการป้องกนัอคัคีภยั (1) ผศ.ดร.ชัชชาติ สิทธิพนัธ์ุ 3) ผูเ้ช่ียวชาญดา้นวสัดุและผลิตภณัฑด์า้นการป้องกนัอคัคีภยั (2) ผศ.ดร.ธัญวฒัน์ โพธิศิริ 4) ผูเ้ช่ียวชาญดา้นวิศวกรรมงานระบบหรือความปลอดภยัจากอคัคีภยั นายพชิญะ จันทรานุวฒัน์ นางสาวบุษกร แสนสุข นายจุลดิษย์ จายนียโยธิน นายปฐเมศ ผาณติพจมาน นายเอกชัย แก้วกาญจนดิษฐ 5) ผูเ้ช่ียวชาญดา้นสถาปัตยกรรม

นายอาคม เวพาสยนันท์ 6) ผูเ้ช่ียวชาญดา้นกฎหมาย

รศ.ดร.วศิณุ ทรัพย์สมพล

ฉบับรา่ง

Page 5: 2 ข้อกำหนดการออกแบบติดตั้งวัสดุและอุปกรณ์ป้องกันการลามไฟ

สารบัญ

หน้า 1. ขอบข่าย 1 2. นิยาม 1 3. มาตรฐานอา้งอิง 2 4. ขอ้กาํหนดตามมาตรฐาน 2

4.1 บทนาํ 2 4.2 คุณสมบติัของวสัดุป้องกนัการลามไฟ 2 4.3 รูปแบบของวสัดุป้องกนัการลามไฟท่ีใชใ้นป้องกนัช่องเจาะทะลุ 3 4.4 การป้องกนัการลามไฟผา่นช่องเจาะทะลุ 3 4.5 การป้องกนัการลามไฟสาํหรับการเจาะแบบไม่ทะลุ 4 4.6 ขอ้ยกเวน้ในการติดตั้งวสัดุและอุปกรณ์ป้องกนัการลามไฟ 5 4.7 ตวัอยา่งรูปแบบการป้องกนัช่องเจาะทะลุจากงานระบบเคร่ืองกลและไฟฟ้า 6

5. เอกสารอา้งอิง 10

ฉบับรา่ง

Page 6: 2 ข้อกำหนดการออกแบบติดตั้งวัสดุและอุปกรณ์ป้องกันการลามไฟ

-1-

มยผ. 8302-51

มาตรฐานการออกแบบตดิตั้งวสัดุและอุปกรณ์ป้องกนัการลามไฟ

1. ขอบข่าย

1.1 มาตรฐานการออกแบบติดตั้งวสัดุและอุปกรณ์ป้องกนัการลามไฟน้ีครอบคลุมการกาํหนดคุณสมบติัดา้นอคัคีภยั การออกแบบและติดตั้งวสัดุและอุปกรณ์ป้องกนัการลามไฟ ซ่ึงเป็นแนวทางในการควบคุมการออกแบบ ติดตั้ง และรวมถึงการเลือกใชว้สัดุและอุปกรณ์ท่ีเหมาะสมกบัช่องเปิดนั้น ๆ ให้สามารถใชง้านดา้นความปลอดภยัจากอคัคีภยัไดอ้ยา่งมีประสิทธิภาพ 1.2 วสัดุและอุปกรณ์ป้องกนัการลามไฟตามมาตรฐานน้ี เป็นวสัดุและอุปกรณ์ป้องกนัการลามไฟในช่องเปิดซ่ึงเกิดจากการเจาะทะลุรูปแบบต่างๆ โดยไม่รวมถึงช่องเปิดท่ีมีไวเ้พื่อการผ่านเขา้ออกของคนหรือส่ิงของ

2. นิยาม

“ผนังทนไฟ” (Fire Barrier) หมายถึง ผนงัทึบท่ีใชแ้บ่งพื้นท่ีภายในอาคารออกเป็นส่วนเพื่อควบคุมการลามของไฟ โดยมีลกัษณะช้ินส่วนโครงสร้างแบบระนาบท่ีต่อเน่ืองหรือไม่ต่อเน่ืองหากมีการป้องกนัช่องเปิดตามอตัราการทนไฟท่ีกาํหนด โดยไดรั้บการออกแบบและก่อสร้างใหมี้อตัราการทนไฟตามท่ีกาํหนดเพ่ือจาํกดัการลามของไฟ อีกทั้งยงัยบัย ั้งการแพร่กระจายของควนัไฟดว้ย “วตัถุทนไฟ” (Fire Resistance Material) หมายถึง วตัถุก่อสร้างท่ีไม่เป็นเช้ือเพลิง และไม่ลดความแขง็แรง เม่ือสมัผสักบัไฟในช่วงเวลาหน่ึง “การกั้นแยก” (Compartment) หมายถึง การแบ่งพื้นท่ีในอาคารออกเป็นส่วน และสามารถทาํหนา้ท่ีป้องกนัการลามของไฟระหว่างแต่ละส่วนของอาคาร โดยหมายความรวมถึงการแบ่งส่วนในแนวราบ ไดแ้ก่ ผนงั ประตู หนา้ต่าง และการแบ่งส่วนในแนวด่ิง ไดแ้ก่ พื้น เป็นตน้ “การป้องกนัช่องเปิด” (Protection of Opening) หมายถึง การป้องกนัช่องท่ีเจาะทะลุไปยงัผนงัหรือพื้น เพื่อป้องกนัไม่ใหไ้ฟลุกลามและเพิ่มความสมบูรณ์ของส่วนกั้นแยกทนไฟใหใ้ชง้านไดต้รงตามวตัถุประสงค ์ “การลามไฟ” (Flame Spread) หมายถึง การแพร่กระจายของเปลวไฟเหนือพื้นผวิ “วสัดุและอุปกรณ์ป้องกนัการลามไฟ” (Firestop System or Firestop Device) หมายถึง วสัดุหรืออุปกรณ์ซ่ึงประกอบกนัข้ึนเพื่อป้องกนัผลกระทบจากความร้อนและจากเปลวไฟจากช่องเปิดสาํหรับท่อหรืองานระบบต่างๆ ในส่วนกั้นแยกท่ีออกแบบการทนไฟ

ฉบับรา่ง

Page 7: 2 ข้อกำหนดการออกแบบติดตั้งวัสดุและอุปกรณ์ป้องกันการลามไฟ

-2-

3. มาตรฐานอ้างถึง

3,1 มาตรฐานท่ีอา้งถึงในส่วนน้ีประกอบดว้ย 3.1.1 มาตรฐานกรมโยธาธิการและผงัเมือง มยผ. 8201-51: มาตรฐานการทดสอบการทนไฟของ

ช้ินส่วนโครงสร้างและส่วนประกอบอาคาร ภาคท่ี 1 รายละเอียดและขอ้กาํหนดการทดสอบ 3.1.2 มาตรฐานกรมโยธาธิการและผงัเมือง มยผ. 8205-51: มาตรฐานการทดสอบการทนไฟวสัดุ

ป้องกนัการลามไฟ 3.2 หากขอ้กาํหนดในมาตรฐานน้ีมีความขดัแยง้กบัมาตรฐานท่ีอา้งถึงในแต่ส่วน ให้ถือขอ้กาํหนดในมาตรฐานน้ีเป็นสาํคญั

4. ข้อกาํหนดตามมาตรฐาน

4.1 บทนาํ ความสามารถในการป้องกนัการลามไฟของวสัดุและอุปกรณ์ป้องกนัการลามไฟข้ึนอยู่กบัคุณสมบติั

ของวสัดุท่ีใช ้ การประกอบติดตั้ง รูปแบบการติดตั้ง และลกัษณะของช่องเจาะทะลุ ดงันั้นการจะทราบอตัราการทนไฟของระบบป้องกนัช่องเจาะทะลุท่ีชดัเจน ตอ้งทาํการทดสอบการทนไฟของวสัดุป้องกนัการลามไฟตามโดยประกอบและติดตั้งในผนงัทดสอบตามมาตรฐานการทดสอบการทนไฟของวสัดุป้องกนัการลามไฟจากหอ้งปฏิบติัการท่ีเช่ือถือได ้

การเจาะทะลุซ่ึงตอ้งการการป้องกนัการลามไฟผา่นผนงั หรือ พื้น ท่ีมีคุณสมบติัทนไฟ ไดแ้ก่ - ช่องเจาะสาํหรับเดินสายเคเบิล สายไฟ ท่อร้อยสายไฟ - ช่องเปิดงานระบบไฟฟ้า ระบบเคร่ืองกล ระบบท่อประปา หรือระบบส่ือสาร - ช่องเปิดหรือช่องลอด (Blockout or Sleeve) ท่ีเตรียมการไวส้าํหรับติดตั้งระบบท่อในอนาคต - ช่องเปิดหรือช่องลอด (Blockout or Sleeve) ท่ีสายไฟฟ้าหรือท่อร้อยสายไฟฟ้าท่ีมีช่องวางอยูแ่ม้

เพียงเลก็นอ้ยกต็าม ทั้งน้ีหากภายในท่อท่ีวางทะลุพื้นหรือผนังทนไฟ มีโอกาสเกิดการลามไฟภายในตอ้งทาํการป้องกนั

ดว้ยวสัดุหรืออุปกรณ์ป้องกนัการลามไฟภายในท่อเช่นกนั 4.2 คุณสมบติัของวสัดุป้องกนัการลามไฟ

4.2.1 เป็นวสัดุหรืออุปกรณ์ท่ีป้องกนัไฟไดอ้ยา่งนอ้ย 1.5 ชัว่โมง 4.2.2 วสัดุดงักล่าวตอ้งไม่เป็นพิษขณะติดตั้งหรือขณะเกิดเพลิงไหม ้4.2.3 ตอ้งสามารถถอดออกไดง่้ายในกรณีท่ีมีการเปล่ียนแปลงแกไ้ข 4.2.4 ตอ้งทนต่อการสัน่สะเทือนไดดี้ 4.2.5 ติดตั้งไดง่้าย 4.2.6 ตอ้งคงรูปอยูไ่ดโ้ดยไม่หลอมละลายหรือเส่ือมสภาพทั้งก่อนและหลงัการเกิดเพลิงไหม ้

ฉบับรา่ง

Page 8: 2 ข้อกำหนดการออกแบบติดตั้งวัสดุและอุปกรณ์ป้องกันการลามไฟ

-3-

4.3 รูปแบบของวสัดุป้องกนัการลามไฟท่ีใชใ้นป้องกนัช่องเจาะทะลุ 4.3.1 แผน่หรือเสน้ซ่ึงทาํจากวสัดุทนไฟ เช่น แร่ใยหิน ใชใ้นการอุดป้องกนัช่องเปิดแบบยาว 4.3.2 ท่อนอิฐซ่ึงใชใ้นการอุดป้องกนัพื้นท่ีท่ีไม่มากนกั และอาจตอ้งใชว้สัดุเช่ือมระหวา่งท่อน 4.3.3 แบบถุงซ่ึงใชใ้นการอุดป้องกนัพื้นท่ีท่ีไม่มากนกั โดยอาศยัหลกัการอดัแน่นในการป้องกนัการ

ลามไฟ 4.3.4 อุปกรณ์หุม้ท่อซ่ึงทาํจากวสัดุทนไฟและใชหุ้ม้ผวิท่อซ่ึงมีลกัษณะเป็นปลอก ซ่ึงเป็นการใชง้าน

เฉพาะขนาดของท่อ โดยการเจาะทะลุตอ้งมีขนาดใหญ่กวา่ท่อไม่มากนกั 4.3.5 มอร์ตา้ทนไฟซ่ึงใชฉ้าบปิดเพื่อเติมเตม็พื้นท่ีช่องเปิด ซ่ึงเหลือจากการติดตั้งงานระบบ 4.3.6 โฟมฉีดซ่ึงเม่ือแขง็ตวัจะมีคุณสมบติัในการทนไฟ ซ่ึงใชใ้นการปิดรอยเปิดขนาดเลก็ หรือ

ช่องวา่งระหวา่งช้ินส่วนโครงสร้างกบัช้ินส่วนโครงสร้างอีกช้ินหน่ึงหรือวสัดุป้องกนัการลามไฟ

4.3.7 อุปกรณ์ป้องกนัการลามไฟแบบอ่ืนๆ ซ่ึงประดิษฐข้ึ์นตามลกัษณะการใชง้านเฉพาะ 4.4 การป้องกนัการลามไฟผา่นช่องเจาะทะลุ

4.4.1 การเจาะทะลุใดๆตอ้งใชว้สัดุและอุปกรณ์ป้องกนัการลามไฟแบบ F มีอตัราการทนไฟอยา่งนอ้ย 1 ชัว่โมง แต่จะตอ้งไม่นอ้ยกวา่อตัราการทนไฟของผนงัทนไฟท่ีเจาะทะลุผา่น

4.4.2 การเจาะทะลุในแนวราบตอ้งใชว้สัดุและอุปกรณ์ป้องกนัการลามไฟแบบ T มีอตัราการทนไฟอยา่งนอ้ย 1 ชัว่โมง แต่จะตอ้งไม่นอ้ยกวา่อตัราการทนไฟของช้ินส่วนโครงสร้างทนไฟในแนวราบท่ีเจาะทะลุผา่น โดยยกเวน้ขอ้กาํหนดการใชว้สัดุและอุปกรณ์ป้องกนัการลามไฟแบบ T ตามเง่ือนไขดงัน้ี 4.4.2.1 การเจาะทะลุผา่นพื้นท่ีท่ีอยูใ่นช่องวา่งระหวา่งผนงั 4.4.2.2 การเจาะทะลุผา่นพื้นซ่ึงการเจาะทะลุนั้นสมัผสัโดยตรงกบัวสัดุติดไฟ

4.4.3 ถา้เป็นการเจาะทะลุพื้นหรือผนงัซ่ึงใชว้สัดุและอุปกรณ์ป้องกนัการลามไฟแบบมีปลอกหุม้ ตอ้งติดตั้งปลอกหุ้มเขา้กบัช่องเจาะอยา่งเหมาะสม และช่องว่างระหว่างส่ิงท่ีจะผา่นทะลุกบัปลอกหุม้จะตอ้งอุดดว้ยวสัดุป้องกนัการลามไฟ

4.4.4 ห้ามใชฉ้นวนหรือปลอกหุ้มท่อ สาย หรืองานระบบ ในการอุดปิดป้องกนัการลามไฟ ยกเวน้กรณีท่ีฉนวนหรือปลอกหุ้มนั้นไดผ้่านการทดสอบว่าเป็นส่วนประกอบของวสัดุและอุปกรณ์ป้องกนัการลามไฟ

4.4.5 การเปล่ียนชนิดท่อ ท่อท่ีทะลุผา่นผนงัหรือพื้นทนไฟจะตอ้งเป็นท่อท่ีไม่ลุกติดไฟในระยะ 915 มิลลิเมตร (36 น้ิว) จากวสัดุและอุปกรณ์ป้องกนัการลามไฟ โดยเม่ือเกินจากระยะน้ีแลว้สามารถเปล่ียนเป็นท่อท่ีลุกติดไฟได ้ ถา้สามารถแสดงใหเ้ห็นไดว้า่การเปล่ียนชนิดท่อนั้นไม่ทาํใหอ้ตัราการทนไฟลดลง

ฉบับรา่ง

Page 9: 2 ข้อกำหนดการออกแบบติดตั้งวัสดุและอุปกรณ์ป้องกันการลามไฟ

-4-

4.5 การป้องกนัการลามไฟสาํหรับการเจาะแบบไม่ทะลุ 4.5.1 การเจาะแบบไม่ทะลุผา่นผนงั พื้น หรือ เพดานท่ีสร้างจากวสัดุทนไฟ เพื่อเดินสายเคเบิล

สายไฟ ท่อร้อยสายไฟ ท่อนํ้า ท่อลม หรือส่ิงท่ีคลา้ยกนัน้ีท่ีเป็นส่วนประกอบของระบบไฟฟ้า ระบบเคร่ืองกล ระบบท่อประปา หรือระบบส่ือสารนั้น ตอ้งทาํการป้องกนัดว้ยวสัดุและอุปกรณ์ป้องกนัการลามไฟและจะตอ้งเป็นไปตามขอ้กาํหนด4.5.2 ถึง 4.5.3

4.5.2 การป้องกนัการลามไฟจะตอ้งไดรั้บการทดสอบตามมาตรฐานการทดสอบการทนไฟของวสัดุป้องกนัการลามไฟ ยกเวน้กรณีท่ีเป็นไปตามเง่ือนไขขอ้ใดขอ้หน่ึงดงัน้ี 4.5.2.1 การเจาะแบบไม่ทะลุท่ีเพดาน โดยท่ีเพดานนั้นไม่ไดเ้ป็นส่วนหน่ึงของชุดพื้น/เพดาน

ทนไฟ หรือชุดของหลงัคา/เพดานทนไฟ 4.5.2.2 การเจาะแบบไม่ทะลุของเหลก็กลา้ เหลก็ผสม ท่อทองแดง ท่อ สามารถใชไ้ดถ้า้

บริเวณรอบท่อไดรั้บการป้องกนัดว้ยวสัดุป้องกนัการลามไฟท่ีไดรั้บการรับรอง และพื้นท่ีรวมของช่องเจาะทะลุนั้นจะตอ้งไม่เกิน 0.06 ตารางเมตร ต่อพื้นท่ีเพดาน 9.3 ตารางเมตร

4.5.2.3 ปลัก๊ไฟฟ้าและขอ้ต่อ หากเป็นอุปกรณ์ท่ีไดรั้บการทดสอบและรับรองวา่สามารถใช้งานกบัช้ินส่วนโครงสร้างหรือส่วนประกอบอาคารทนไฟได ้ และไดติ้ดตั้งตามวิธีท่ีไดรั้บการรับรอง

4.5.2.4 บริเวณรอบหวักระจายนํ้าดบัเพลิงท่ีเจาะแบบไม่ทะลุ โดยบริเวณนั้นจะตอ้งครอบดว้ยแผน่โลหะของหวักระจายนํ้าดบัเพลิง

4.5.3 สาํหรับผนงัหรือแผงกั้นท่ีมีอตัราการทนไฟไม่นอ้ยกวา่ 1 ชัว่โมง ส่ิงท่ีติดอยูก่บัผนงัหรือแผงกั้นสามารถฝังเขา้ไปในผนงัหรือแผงกั้นได ้ ถา้ไม่ทาํใหอ้ตัราการทนไฟของผนงัหรือแผงกั้นลดลง ยกเวน้กรณีท่ีไปตามเง่ือนไขขอ้ใดขอ้หน่ึงดงัน้ี 4.5.3.1 การติดตั้งปลัก๊ไฟชนิดโลหะท่ีมีขนาดไม่เกิน 0.01 ตารางเมตร หากมีพื้นท่ีรวมของ

ช่องเปิดท่ีเกิดจากปลัก๊ไฟไม่เกิน 0.06 ตารางเมตร ต่อพ้ืนท่ีผนงั 9.3 ตารางเมตร และกรณีท่ีมีปลัก๊ไฟถูกติดตั้งอีกดา้นของผนงั ปลัก๊ไฟนั้นจะตอ้งถูกกั้นแยกตามเง่ือนไขขอ้ใดขอ้หน่ึงดงัน้ี (1) ระยะห่างในแนวนอนไม่นอ้ยกวา่ 610 มิลลิเมตร (2) ระยะห่างในแนวนอนไม่นอ้ยกวา่ความลึกของช่องวา่งของผนงั ถา้ช่องวา่งนั้น

ถูกอุดดว้ย ฉนวนแบบ เซลลูโลสอยา่งหลวม (Cellulose loose-fill) เสน้ใยหิน (Rock wool) หรือเสน้ใยกากแร่ (Slag wool) วสัดุป้องกนัการลามไฟแบบกอ้นหรือแถบ วสัดุและวิธีการอ่ืนท่ีไดรั้บการทดสอบและรับรอง

ฉบับรา่ง

Page 10: 2 ข้อกำหนดการออกแบบติดตั้งวัสดุและอุปกรณ์ป้องกันการลามไฟ

-5-

4.5.3.2 การเจาะแบบไม่ทะลุของปลัก๊ไฟท่ีทาํจากวสัดุใดๆท่ีไดรั้บการรับรอง โดยปลัก๊ไฟนั้นจะตอ้งผา่นการทดสอบวา่สามารถใชใ้นอุปกรณ์ทนไฟไดแ้ละจะตอ้งติดตั้งตามวิธีการท่ีไดรั้บการรับรอง

4.5.3.3 บริเวณรอบหวักระจายนํ้าดบัเพลิงท่ีเจาะแบบไม่ทะลุ โดยบริเวณนั้นจะตอ้งครอบดว้ยแผน่โลหะของหวักระจายนํ้าดบัเพลิง

4.6 ขอ้ยกเวน้ในการติดตั้งวสัดุและอุปกรณ์ป้องกนัการลามไฟ 4.6.1 หากการเจาะทะลุนั้นไดรั้บการทดสอบและติดตั้งโดยเป็นส่วนหน่ึงของอุปกรณ์ท่ีผา่นการ

ทดสอบและระบุอตัราการทนไฟตามมาตรฐานสากล 4.6.2 หากเป็นการเจาะทะลุผา่นพื้นในช่องท่อท่ีปิดลอ้มดว้ยผนงัทนไฟ 4.6.3 หากเป็นการเจาะทะลุเพื่อเดินท่อเหลก็หล่อ ท่อทองแดง หรือท่อเหลก็ ซ่ึงรอบท่อนั้นอุดดว้ย

คอนกรีต ปูน หรือ มอลตา้ร์แลว้ และตอ้งเป็นไปตามเง่ือนไขสองขอ้ดงัน้ี (1) เสน้ผา่นศูนยก์ลางของท่อจะตอ้งไม่เกิน 150 มิลลิเมตร (6 น้ิว) และช่องเปิดรอบท่อ

จะตอ้งมีพื้นท่ีไม่เกิน 0.09 ตารางเมตร (2) ตอ้งอุดคอนกรีต ปูน หรือมอลตา้ร์ตลอดแนวความหนาของช่องเจาะทะลุ

ฉบับรา่ง

Page 11: 2 ข้อกำหนดการออกแบบติดตั้งวัสดุและอุปกรณ์ป้องกันการลามไฟ

-6-

4.7 ตวัอยา่งรูปแบบการป้องกนัช่องเจาะทะลุจากงานระบบเคร่ืองกลและไฟฟ้า 4.7.1 การป้องกนัท่อลม (Air Duct)

4.7.1.1 การป้องกนัท่อลมท่ีไม่ใชง้านในขณะเกิดอคัคีภยั การเจาะทะลุพื้นทนไฟ ผนงัทนไฟ หรือเพดานทนไฟ ให้ติดตั้งล้ินกนัไฟท่ีผ่านการทดสอบจากสถาบนัท่ีไดรั้บความเช่ือถือ ท่ีมีอตัราการทนไฟไม่นอ้ยกว่าพื้น ผนงั และเพดานนั้น และใหติ้ดตั้งวสัดุป้องกนัการลามไฟในช่องเปิดระหว่างพื้นผวิภายนอกของท่อลมกบัพื้นทนไฟ ผนงัทนไฟ หรือเพดานทนไฟ ตามรูปแบบการติดตั้งท่ีไดผ้า่นการทดสอบจากสถาบนัท่ีเช่ือถือได ้โดยไม่ทาํใหอ้ตัราการทนไฟของพื้นทนไฟ ผนงัทนไฟ หรือเพดานทนไฟนั้นลดนอ้ยลง ดงัแสดงตวัอยา่งการติดตั้งในรูปท่ี 1

ใยหิน

พ้ืนคอนกรีต

วัสดุป้องกันไฟลามท่อลมเหล็กอาบสังกะสีล้ินกันไฟ

ฝ้าเพดานผนังคอนกรีต

รูปที ่1 การป้องกนัท่อลมทีไ่ม่ได้ใช้งานผ่านผนังคอนกรีตขณะเกดิอคัคภีัย

(ขอ้ 4.7.1.1)

ฉบับรา่ง

Page 12: 2 ข้อกำหนดการออกแบบติดตั้งวัสดุและอุปกรณ์ป้องกันการลามไฟ

-7-

4.7.1.2 การป้องกนัท่อลมท่ีใชง้านในขณะเกิดอคัคีภยั การเจาะทะลุพื้นทนไฟ ผนงัทนไฟ หรือ เพดานทนไฟ ใหติ้ดตั้งวสัดุป้องกนัไฟลามในช่องเปิด ระหว่างพื้นผวิภายนอกของท่อลมกบัพื้นทนไฟ ผนงัทนไฟ หรือเพดานทนไฟ ตามรูปแบบการติดตั้งท่ีได้ผา่นการรับรองจากสถาบนัท่ีเช่ือถือได ้ โดยไม่ทาํให้อตัราการทนไฟของพ้ืนทนไฟ ผนงัทนไฟ หรือเพดานทนไฟนั้นลดนอ้ยลง และท่อลมตอ้งมีความสามารถในการทนไฟ ไม่สูญเสียรูปทรงและสามารถทาํงานไดต้ามวตัถุประสงคใ์นขณะเกิดอคัคีภยัไม่ตํ่ากวา่ 1 ชัว่โมง 30 นาที

รูปที ่2 การป้องกนัท่อลมทีใ่ช้งานขณะเกดิอคัคภีัย (ขอ้ 4.7.1.2)

ฉบับรา่ง

Page 13: 2 ข้อกำหนดการออกแบบติดตั้งวัสดุและอุปกรณ์ป้องกันการลามไฟ

-8-

4.7.2 การป้องกนัรางเดินสายไฟฟ้า (Cable Tray) ใหติ้ดตั้งวสัดุป้องกนัไฟลามในช่องเปิดระหวา่งพื้นผวิภายนอกของรางเดินสาย กบั

พื้นทนไฟ ผนงัทนไฟ หรือ เพดานทนไฟ ตามรูปแบบการติดตั้งท่ีผา่นการรับรองจากสถาบนัท่ีเช่ือถือได ้ โดยไม่ทาํใหอ้ตัราการทนไฟของพื้นทนไฟ ผนงัทนไฟ หรือเพดานทนไฟนั้นลดนอ้ยลง ทั้งน้ีแสดงตวัอยา่งการป้องกนัช่องเปิดดงักล่าวในรูปท่ี 3

ช่องเปิด

สายไฟ หรือ สายโทรศพัท์

วสัดุป้องกนัไฟลาม

วสัดุป้องกนัไฟลาม

รางสายไฟ

รูปที ่3 การป้องกนัรางเดนิสายไฟฟ้าผ่านผนังคอนกรีต

(ขอ้ 4.7.2)

4.7.3 การป้องกนัท่อพลาสติก (Plastic Pipe) ใหติ้ดตั้งวสัดุป้องกนัไฟลามชนิดขยายตวั (Intumescent) ในช่องเปิดระหวา่งพื้นผวิ

ภายนอกของท่อพลาสติกกบั พื้นทนไฟ ผนงัทนไฟ หรือเพดานทนไฟ หรือติดตั้งปลอกสวม (Pipe Collar) ท่ีมีวสัดุป้องกนัการลามไฟชนิดขยายตวับนผวิของพื้นทนไฟ ผนงัทนไฟหรือเพดานทนไฟ ตามรูปแบบการติดตั้งท่ีผา่นการรับรองจากสถาบนัท่ีเช่ือถือได ้ โดยไม่ทาํให้อตัราการทนไฟของพ้ืนทนไฟ ผนงัทนไฟ หรือเพดานทนไฟนั้นลดนอ้ยลง ทั้งน้ีแสดงตวัอยา่งการป้องกนัช่องเปิดดงักล่าวในรูปท่ี 4

ท่อพลาสติก

วสัดุป้องกนัไฟลามสกรู

ผนงัคอนกรีต

ห่วงเหลก็ครอบวสัดุป้องกนัไฟลาม

รูปที ่4 การป้องกนัท่อพลาสติกผ่านผนังคอนกรีต (ขอ้ 4.7.3)

ฉบับรา่ง

Page 14: 2 ข้อกำหนดการออกแบบติดตั้งวัสดุและอุปกรณ์ป้องกันการลามไฟ

-9-

4.7.4 การป้องกนัท่อโลหะ (Metal Pipe) ใหติ้ดตั้งวสัดุป้องกนัไฟลามในช่องเปิดระหวา่งพื้นผวิภายนอกของท่อโลหะ กบัพื้น

ทนไฟ ผนงัทนไฟ หรือเพดานทนไฟ ตามรูปแบบการติดตั้งท่ีผา่นการรับรองจากสถาบนัท่ีเช่ือถือได ้ โดยไม่ทาํใหอ้ตัราการทนไฟของพื้นทนไฟ ผนงัทนไฟ หรือเพดานทนไฟนั้นลดนอ้ยลง ทั้งน้ีแสดงตวัอยา่งการป้องกนัช่องเปิดดงักล่าวในรูปท่ี 5

ท่อโลหะ

วสัดุป้องกนัไฟลาม

ท่อโลหะ

พื้นคอนกรีต

ท่อโลหะ

วสัดุป้องกนัไฟลาม

ใยหิน พื้นคอนกรีต

ฉนวนหุม้ท่อ

รูปท่ี 5 การป้องกนัท่อโลหะผา่นพื้นคอนกรีต (ขอ้ 4.7.3)

4.7.4 การป้องกนัท่อชนิดอ่ืน ๆ

นอกเหนือจาก 4.7.1- 4.7.4 ท่อชนิดอ่ืนท่ีผา่นทะลุพื้นทนไฟ ผนงัทนไฟ หรือเพดานทนไฟ ใหติ้ดตั้งวสัดุป้องกนัไฟลามชนิดขยายตวั (Intumescent) ในช่องเปิดระหวา่งพื้นผวิภายนอกของท่อนั้น ๆ กบัพื้นทนไฟ ผนงัทนไฟ หรือเพดานทนไฟ หรือตามรูปแบบและวิธีท่ีเหมาะสม ทั้งน้ีรูปแบบการติดตั้งดงักล่าวท่ีผา่นการรับรองจากสถาบนัท่ีเช่ือถือได ้ โดยไม่ทาํใหอ้ตัราการทนไฟของส่วนกั้นแยกลดนอ้ยลง

ฉบับรา่ง

Page 15: 2 ข้อกำหนดการออกแบบติดตั้งวัสดุและอุปกรณ์ป้องกันการลามไฟ

-10-

5. เอกสารอ้างองิ

มาตรฐานป้องกนัอคัคีภยั ของสมาคมวิศวกรรมสถานแห่งประเทศไทย

NFPA 5000 Building Construction and Safety CodeTM 2003 Edition IBC International Building Code 2006 เอกสารการประชุมใหญ่วิศวกรรมแห่งชาติ 11-13 ตุลาคม 2550 อ. ดร. ณฐัศกัด์ิ บุญมี และ อ. สุภทัร พฒัน์วิชยัโชติ

ฉบับรา่ง