49

2562 - fulltext.rmu.ac.th

  • Upload
    others

  • View
    12

  • Download
    0

Embed Size (px)

Citation preview

Page 1: 2562 - fulltext.rmu.ac.th
Page 2: 2562 - fulltext.rmu.ac.th
Page 3: 2562 - fulltext.rmu.ac.th

ช่ือเรื่อง : ผลของอุณหภูมิท่ีเหมาะสมตอการเพาะขยายพันธุกบนาลูกผสมในฤดูหนาว

ผูวิจัย : วาท่ีรอยตรีวุธเมธี วรเสริม

ปริญญา : วิทยาศาสตรมหาบัณฑิต (สาขาวิชาเทคโนโลยีการเกษตร)

มหาวิทยาลัยราชภัฏมหาสารคาม

อาจารยท่ีปรึกษา : ผูชวยศาสตราจารยเหล็กไหล จันทะบุตร

ผูชวยศาสตราจารยสําราญ พิมราช

ปการศึกษา : 2562

บทคัดยอ การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงคเพ่ือ (1) ศึกษาผลของอุณหภูมิตออัตราการรอดตายของพอแม

พันธุกับนาลูกผสม (2) ศึกษาผลของอุณหภูมิตอการเจริญเติบโตดานน้ําหนักของพอแมพันธุกับนา

ลูกผสม (3) ศึกษาผลของอุณหภูมิตออัตราการปฏิสนธิของไขกบนาลูกผสม และ (4) ศึกษาผลของ

อุณหภูมิตออัตราการเพาะฟกไขกบนาลูกผสม โดยการเลี้ยงกบพอแมพันธุในบอซีเมนต บริเวณพ้ืนท่ี

คณะเทคโนโลยีการเกษตร มหาวิทยาลัยราชภัฏมหาสารคาม อําเภอเมือง จังหวัดมหาสารคาม ในชวง

ฤดูหนาว ระหวางเดือนพฤศจิกายน พ.ศ 2560 ถึงเดือนกุมภาพันธ พ.ศ. 2561 วางแผนการทดลอง

แบบสุมสมบูรณ (Completely Randomized Design; CRD) จํานวน 3 ซํ้า ประกอบดวย 5 ชุดการ

ทดลอง ไดแก (1) ไมควบคุมอุณหภูมิ (2) ควบคุมอุณหภูมิท่ี 30 องศาเซลเซียส (3) ควบคุมอุณหภูมิท่ี

32 องศาเซลเซียส (4) ควบคุมอุณหภูมิท่ี 34 องศาเซลเซียส และ (5) ควบคุมอุณหภูมิท่ี 36 องศา

เซลเซียส บันทึกขอมูล อัตราการรอดตาย การเจริญเติบโตในดานน้ําหนัก อัตราการแลกเนื้อ จํานวน

ไขกบท้ังหมด อัตราการปฏิสนธิ และอัตราการเพาะฟกของไขกบนาลูกผสม

จากการศึกษาพบวา การเลี้ยงกบนาลูกผสมท่ีใชเปนพอแมพันธุในบอซีเมนตในชวงฤดูหนาว ใน

สภาพท่ีไมมีการควบคุมอุณหภูมิ และในสภาพท่ีมีการควบคุมอุณหภูมิท่ี 30, 32, 34 และ 36 องศา

เซลเซียส ไมมีผลทําใหอัตราการรอดตายของกบพอแมพันธุแตกตางกัน

การเลี้ยงกบนาลูกผสมท่ีใชเปนพอแมพันธุในบอซีเมนตในชวงฤดูหนาว ในสภาพท่ีไมมีการ

ควบคุมอุณหภูมิ และในสภาพท่ีควบคุมอุณหภูมิท่ี 30, 32, 34 และ 36 องศาเซลเซียส ไมมีผลทําให

การเจริญเติบโตในดานน้ําหนักของกบพอแมพันธุแตกตางกัน ขณะท่ีอัตราการแลกเนื้อของกบแมพันธุ

มีความแตกตางกันในทางสถิติ โดยท่ีกบแมพันธุเพศเมียท่ีเลี้ยงในสภาพไมควบคุมอุณหภูมิมีคาอัตรา

การแลกเนื้อสูงกวากบแมพันธุท่ีเลี้ยงโดยควบคุมอุณหภูมิท่ี 32, 34 และ 36 องศาเซลเซียส สวนอัตรา

การแลกเนื้อของกบพอพันธุเพศผูไมมีความแตกตางกันในทางสถิติ

Page 4: 2562 - fulltext.rmu.ac.th

กบแมพันธุเพศเมียท่ีเลี้ยงในสภาพท่ีไมไดควบคุมอุณหภูมิในชวงฤดูหนาวจะไมมีการออกไข

ในขณะท่ีกบแมพันธุเพศเมียท่ีเลี้ยงในสภาพท่ีมีการควบคุมอุณหภูมิท่ี 30, 32, 34 และ 36 องศา

เซลเซียส มีการออกไขท้ังหมด การเลี้ยงกบแมพันธุในสภาพท่ีควบคุมอุณหภูมิท่ี 34 และ 36 องศา

เซลเซียส มีแนวโนมใหจํานวนไขท้ังหมดสูงเม่ือเทียบกับการเลี้ยงกบแมพันธุในชุดการทดลองควบคุม

อุณหภูมิท่ี 30 และ 32 องศาเซลเซียส

จํานวนไขกบของแมพันธุท่ีเลี้ยงในสภาพควบคุมอุณหภูมิท่ี 34 องศาเซลเซียส มีแนวโนมไดรับ

การปฏิสนธิมากท่ีสุด เทากับ 1,221 ฟองหรือคิดเปนอัตราการปฏิสนธิ 65.1 เปอรเซ็นต รองลงมาคือ

ในสภาพควบคุมอุณหภูมิท่ี 36 องศาเซลเซียส จํานวน 1,135 ฟองหรือคิดเปนอัตราการปฏิสนธิ 45.9

เปอรเซ็นต ควบคุมอุณหภูมิท่ี 32 องศาเซลเซียส จํานวน 781 ฟองหรือคิดเปนอัตราการปฏิสนธิ 95.9

เปอรเซ็นต และ ควบคุมอุณหภูมิท่ี 30 องศาเซลเซียส จํานวน 566 ฟองหรือคิดเปนอัตราการปฏิสนธิ

61.5 เปอรเซ็นต

การเลี้ยงกบพอแมพันธุท่ีมีการควบคุมอุณหภูมิท่ี 30-36 องศาเซลเซียส ทําใหมีอัตราการฟก

อยูในชวงระหวา 45.9-95.9 เปอรเซ็นต ซ่ึงการทดลองท่ีควบคุมอุณหภูมิท่ี 32 องศาเซลเซียสมี

แนวโนมใหอัตราการฟกสูงท่ีสุด เทากับ 95.9 เปอรเซ็นต รองลงมาคือ การควบคุมอุณหภูมิท่ี 34

องศาเซลเซียส และการควบคุมอุณหภูมิท่ี 30 องศาเซลเซียส มีอัตราการฟก 65.1 และ 61.5

เปอรเซ็นต ตามลําดับ ในขณะท่ีการควบคุมอุณหภูมิท่ี 36 องศาเซลเซียส มีแนวโนมใหอัตราการฟก

ต่ํา เทากับ 45.9 เปอรเซ็นต

จากการศึกษาในครั้งนี้ชี้ใหเห็นวาการเลี้ยงพอแมพันธุกบนาลูกผสมในชวงฤดูหนาวเพ่ือการ

เพาะพันธุขยายกบนาลูกผสมสามารถทําได และการควบคุมอุณหภูมิท่ีเหมาะสมตอการเพาะ

ขยายพันธุกบนาลูกผสมควรอยูในชวงระหวาง 30-36 องศาเซลเซียส

คําสําคัญ : กบนาลูกผสม อัตราการรอด อัตราการแลกเนื้อ อัตราการปฏิสนธิ อัตราการฟก

________________________________________________ อาจารยท่ีปรึกษาวิทยานิพนธหลัก

Page 5: 2562 - fulltext.rmu.ac.th

Title : Effect of temperature on reproductive performance of crossbred frogs

in the winter season

Author : Acting Sub Lt. Wutmetee Woraserm

Degree : M.Sc. (Agricultural Technology Program)

Rajabhat Maha Sarakham University

Advisors : Asst. Prof. Dr. Leklai Chantabut Major Advisor

Asst. Prof. Dr. Sumran Pimratch Co-advisor

Year : 2019

ABSTRACT The objectives of this study were : 1) to investigate the effect of temperature

on survival rate of crossbred frog parents, 2) to determine the effect of temperature

on growth of crossbred frog patents, 3) to study the effect of temperature on

fertilization of crossbred frog eggs and 4) to evaluate the effect of temperature on

reproductive performance of crossbred frogs. Crossbred frog parents were raised in

cement ponds at the Faculty of Agricultural Technology, Rajabhat Mahasarakham

University, Muang district, Mahasarakham province in the winter season during

November 2017 to February 2018. The experiment was laid out in a completely

randomized design with three replications. The treatments consisted of untreated

control, 30, 32, 34 and 36 ºC. Data were recorded for survival rate, body weight, feed

conversion ratio, number of total eggs, fertilization rate and reproductive rate.

The results of raising crossbred frogs in cement ponds in the winter indicated

that temperatures (of untreated control, 30, 32, 34 and 36 ºC) were not significantly

different for survival rate of parents.

Raising crossbred frogs in cement ponds in the winter revealed that

temperatures (of untreated control, 30, 32, 34 and 36 ºC) were not significantly

different for body weight of crossbred frog parents. Temperatures were significantly

different for feed conversion rate of female parent as the female parent raised at

untreated control had the highest feed conversion rate, whereas the male parent

raised at untreated control was not significantly different from those raised at other

temperatures.

Page 6: 2562 - fulltext.rmu.ac.th

The female parent raised at untreated control in the winter season did not lay

eggs, whereas female parents raised at 30, 32, 34 and 36 ºC could lay eggs. The

female parents raised at 34 and 36 ºC had a tendency to lay more total eggs than

those raised at untreated control, 30 and 32 ºC.

The female parent raised at 34 ºC tended to have the highest fertilized eggs of

1,221 eggs with fertilization rate of 65.1% followed by the female parent raised at

36 ºC with 1,135 fertilized eggs and fertilization rate of 45.9%, the female parent

raised at 32 ºC with 781 fertilized eggs and fertilization rate of 95.9% and female

parent raised at 30 ºC with 566 fertilized eggs and fertilization rate of 61.5%.

The parents raised at 30, 32, 34 and 36 ºC had the hatching rates ranging from

45.9 to 95.9%. The parent raised at 32 C tended to have the highest hatching rate of

95.9% followed by the parents raised at 34 and 30 ºC with hatching rates of 65.1 and

61.5%, respectively, whereas the parent raised at 36 ºC had the lowest hatching rate

of 45.9%.

The results indicated that reproduction of crossbred frogs in the winter is

possible and the temperature range of 30 to 36 ºC is suitable for crossbred frog

reproduction.

Keywords : Crossbred Frogs, Feed Conversion Rate, Fertilization Rate, Hatching Rate

________________________________________________________ Major Advisor

Page 7: 2562 - fulltext.rmu.ac.th

กิตติกรรมประกาศ

ขอขอบคุณมหาวิทยาลัยราชภัฏมหาสารคาม ไดจัดทําหลักสูตรเทคโนโลยีการเกษตร อันท่ีจะ

กอใหเกิดประโยชนตอการพัฒนาดานการเกษตร ขอบคุณผูชวยศาสตราจารยเหล็กไหล จันทะบุตร

อาจารยท่ีปรึกษาวิทยานิพนธหลักและผูชวยศาสตราจารยสําราญ พิมราช อาจารยท่ีปรึกษา

วิทยานิพนธรวม ไดกรุณาชี้แนะแนวทางการจัดทําวิทยานิพนธ การปรับปรุงแกไขตลอดจนใหความ

เอาใจใสตอผูวิจัยอยางใกลชิด ใหกําลังใจและหวงใยดวยดีมาตลอดระหวางการศึกษา สิ่งท่ีไดรับ

ขางตนเปนแรงผลักดันใหผูวิจัยมีความมุงม่ัน มานะพากเพียรเพ่ือใหวิทยานิพนธฉบับนี้เกิดความ

สมบูรณครบถวนท้ังเนื้อหาและคุณคา

ขอขอบคุณคณะกรรมการสอบวิทยานิพนธ อาจารยกัญชลิกา รัตนเชิดฉาย ประธานกรรมการ

และอาจารยวุฒิ รัตนวิชัย กรรมการสอบวิทยานิพนธ ท่ีชี้แนะความสมบูรณของวิทยานิพนธ

ขอขอบคุณผูเชี่ยวชาญและผูทรงคุณวุฒิทุกทาน ไดกรุณาชี้แนะแนวทางปรับปรุงแกไขเนื้อหา และ

ระเบียบวิธีวิจัย ท่ีไดกรุณาใหคําแนะนําแนวทางและกระบวนการวิจัยดวยมิตรไมตรีตลอดการจัดทํา

วิทยานิพนธนี้

ทายท่ีสุดนี้ ขอบคุณกําลังใจจากครอบครัวทุกทานท่ีเปนแรงผลักดันใหผูวิจัยเกิดพลังใจเม่ือเกิด

ความเหนื่อยลาและทอแท จนสามารถเผชิญอุปสรรคและสามารถแกไขปญหาจนกระท่ังบรรลุ

ความสําเร็จการศึกษาในท่ีสุด

วาท่ีรอยตรีวุธเมธี วรเสรมิ

Page 8: 2562 - fulltext.rmu.ac.th

สารบัญ หัวเรื่อง หนา

บทคัดยอ ................................................................................................................................. ค ABSTRACT ............................................................................................................................ จ กิตติกรรมประกาศ ................................................................................................................ ช สารบัญ ................................................................................................... ................................. ซ สารบัญตาราง ................................................................................................... ....................... ญ สารบัญภาพ ................................................................................................... .......................... ญ บทท่ี 1 บทนํา ........................................................................................................................ 1 1.1 ท่ีมาและความสําคัญของปญหา ...................................................................... 1 1.2 วัตถุประสงคการวิจัย ...................................................................................... 2 1.3 ขอบเขตของการวิจัย ...................................................................................... 3 1.4 นิยามศัพทเฉพาะ ........................................................................................... 3 1.5 ประโยชนท่ีไดรับจากการวิจัย ......................................................................... 4 บทท่ี 2 การทบทวนวรรณกรรม ............................................................................................ 5 2.1 กบนาลูกผสม ................................................................................................. 5 2.2 ระยะการเจริญเติบโตของกบนาลูกผสม .......................................................... 6 2.3 การคัดเลือกพอแมพันธุกบนา ......................................................................... 7 2.4 สภาวะแวดลอมกับการผสมพันธุกบ ............................................................... 10 2.5 การผสมพันธุกบนานอกฤดู ............................................................................. 11 2.6 งานวิจัยท่ีเก่ียวของ ......................................................................................... 12 บทท่ี 3 อุปกรณและวิธีดําเนินการวิจัย .................................................................................. 17 3.1 วัสดุ และอุปกรณในการทดลอง ..................................................................... 17 3.2 วิธีการวิจัย ...................................................................................................... 18 3.3 การวิเคราะหขอมูล ......................................................................................... 21 บทท่ี 4 ผลการวิจัย ................................................................................................................ 22 4.1 น้ําหนักของกบพอแมพันธุ .............................................................................. 22 4.2 อัตราการอดตายของกบพอแมพันธุ ................................................................ 23 4.3 อัตราการแลกเนื้อของกบพอแมพันธุ .............................................................. 24 4.4 จํานวนไขกบท้ังหมด ....................................................................................... 24 4.5 จํานวนไขกบท่ีไมไดรับการปฏิสนธิ ................................................................. 24 4.6 จํานวนไขกบท่ีไดรับการปฏิสนธิและอัตราการปฏิสนธิ .................................... 25

Page 9: 2562 - fulltext.rmu.ac.th

หัวเรื่อง หนา

4.7 อัตราการฟก ................................................................................................... 26 บทท่ี 5 สรุปผล อภิปรายผล และขอเสนอแนะ....................................................................... 27 5.1 สรุปผลการวิจัย .............................................................................................. 27 5.2 อภิปรายผล .................................................................................................... 28 5.3 ขอเสนอแนะ .................................................................................................. 29 บรรณานุกรม ........................................................................................................................ 30 ภาคผนวก.................................................................................................................................. 33 ภาคผนวก ภาพในการทําการทดลอง ........................................................................ 34 ประวัติผูวิจัย ............................................................................................................................. 38

Page 10: 2562 - fulltext.rmu.ac.th

สารบัญตาราง ตารางท่ี หนา

4.1 น้ําหนักของกบพอแมพันธุกอนทําการทดลองและหลังการทดลอง ท่ีเลี้ยงในบอซีเมนตในชวงฤดูหนาวระหวางเดือนพฤศจิกายน พ.ศ. 2560– เดือนกุมภาพันธ พ.ศ. 2561 ............................................................................................... 22 4.2 ผลของอุณหภูมิตออัตราการรอดตายและอัตราการแลกเนื้อของกบพอแมพันธุ ท่ีเลี้ยงในบอซีเมนตในชวงฤดูหนาวระหวางเดือนพฤศจิกายน พ.ศ. 2560– เดือนกุมภาพันธ พ.ศ. 2561 ............................................................................................... 23 4.3 ผลของอุณหภูมิตอจํานวนไขตอตัวและจํานวนไขท้ังหมด ของกบแมพันธุ ท่ีเลี้ยงในบอซีเมนตในชวงฤดูหนาวระหวางเดือนพฤศจิกายน พ.ศ. 2560– เดือนกุมภาพันธ พ.ศ. 2561 ............................................................................................... 25 4.4 ผลของอุณหภูมิตอจํานวนไขกบท่ีไมไดรับการปฏิสนธิ จํานวนไขกบท่ีไดรับการปฏิสนธิ และอัตราการฟกของกบนาลูกผสม ท่ีเลี้ยงในบอซีเมนตในชวงฤดูหนาว ระหวางเดือนพฤศจิกายน พ.ศ. 2560–เดือนกุมภาพันธ พ.ศ. 2561 ................................... 26

Page 11: 2562 - fulltext.rmu.ac.th

สารบัญภาพ ภาพท่ี หนา

ก.1 บอควบคุมอุณหภูมิพอแมพันธุกบ .................................................................................... 34 ก.2 การเขาคูผสมพันธุกบนาลูกผสม ...................................................................................... 34 ก.3 ไขกบนาลูกผสม ............................................................................................................... 35 ก.4 ลูกกบท่ีฟกเปนตัว ............................................................................................................ 36

Page 12: 2562 - fulltext.rmu.ac.th

1

บทที่ 1

บทนํา

การศึกษาผลของอุณหภูมิตอการเพาะกบนาลูกผสมในชวงฤดูหนาวท่ีเลี้ยงในบอซีเมนต บริเวณ

พ้ืนท่ีคณะเทคโนโลยีการเกษตร มหาวิทยาลัยราชภัฏมหาสารคาม อําเภอเมือง จังหวัดมหาสารคาม

ในชวงระหวางเดือนพฤศจิกายน พ.ศ. 2560–เดือนกุมภาพันธ พ.ศ. 2561 ในระยะเวลาการเลี้ยงโดย

การใชการควบคุมอุณหภูมิใหกับพอแมพันธุกบนาลูกผสม เพ่ือศึกษาผลของอุณหภูมิท่ีเหมาะสม

สําหรับการเพาะขยายพันธุ อัตราการรอดตายการเจริญเติบโตดานน้ําหนักของพอแมพันธุ อัตราการ

ปฏิสนธิ อัตราการฟกไขของกบนาลูกผสม ซ่ึงมีความสําคัญ วัตถุประสงคและประโยชนจากงานวิจัย

ดังตอไปนี้

1.1 ที่มาและความสําคัญของปญหา

กบนาลูกผสม (Rana tigerina Weigmann) เปนสัตวครึ่งบกครึ่งน้ําท่ีพบกระจายพันธุในพ้ืนท่ี

ชุมน้ําตางๆ เชน นาขาวในภูมิภาคเอเชียตะวันออกและเอเชียอาคเนย สําหรับในประเทศไทยพบได

ทุกภาคของประเทศไทย กบนาเปนอาหารท่ีนิยมบริโภคกันมาอยางชานานและมีการเพาะขยายพันธุ

เปนสัตวเศรษฐกิจชนิดใหมของประเทศไทย เนื่องจากเนื้อกบนาเปนอาหารท่ีมีรสชาติอรอยเปนท่ีนิยม

บริโภคกันท่ัวไป อีกท้ังยังสามารถสงออกไปจําหนายยังตางประเทศไดอีกดวย (กรมประมง, 2561)

ปจจุบันกบนาถือไดวาเปนสัตวเศรษฐกิจอีกชนิดหนึ่ง เนื่องจากมีผูนิยมบริโภคท้ังในครัวเรือน

รานอาหารและภัตตาคารรวมถึงการสงออกไปยังตางประเทศ ท้ังนี้เนื้อกบยังจัดวาเปนแหลงโปรตีน

คุณภาพดี (ปรียานันท มวลเมืองสอง, 2557) จากสถิติผลการผลิตกบของกรมประมง พบวาประเทศ

ไทยมีผลผลิตในการเลี้ยงกบเพ่ิมข้ึนอยางมาก โดยในป พ.ศ. 2556 มีผลผลิตจํานวน 1,782.67 ตัน

มีมูลคา 115,746,970 บาท (กรมประมง, 2558) เพ่ิมข้ึนจากป พ.ศ. 2554 ท่ีมีผลผลิตจํานวนเพียง

578.87 ตัน มีมูลคา 29,202,600 บาท (กรมประมง, 2556) นอกจากนี้ยังมีการสงออกไปยัง

ตางประเทศ โดยเฉพาะประเทศฮองกง ซ่ึงพบวาประเทศไทยมีการสงออกกบไปยังประเทศฮองกง

มีมูลคาการสงออกอยูท่ี 141.67 ลานบาท และอีกหลายประเทศ เชน ญี่ปุน มาเลเซีย สิงคโปร

เยอรมัน ฝรั่งเศสและสหรัฐอเมริกา โดยเฉพาะอยางยิ่งในปจจุบันมีการคํานึงถึงอาหารเพ่ือสุขภาพ

เนื่องจากกบเปนอาหารท่ีมีโปรตีนสูง ไขมันต่ํา สวนของนองกบมีโปรตีนสูงถึง 83 เปอรเซ็นต ไขมัน

5.8 เปอรเซ็นตน้ําหนักแหงและมีกรดอะมิโนท่ีสําคัญสองชนิด คือไรซีนและเมไธโอนีนรวมท้ังยังมี

Page 13: 2562 - fulltext.rmu.ac.th

2

วิตามินและแรธาตุ ไดแก ธาตุเหล็ก 2.1 มิลลิกรัมตอ 100 กรัมและไนอาซีน 2.0 มิลลิกรัมตอ 100

กรัม (Dani et al., 2018)

ปจจุบันเกษตรกรไดมีการเพาะเลี้ยงกบกันมากข้ึน มีผูนํากบนามาเพาะขยายพันธุและเลี้ยงได

จนประสบความสําเร็จ เพราะกบเปนสัตวท่ีเลี้ยงงาย ใชเวลานอย ลงทุนต่ํา ดูแลรักษางายและ

จําหนายไดราคาคุมคากับการลงทุน ใชระยะเวลาในการเลี้ยงสั้น คือประมาณ 3–4 เดือนตอรุนเทานั้น

และสามารถใหความคุมทุนทางธุรกิจไดอยางรวดเร็ว (ศุภชัย ใหมศิริ, 2554) อยางไรก็ตาม การ

รวบรวมกบสงขายไปยังตางประเทศยังประสบปญหาเก่ียวกับคุณภาพของกบ มีปญหาการบาดเจ็บ

หรือตายในชวงท่ีมีการขนสงไปจําหนาย สงผลใหเกิดความสูญเสียทางเศรษฐกิจเปนอยางมาก (ยงยุทธ

ทักษิณ , 2556) นอกจากนี้ยังมีความเปนไปไดในการขยายตลาดในสวนของกบแชแข็งไปขายยัง

ตางประเทศ ซ่ึงจะข้ึนอยูกับความสามารถในการผลิตกบในปริมาณท่ีสมํ่าเสมอ และมีขนาดของ

น้ําหนักสวนนองกบท่ีดีและมีคุณภาพ นอกจากนี้ตลาดตางประเทศท่ีตองการสินคาเก่ียวกับกบนาเปด

กวางมากข้ึน โดยพบวากบนาท่ีเปนผลผลิตของเกษตรกรท่ีทําการเพาะเลี้ยงได สามารถสงไปจําหนาย

ยังตางประเทศเพ่ิมมากข้ึน (กรมประมง, 2558) ปริมาณกบนาท่ีอาศัยอยูตามธรรมชาติมีจํานวนลด

อยางมาก ตลอดจนการเพาะพันธุกบนายังไมสามารถเพาะพันธุไดตลอดปเนื่องจากในฤดูหนาวกบนามี

การจําศีลไมยอมกินอาหาร ไมมีการพัฒนาระบบสืบพันธุ ทําใหกบนาลูกผสมไมสามารถเพาะ

ขยายพันธุในชวงฤดูหนาวได ทําใหมีปญหาเก่ียวกับการผลิตลูกอ็อดและกบเนื้อใหสามารถสงตลาดได

อยางตอเนื่องตลอดปและไมเพียงพอตอความตองการของตลาด ดังนั้นงานวิจัยนี้จึงมีวัตถุประสงค

เพ่ือท่ีจะทําการเพาะขยายพันธุกบนาใหสามารถเพาะพันธุไดในฤดูหนาวเพ่ือใหมีลูกอ็อดและกบเนื้อ

เพียงพอตอความตองการของตลาด สามารถเพาะขยายพันธุกบนาลูกผสมไดตลอดท้ังป

1.2 วัตถุประสงคการวิจัย

1.2.1 เพ่ือศึกษาผลของอุณหภูมิตออัตราการรอดตายของพอแมพันธุกับนาลูกผสม

1.2.2 เพ่ือศึกษาผลของอุณหภูมิตอการเจริญเติบโตดานน้ําหนักของพอแมพันธุกับนาลูกผสม

1.2.3 เพ่ือศึกษาผลของอุณหภูมิตออัตราการปฏิสนธิของไขกบนาลูกผสม

1.2.4 เพ่ือศึกษาผลของอุณหภูมิตออัตราการเพาะฟกไขกบนาลูกผสม

Page 14: 2562 - fulltext.rmu.ac.th

3

1.3 ขอบเขตงานวิจัย

การศึกษาในครั้งนี้เปนการศึกษาการใชอุณหภูมิท่ีเหมาะสมสําหรับพอแมพันธุกบนาในการ

เพาะขยายพันธุในฤดูหนาว ในบอชีเมนตกลมขนาดเสนผานศูนยกลาง 80 เชนติเมตร มีความสูง

50 เชนติเมตร และจะทําการเพาะขยายพันธุในฤดูหนาว ภายในฟารมสาขาเทคโนโลยีการเพาะเลี้ยง

สัตวน้ํา มหาวิทยาลัยราชภัฏมหาสารคาม ระหวางเดือนพฤศจิกายน พ.ศ. 2560 ถึงเดือนกุมภาพันธ

พ.ศ. 2561

1.4 นิยามศัพทเฉพาะ

“กบนาลูกผสม (Hybrid Frog)” กบลูกผสมท่ีเกิดจากการผสมขามพันธุระหวางกบนา x กบ

นา (R. tigerina x R. rugulosa Weigmann) ลักษณะเป นกบท่ีมีขนาดค อนข างใหญ ผิวสวย

เจริญเติบโตเร็ว ใหน้ําหนักมาก โดยตัวผูมีกลองเสียงมองเห็นไดชัดเจนเม่ืออายุ 4 เดือน ตัวผูมีขนาด

ความยาวตัวเฉลี่ย 13-14 เซนติเมตร ขนาดความยาวโดยเฉลี่ย 27-28 เซนติเมตร มีน้ําหนักเฉลี่ย

190-200 กรัมหรือประมาณ 4-5 ตัว ตอกิโลกรัม ตัวเมียเม่ือ อายุ 4 เดือน มีขนาดความยาวตัวเฉลี่ย

14-15 เซนติเมตร ขนาดความยาวโดยเฉลี่ย 27-28 เซนติเมตร มีน้ําหนักเฉลี่ย 280-300 กรัมหรือ

ประมาณ 3-4 ตัวตอกิโลกรัม ผิวหนังมีสีน้ําตาลออนไปจนถึงสีน้ําตาลเขม สีน้ําตาลออนแตมลาย

น้ําตาลเขมไปจนถึงลายดําหรือสีน้ําตาลปนเทา มีเพียงสวนนอยท่ีมีผิวสีดํา บางตัวมีหัวสีเขียว สวนท

องกบมีสีขาวคางลาย ทองขาวคางขาว ทองลายคางขาวและทองลายคางลาย สีผิวหนังสามารถ

เปลี่ยนแปลงไดตามสีของสิ่งแวดลอม ขาหนาสั้นกวาขาหลัง โดยขาหนามีความยาวเฉลี่ย 5 เซนติเมตร

ขาหลังมีความยาวเฉลี่ย 12 เซนติเมตร ตนขาหลังมีลายพาดขวางเปนตอนๆ 4-6 แถว แตบางตัวไมมี

ลายพาดขวางท่ีขา นิ้วเทาหลังจะมีแผนหนังเชื่อมตอระหวางนิ้ว ปลายนิ้วมีปมเนื้อเล็กนอย นิสัยเชื่อง

ไมต่ืนตกใจงาย กระโดดไมสูง กินอาหารไมเปลือง มีอัตราการแลกเนื้อต่ํา ใชเวลาเลี้ยงสั้นกวากบพอ

แมพันธุแท มีความแข็งแรงทนทานตอสภาพแวดลอมไดดี อายุ 8 เดือน ใชเพาะขยายพันธุไดผลดี

การเพาะขยายพันธุกบนาลูกผสม เม่ือกบนาลูกผสมท้ังตัวผูและตัวเมียไดพบกัน กบตัวผูจะข้ึน

ข่ีหลังกบตัวเมีย โดยกบตัวผูเอาขาหนาโอบกอดรัดตัวเมียไว ตัวผูจะนําขาหนาท่ีรัดตัวเมียอยูรัดแนน

มากข้ึน พรอมกับกดตรงสวนสะโพกลงใหแนบชิดชองเพศของท้ังคู ซ่ึงกบตัวเมียจะตอบสนอง

พฤติกรรมนี้ดวยเชนกัน และหลังจากนี้กบตัวเมียจะปลอยไขออกมา สวนตัวผูจะปลอยน้ําเชื้อมาผสม

ทันที

Page 15: 2562 - fulltext.rmu.ac.th

4

เครื่องควบคุมอุณหภูมิเปนอุปกรณท่ีใชในการควบคุมอุณหภูมิใหไดตามคาอุณหภูมิท่ีกําหนดไว

โดยจะนํามาใชในการสั่งการใหกับอุปกรณสําหรับทําความรอนคือหลอดไฟฟา เครื่องวัดอุณหภูมิจะมี

สวนท่ีรับอุณหภูมิ ท่ีเรียกวาเซ็นเซอรวัดอุณหภูมิแลวมาแสดงผลท่ีหนาจอ พรอมกับควบคุมอุณหภูมิ

ใหไดตามคาท่ีไดกําหนดไว หากอุณหภูมิไมไดตามท่ีกําหนดไวก็จะมีในสวนของการสั่งงาน สั่งงานให

อุปกรณสําหรับทําความรอนคือหลอดไฟฟา เพ่ือใหไดอุณหภูมิความรอนตามคาท่ีกําหนดไว

ฤดูหนาว ประมาณกลางเดือนตุลาคมถึงกลางเดือนกุมภาพันธ มรสุมตะวันออกเฉียงเหนือ พัด

ปกคลุมประเทศไทย เปนชวงเปลี่ยนฤดูจากฤดูฝนเปนฤดูหนาว เริ่มมีอากาศเย็นข้ึนหรือมีอุณหภูมิ

ลดลง

“การเพาะกบนาลูกผสมนอกฤดู” หมายถึง การเพาะกบในชวงฤดูหนาวท่ีเปนชวงท่ีกบไมมีการ

ผสมพันธุวางไข

“อัตราการเพาะฟก (Hatchery Rate) ” หมายถึง จํานวนไขกบท้ังหมดท่ีกบวางไข หารดวย

จํานวนไขกบท่ีฟกเปนตัว

“อัตราการรอด (Survival Rate) ” หมายถึง จํานวนกบพอแมพันธุท้ังหมด หารดวยพอแม

พันธุท่ีเหลือรอดหลังจากการทดลอง

“อัตราการแลกเนื้อ (Feed Conversion Ratio ; FCR) ” หมายถึง ปริมาณอาหารท่ีใหกบกิน

ท้ังหมด (กิโลกรัม) หารดวยน้ําหนักกบเม่ือสิ้นสุดการทดลอง

“ไขกบท่ีไดรับการปฏิสนธิ (Fertilization)” หมายถึงระยะ เขาสูระยะ Gastrula เห็นดานบน

ของ Blastopore โดยปรากฏ Dorsal lip ของ Blastopore

1.5 ประโยชนที่ไดรับจากงานวิจัย

1.5.1 ทราบถึงผลของอุณหภูมิท่ีเหมาะสมตอและอัตราการรอดตายของพอแมพันธุกบนา

ลูกผสม

1.5.2 ทราบถึงอุณหภูมิท่ีเหมาะสมตอการเจริญเติบโตดานน้ําหนักและอัตราการแลกเนื้อของ

พอแมพันธุกบนาลูกผสม

1.5.3 ทราบถึงผลของอุณหภูมิท่ีเหมาะสมตออัตราการปฏิสนธิและอัตราการเพาะฟกของไข

กบนาลูกผสม

1.5.4 สามารถนําผลงานวิจัยในการประชุมวิชาการในประเทศหรือตีพิมพผลงานวิจัยใน

วารสารวิชาการได

Page 16: 2562 - fulltext.rmu.ac.th

5

บทที่ 2

การทบทวนวรรณกรรม

การศึกษาผลของอุณหภูมิท่ีเหมาะสมสําหรับการเพาะขยายพันธุกบนาลูกผสมในฤดูหนาว ได

รวบรวมเอกสารและงานวิจัยท่ีเก่ียวของ ดังตอไปนี้

2.1 กบนาลูกผสม

กบนาลูกผสม (Hybrid Frog ) เปนกบท่ีเกิดจากการผสมขามพันธุ ระหวางกบนา x กบนา

(R. tigerina x R. rugulosa Weigmann) เปนกบท่ีมีขนาดคอนขางใหญ ผิวสวย เจริญเติบโตเร็ว

ใหน้ําหนักมาก อายุ 3 เดือนมีขนาดตัว เฉลี่ย 10.80±0.73 เซนติเมตร ขนาดความยาวเหยียดเฉลี่ย

21.59±0.06 เซนติเมตร มีน้ําหนักเฉลี่ย 182.35±0.16 กรัม โตเต็มท่ีจนสามารถคัดแยกเพศได

โดยตัวผูเกิดกลองเสียงมองเห็นไดชัดเจนเม่ือ อายุ 4 เดือน ตัวผูมีขนาดความยาวตัวเฉลี่ย 13-14

เซนติเมตร ขนาดความยาวโดยเฉลี่ย 27-28 เซนติเมตร มีน้ําหนักเฉลี่ย 190-200 กรัมหรือประมาณ

4-5 ตัวตอกิโลกรัม ตัวเมียเม่ืออายุ 4 เดือน มีขนาดความยาวตัวเฉลี่ย 14-15 เซนติเมตร ขนาดความ

ยาวโดยเฉลี่ย 27-28 เซนติเมตร มีน้ําหนักเฉลี่ย 280-300 กรัมหรือประมาณ 3-4 ตัวตอกิโลกรัม

ผิวหนังมีสีน้ําตาลออนไปจนถึงสีน้ําตาลเขม สีน้ําตาลออนแตมลายน้ําตาลเขมไปจนถึงลายดําหรือสี

น้ําตาลปนเทา มีเพียงสวนนอยท่ีมีผิวสีดํา บางตัวมีหัวสีเขียว สวนทองมีสีขาวคางลาย ทองขาวคาง

ขาว ทองลายคางขาวและทองลายคางลาย สีผิวหนังสามารถเปลี่ยนแปลงไดตามสีของสิ่งแวดลอม

ขาหนาสั้นกวาขาหลัง โดยขาหนามีความยาวเฉลี่ย 5 เซนติเมตร ขาหลังมีความยาวเฉลี่ย 12

เซนติเมตร ตนขาหลังมีลายพาดขวางเปนตอนๆ ประมาณ 4-6 แถว แตบางตัวไมมีลายพาดขวางท่ีขา

นิ้วเทาหลังจะมีแผนหนัง (web) เชื่อมตอระหวางนิ้วปลายนิ้วมีปุมเนื้อเล็กนอย นิสัยเชื่องไมตื่นตกใจ

งาย กระโดดไมสูง กินอาหารไมเปลือง มีอัตราการแลกเนื้อต่ํา ใชเวลาเลี้ยงสั้นกวากบพอแมพันธุแท

มีความแข็งแรงทนทานตอสภาพแวดลอมไดดี โดยกบอายุ 3 เดือน มีอัตราการรอดตายเฉลี่ย

90.85±1.42 เปอรเซ็นตและอายุ 8 เดือนมีอัตราการรอดตายเฉลี่ย 87.55±1.03 เปอรเซ็นตอายุ

8 เดือน ใชเพาะขยายพันธุไดผลดี (ทองยุน ทองคลองไทร, 2551) ในอดีตท่ีผานมาเราสามารถจับกบ

นาท่ีอาศัยอยูตามแหลงน้ําตามธรรมชาติเพ่ือนํามาบริโภคไดไมยากเนื่องจากปริมาณอาหารของกบนา

มีอยูอยางเพียงพอ อีกท้ังสภาพแวดลอมยังเหมาะสมตอการเจริญเติบโตและการสืบพันธุของกบนา

แตในปจจุบันสภาพแวดลอมในธรรมชาตินั้นไดเปลี่ยนแปลงไปมาก ทําใหแหลงท่ีอยูและอาหารของ

กบนาลดนอยลงดวย ในขณะความตองการในการบริโภคเนื้อกบนานั้นเพ่ิมมากข้ึนตามจํานวน

Page 17: 2562 - fulltext.rmu.ac.th

6

ประชากร ท่ีเพ่ิมข้ึน ทําใหปริมาณกบนาท่ีจับไดจากแหลงน้ําธรรมชาติไมเพียงพอตอความ

ตองการและทําใหกลายเปนอาหารท่ีมีราคาแพง แตปจจุบันเกษตรกรไดใหความสนใจเลี้ยงกบนากัน

มากข้ึน เนื่องจากกบนาเปนสัตวท่ีเลี้ยงงาย ใชเวลาและการลงทุนนอย ดูแลรักษางาย ทนทานตอ

สภาพแวดลอม สามารถจําหนายไดงายและไดราคาดี โดยเฉพาะในปจจุบันมีตลาดตางประเทศท่ี

ตองการสินคาจากกบเพ่ิมมากข้ึน นิยมบริโภคท้ังชาวชาวไทยและชาวตางประเทศ เพราะเนื้อกบให

โปรตีนสูง รสชาติดี อรอย สามารถนําไปแปรรูปอาหารไดหลายชนิด เชน กบนายาง ทอดกรอบกบนา

แกงเผ็ดกบนาตางๆ เปนตน แตถึงกระนั้นก็ตาม ผูเลี้ยงกบหลายรายตองประสบความลมเหลวในการ

เพาะเลี้ยงกบอันเนื่องจากการไมเขาใจการเลี้ยง โดยเฉพาะไมเขาใจในอุปนิสัยใจคอของกบ ซ่ึงมี

ความสําคัญเพ่ือประกอบการเลี้ยง เชน กบมีนิสัยดุรายและชอบรังแกกัน การเลี้ยงกบคละกันโดยไม

คัดขนาดเทาๆ กันในบอเดียวกัน เปนเหตุใหกบใหญรังแกและกัดกินกบเล็กเปนอาหาร หรือไมรูวา

นิสัยใจคอของกบเปนสัตวท่ีชอบอิสระเสรี เม่ือสภาพท่ีเลี้ยงมีลักษณะโปรงแสง เชน เปนอวนไนลอน

ทําใหกบสามารถมองเห็นทิวทัศนขางนอก กบนาจะกระตือรือรนท่ีจะดิ้นรนหาทางออกไปสูโลก

ภายนอก โดยจะกระโดดชนอวนไนลอนจนปากบาดเจ็บและเปนแผล เปนเหตุใหลดการกินอาหารหรือ

ถาเจ็บมากๆ ถึงกับกินอาหารไมไดเลยก็มี อยางไรก็ตามเพ่ือผูท่ีสนใจจะไดศึกษาวิธีการเพาะเลี้ยงกบ

นอกฤดูเพ่ือนําไปใชใหเหมาะสมกับพ้ืนท่ี ทุนทรัพยและสิ่งแวดลอม เพ่ือเปนประโยชนสําหรับ

เกษตรกรหรือผูท่ีสนใจท่ัวไป นําไปใชประกอบอาชีพการเลี้ยงกบไดอยางถูกตองตอไป (ทองยุน ทอง

คลองไทร, อุไร กุลบุญและสุนทร ศรีสารคาม, 2547)

2.2 ระยะการเจริญเติบโตของกบนาลูกผสม

จากการศึกษาการเจริญเติบโตของกบ สามารถสรุปการเปลี่ยนแปลงในระยะเอ็มบริโอของกบ

ได ท้ั งหมด 4 ข้ั น ตอน คือ คลี เวจ (Cleavage) บลาส ทู เลชั น (Blastulation) แกสทรู เลชั น

(Gastrulation) และ ออรแกโนเจเนซิส (Organogenesis)

คลีเวจ เปนกระบวนการท่ีไซโกตมีการแบงเซลลแบบไมโทซิสอยางรวดเร็วทําใหไดเอ็มบริโอท่ี

มีจํานวนเซลลเพ่ิมข้ึน แตขนาดของแตละเซลลของเอ็มบริโอเล็กลงตามลําดับ เม่ือสิ้นสุดระยะคลีเวจ

จะไดเอ็มบริโอท่ีประกอบดวยเซลลจํานวนมาก

บลาสทูเลชัน เปนกระบวนการท่ีเซลลของอ็มบริโอมีการจัดเรียงตัวเปนชั้นอยูรอบนอก ตรง

กลางเปนชองวางท่ีมีของเหลวบรรจุอยูเต็มเรียกวา บลาสโทซีล (Blastocoel) เรียกเอ็มบริโอระยะนี้

วา บลาสทูลา (Blastula)

แกสทรูเลชัน เปนกระบวนการท่ีเซลลมีการเคลื่อนท่ีและจัดเรียงเปนตัวเปนเนื้อเยื่อชั้นตางๆ

โดยมีการเคลื่อนท่ีของเซลลในลักษณะตางๆ กันเชน กลุมเซลลชั้นนอกบุมตัวเขาไปขางใน หรือมีการ

Page 18: 2562 - fulltext.rmu.ac.th

7

มวนตัวเขาไปในชองวางภายในเอ็มบริโอ เปนตน เอ็มบริโอท่ีผานกระบวนการนี้จะมีรูปรางตางไปจาก

เดิม ประกอบดวยเนื้อเยื่อ 3 ชั้น คือ เอกโทเดิรม (Ectoderm) เมโซเดิรม (Mesoderm) และ เอนโด

เดิรม (Endoderm) เรียกเอ็มบริโอระยะนี้วา แกสทูลา (Gastrula)

ออรแกโนเจเนซิส เปนกระบวนการท่ีเนื้อเยื่อท้ัง 3 ชั้นของเอ็มบริโอมีพัฒนาการไปเปนอวัยวะ

ตางๆ

ตัวออน ตัวออน (Larva) ของกบท่ีฟกออกจากไข เรียกวา ลูกออดจะมีลักษณะแตกตางไปจาก

พอแม ซ่ึงจะตองมีการเลี่ยนแปลงรูปรางลักษณะการดํารงชีวิตหลายครั้ง เรียกกระบวนการนี้วา

เมทามอรโฟซิส (Metamorphosis) จนกระท่ังไดสัตวท่ีมีลักษณะเหมือนกับพอแม (นิรนาม, 2562)

วุฒิ รัตนวิชัย (2548) การพัฒนาการเปลี่ยนแปลงรูปรางของลูกออดกบนาการเจริญเติบโตของ

ลูกออดกบนา มีพัฒนาการเปลี่ยนแปลงรูปรางตั้งแตหลังไขแดงยุบจนกระท่ังเปนลูกกบนามีท้ังหมด 4

ระยะ คือ

ระยะท่ี 1 มีการเจริญเติบโตท้ังน้ําหนักและความยาวเพ่ิมข้ึนโดยจะมีลักษณะเปนลูกออด

ท่ีไมมีขาจะมีเฉพาะหางท่ีใชในการวายน้ําเคลื่อนท่ีเทานั้น มีอายุประมาณ 1-14 วัน

ระยะท่ี 2 มีการเปลี่ยนแปลงรูปรางครั้งท่ี 1 (เกิดขาหลัง) อายุประมาณ 14-25 วัน ระยะนี้

ลูกออดท่ีสมบูรณและแข็งแรงจะมีการเพ่ิมท้ังน้ําหนักและความยาวข้ึนเรื่อยๆ

ระยะท่ี 3 มีการเปลี่ยนแปลงรูปรางครั้งท่ี 2 (เกิดขาหนา) อายุประมาณ 25-30 วัน เปน

ระยะท่ีน้ําหนักและความยาวของลูกออดเริ่มลดลง

ระยะท่ี 4 ระยะสุดทายมีการเปลี่ยนแปลงครั้งท่ี 3 คือหางจะหดสั้นลงและหายไปในท่ีสุด

จนมีลักษณะเหมือนตัวเต็มวัยคลายพอแมพันธุกบ

2.3 การคัดเลือกพอแมพันธุกบนา

การเพาะขยายพันธุกบนาจะใหประสบผลสําเร็จมีหลากหลายปจจัยตั้งแต การคัดเลือกพอแม

พันธุกบนา การเตรียมสถานท่ีเลี้ยงกบนา การเพาะขยายพันธุกบนา มีรายระเอียดดังนี้

2.3.1 การคัดเลือกพอแมพันธุกบนา

สําหรับการแยกเพศกบนั้นสามารถกระทําไดดังนี้

กบตัวผู มักมีขนาดลําตัวเล็กกวากบตัวเมีย เม่ือจับหงายทองดูจะพบวามีกลองเสียงอยู

บริเวณใตคางท้ัง 2 ขาง ท่ีบุมลงไปและนูนข้ึนเม่ือกบรองท่ีบริเวณกลองนี้จะมีสีออกเขมหรือดําและ

สังเกตเห็นไดชัดและกบตัวผูจะมีสวนหูกลมใหญโตกวาตาดวย (สุทธิลักษณ อัมพันวงศ, 2548; กรม

ประมง, 2558)

Page 19: 2562 - fulltext.rmu.ac.th

8

กบตัวเมีย มักมีขนาดลําตัวใหญกวากบตัวผู เม่ือจับหงายทองดูจะไมมีกลองเสียงและกบ

ตัวเมียจะมีสวนหูเทาๆ กับตาไมกลมใหญเชนกับตัวผู จากนั้นจึงนําไปแยกปลอยลงเลี้ยงคนละบอ

เพ่ือใหเปนพอแมพันธุท่ีดีตอไปอีกประมาณ 4-6 เดือน ในระยะนี้จะตองใหการเลี้ยงดูเอาใจใสดูแลเปน

อยางดีเพ่ิมมากข้ึน สําหรับการคัดเลือกพอแมพันธุกบท่ีจะนํามาใชผสมพันธุวางไขใหไดผลดีนั้น ควร

จะนํามาจากแหลงพันธุท่ีตางถ่ินกัน เพ่ือหลีกเลี่ยงการผสมแบบเลือดชิด สวนขนาดและอายุของกบท่ี

เหมาะสมใชเปนพอแมพันธุจะแตกตางกันไปตามชนิดและพันธุ แตโดยท่ัวไปกบท่ีสามารถนํามาใชเปน

พอแมพันธุไดนั้น ควรมีอายุได 8 เดือนข้ึนไป ไมควรใช พอแมพันธุท่ีมีอายุนอยกวา 7 เดือน เพราะกบ

ยังไมสมบูรณเพศเต็มท่ี ใหลูกนอย ลูกทีไดจะไมสมบูรณ ออนแอ ตัวเล็ก เลี้ยงยากและกบพอแมพันธุ

จะหยุดผสมพันธุเร็วผิดปกติ กบนาเพศเมียควรมีน้ําหนักอยูระหวาง 200-400 กรัม นอกจากจะ

พิจารณาจากอายุและน้ําหนักแลว การคัดเลือกพอแมพันธุท่ีดีควรไดคํานึงถึงคุณสมบัติสวนตัวของกบ

แตละตัวดวย คือ สุขภาพตองแข็งแรงสมบูรณ โดยเฉพาะระบบสืบพันธุของกบ กบท่ีมีอัตราการ

เจริญ เติบ โตส มํ่าเสมอ เปนกบ ท่ี เลี้ ยงบํ ารุงไว เปนอย างดีดวยอาหารท่ีดี ไมควรได รับการ

กระทบกระเทือนอยางรุนแรง ไมเปนกบท่ีมีบาดแผลตามลําตัว ไมมีโรคและพยาธิเบียดเบียน และเปน

กบท่ีมีรูปรางสมสวนตามสายพันธุ สําหรับการคัดเลือกกบท่ีมีความพรอมท่ีสุด เพ่ือนําไปทําการเพาะ

ขยายพันธุมีหลักในการคัดเลือกดังนี้ (สุทธิลักษณ อัมพันวงศ, 2548; กรมประมง, 2558)

2.3.1.1 กบเพศเมีย กบเพศเมียท่ีพรอมจะนําไปเพาะขยายพันธุไดจะตองมีทอง

ใหญ อวบอูม ทองแนนเหมือนกินอาหารอ่ิมใหมๆ ผิวหนังทองตึงและใส จะสังเกตเห็นไขเม็ดสีดําได

ลางๆ เห็นเสนเลือดใตผิวหนังไดอยางชัดเจน ในบางตัวท่ีมีไขแกจัดเต็มท่ีเม่ือเอามือรีดสวนทองเบาๆ

จะมีเม็ดไขสีขาวดําไหลออกมาใหเห็น มีตุมหนามแหลมคมฐานแคบตั้งถ่ี มีตุมหนามมากท่ีบริเวณขาง

ลําตัวหากจับดูจะรูสึกสากมือ ลําตัวมีสีดําปนน้ําตาลเขมสดใสหรือดําเขมสดใส ไมซีดจาง นอกจากนี้

ในกรณีท่ีไมไดคัดแยกเพศเลี้ยงคนละบอ หรือคัดแยกเพศไมหมด บางครั้งจะเห็นกบเพศเมียยอมใหกบ

เพศผูข้ึนข่ีหลัง หากสังเกตเห็นกบคูไหนกอดกันอยูกอนแลวแสดงวากบคูนั้นมีความพรอมท่ีจะเพาะ

ขยายพันธุแลว ใหรีบทําการคัดเลือกไปเพาะพันธุกอนตัวอ่ืน (สุทธิลักษณ อัมพันวงศ, 2548; กรม

ประมง, 2558)

2.3.1.2 กบเพศผู ลักษณะกบเพศผูท่ีมีความพรอมจะนําไปเพาะพันธุไดจะตองมี

กลองเสียงบาง หากเยื่อปดกลองเสียงยิ่งบางเทาไหรแสดงวากบตัวนั้นยิ่งมีความพรอมท่ีจะเพาะพันธุ

ไดมากเทานั้นมีความกระฉับกระเฉงแข็งแรง มีผิวสดใสเปนมันแวววาว ผิวท่ีบริเวณขางลําตัว หนาแขง

และใตคางมีสีเหลือเขม มีตุมเพาะท่ีนิ้วหัวแมมือของขาหนาท้ัง 2 ขางใหญมองเห็นไดชัดเจน เม่ือลอง

สอดนิ้วมือผานหนาอกกบเพศผูแลวกบกอดนิ้วมือเราแนน แสดงวากบตัวนั้นพรอมท่ีจะเพาะพันธุได

แลว เวลากบนารองจะมีเสียงดังกังวาน หรือในขณะท่ีกําลังคัดเลือกกบไปเพาะพันธุอยูนั้น ถากบตัว

ไหนรองก็ใหจับไปเพาะพันธุกอน เพราะแสดงวากบตัวนั้นมีความสมบูรณเพศเต็มท่ีแลว นอกจากนี้กบ

Page 20: 2562 - fulltext.rmu.ac.th

9

เพศผูท่ีจะใหน้ําเชื้อมากและน้ําเชื้อแข็งแรงจะตองเปนกบท่ีไมอวนมากเกินไป ไมอุยอายหรือเชื่องชา

อยางไรก็ตาม ในการคัดเลือกพอแมพันธุเพ่ือไปปลอยในบอเพราะพันธุนั้น ถาเปนกบท่ีจับคูกันแลว

อยาใหจับผิดคูไป เพราะกบท่ีจับคูกันแลวหากถูกแยกคูออกเปนคนละตัวแลวนําไปเลี้ยงในบอ

เพาะพันธุ ถาไมใชคูของมันแลวมันจะไมผสมพันธุกัน (สุทธิลักษณ อัมพันวงศ, 2548; กรมประมง,

2558)

2.3.2 การเตรียมสถานท่ีเล้ียงกบนา

บอท่ีใชเลี้ยงเปนบอสี่เหลี่ยมทําไดหลายขนาดข้ึนอยูกับพ้ืนท่ีโดยทําขอบบอสูงสูง 1.2

เมตร หรือบอซีเมนตกลมเสนผานศูนยกลาง 1 หรือ 1.5 เมตร มีวัสดุปดดานบน เชน กระเบื้องมุง

หลังคาเพ่ือปองกันไมใหกบนาตกใจ เครียดหรือโดนแดด ในขณะเดียวกันก็สามารถเปดใหไดรับ

แสงแดดไดบาง ตองเลี้ยงแยกเพศ แบงเปนบอแมพันธุและบอพอพันธุ เม่ือถึงฤดูผสมพันธุจึงนํามา

รวมกันเพ่ือใหจับคู ไมควรเลี้ยงกบหนาแนนเกินไป อัตราการปลอยท่ีเหมาะสม คือ 40 ตัวตอตาราง

เมตร มีการเปลี่ยนถายน้ําสมํ่าเสมอและควบคุมไมใหน้ําในบอเลี้ยงเสียเนาเหม็น การใหอาหารพอแม

พันธุใหอาหารวันละ 1–2 ครั้ง เม่ือใกลฤดูผสมพันธุใหลดปริมาณอาหารลง มิฉะนั้นกบจะอวนมีแต

ไขมันและไมมีไขมีแตไขมันและมีการใหวิตามินและแรธาตุผสมอาหารเพ่ือบํารุงระบบสืบพันธุ

(กรมประมง, 2559)

2.3.3 การเพาะขยายพันธุกบนา

โดยธรรมชาติกบจะมีการผสมพันธุและวางไขในชวงฤดูฝนและตนฤดูน้ําหลาก ซ่ึงแตละ

ทองท่ีจะไมเหมือนกัน บางแหลงอาจมีการผสมพันธุและวางไขปละครั้ง คือชวงเดือนพฤษภาคมถึง

เดือนมิถุนายน กบท่ีผสมพันธุในแหลงเดียวกันจะวางไขพรอมๆ กันในระยะเวลา 2-3 วันแรกท่ีมีฝน

ตกลงมาท้ังตัวผูและตัวเมียจะออกจากแหลงหลบซอนสูท่ีโลงในเวลากลางคืน การเพาะเลี้ยงกบนาใน

ปจจุบันสามารถเพาะขยายพันธุไดหลายแบบดังตอไปนี้ (สุทธิลักษณ, 2548; กรมประมง, 2558)

2.3.3.1 วิธีเพาะกบแบบธรรมชาติ

ชวงเวลาท่ีเหมาะสมอยูในชวงฤดูผสมพันธุ ระหวางเดือนมีนาคมถึงเดือน

กันยายน โดยคัดพอแมพันธุกบท่ีมีความพรอม ใสลงในบอท่ีเตรียมไวในอัตราสวน 1 คูตอพ้ืนท่ี 1

ตารางเมตร จากนั้นปลอยท้ิงไวใหจับคูและวางไข หลังจากท่ีพบวากบไขแลวในเชาของวันตอมาใหจับ

พอแมพันธุออก จากนั้นคอยๆ เติมน้ําในบอใหสูงเปน 10 เซนติเมตร อาจเพ่ิมออกซิเจนดวยการใช

เครื่องอัดอากาศ ทางท่ีดีควรเติมน้ําและใหออกซิเจนเม่ือสังเกตเห็นวาไขมีการพัฒนาเปนลูกออดและมี

การเคลื่อนไหวแลว มิฉะนั้นอาจจะเกิดการรบกวนทําใหไขไมเจริญเติบโต (กรมประมง, 2559)

2.3.3.2 วิธีเพาะกบเลียนแบบธรรมชาติ

เตรียมฝนเทียม โดยท่ัวไปกบจะจับคูผสมพันธุในชวงฤดูฝน แตสําหรับ

การเพาะพันธุ เราจะทําใหเหมือนธรรมชาติ ดวยวิธีเลียนแบบธรรมชาติ ซ่ึงทําไดโดยการนําเอาทอ

Page 21: 2562 - fulltext.rmu.ac.th

10

PVC ขนาด ครึ่งนิ้ว มาเจาะรูเล็กๆ ตามทอตอน้ําเขาไปและใหน้ําไหลออกไดคลายฝนตก และนําทอ

น้ําฝนเทียมนี้ไปพาดไวบนปากบอหรือหลังคาคลุมบอและเปดใชเวลาท่ีจะทําการผสมพันธุกบ หรือจะ

ติดสปริงเกอรบนปากบอเวลาเพาะขยายพันธุกบนา ทําทางระบายน้ําในบเพาะขยายพันธุไมใหน้ําใน

บอเพาะขยายพันธุกบสูงเกินไปเพราะกบเวลาผสมพันธุกบจะใชขายันพ้ืนเพ่ือกระจายไขใหท่ัวบอเพาะ

ขยายพันธุ (นิรนาม, 2560)

2.3.3.3 วิธีเพาะกบแบบฉีดฮอรโมนกระตุน

ทําไดโดยจัดเตรียมพอแมพันธุ และบอขยายพันธุเชนเดียวกับวิธีแรก

จากนั้นใชสารสังเคราะหท่ีมีชื่อทางการคาวา Suprefact (Buserlin) ฉีดใหพอแมพันธุกบ โดยฉีด 2

ครั้ง หางกันไมเกิน 6-8 ชั่วโมง สารสังเคราะหท่ีใชนี้เปนสารออกฤทธิ์เชนเดียวกับในปลา โดยในกบฉีด

ในปริมาณ 2.5-3 ไมโครกรัม ตอน้ําหนักกบ 1 กิโลกรัม สารนี้จะกระตุนใหแมพันธุตกไขและพอพันธุ

หลั่งน้ําเชื้อ วิธีฉีดถาฉีดเขาชองทอง (Intraperitoneum) ตองละลายสารในน้ําเกลือ 0.75 เปอรเซ็นต

ซ่ึงใหผลเร็วกวาและดีกวาการฉีดเขาใตผิวหนังและบริเวณแองสวนบั้นทายของลําตัวใตกระดูกสันหลัง

ซ่ึงตองละลายสารในกรดน้ําสม 0.1 เปอรเซ็นต สําหรับการฉีดในครั้งท่ี 2 จะใชปริมาณสารเปน 2 เทา

ของปริมาณท่ีฉีดในครั้งแรก เม่ือฉีดเสร็จแลวจึงปลอยพอแมพันธุลงบอเพ่ือใหจับคูผสมพันธุ จากนั้น

ติดตามการวางไขเชนเดียวกับวิธีการแรก ผลของฮอรโมน 2 ไมโครกรัม ในการเพาะพันธุกบ กบ

ท่ีไดรับฮอรโมนเกิดการกระตุนการพัฒนาของไข และเกิดการเพ่ิมจํานวนของเซลลไขมากข้ึน 10 เทา

(กรมประมง, 2559)

2.4 สภาวะแวดลอมกับการผสมพันธุกบ

ศูนยสงเสริมและฝกอบรมการเกษตรแหงชาติ (2543) ในธรรมชาติกบจะผสมพันธุและวางไข

ในฤดูฝน กบจะวางไขในบริเวณท่ี มีน้ําตื้น มีพันธุไมน้ําข้ึนอยูอยางหนาแนนพอสมควร ปจจัยท่ีมีผล

เก่ียวของตอการ ผสมพันธุของกบไดแก

2.4.1 อุณหภูมิ อุณหภูมิท่ีเหมาะสมตอการผสมพันธุและการวางไขของ กบตองไมต่ํากวา

25 องศาเชลเชียส และไมควรมีอุณหภูมิท่ีสูงเกินไป โดยปกติ อุณหภูมิในประเทศไทยจะมีความ

เหมาะสมดีอยูแลว

2.4.2 แสงสวาง เม่ือกบไขแลวหากแสงสวางไมเพียงพอ แมกบจะไม ยอมผละจากไขจะ

ยังคงเฝาและดูแลไขของตน และในกรณีของการฟกไข ไขท่ีอยูในท่ีรมแสงแดดสองไมถึงก็จะไมคอย

ฟกออกเปนตัวเชนกัน

Page 22: 2562 - fulltext.rmu.ac.th

11

2.4.3 ความชื้น โดยสัญชาตญาณกบจะไมวางไขในท่ีแลง กบจะไข ภายหลังฝนตาหรือ

ระหวางท่ีฝนตก ดังนั้นในการกระตุนใหกบผสมพันธุและ วางไขโดยวิธีการฉีดโปรยใหเหมือนกับมีฝน

ตก จะชวยใหกบผสมพันธุและวางไขดีข้ัน

2.4.4 หลังจากกบผสมพันธุแลว 2-3 วัน ไขกบท่ีจมอยูกนบอก็จะคอยๆลอยข้ึนพรอมๆ กัน

มีวุนหุมโดยรอบ เพ่ือชวยปองกันความรอน และชวยรักษาอุณหภูมิใหเหมาะสมกับการฟกเปนตัว และ

ยังชวยปองกันมิใหเชื้อโรคเขาทําลายไข ท้ังยังทําใหไขอยูรวมกันเปนกลุมกอนอีกดวย

2.5 การผสมพันธุกบนานอกฤดู

ไดมีผูคิดคนและทดลองปฏิบัติกันหลายวิธี เชน เม่ือเขาสูฤดูแลงจะเติมน้ําจนเต็ม บอเลี้ยงกบ

และฉีดน้ําใหกบชุมชื้นอยางนอย 2 วันตอครั้ง แลวถายน้ําออกปลอยใหบอแหง ประมาณ 2-3 วัน เม่ือ

บอแหงดีแลวจึงทําการคลุมหลังคาใหรมครึ้มอยางเดิมอีกครั้ง หลังจากนั้นฉีดน้ําใหบอกบชุมชื้น 6-7

วันติดตอกัน แลวฉีดน้ําตออีก 15 นาที สังเกตวาในตอนกลางคืนกบจะรอง พอเชาใหฉีดน้ําในตอน

เท่ียงและบายครั้งละครึ่งชั่วโมง หลังจากนั้นใน เวลาประมาณ 04.00 ถึง 05.00 ของวันรุงข้ึนกบก็จะ

จับคูผสมพันธุและวางไขจากนั้นก็จะแยกกันไปหลบในท่ีอาศัย ผูเลี้ยงก็จะสามารถจับพอและแมพันธุ

คืนสูบอเลี้ยงเดิมไดกรณีดังกลาวนี้คอนขางยุงยาก ทางท่ีดีควรแยกเลี้ยงพอและแมพันธุกบ เม่ือ

ตองการจะเพาะก็คัดพอพันธุกบท่ีมีน้ําเชื้อดี และแมพันธุท่ีมีไขแกลงบอเพาะท่ีเตรียมไวดังท่ีไดกลาว

แลวขางตน กบจะผสมพันธุวางไขในคืนแรกหรือคืนท่ี 2 ถากบไมวางไขจะตอง เปลี่ยนน้ําใหมอีกครั้ง

กบอาจผสมพันธุวางไขได แตถากบยังไมวางไขก็ตองเปลี่ยนพอและ แมพันธุใหม (นิรนาม, 2560)

ปราโมทย เกษแกว (2554) การผสมพันธุกบนอกฤดูตองทําการลางบอใหสะอาดท่ีสุดจากนั้น

เติมน้ําในบอเพาะพันธุ ใหไดระดับ 5-7 เซนติเมตร หรือใหทวมหลังกบ ใสพืชน้ํา หรือหญา ลงไป กอน

ใสตองนํามาทําความสะอาดดวยดางทับทิมกอน นํากบตัวผูและตัวเมียพรอมท่ีจะผสมพันธุปลอยลงใน

บอเพาะพันธุชวงเย็นเพ่ือใหกบเลือกคูกัน โดยบอขนาด 3 × 4 เมตร สูง 1.2 เมตร จะปลอยพอแม

พันธุ 4-5 คู ในการผสมพันธุกบตัวผูจะไลเวียนกบตัวเมีย แลวใชขาหนาโอบรัดตัวเมีย ทางดานหลัง

เพ่ือรีดใหไขออกมา ขณะเดียวกันตัวผูจะปลอยน้ําเชื้อออกมาผสมทันที โดยปกติกบจะผสมพันธุใน

ตอนกลางคืน รุงเชาใหนําพอแมพันธุออกจากบอ ปลอยใหไขฟกออกมาเปนตัว ซ่ึงจะใหเวลา 18-36

ชั่วโม

ศูนยสงเสริมและฝกอบรมการเกษตรแหงชาติ (2543) ไดทดลองเพาะกบในชวงฤดูแลง โดยทํา

การเติมน้ําจนเต็มในบอเลี้ยงกบ และฉีดน้ําใหกบชุมชื้นอยางนอย 2 วันตอครั้ง แลวถายน้ําออกปลอย

ใหบอแหง ประมาณ 2-3 วัน เม่ือบอแหงดีแลวจึงทําการคลุมหลังคาใหรมครึ้มอยางเดิมอีกครั้ง

หลังจาก นั้นฉีดน้ําใหบอกบชุมชื้น 6-7 วันติดตอกัน แลวฉีดน้ําตออีก 15 นาที สังเกตวาในตอน

Page 23: 2562 - fulltext.rmu.ac.th

12

กลางคืนกบจะรอง พอเชาใหฉีดน้ําในตอนเท่ียงและบายครั้งละครึ่งชั่วโมง หลังจากนั้นใน เวลา

ประมาณ 4 นาฬิกาถึง 5 นาฬิกาของวันรุงข้ึน กบก็จะจับคูผสมพันธุและวางไข จากนั้นก็จะแยกกันไป

หลบในท่ีอาศัย ผูเลี้ยงก็จะสามารถจับพอและแมพันธุคืนสูบอเลี้ยงเดิมได

2.6 งานวิจัยที่เกี่ยวของ

วินัย จันทับทิม,นงนุช สุวรรณเพ็งและสกลศักดิ์ เสริมศรี (2553) ไดทําการศึกษาการเพาะและ

อนุบาลกบนา Rana rugulosa (Wiegmann) ในบอดินผนังคอนกรีตนอกฤดูกาลโดยการเลียนแบบ

ธรรมชาติ โดยศูนยวิจัยและพัฒนาประมงน้ําจืดรอยเอ็ดประสบความสําเร็จในการเพาะและอนุบาล

กบนาในบอดินผนังคอนกรีต สามารถผลิตลูกกบไดจํานวนมากโดยใชพอแมพันธุกบนาท่ีเลี้ยงในบอ

ซีเมนตขนาด 50 ตารางเมตร ขนาดน้ําหนัก 280-300 กรัม เพาะพันธุโดยวิธีเลียนแบบธรรมชาติ

ปลอยพอแมพันธุผสมพันธุกันเอง 8-10 คู หลังวางไขกบจะฟกออกเปนตัวภายใน 18-24 ชั่วโมง

จากนั้นประมาณ 5 วัน จึงนําลูกออดลงอนุบาลในบอดินผนังคอนกรีตขนาด 800 ตารางเมตร โดยใช

รําผสมกับปลาปนในอัตราสวน รําออน 3สวนตอปลาปน 1 สวน หวานลงบนพ้ืนกนบอเพ่ือสราง

อาหารธรรมชาติ หลังจากนั้นเติมน้ําสูงประมาณ 80 เซนติเมตร นําลูกออดลงบอ ใหอาหารรํา ปลาปน

อาหารปลาดุกใหญ ประมาณ 1-2 กิโลกรัม หวานใหท่ัวบอวันละ 4 ครั้ง อนุบาลประมาณ 15-16 วัน

สังเกตพบกบมีขาหนาและเริ่มเกาะท่ีขอบบอ จะใชอวนตาถ่ีรวบรวมลูกกบมาพักไวบนบอซีเมนต

ขนาด 50 ตารางเมตร ใสผักบุงสุมเปนกองสูง ระดับน้ํา 5-10 เซนติเมตร เม่ือนําลูกกบมาพักไว 3-5

วันใหอาหารลูกกบเม็ดเล็กหวานใหกินรอบบอและกองไวบนแผนโฟมโดยวิธีการนี้ทางศูนยฯ สามารถ

ผลิตลูกกบใดจํานวนมากและขนาดสมํ่าเสมอกัน ใชระยะเวลาตั้งแตกบฟกเปนตัวจนเปนกบโตเต็มวัย

พรอมจําหนายประมาณ 25 วัน คุณสมบัติน้ําในบอดินอยูในเกณฑสําหรับเพาะเลี้ยงสัตวน้ําจืดท่ัวไป

คือ คาพีเอชอยูระหวาง 7.30-7.45 มิลลิกรัมตอลิตร คาออกซิเจนละลายในน้ํามีคาอยูระหวาง 4.05-

6.80 มิลลิกรัมตอลิตร คาความเปนดางมีคาอยูระหวาง 40-75 มิลลิกรัมตอลิตร และอุณหภูมิมีคาอยู

ระหวาง 29.44-32.44 องศาเซลเซียส จํานวนไขตอแมเฉลี่ย 2,232±264.57 ฟอง สามารถอนุบาลลูก

กบไดจํานวน 17,856-19,195 ตัวตอครั้ง อัตรารอด 80-86 เปอรเซ็นต ลูกกบท่ีไดมีขนาดสมํ่าเสมอ

สามารถกําหนดระยะเวลาการเพาะ การอนุบาล และนําข้ึนมาจําหนายไดตรงกับความตองการของ

ตลาด อัตราการรอดตายสูง ปฏิบัติงาย ตนทุนการเพาะและอนุบาลต่ํา

Thongyun and Withaya (2001) การศึกษาเทคนิควิธีการเพาะพันธุกบนา ใชกบทดลอง ท่ีมี

อายุ 11 เดือน จํานวน 12 คู โดยใชแผนการทดลองแบบ CRD แบงการทดลองออกเปน 4 ชุดการ

ทดลอง ดําเนินการทดลองชุดละ 3 ซํ้า แตละซํ้าใชกบพอแมพันธุ 1 คู กบพอพันธุมีน้ําหนักเฉลี่ย 120

กรัม และแมพันธุมีน้ําหนักเฉลี่ย 200 กรัม ทําการเพาะในบอซีเมนตขนาด 2 x 2 x 1.20 เมตร ระดับ

Page 24: 2562 - fulltext.rmu.ac.th

13

น้ําสูง 5 เซนติเมตรเทากัน และภายในบอเพาะใสขดผักบุงขดละ 1 ตน ขนาด เสนผาศูนยกลาง 6 นิ้ว

จํานวน 10 ขดตอบอ กลุมท่ี 1 เปนกลุมควบคุมจะปลอยใหผสมพันธุกันเองตามธรรมชาติ กลุมท่ี 2

พนน้ําเปนฝอยทําฝนเทียมตลอดเวลาจนกวากบจะหยุดไข กลุมท่ี 3 ฉีดตอมใตสมองปลาไนและพนน้ํา

ตลอดเวลา กลุมท่ี 4 ฉีดฮอรโมนสังเคราะห Suprefact และพนน้ําตลอดเวลาเชนกัน ผลการทดลอง

ปรากฏวา ในฤดูฝนชวงเดือนมิถุนายน กบสามารถปลอยไขผสมพันธุไดทุกกลุมทดลอง สวนในฤดูรอน

ชวงเดือนเมษายนซ่ึงมีอุณหภูมิ 38 องศาเซลเซียส กบจะไมยอมผสมพันธุกันเองตามสภาพธรรมชาติ

แตถามีการใชเทคนิคตาง ๆ ชวยกระตุนใหมีการสุกของไขเร็วข้ึน เชน การทําฝนเทียม การฉีดฮอรโมน

สังเคราะหซุปรีแฟคและการฉีดตอมใตสมองปลา จะทําใหกบสามารถผสมพันธุกันได โดยกลุมท่ีทํา

ฝนเทียมและกลุมท่ีฉีดตอมจะเพาะพันธุไดประมาณ 66.66 เปอรเซ็นต ในขณะท่ีกลุมท่ีฉีดซุปรีแฟค

สามารถเพาะพันธุได 100 เปอรเซ็นต สําหรับในฤดูหนาวชวงเดือนพฤศจิกายน ท่ีมีอุณหภูมิประมาณ

14 องศาเซลเซียส กบจะไมยอมผสมพันธุกันเปนอันขาดไมวาจะใชเทคนิควิธีการใดกระตุนก็ตาม ผล

การเพาะพันธุกบในฤดูฝน ปรากฏวา กบในกลุมท่ีทําฝนเทียมจะเริ่มรองกอนกลุม อ่ืนๆ (2 ชั่วโมงหลัง

เพาะ) แตกบท่ีฉีดซุปรีแฟคจะปลอยไขชุดแรก (5 ชั่วโมงหลังเพาะ) และหยุดไข (32 นาทีหลังจากเริ่ม

ปลอยไขชุดแรก) ไดเร็วกวากลุมอ่ืน สวนความสามารถในการใหลูกทําการเก็บตัวอยาง เม่ือกบอายุได

3 วัน ปรากฏวา กบท่ีเพาะโดยการทําฝนเทียมใหลูกมากท่ีสุด (3,862 ตัว) รองลงมาคือกลุมท่ีเพาะ

โดยวิธีการธรรมชาติ (2,499 ตัว) สวนกลุมท่ีใหลูกนอยท่ีสุดในบริเวณใกลเคียงกัน คือ กลุมท่ีฉีด

ฮอรโมนสังเคราะหซุปรีแฟค (1,877 ตัว) และกลุมท่ีฉีดตอม (1,845 ตัว) สําหรับการเพาะกบนาในฤดู

รอนชวงเดือนเมษายนนั้น กบท่ีเพาะโดยการฉีดฮอรโมนสังเคราะหซุปรีแฟคจะเริ่มรองครั้งแรกและ

กบตัวผูจะข้ึนเกาะหลังกบตัวเมียกอนกลุมอ่ืน นอกจากนั้นกบท่ีฉีดฮอรโมนสังเคราะหซุปรีแฟค ยัง

สามารถปลอยไขชุดแรก (6 ชั่วโมง 38 นาทีหลังเพาะ) และหยุดไข (22 นาทีหลังจากเริ่มปลอยไขชุด

แรก) ไดเร็วกวากลุมอ่ืนอีกดวย สวนความสามารถในการใหลูกทําการเก็บตัวอยางเม่ืออายุได 7 วัน

ผลปรากฏวา กบในกลุมท่ีทําฝนเทียมใหลูกมากท่ีสุด (1,012 ตัว ตอแมกบ 1 ตัว) สวนกบท่ีเพาะโดย

การฉีดฮอรโมนสังเคราะหซุปรีแฟค และกลุมท่ีฉีดตอมใตสมองปลาดุกจะใหลูกนอยกวาโดยใหลูก

616 และ 430 ตัว ตามลําดับ

ผุสตี ปรียานนทและธีรวรรณ นุตประพันธ (2535) ได ศึกษาการทดลองใชสาร GnRH

Analogue ฉีดกระตุนใน กบบูลฟร็อก เพ่ือชักนําใหกบจับคูผสมพันธุในบอเลี้ยงในชวงฤดูสืบพันธุ

(มิ.ย.-ส.ค.) พบวาการใช GnRH Analogue ฉีดใหกับกบเพศเมีย จํานวน 2 ครั้ง ในปริมาณ 2 และ 3

ไมโครกรัมตอน้ําหนักตัว 1 กิโลกรัม สามารถชักนําใหตัวเมียตกไขได 100 เปอรเซ็นต และการปฏิสนธิ

เกิดข้ึนได 92 เปอรเซ็นต ท้ังนี้โดยไมตองฉีดกระตุนใหกับตัวผู ในทํานองเดียวกันเม่ือฉีด GnRH

Analogue ใหกบเพศเมียจํานวน 3 ครั้งในปริมาณ 2 และ 3 ไมโครกรัมตอน้ําหนักตัว 1 กิโลกรัม

Page 25: 2562 - fulltext.rmu.ac.th

14

พบวาสามารถชักนําใหกบบูลฟร็อกตัวเมียตกไขได 100 เปอรเซ็นต ผลการปฏิสนธิสามารถเกิดข้ึนได

ถึง 93 เปอรเซ็นต ท้ังนี้โดยไมตองกระตุนในกบตัวผูเชนกัน

พนวสันต เอ่ียมจันทร,วิโรจน ดาวฤกษและผุสตรี ปริยานนท (2532) ไดศึกษา สภาพแวดลอม

ทางกายภาพจึงเปนปจจัยท่ีสําคัญอยางหนึ่งท่ีมีผลตอการเจริญเติบโตและการสืบพันธุ ของกบนา

(Rana Tigerina) ไดแก อุณหภูมิ ความชื้น และคุณสมบัติทางเคมีของน้ําในบริเวณฟารมเลี้ยงกบ อ.

ชะอํา จ.เพชรบุรี ปรากฏวา อุณหภูมิอากาศเฉลี่ยสูงสุดในรอบปเทากับ 30.9±9.5 องศาเซลเซียส

อุณหภูมิอากาศเฉลี่ยต่ําสุดในรอบป เทากับ 25.5±9.5 องศาเซลเซียส อุณหภูมิน้ําสูงสุดในรอบป

เทากับ 29.6±5.7 องศาเซลเซียส เฉลี่ยต่ําสุดเทากับ 25.4±3.8 องศาเซลเซียส ความชื้นสัมพัทธของ

อากาศอยูระหวาง 65.0±79 เปอรเซ็นต และ 76.6±10.8 เปอรเซ็นต ความเปนกรดดางของน้ําในบอ

เลี้ยงพอพันธุแมพันธุท่ีมีน้ําขังตลอดปมีคาเฉลี่ยระหวาง 7.1±2.7 และ 8.27±0.42 มีปริมาณออกซิ

เยนละลายในน้ําอยูระหวาง7.4±2.7 และ 11.2±2.5 ซ่ึงลักษณะของสภาพแวดลอมท่ีมีคุณสมบัติ

ดังกลาวนี้จัดวาเปนลักษณะของสภาพแวดลอมท่ีสามารถทําฟารมเลี้ยงกบใหเจริญเติบโตไดเกือบ

ตลอดป การนําลูกกบนาอายุ 1 เดือนจากแหลงธรรมชาติมาเลี้ยงในบอเลี้ยงก่ึงถาวรเพ่ือเปนพอพันธุ

แมพันธุ โดยใหปลาเปดสดสับเปนอาหาร ทําการวัดขนาดความยาวลําตัวและชั่งน้ําหนักตัวจนกบโต

เต็มวัยอายุครบ 12 เดือน พบวา เม่ือกบนาอายุครบ 6 เดือนยังไมปรากฏลักษณะเพศภายนอกจะมี

ความยาวลําตัวเฉลี่ย 93.85±6.9 มิลลิเมตร น้ําหนักตัวเฉลี่ย 105.26±26.94 กรัม เม่ือกบนาอายุได 9

เดือนสามารถแยกเพศผูไดโดยการดู "ถุงลม" (รอยยนสีดําใตคาง) จะมีความยาวลําตัวเฉลี่ย

82.22±8.09 ม.ม. มีน้ํ าหนักตัวเฉลี่ย 179.7±92 กรัม ในเพศผู และมีความยาวลําตัวเฉลี่ย

98.55±11.35 ม.ม. น้ําหนักตัวเฉลี่ย 125.62±55.59 กรัมในเพศเมีย เม่ือกบนาอายุ 12 เดือนซ่ึงโต

เต็มวัยสามารถใชผสมพันธุได จะมีความยาวลําตัวเฉลี่ย 91.36±27.06 กรัมในเพศผู และมีความยาว

ลําตัวเฉลี่ย 100.58±9.97 มิ มิลลิเมตร น้ําหนักตัวเฉลี่ย 138.71±45.24 กรัมในเพศเมีย จากการ

เปรียบเทียบผลพบวา กบนาในชวงอายุ 1-6 เดือนมีขนาดความยาวและน้ําหนักตัวเพ่ิมมากข้ึนกวา

ในชวงหลังอายุ 6-12 เดือน กบนาท่ีโตสามารถแยกเพศไดจนผสมพันธุได (อายุ 9-12 เดือน) ความ

ยาวลําตัวและน้ําหนักในกบเพศผูจะนอยกวาในกบเพศเมีย เม่ือกบอายุมากข้ึน (9-12 เดือน) อัตรา

การเพ่ิมของน้ําหนักตัวจะมากกวาอัตราการเพ่ิมของความยาวลําตัว ความยาวลําตัวระหวาง 2 เพศใน

กบโตเต็มวัย และกบชวงอายุนอย (6-9 เดือน) จะแตกตางกันชัดเจน ในขณะท่ีน้ําหนักตัวจะแตกตาง

กันไมชัดเจน การขยายพันธุกบนาในบอเลี้ยงกบแบบก่ึงถาวรท่ีมีสภาพพ้ืนท่ีเปนดินทราย โดยการทํา

บอใหเก็บน้ําไดตลอดฤดูกาลดวยใชดินเหนียวปูรองพ้ืนหนา 4-8 นิ้ว น้ําจะขังอยูได พอพันธุแมพันธุท่ี

นํามาใชผสมพันธุมีอายุตั้งแต 12 เดือนข้ึนไป การกระตุนใหกบผสมพันธุทําโดยอาศัยสภาพแวดลอม

จากภายนอกคือ น้ําฝนท่ีไดจากฝนตกครั้งแรกในตนฤดูกาลหรือจากการปรับสภาพแวดลอมโดยปลอย

น้ําใหลงขังในบอท่ีปลอยท้ิงไวใหแหง ฝนท่ีตกลงมาใหมหรือจากการปลอยลงขังในบอจะทําหนาท่ีเปน

Page 26: 2562 - fulltext.rmu.ac.th

15

ตัวกระตุนใหกบจับคูผสมพันธุ การศึกษาเปอรเซ็นตของการปฏิสนธิโดยการนับจํานวนลูกออดท่ีได

จากผลการกระตุนใหกบผสมพันธุเนื่องจากน้ําฝนใหมมีจํานวนเทากับ 478±176.5 ตัว สวนลูกออดท่ี

ไดจากการผสมพันธุโดยการปรับสภาพแวดลอมมีจํานวนเทากับ 725.5±164.7 ตัว จากผลการทดลอง

ในครั้งนี้แสดงใหเห็นวาการขยายพันธุกบนาตามวิธีธรรมชาติสามารถอาศัยสภาพแวดลอมท่ีเปนน้ําฝน

หรือการปลอยน้ําใหมลงขังในบอเปนครั้งแรกในตนฤดูการสืบพันธุ การวิเคราะหโครโมโซมของพบนา

ไดทําการศึกษาโครโมโซมของการแบงเซลลท้ังแบบไมโตซิสและไมโอซิส โดยวิธีการยอยแสดง band

ตางๆ พบวาจํานวนโครโมโซมของกบนาท้ังตัวผูและตัวเมียมี 26 แทง จัดไดเปน 13 คู คูท่ี 1, 2, 5, 7,

8, 10, 11, 12 และ 13 เปนแบบ Metacentric สวนคูท่ี 3, 4, 6 และ 9 เปนแบบ Submetacentric

และโครโมโซมคูท่ี 6 มี Secondary Constriction ชัดเจนมาก ความแตกตางของโครโมโซมเพศ พบ

ในโครโมโซมคูท่ี 8 ของตัวเมีย จากการยอมสีเพ่ือแสดง Heterochromatin จะพบอยูท่ีตําแหนง

Centromers ของทุกแทง สวนท่ีบริเวณกลางและปลายแทงพบไดในโครโมโซมบางคู

อุดมศรี โชวพิพัทธพรชัย (2543) ศึกษาการกระตุนการตกไขในกบนาโดยใช Synthetic GnRH

Agonist (Suprefact) ท่ีความเขมขน 50 ไมโครกรัมตอกิโลกรัม น้ําหนักรางกาย สามารถรีดไขได

ภายในเวลา 6-8 ชั่วโมง นําไขท่ีไดมาผสมกับน้ําเชื้อของกบนา ซ่ึงไดจากการตัดอัณฑะ มาบดขยี้แลว

เติม 0.05 M De Boer's Solution จากนั้นนําน้ําเชื้อท่ีมีความเขมขนแตกตางกันตั้งแต 1 x 10 x (2),

1 x 10 x (3), 1 x 10 x (4), 1 x 10 x (5) และ 1 x 10 x (6) Sperm ตอมิลลิลิตร ผสมตอไขจํานวน

100-130 ใบ ผลท่ีไดกอใหเกิดการปฏิสนธิ 2.56 เปอรเซ็นต 74 เปอรเซ็นต 92.06 เปอรเซ็นต 94.7

เปอรเซ็นต และ 96.28 เปอรเซ็นต ตามลําดับ ระยะของตัวออนจากเริ่มปฏิสนธิจนถึงระยะลูกออดท่ี

กระพุงแกมปดท้ัง 2 ขางแบงไดเปน 25 ระยะ ใชเวลาท้ังสิ้นประมาณ 65 ชั่วโมง

ผุสตี ปริยานนทและคณะ (2532) การใชฮอรโมน HCG, PMSG รวมกับ HCG และการใช

GnRH analogs ชักนําใหเกิดการตกไขและผสมพันธุในกบนา พบวาเม่ือใชฮอรโมน HCG 100 IU

และ 200 IU ยังไมสามารถชักนําใหตัวเมียตกไขได สวนการใชฮอรโมน PMSG 50 IU และ 200 IU

รวมกับ HCG 100 IU และ 200 IU สามารถชักนําใหตัวเมียตกไขและมีการปฏิสนธิเกิดข้ึน 30

เปอรเซ็นต และการฉีด GnRH Analogs 2 Microgram และ 10 Microgram ตอน้ํ าหนักตัว 1

กิโลกรัม สามารถชักนําใหตัวเมียตกไขได 100 เปอรเซ็นต และมีการปฏิสนธิได 50 เปอรเซ็นต

การศึกษาการเจริญของลูกออดกบนาจนถึงข้ันเปลี่ยนแปลง (Metamorphosis) เปนลูกกบเล็กโดย

แบงออกเปน 4 ข้ัน คือ ระยะลูกออด ระยะงอกขาหลัง ระยะงอกขาหนา และระยะลูกกบเล็ก เม่ือ

อายุ 7, 14, 28 และ 42 วันตามลําดับ พบวา เม่ืออายุ 7 วัน ลูกออดท้ังหมดยังไมงอกขา และมีความ

ยาวลําตัวเฉลี่ยเทากับ 10.05±0.70 มิลลิเมตร เม่ืออายุได 14 วัน มีการเจริญในระยะท่ีไมงอกขาและ

งอกขาหลังในอัตรา 62 เปอรเซ็นต และ 38 เปอรเซ็นต มีความยาวลําตัวเฉลี่ยเทากับ 22.00±0.12

มิลลิเมตร และ 28.21±0.98 มิลลิเมตร เม่ืออายุได 28 วัน พบการเจริญ 4 ข้ัน คือ ระยะลูกออด

Page 27: 2562 - fulltext.rmu.ac.th

16

ระยะท่ีงอกขาหลัง ระยะท่ีงอกขาหนา และระยะลูกกบเล็ก ในอัตรา 3.2 เปอรเซ็นต 27.8 เปอรเซ็นต

49.8 เปอรเซ็นตและ19.2 เปอรเซ็นต มีความยาวลําตัวเฉลี่ยเทากับ 16.25±2.06 มิลลิ เมตร

43.00±12.90 มิลลิเมตร 45.80±4.93 มิลลิเมตรและ 21.39±0.73 มิลลิเมตร และเม่ืออายุได 42 วัน

พบการเจริญเพียง 3 ข้ัน คือ ระยะงอกขาหลัง ระยะงอกขาหนา และระยะลูกกบ ในอัตรา 10.25

เปอรเซ็นต 14.56 เปอรเซ็นต และ 75.24 เปอรเซ็นต มีความยาวลําตัวเฉลี่ยเทากับ 51.46±4.30

มิลลิเมตร 40.30±12.9 มิลลิเมตร และ 20.53 ±3.18 มิลลิเมตร ตามลําดับ การเลี้ยงกบภูเขาในบอ

เลี้ยงท่ีมีสภาพคลายคลึงธรรมชาติ พบวากบสามารถอาศัยอยูไดดี มีการสืบพันธุตลอดฤดูกาล

(พฤศจิกายน-พฤษภาคม) แตยังคงกินอาหารท่ีเคลื่อนไหว มีการเจริญของเอ็มบริโอจากไขกลางเปน

ลูกออดใชเวลาประมาณ 3 วัน ท่ีอุณหภูมิน้ํา 30 องศาเซลเซียส และลูกออดเจริญเปนลูกกบเล็กใน

เวลาประมาณ 45 วัน การศึกษาโครโมโซมของการแบงเซลล ท้ังแบบไมโตซีสและไมโอซีสดวยการ

ยอมสีแสดง Band ตางๆ พบวา กบภูเขามีโครโมโซมจํานวน 24 แทง จัดได 12 คู คูท่ี 1, 5, 9 และ

11 เปนแบบ Metacentric คู ท่ี 2, 3, 4, 6, 7, 8, 10 และ 12 เปนแบบ Submetancentric มี

Cecondary Constricaring อยูท่ีโครโมโซมคูท่ี 9 Constitutive Hterochromatin คือ บริเวณท่ีติด

สีเขม

Page 28: 2562 - fulltext.rmu.ac.th

17

บทท่ี 3

อุปกรณและวิธดีําเนินการวิจัย

การศึกษาผลของอุณหภูมิท่ีเหมาะสมสําหรับการเพาะขยายพันธุกบนาลูกผสมในฤดูหนาว

มีระเบียบวิธีวิจัย ดังตอไปนี้

3.1 วัสดุและอุปกรณในการทดลอง

3.1.1 พอแมพันธุกบนาลูกผสม

3.1.2 อาหารเม็ดกบใหญ โปรตีน 30 เปอรเซ็นต

3.1.3 บอซีเมนตกลมเสนผานศูนยกลางขนาด 80 เซนติเมตร สูง 50 เซนติเมตร

3.1.4 น้ําสะอาด

3.1.5 เครื่องควบคุมอุณหภูมิ รุน EW - 988H

3.1.6 หลอดไฟ ขนาดกําลังไฟ 40 วัตต 220-240 โวลต

3.1.7 ไฟฟาสายไฟฟาพรอมเตาเสียบเตารับ

3.1.8 ฟวเจอรบอรด

3.1.9 อิฐแดง

3.1.10 ดินน้ํามัน

3.1.11 เครื่องชั่งทศนิยม 2 ตําแหนง หรือ 3 ตําแหนง

3.1.12 ไดโวดูดน้ํา

3.1.13 ทอพีอี ขนาด 16 มิลลิเมตร

3.1.14 สายไมโครพีอี

3.1.15 มินิสปริงเกอร

3.1.16 ชุดขอตอสําหรับทําฝนเทียม

3.1.17 Suprefact (Buserelin Acetate)

3.1.18 Motilium

3.1.19 น้ํากลั่น

3.1.20 เข็มพรอมกระบอกฉีดยา

3.1.21 อุปกรณตางๆ สําหรับการเก็บขอมูล เชน ตาชั่ง ปากกา เครื่องคิดเลข สมุดสําหรับ

จดบันทึกรวบรวมขอมูล

Page 29: 2562 - fulltext.rmu.ac.th

18

3.2 วิธีการวิจัย

3.2.1 สถานท่ีทดลองและระยะเวลาในการดําเนินการ

การศึกษาในครั้งนี้ดําเนินการทดลองในฟารมสาขาเทคโนโลยีการเพาะเลี้ยงสัตวน้ํ า

มหาวิทยาลัยราชภัฏมหาสารคาม เลขท่ี 80 ถนนนครสวรรค ตําบลตลาด อําเภอเมืองมหาสารคาม

จังหวัดมหาสารคาม โดยทําการทดลองระหวางเดือนพฤศจิกายน พ.ศ. 2560 ถึงเดือนกุมภาพันธ

พ.ศ. 2561

3.2.2 แผนการทดลอง

ว า งแ ผ น ก ารท ด ล อ งแ บ บ สุ ม ส ม บู รณ (Completely Randomized Design, CRD)

ประกอบดวย 5 ชุดการทดลอง (Treatment) จํานวน 3 ซํ้า (Replication) ประกอบดวย

3.2.2.1 ชุดการทดลองท่ี 1 ไมควบคุมอุณหภูมิให กับกบพอแมพันธุกบนาลูกผสม

(Control)

3.2.2.2 ชุดการทดลองท่ี 2 ควบคุมอุณหภูมิไวในบอพอแมพันธุกบนาลูกผสม 30 องศา

เซลเซียส

3.2.2.3 ชุดการทดลองท่ี 3 ควบคุมอุณหภูมิไวในบอพอแมพันธุกบนาลูกผสม 32 องศา

เซลเซียส

3.2.2.4 ชุดการทดลองท่ี 4 ควบคุมอุณหภูมิไวในบอพอแมพันธุกบนาลูกผสม 34 องศา

เซลเซียส

3.2.2.5 ชุดการทดลองท่ี 5 ควบคุมอุณหภูมิไวในบอพอแมพันธุกบนาลูกผสม 36 องศา

เซลเซียส

3.2.3 วิธีการทดลอง

3.2.3.1 การเตรียมบอทดลอง ทําความสะอาดบอซีเมนตกลมขนาดเสนผานศูนยกลาง

80 เซนติเมตร สูง 50 เซนติเมตร จํานวน 15 บอ โดยใชน้ําลางใหสะอาด แลวตากบอใหแหง ในวงบอ

ชีเมนตกลมแบงพ้ืนท่ีเปน 2 ชองดวยตาขายในลอนเพ่ือใสพอแมพันธุกบโดยแยกเพศกบไมใหกบพอ

แมพันธุกบนาลูกผสมเขาหากันได

3.2.3.2 การเตรียมกบทดลอง นําพันธุกบเพสผูและกบเพสเมียจากครอกเดียวกัน

และมีขนาดลําตัวและน้ําหนักใกลเคียงกัน ทําการเลี้ยงกบใหเปนพอแมพันธุ โดยการเลี้ยงดวย

อาหารเม็ดสําเร็จรูปจนอายุได 1 ปนํามาชั่งน้ําหนักของกบกอนเขาทําการทดลองดวยเครื่องชั่งทศนิยม

2 ตําแหนง ใชหนวยวัดเปนกรัม

3.2.3.3 การเตรียมเครื่องควบคุมอุณหภูมิ การเตรียมเครื่องควบคุมอุณหภูมิภายใน

บอชีเมนตขนาดเสนผานศูนยกลาง 80 เซนติเมตร ความสูง 50 เซนติเมตร โดยการติดตั้งเครื่อง

Page 30: 2562 - fulltext.rmu.ac.th

19

ควบคุมอุณหภูมิไวบนแผนฟวเจอรบอรดท่ีใชปดปากบอชีเมนต เครื่องควบคุมอุณหภูมิแตละตัวจะมี

ตัวเซ็นเซอรเปนตัวตรวจวัดอุณหภูมิภายในบอกลมตลอดการทํางานและทําการติดตั้งหลอดไฟท่ีมี

กําลังไฟ 40 วัตต 220-240 โวลต ไวไตฟวเจอรบอรดพรอมตอสายเขากับเครื่องควบคุมอุณหภูมิตั้ง

อุณหภูมิใหแตกตางกันโดยตั้งอุณหภูมิไวท่ี 30, 32, 34 และ 36 องศาเซลเซียส ตามทรีตเมนตท่ี

กําหนดและใชฟวเจอรบอรดปดปากบอชีเมนตไวทับดวยอิฐแดงบนแผนฟวเจอรบอรดกันกบกระโดด

ออกจากบอชีเมนต

3.2.3.4 การใหอาหารพอแมพันธุกบนาลูกผสม ในการทดลอง ใหอาหารกบใหญ

อาหารเม็ดสําเร็จรูป โปรตีน 30 เปอรเซ็นต โดยการใหกิน 1 ครั้ง ตอวัน ในตอนเย็น โดยใหอาหาร 10

เปอรเซ็นตตอน้ําหนักตัว ทําการบันทึกอาการท่ีกบกินในแตละชุดการทดลองทุกวัน เปลี่ยนน้ําให

สะอาดทุกวันในตอนเย็น กอนใหอาหารกบ ใชเวลาในการใหอาหารพอแมพันธุ 3 เดือน คือเดือน

พฤศจิกายน พ.ศ. 2560 ถึงเดือนมกราคม พ.ศ. 2561 แลวทําการเพาะในเดือนกุมภาพันธ พ.ศ. 2561

3.2.3.5 การตรวจความพรอมของพอแมพันธุกบนาลูกผสม เพศเมีย โดยการสังเกต

ลักษณะของทองเพศเมียมีขนาดใหญข้ึน จากการชั่งน้ําหนัก และทําการบันทึก โดยแมพันธุกบท่ีพรอม

จะมีทองอูมเปงและเม่ือนํามือสัมผัสขางลําตัวจะมีตุมสิวสากมือ แสดงวาแมพันธุมีความพรอมในการ

ผสมพันธุแลว สวนเพสผูทําการตรวจสอบความพรอมโดยการสังเกตสีท่ีกลองเสียง วาเปลี่ยนเปนสี

ชมพูหรือไม รวมกับการใชนิ้วสอดใตคางกบเพศผูหากกบเพศผูใชขาหนากอดรัดนิ้วแนนแสดงวามี

ความพรอม ทําการตรวจสอบทุกเดือน พรอมท้ังบันทึกขอมูล ในแตละชุดการทดลอง

3.2.3.6 การเพาะขยายพันธุกบนาลูกผสม จัดบอเพาะขยายพันธุโดยจําลองบอ

เพาะพันธุแบบเลียนแบบธรรมชาติใสผักบุงบอละ 500 กรัม พรอมติดตั้งมินิสปริงเกอรบนปากบอเพ่ือ

ทําฝนเทียม พอแมพันธุกบนาท่ีใชในการทดลอง ทําการชั่งน้ําหนัก เพ่ือคํานวณหาปริมาณฮอรโมนท่ี

จะฉีด ใชฮอรโมนสังเคราะห Buserelin Acetate ปริมาณ 10 ไมโครกรัมตอกิโลกรัม รวมกับยา

เสริมฤทธ (Domperidone) ปริมาณ 10 มิลลิกรัมตอกิโลกรัม แลวปลอยพอแมพันธุลงในบอเพาะใน

เวลา 18.00 น. ปลอยใหพอแมพันธุกบนาผสมพันธุกันเอง พอถึงตอนเชาคอยจับพอแมพันธุออกจาก

บอเพาะพันธุ

3.2.4 การเก็บขอมูล ศึกษาผลของอุณหภูมิตออัตราการรอดตาย การเจริญเติบโตดานน้ําหนักของพอแมพันธุกบนา

ลูกผสมและศึกษาผลของอุณหภูมิตออัตราการปฏิสนธิ อัตราการเพาะฟกไขกบนาลูกผสม (Hatching

Rate) และอัตราการรอดตาย (Survival Rate)

3.2.4.1 จํานวนไขกบท้ังหมด สุมตัวอยางไขกบดวยวิธีหาความหนาแนนของไขกบใน

พ้ืนท่ีขนาด กวาง 30 เซนติเมตร ยาว 30 เซนติเมตร ใหครอบคุลมในพ้ืนท่ีบอเพาะ ทําการสุมนับ 3

Page 31: 2562 - fulltext.rmu.ac.th

20

ครั้ง นํามารวมกันแลวหาคาเฉลี่ย จากนั้นจํานวนไขท่ีไดจากการสุมนําไปคูณดวยขนาดพ้ืนท่ีของบอ

เพาะ จะไดปริมาณไขกบนาลูกผสมท้ังหมดในบอเพาะพันธุ

3.2.4.2 อัตราการปฏิสนธิ (เปอรเซ็นต) ทําการนับจํานวนไขกบนาลูกผสมระยะแกสต

รูลา (เฉลิมพล เพชรรัตนและวรวิชย พรมปากดี, 2550)

อัตราการปฏิสนธิ (เปอรเซ็นต) = จํานวนไขท่ีเจริญถึงระยะแกสตรูลา x 100

..... .... จํานวนไขท้ังหมด

3.2.4.3 อัตราการฟก นับจํานวนลูกออดท่ีฟกเปนตัวและจํานวนไขท่ีเจริญถึงระยะ

แกสตรูลานํามาหาอัตราการฟกตอไป เม่ือไขฟกเปนตัว นับจํานวนลูกออดกบนาเปรียบเทียบเปนเปอร

เซ็นตกับจํานวนไขกบนาท้ังหมดในบเพาะฟก (เฉลิมพล เพชรรัตนและวรวิชย พรมปากดี, 2550)

อัตราการฟก (เปอรเซ็นต) = จํานวนลูกออดกบนาลูกผสมท่ีฟกเปนตัว (ตัว) X 100

จํานวนไขท่ีเจริญถึงระยะแกสตรูลา

3.2.4.4 อัตราการรอดตาย จํานวนพอแมพันธุกบนาลูกผสมท่ีปลอยเริ่มตน นับจํานวนพอแม

พันธุกบนาลูกผสมเม่ือสิ้นสุดการทดลอง เพ่ือหาอัตราการรอดตาย (Everhart et al., 1975)

อัตราการรอดตาย (เปอรเซ็นต) = พอแมพันธุกบนาลูกผสมท่ีเหลือรอด (ตัว) x 100

จํานวนพอแมพันธุกบนาลูกผสมท้ังหมด (ตัว)

3.2.4.5 อัตราการแลกเนื้อ บันทึกปริมาณอาหารท่ีใหกบกินท้ังหมดในแตละชุดการ

ทดลอง และทําการชั่งน้ําหนักกบพอแมพันธุท้ังหมดในแตละชุดการทดลอง เพ่ือหาคาอัตราการแลก

เนื้อ (เทพรัตน อ้ึงเศรษฐพันธ, ทิพสุคนธ พิมพิมลและธนภัทร วรปสสุ, 2554)

อัตราการแลกเนื้อ = ปริมาณอาหารท่ีใชท้ังหมด (กิโลกรัม)

น้ําหนักกบท่ีจับได (กิโลกรัม)

Page 32: 2562 - fulltext.rmu.ac.th

21

3.3 การวเิคราะหขอมูล

นําขอมูลจํานวนอัตราการฟกไขและอัตรารอดตายของกบนา ท่ีไดจากการทดลองวิเคราะห

ความแปรปรวนดวยวิธี One way Analysis of Variance และเปรียบเทียบความแตกตางระหวางคา

เฉลี่ยของชุดการ ทดลองดวยวิธี Least Significant Difference (LSD) ท่ีระดับความเชื่อม่ัน 95

เปอรเซ็นต โดยใชโปรแกรมสําเร็จรูป Statistic 8

Page 33: 2562 - fulltext.rmu.ac.th

22

บทท่ี 4

ผลการวิจัย

การศึกษาผลของอุณหภูมิตอการเพาะกบนาลูกผสมในชวงฤดูหนาวท่ีเลี้ยงในบอซีเมนต บริเวณ

พ้ืนท่ีคณะเทคโนโลยีการเกษตร มหาวิทยาลัยราชภัฏมหาสารคาม อําเภอเมือง จังหวัดมหาสารคาม

ในชวงระหวางเดือนพฤศจิกายน พ.ศ. 2560–เดือนกุมภาพันธ พ.ศ. 2561 มีผลการศึกษาดังนี้

4.1 น้ําหนักของกบพอแมพันธุ

จาการศึกษา พบวา น้ําหนักของกบพอแมพันธุกอนการทดลองและหลังการทดลองของแตละ

ชุดการทกลองไมมีความแตกตางกันในทางสถิติ (ตารางท่ี 4.1) โดยท่ีกบแมพันธุเพศเมียมีน้ําหนักตอ

ตัวกอนการทดลองอยูในชวง 361.67-401.25 กรัม และมีน้ําหนักเฉลี่ยตอตัวหลังการทดลองอยูในชวง

ระหวาง 315.00-385.00 กรัม ในขณะท่ีน้ําหนักเฉลี่ยตอตัวของกบพอพันธุเพศผูกอนการทดลองอยู

ในชวง ระหวาง 192.50-208.33 กรัม และน้ําหนักน้ําหนักเฉลี่ยตอตัวหลังการทดลองอยูในชวง

ระหวาง 172.50-203.33 กรัม

ตารางท่ี 4.1

น้ําหนักของกบพอแมพันธุกอนทําการทดลองและหลังการทดลอง ท่ีเลี้ยงในบอซีเมนตในชวงฤดูหนาว

ระหวางเดือนพฤศจิกายน พ.ศ. 2560–เดือนกุมภาพันธ พ.ศ. 2561

ชุดการทดลอง น้ําหนักกบแมพันธุ

(กรัม/ตัว)

น้ําหนักกบพอพันธุ

(กรัม/ตัว)

กอน หลัง กอน หลัง

ไมควบคุมอุณหภูมิ 380.83 315.00 204.17 172.50

ควบคุมอุณหภูมิท่ี 30 องศาเซลเซียส 401.25 340.42 208.33 175.83

ควบคุมอุณหภูมิท่ี 32 องศาเซลเซียส 361.67 361.67 192.50 192.50

ควบคุมอุณหภูมิท่ี 34 องศาเซลเซียส 384.17 384.17 202.50 202.50

ควบคุมอุณหภูมิท่ี 36 องศาเซลเซียส 385.00 385.00 203.33 203.33

F - test n.s. n.s. n.s. n.s.

C.V. (%) 4.45 8.53 9.58 13.13

หมายเหตุ. n.s. = ไมมีความแตกตางทางสถิติ

Page 34: 2562 - fulltext.rmu.ac.th

23

4.2 อัตราการรอดตายของกบพอแมพันธุ

จาการศึกษา พบวา อัตราการรอดตายของกบพอแมพันธุท่ีเลี้ยงในชวงฤดูหนาวระหวางเดือน

พฤศจิกายน พ.ศ. 2560–กุมภาพันธ พ.ศ. 2561 ของแตละชุดการทดลองไมมีความแตกตางกันในทาง

สถิติ (ตารางท่ี 4.2) โดยท่ีกบแมพันธุเพศเมียมีอัตราการรอดตายอยูในชวงระหวาง 88.33-100.00

เปอรเซ็นต และกบพอพันธุเพศผูมีอัตราการอดตายอยูในชวงระหวาง 88.33-100.00 เปอรเซ็นต ซ่ึง

จากการศึกษาพบวา การเลี้ยงกบท่ีใชเปนพอแมพันธุในชุดการทดลองท่ีควบคุมอุณหภูมิ 32-36 องศา

เซลเซียสมีแนวโนมรอดตายสูงกวาการไมควบคุมอุณหภูมิและการควบคุมอุณหภูมิท่ี 30 องศา

เซลเซียส

ตารางท่ี 4.2

ผลของอุณหภูมิตออัตราการรอดตายและอัตราการแลกเนื้อของกบพอแมพันธุ ท่ีเลี้ยงในบอซีเมนต

ในชวงฤดูหนาวระหวางเดือนพฤศจิกายน พ.ศ. 2560–เดือนกุมภาพันธ พ.ศ. 2561

ชุดการทดลอง อัตราการรอดตาย

(เปอรเซ็นต)

อัตราการแลกเนื้อ

แมพันธุ พอพันธุ แมพันธุ พอพันธุ

ไมควบคุมอุณหภูมิ 83.33 83.33 1.65a1/ 3.06

ควบคุมอุณหภูมิท่ี 30 องศาเซลเซียส 83.33 83.33 1.47ab 2.79

ควบคุมอุณหภูมิท่ี 32 องศาเซลเซียส 100.00 100.00 1.34b 2.50

ควบคุมอุณหภูมิท่ี 34 องศาเซลเซียส 100.00 100.00 1.26b 2.43

ควบคุมอุณหภูมิท่ี 36 องศาเซลเซียส 100.00 100.00 1.25b 2.43

F - test n.s. n.s. * n.s.

C.V. (%) 8.25 8.25 9.23 13.57

หมายเหตุ.

n.s. = ไมมีความแตกตางทางสถิติ

* = แตกตางกันทางสถิติท่ีระดับความเชื่อม่ัน 95 เปอรเซ็นตตามลําดับ 1/ = คาเฉลี่ยท่ีกํากับดวยอักษรตางกันในคอลัมนเดียวกันมีความแตกตางกันทางสถิติท่ีระดับความ

เชื่อม่ัน 95 เปอรเซ็นตโดยวิธี Least Significant Difference (LSD)

Page 35: 2562 - fulltext.rmu.ac.th

24

4.3 อัตราการแลกเนื้อของกบพอแมพันธุ

จาการศึกษา พบวา อัตราการแลกเนื้อของกบแมพันธุท่ีเลี้ยงในชวงฤดูหนาวระหวางเดือน

พฤศจิกายน พ.ศ. 2560–กุมภาพันธ พ.ศ. 2561 ในแตละชุดการทดลองมีความแตกตางกันในทาง

สถิติ (ตารางท่ี 4.2) โดยท่ีกบแมพันธุเพศเมียท่ีเลี้ยงในชุดการทดลองท่ีไมควบคุมอุณหภูมิ มีคาอัตรา

การแลกเนื้อ (1.65) สูงกวาชุดการทดลองท่ีควบคุมอุณหภูมิท่ี 32, 34 และ 36 องศาเซลเซียส (1.34,

1.26 และ 1.25 ตามลําดับ) ในขณะท่ีกบแมพันธุเพศเมียท่ีเลี้ยงในชุดการทดลองท่ีควบคุมอุณหภูมิท่ี

30 องศาเซลเซียส มีคาอัตราการแลกเนื้อ (1.47) ไมแตกตางไปจากชุดการทดลองท่ีไมควบคุม

อุณหภูมิ และชุดการทดลองท่ีควบคุมอุณหภูมิ 32, 34 และ 36 องศาเซลเซียส

อยางไรก็ตามไมพบความแตกตางในทางสถิติของอัตราการแลกเนื้อของกบพอพันธุเพศผู

(ตารางท่ี 4.2) โดยท่ีกบพอพันธุเพศผูมีอัตราการแลกเนื้ออยูระหวาง 2.43-3.06 ซ่ึงการเลี้ยงกบพอ

พันธุเพศผูในชุดการทดลองท่ีไมมีการควบคุมอุณหภูมิมีแนวโนมใหคาอัตราการแลกเนื้อสูงกวาการ

เลี้ยงในชุดการลดลองควบคุมอุณหภูมิท่ี 30, 32, 34 และ36 องศาเซลเซียส (3.06, 2.79, 2.50, 2.43

และ 2.43 ตามลําดับ)

4.4 จํานวนไขกบทั้งหมด

จากการศึกษาผลของอุณหภูมิตอการออกไขและจํานวนไขกบท้ังหมดของกบแมพันธุเพศเมีย

พบวา กบแมพันธุท่ีเลี้ยงในชุดการทดลองท่ีไมไดควบคุมอุณหภูมิในชวงฤดูหนาวไมมีการออกไข

ขณะท่ีกบแมพันธุเพศเมียท่ีเลี้ยงในชุดการทดลองท่ีควบคุมอุณหภูมิท่ี 30, 32, 34 และ 36 องศา

เซลเซียส มีการออกไขท้ังหมด โดยมีจํานวนไขท้ังหมด เทากับ 920.33, 814.00, 1,876.70 และ

2,474.70 ฟอง ตามลําดับ (ตารางท่ี 4.3) หรือคิดเปน 306.77, 209.17, 469.17 และ 618.67 ฟอง

ตอตัว ตามลําดับ ซ่ึงการเลี้ยงกบแมพันธุในชุดการทดลองท่ีควบคุมอุณหภูมิท่ี 34 และ 36 องศา

เซลเซียส มีแนวโนมใหจํานวนไขท้ังหมดสูงเม่ือเทียบกับการเลี้ยงกบแมพันธุในชุดการทดลองควบคุม

อุณหภูมิท่ี 30 และ 32 องศาเซลเซียส

4.5 จํานวนไขกบที่ไมไดรับการปฏิสนธ ิ

จากการศึกษาผลของอุณหภูมิตอจํานวนไขกบท่ีไมไดรับการปฏิสนธิ พบวา จํานวนไขกบ

ท้ังหมดท่ีไมไดรับการปฏิสนธิในชุดการทดลองท่ีควบคุมอุณหภูมิท่ี 36 องศาเซลเซียส มีแนวโนมสูงสุด

เทากับ 1,340.00 ฟอง หรือคิดเปน 54.1 เปอรเซ็นต (ตารางท่ี 4.4) รองลงมาคือ ชุดการทดลองท่ี

Page 36: 2562 - fulltext.rmu.ac.th

25

ควบคุมอุณหภูมิท่ี 34 องศาเซลเซียส (655.33 ฟอง หรือคิดเปน 34.9 เปอรเซ็นต) ชุดการทดลองท่ี

ควบคุมอุณหภูมิท่ี 30 องศาเซลเซียส (354.33 ฟอง หรือคิดเปน 38.5 เปอรเซ็นต) และ ชุดการ

ทดลองท่ีควบคุมอุณหภูมิท่ี 32 องศาเซลเซียส (33.33 ฟอง หรือคิดเปน 4.1 เปอรเซ็นต) ตามลําดับ

ตารางท่ี 4.3

ผลของอุณหภูมิตอจํานวนไขตอตัวและจํานวนไขท้ังหมด ของกบแมพันธุท่ีเลี้ยงในบอซีเมนตในชวงฤดู

หนาวระหวางเดือนพฤศจิกายน พ.ศ. 2560–เดือนกุมภาพันธ พ.ศ. 2561

ชุดการทดลอง จํานวนไขตอตัว

(ฟอง/ตัว)

จํานวนไขท้ังหมด

(ฟอง)

ไมควบคุมอุณหภูมิ 0 0

ควบคุมอุณหภูมิท่ี 30 องศาเซลเซียส 306.77 920.33

ควบคุมอุณหภูมิท่ี 32 องศาเซลเซียส 209.17 814.00

ควบคุมอุณหภูมิท่ี 34 องศาเซลเซียส 469.17 1,876.70

ควบคุมอุณหภูมิท่ี 36 องศาเซลเซียส 618.67 2,474.70

F - test ns ns

C.V. (%) 153.56 153.18

หมายเหตุ. ns = ไมมีความแตกตางทางสถิติ

4.6 จํานวนไขกบที่ไดรับการปฏิสนธิและอัตราการปฏิสนธิ

จากการศึกษาผลของอุณหภูมิตอจํานวนไขกบท่ีไดรับการปฏิสนธิ พบวา จํานวนไขกบในชุด

การทดลองท่ีควบคุมอุณหภูมิท่ี 34 องศาเซลเซียส มีแนวโนมไดรับการปฏิสนธิมากท่ีสุด เทากับ

1,221.30 ฟอง หรือคิดเปนอัตราการปฏิสนธิ เทากับ 65.1 เปอรเซ็นต (ตารางท่ี 4.4) รองลงมาคือ ไข

กบในชุดการทดลองควบคุมอุณหภูมิท่ี 36 องศาเซลเซียส (1,134.70 ฟอง หรือคิดเปนอัตราการ

ปฏิสนธิ เทากับ 45.9 เปอรเซ็นต) ชุดการทดลองควบคุมอุณหภูมิท่ี 32 องศาเซลเซียส (780.67 ฟอง

หรือคิดเปนอัตราการปฏิสนธิ เทากับ 95.9 เปอรเซ็นต) และ ชุดการทดลองควบคุมอุณหภูมิท่ี 30

องศาเซลเซียส (566.00 ฟอง หรือคิดเปนอัตราการปฏิสนธิ เทากับ 61.5 เปอรเซ็นต) ตามลําดับ

Page 37: 2562 - fulltext.rmu.ac.th

26

4.7 อัตราการฟก

จากการศึกษาผลของอุณหภูมิตออัตราการฟกของกบนาลูกผสม พบวา การควบคุมอุณหภูมิท่ี

30-36 องศาเซลเซียส ทําใหมีอัตราการฟกอยูในชวงระหวา 45.9-95.9 เปอรเซ็นต (ตารางท่ี 4.4) โดย

ท่ีไขกบในชุดการทดลองท่ีควบคุมอุณหภูมิท่ี 32 องศาเซลเซียส มีแนวโนมใหอัตราการฟกสูงท่ีสุด

เทากับ 95.9 เปอรเซ็นต รองลงมาคือ การควบคุมอุณหภูมิท่ี 34 องศาเซลเซียส และการควบคุม

อุณหภูมิท่ี 30 องศาเซลเซียส มีอัตราการฟก 65.1 และ 61.5 เปอรเซ็นต ตามลําดับ ขณะท่ีการ

ควบคุมอุณหภูมิท่ี 36 องศาเซลเซียส มีแนวโนมใหอัตราการฟกต่ํา เทากับ 45.9 เปอรเซ็นต

ตารางท่ี 4.4

ผลของอุณหภูมิตอจํานวนไขกบท่ีไมไดรับการปฏิสนธิ จํานวนไขกบท่ีไดรับการปฏิสนธิ และอัตราการ

ฟกของกบนาลูกผสม ท่ีเลี้ยงในบอซีเมนตในชวงฤดูหนาวระหวางเดือนพฤศจิกายน พ.ศ. 2560–เดือน

กุมภาพันธ พ.ศ. 2561

ชุดการทดลอง จํานวนไขกบท่ี

ไมไดรับการ

ปฏิสนธิ (ฟอง)

จํานวนไขกบท่ี

ไดรับการปฏิสนธิ

(ฟอง)

อัตรา

การฟก

(เปอรเซ็นต)

ไมควบคุมอุณหภูมิ 0 0 0

ควบคุมอุณหภูมิท่ี 30 องศาเซลเซียส 354.33 (38.5) 566.00 (61.5) 61.5

ควบคุมอุณหภูมิท่ี 32 องศาเซลเซียส 33.33 (4.1) 780.67 (95.9) 95.9

ควบคุมอุณหภูมิท่ี 34 องศาเซลเซียส 655.33 (34.9) 1,221.30 (65.1) 65.1

ควบคุมอุณหภูมิท่ี 36 องศาเซลเซียส 1,340.00 (54.1) 1,134.70 (45.9) 45.9

F - test ns ns ns

C.V. (%) 187.57 144.38 144.38

หมายเหตุ. ตัวเลขในวงเล็บคือเปอรเซ็นตไขท่ีไมไดรับการผสม

Page 38: 2562 - fulltext.rmu.ac.th

27

บทท่ี 5 สรุป อภิปรายผล และขอเสนอแนะ

5.1 สรุปผลการวิจัย

จากการศึกษาผลของอุณหภูมิท่ีเหมาะสมตอการเพาะพันธุกบนาลูกผสมในฤดูหนาว สามารถสรุปผลการทดลองไดดังนี้ 5.1.1 การเลี้ยงกบนาลูกผสมท่ีใชเปนพอแมพันธุในบอซีเมนตในชวงฤดูหนาว ในสภาพท่ีไมมีการควบคุมอุณหภูมิ และในสภาพท่ีมีการควบคุมอุณหภูมิท่ี 30, 32, 34 และ 36 องศาเซลเซียส ไมมีผลทําใหอัตราการรอดตายของกบพอแมพันธุแตกตางกัน 5.1.2 การเลี้ยงกบนาลูกผสมท่ีใชเปนพอแมพันธุในบอซีเมนตในชวงฤดูหนาว ในสภาพท่ีไมมีการควบคุมอุณหภูมิ และในสภาพท่ีควบคุมอุณหภูมิท่ี 30, 32, 34 และ 36 องศาเซลเซียส ไมมีผลทําใหการเจริญเติบโตในดานน้ําหนักของกบพอแมพันธุแตกตางกัน ขณะท่ีอัตราการแลกเนื้อของกบแมพันธุมีความแตกตางกันในทางสถิติ โดยท่ีกบแมพันธุเพศเมียท่ีเลี้ยงในสภาพไมควบคุมอุณหภูมิมีคาอัตราการแลกเนื้อสูงกวากบแมพันธุท่ีเลี้ยงโดยควบคุมอุณหภูมิท่ี 32, 34 และ 36 องศาเซลเซียส สวนอัตราการแลกเนื้อของกบพอพันธุเพศผูไมมีความแตกตางกันในทางสถิติ 5.1.3 กบแมพันธุเพศเมียท่ีเลี้ยงในสภาพท่ีไมไดควบคุมอุณหภูมิในชวงฤดูหนาวจะไมมีการออกไข ในขณะท่ีกบแมพันธุเพศเมียท่ีเลี้ยงในสภาพท่ีมีการควบคุมอุณหภูมิท่ี 30, 32, 34 และ 36 องศาเซลเซียส มีการออกไขท้ังหมด การเลี้ยงกบแมพันธุในสภาพท่ีควบคุมอุณหภูมิท่ี 34 และ 36 องศาเซลเซียส มีแนวโนมใหจํานวนไขท้ังหมดสูงเม่ือเทียบกับการเลี้ยงกบแมพันธุในชุดการทดลองควบคุมอุณหภูมิท่ี 30 และ 32 องศาเซลเซียส 5.1.4 จํานวนไขกบของแมพันธุ ท่ี เลี้ยงในสภาพควบคุมอุณหภู มิท่ี 34 องศาเซลเซียส มีแนวโนมไดรับการปฏิสนธิมากท่ีสุด เทากับ 1,221.30 ฟองหรือคิดเปนอัตราการปฏิสนธิ 65.1 เปอรเซ็นต รองลงมาคือ ในสภาพควบคุมอุณหภูมิท่ี 36 องศาเซลเซียส จํานวน 1,134.70 ฟองหรือคิดเปนอัตราการปฏิสนธิ 45.9 เปอรเซ็นต ควบคุมอุณหภูมิท่ี 32 องศาเซลเซียส จํานวน 780.67 ฟองหรือคิดเปนอัตราการปฏิสนธิ 95.9 เปอรเซ็นต และ ควบคุมอุณหภูมิท่ี 30 องศาเซลเซียส จํานวน 566.00 ฟองหรือคิดเปนอัตราการปฏิสนธิ 61.5 เปอรเซ็นต 5.1.5 การเลี้ยงกบพอแมพันธุท่ีมีการควบคุมอุณหภูมิท่ี 30-36 องศาเซลเซียส ทําใหมีอัตราการฟกอยูในชวงระหวา 45.9-95.9 เปอรเซ็นต ซ่ึงการทดลองท่ีควบคุมอุณหภูมิท่ี 32 องศาเซลเซียสมีแนวโนมใหอัตราการฟกสูงท่ีสุด เทากับ 95.9 เปอรเซ็นต รองลงมาคือ การควบคุมอุณหภูมิท่ี 34 องศาเซลเซียส และการควบคุมอุณหภูมิท่ี 30 องศาเซลเซียส มีอัตราการฟก 65.1 และ 61.5 เปอรเซ็นต ตามลําดับ ในขณะท่ีการควบคุมอุณหภูมิท่ี 36 องศาเซลเซียส มีแนวโนมใหอัตราการฟกต่ํา เทากับ 45.9 เปอรเซ็นต

Page 39: 2562 - fulltext.rmu.ac.th

28

5.2 อภิปรายผล จากการวัดอุณหภูมิสูงสุดและต่ําสุดในชวงฤดูหนาวระหวางการทดลองพบวา อุณหภูมิสูงสุดและตํ่าสุดในชวงเดือนพฤศจิกายน พ.ศ. 2560 มีอุณหภูมิสูงสุดเฉลี่ย 31.1 องศาเซลเซียส และอุณหภูมิต่ําสุดเฉลี่ย 19.7 องศาเซลเซียส เดือนธันวาคม พ.ศ. 2560 มีอุณหภูมิสูงสุดเฉลี่ย 28.9 องศาเซลเซียส และอุณหภูมิต่ําสุดเฉลี่ย 17.8 องศาเซลเซียส เดือนมกราคม พ.ศ. 2561 มีอุณหภูมิสูงสุดเฉลี่ย 30.6 องศาเซลเซียส และอุณหภูมิต่ําสุดเฉลี่ย 19.1 องศาเซลเซียส และเดือนกุมภาพันธ พ.ศ. 2561 มีอุณหภูมิสูงสุดเฉลี่ย 31.2 องศาเซลเซียส และอุณหภูมิต่ําสุดเฉลี่ย 19.0 องศาเซลเซียส เห็นไดวาอุณหภูมิสูงสุดเฉลี่ยในชวงฤดูหนาวอยูท่ี 28.9-31.2 องศาเซลเซียส ซ่ึงอุณหภูมิสูงสุดเฉลี่ยมีความใกลเคียงกันกับชุดการทดลองท่ีควบคุมอุณหภูมิท่ี 30 องศาเซลเซียส และอุณหภูมิสูงสุดเฉลี่ยมีคาต่ํากวาชุดการทดลองท่ีควบคุมอุณหภูมิ 32,34 และ 36 องศาเซลเซียส ในขณะท่ีอุณหภูมิต่ําสุดเฉลี่ยอยูท่ี 17.8-19.7 องศาเซลเซียส แสดงใหเห็นวา อุณหภูมิท่ีควบคุมภายในหนวยทดลองท่ีใชเลี้ยงพอแมพันธุกบนาลูกผสมชวงฤดูหนาวมีคาสูงกวาอุณหภูมิเฉลี่ยภายนอกหนวยทดลอง และจากการศึกษาผลของอุณหภูมิท่ีเหมาะสมตอการเพาะพันธุกบนาลูกผสมในฤดูหนาวเห็นไดวาการเลี้ยงกบนาลูกผสมในชวงฤดูหนาวเพ่ือใชเปนพอแมพันธุสําหรับการเพาะพันธุกบในชวงฤดูหนาวนั้น พบวาอัตราการรอดตายของกบพอแมพันธุท่ีเลี้ยงในบอซีเมนตโดยท่ีไมมีการควบคุมอุณหภูมิกับอัตราการรอตายของกบพอแมพันธุท่ีเลี้ยงในสภาพท่ีมีการควบคุมอุณหภูมิท่ี 30,32,34 และ 36 องศาเซลเซียส ไมมีความแตกตางกันในทางสถิติ (ตารางท่ี 4.2) ซ่ึงชี้ใหเห็นวาชวงอุณหภูมิเฉลี่ยสูงสุดและต่ําสุด ระหวาง 28.9-31.2 และ 17.8-19.7 องศาเซลเซียส ไมมีผลทําใหอัตราการรอดตายของกบพอแมพันธุแตกตางกัน เม่ือเปรียบเทียบการเจริญเติบโตในดานน้ําหนักของกบพอแมพันธุท่ีเลี้ยงในชวงฤดูหนาว พบวาไมมีความแตกตางกันระหวางกบพอแมพันธุท่ีเลี้ยงในสภาพไมควบคุมอุณหภูมิกับกบพอแมพันธุท่ีเลี้ยงในสภาพควบคุมอุณหภูมิท่ี 30,32,34 และ 36 องศาเซลเซียส โดยกบนาลูกผสมท่ีใชเปนแมพันธุมีน้ําหนักตัวเฉลี่ยอยูในชวงระหวาง 360-401 กรัม และพอพันธุมีน้ําหนักตัวเฉลี่ยอยูระหวาง 192-208 กรัม ซ่ึงเหมาะสมท่ีจะนํามาใชเปนพอแมพันธุ กบนาเพศเมียท่ีใชเปนแมพันธุควรมีน้ําหนักอยูในชวงระหวาง 200-400 กรัม (สุทธิลักษณ อําพันวงศ, 2548; กรมประมง, 2558) แตเม่ือพิจารณาถึงอัตราการแลกเนื้อเห็นไดวากบพอแมพันธุท่ีเลี้ยงในสภาพท่ีไมไดควบคุมอุณหภูมิมีแนวโนมใหคาอัตราการแลกเนื้อคอนขางสูงกวากบพอแมพันธุท่ีเลี้ยงในสภาพท่ีควบคุมอุณหภูมิระหวาง 30-36 องศาเซลเซียส (ตารางท่ี 4.2) แสดงใหเห็นวากบพอแมพันธุท่ีเลี้ยงในสภาพท่ีไมมีการควบคุมอุณหภูมินั้นกบจะใชอาหารเพ่ือนําไปสรางพลังงานเพ่ือการอยูรอดในชวงฤดูหนาว แทนท่ีจะนําอาหารไปใชในการเจริญเติบโต หรือนําไปใชในการสรางไขและการพัฒนาของไขใหพรอมสําหรับการผสมพันธุ ซ่ึงสอดคลองกับผลของการเลี้ยงกบพอแมพันธุในชุดการทดลองท่ีไมไดควบคุมอุณหภูมินั้นกบแมพันธุจะไมมีการสรางไขหรือรังไขไมมีการพัฒนาท่ีสมบูรณ ในขณะท่ีเลี้ยงในชุดการทดลองท่ีควบคุมอุณหภูมิ 30,32,34 และ 36 องศาเซลเซียสนั้นกบแมพันธุมีการสรางไขและมีการออกไขทุกชุดการทดลอง ท้ังนี้อาจเนื่องมาจากผลของอุณหภูมิท่ีมีตอการเจริญเติบ การสรางไขและพัฒนาการของไข ชี้ใหเห็นวากบแมพันธุมีการสรางไขและสามารถพัฒนาไขใหสมบูรณไดในชวงอุณหภูมิท่ี 30-36 องศาเซลเซียส

Page 40: 2562 - fulltext.rmu.ac.th

29

ขณะท่ีกบพอพันธุมีการสรางน้ําเชื้อและพัฒนาอสุจิหรือเสปรม (Sperm) ใหแข็งแรงสมบูรณ ดังนั้นจึงมีผลทําใหกบพอแมพันธุท่ีเลี้ยงโดยควบคุมอุณหภูมิท่ี 30, 32, 34 และ 36 องศาเซลเซียส มีการออกไขและปฏิสนธิใหลูกกบในชวงฤดูหนาว ขณะท่ีพอแมพันธุกบท่ีเลี้ยงในสภาพไมไดควบคุมอุณหภูมิไมมีการออกไขและปฏิสนธิ ซ่ึงสอดคลองกับผลการศึกษาในครั้งนี้ท่ีพบวา การเลี้ยงกบพอแมพันธุในชุดการทดลองท่ีควบคุมอุณหภูมิท่ี 34 องศาเซลเซียส มีแนวโนมใหจํานวนไขท้ังหมดมากท่ีสุด รองลงมาคือ กบพอแมพันธุท่ีเลี้ยงในชุดการทดลองควบคุมอุณหภูมิท่ี 36 องศาเซลเซียส ชุดการทดลองควบคุมอุณหภูมิท่ี 32 องศาเซลเซียส และชุดการทดลองควบคุมอุณหภูมิท่ี 30 องศาเซลเซียส ตามลําดับ ขณะท่ีชุดการทดลองท่ีเลี้ยงกบในสภาพไมไดควบคุมอุณหภูมิพอแมพันธุกบไมมีการออกไข นอกจากนี้ยังพบวาการเลี้ยงกบพอแมพันธุท่ีมีการควบคุมอุณหภูมิท่ี 30-36 องศาเซลเซียส ทําใหมีอัตราการฟกของไขท่ีปฏิสนธิอยูในชวงระหวา 45.9-95.9 เปอรเซ็นต ซ่ึงการเลี้ยงกบในสภาพควบคุมอุณหภูมิท่ี 32 องศาเซลเซียสมีแนวโนมใหอัตราการฟกสูงท่ีสุด เทากับ 95.9 เปอรเซ็นต รองลงมาคือ การควบคุมอุณหภูมิท่ี 34 องศาเซลเซียส และการควบคุมอุณหภูมิท่ี 30 องศาเซลเซียส มีอัตราการฟก 65.1 และ 61.5 เปอรเซ็นต ตามลําดับ ในขณะท่ีการควบคุมอุณหภูมิท่ี 36 องศาเซลเซียส มีแนวโนมใหอัตราการฟกต่ํา เทากับ 45.9 เปอรเซ็นต จากการศึกษาในครั้งนี้ชี้ใหเห็นวาการเลี้ยงพอแมพันธุกบนาลูกผสมในชวงฤดูหนาวเพ่ือการเพาะพันธุขยายกบนาลูกผสมสามารถทําได และการควบคุมอุณหภูมิท่ีเหมาะสมตอการเพาะขยายพันธุกบนาลูกผสมในฤดูหนาวควรอยูในชวงระหวาง 30-36 องศาเซลเซียส

5.3 ขอเสนอแนะ 5.3.1 ขอเสนอแนะเพ่ือนําผลการวิจัยไปใช จากการศึกษาผลของอุณหภูมิท่ีเหมาะสมตอการเพาะพันธุกบนาลูกผสมในฤดูหนาวในครั้งในครั้งนี้ สามารถนําไปถายทอดเทคนิคการควบคุมอุณหภูมิและสงเสริมใหเกษตรกรเพาะขายพันธุกบในชวงฤดูหนาวได ซ่ึงในชวงดังกลาวลูกกบมีไมเพียงพอกับความตองการของตลาดและมีราคาแพง รวมท้ังถายทอดเทคนิควิธีการดูแลพอแมพันธุกบในชวงฤดูหนาว 5.3.2 ขอเสนอแนะเพ่ือทําการวิจัยครั้งตอไป เพ่ือใหการศึกษาผลของอุณหภูมิท่ีเหมาะสมตอการเพาะพันธุกบนาลูกผสมในฤดูหนาวในครั้งตอไปมีความสมบูรณมากยิ่งข้ึน ควรมีการศึกษาเพ่ิมเติมในประเด็นตาง ๆ ดังตอไปนี้ 5.3.2.1 ควรมีเก็บขอมูลคุณภาพของน้ําท่ีใชเลี้ยงพอแมพันธุกบนาลูกผสม เชน คา pH คา DO ความชื้นสัมพัทธของอากาศ และอุณหภูมิของน้ําท่ีใชเลี้ยงกบ เปนตน 5.3.2.2 ควรมีการศึกษาการพัฒนาระบบเซลลสืบพันธุกบนาลูกผสมเพศผูและเพศเมีย 5.3.2.3 ควรมีศึกษาการอนุบาลและเลี้ยงลูกกบท่ีไดจากการเพาะพันธุเพ่ือดูอัตราการรอดและการเจริญเติบโตของลูกกบ 5.3.2.4 ควรมีศึกษาอัตราการออกไขในกบนาลูกผสมท่ีเปนแมพันธุตลอดท้ังป

Page 41: 2562 - fulltext.rmu.ac.th

30

บรรณานุกรม

Page 42: 2562 - fulltext.rmu.ac.th

31

บรรณานุกรม

กรมประมง. (2556). สถิติการประมงแหงประเทศไทย พ.ศ. 2556. ศูนยเทคโนโลยีสารสนเทศและ

การสื่อสาร กรมประมง กระทรวงเกษตรและสหกรณ. เอกสารฉบับท่ี 7/2558

กรมประมง. (2558). สถิติผลผลิตการเลี้ยงสัตวน้ําจืด ประจําป 2556. กรุงเทพฯ : กลุมวิจัยและ

วิเคราะหสถิติ

กรมประมง. (2558). การเลี้ยงกบ. กรุงเทพฯ : กระทรวงเกษตรและสหกรณ.

กรมประมง. (2561). การเพาะเลี้ยงกบ. กรุงเทพฯ : โรงพิมพชุมนุมสหกรณการเกษตรแหงประเทศ

ไทยจํากัด.

กรมประมง. (2559). การเลี้ยงกบ. ศูนยวิจัยและพัฒนานครราชศรีมา กรุงเทพฯ :

กระทรวงเกษตรและสหกรณ.

เฉลิมพล เพรชรัตน และวรวิทย พรมปากดี. (2550). การเพาะพันธุปลาหลด. นักวิจัยและพัฒนา

ประมง น้ําจืด กรมประมง กระทรวงเกษตรและสหกรณ.

ทองยุน ทองคลองไทร, อุไร กุลบุญ และ สุนทร ศรีสารคาม. (2547). การเพาะพันธุกบลูกผสม

(กบนา x กบจาน) รุนท่ี 1. กาฬสินธุ : สถาบันเทคโนโลยีราชมงคล วิทยาเขตกาฬสินธุ.

ทองยุน ทองคลองไทร. 2551. การปรับปรุงพันธุกบนา. วารสารวิจัยเทคโนโลยีการประมง. ป ที 2

เลมที 1 หนา 93 –101

เทพรัตน อ้ึงเศรษฐพันธ, ทิพสุคนธ พิมพพิมล และธนภัทร วรปสสุ. (2554). การอนุบาลลูกปลาหมอ

ในกระชังดวยสูตรอาหารและความหนาแนนท่ีตางกัน. วารสารวิจัยเทคโนโลยีการประมง.

5(2) 1-26.

นิรนาม. (2560). การเพาะพันธุกบ. สืบคนจาก http://www.obobfarm.com/FrogFarm

เขาถึงเม่ือ 20 เมษายน พ.ศ. 2561.

นิรนาม. (2562). การเจริญเติบโตของสัตว. สืบคนจาก

https://www.trueplookpanya.com/learning เขาถึงเม่ือ 20 เมษายน พ.ศ. 2562.

ปรียานันท มวลเมืองสอง สาธิต อดิตโต และพัชรี สุริยะ. (2557). การผลิตและการตลาดฟารมกบ ใน

อําเภอเมือง จังหวัดเลย. วารสารเกษตรพระวรุณ. ปท่ี 11 ฉบับท่ี 1 หนา 65-72.

ปราโมทย เกษแกว. (2554). การผสมพันธุกบนอกฤดู.สืบคนเม่ือวันท่ี 20 กุมภาพันธ 2562. จาก

https://www.rakbankerd.com/agriculture

ผุสตี ปริยานนท, สุดสนอง ผาตินาวิน, กัมพล อิศรางกูร ณ อยุธยา, นงเยาว จันทรผอง, ธีรวรรณ

นุตประพันธ และ วิโรจน ดาวฤกษ. (2532). การพัฒนาการทําฟารมเลี้ยงกบและการใช

เทคโนโลยีในการเลี้ยงโดยวิธีผสมผสาน : รายงานวิจัย. กรุงเทพฯ : จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย.

Page 43: 2562 - fulltext.rmu.ac.th

32

ผุสตี ปริยานนท และ ธีรวรรณ นุตประพันธ. (2535). การใชสารสังเคราะห GnRH analogue ชักนํา

ใหกบบูลฟร็อก (Rana catesbeiana) ผสมพันธุในบอเลี้ยง.กรุงเทพฯ : มหาวิทยาลัย

เกษตรศาสตร. กระทรวงเกษตรและสหกรณ . กระทรวงวิทยาศาสตรเทคโนโลยีและ

การพลังงาน.

พนวสันต เอ่ียมจันทน, วิโรจน ดาวฤกษ และ ผุสตี ปริยานนท. (2532). การขยายพันธุกบนา (Rana

Tigerina) โดยวิธี ธรรมชาติ ในสภาพ พ้ืน ท่ีดินทราย . การประชุมทางวิชาการของ

มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร ครั้งท่ี 27 30 มกราคม - 1 กุมภาพันธ 2532 สาขาวิทยาศาสตร

สาขาอุตสาหกรรมเกษตร สาขาวิศวกรรมศาสตร, หนา 303-310.

ยงยุทธ ทักษิญ. (2556). เทคนิคการเลี้ยงกบนาเชิงพาณิชย. กรุงเทพฯ : กรมประมง.

วุฒิ รัตนวิชัย. (2548). ผลของจุลินทรียอีเอ็มในการอนุบาลลูกออดกบนา. วิทยานิพนธวิทยาศาสตร

มหาบัณฑิต (เกษตรศาสตร). มหาวิทยาลัยขอนแกน.83 หนา.

วินัย จั่นทับทิม นงนุช สุวรรณเพ็ง และ สกลศักดิ์ เสริมศรี. (2553). การเพาะและอนุบาลกบนา

Rana rugulosa (Wiegmann) ในบอดินผนังคอนกรีต ศูนยวิจัยและพัฒนาประมงน้ําจืด

รอยเอ็ด

ศุภชัย ใหมศิร.ิ (2554). การเลี้ยงกบ. ชมรมผูเลี้ยงกบแหงประเทศไทย : กรุงเทพฯ.

ศูนยสงเสริมและฝกอบรมการเกษตรแหงชาติ. (2543). การเลี้ยงกบ. สํานักงานสงเสริมและฝกอบรม

มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร วิทยาเขตกําแพงแสน นครปฐม. สืบคนเม่ือวันท่ี 20 กุมภาพันธ

2562. จาก https://www.baanjomyut.com/library_5/agricultural_knowledge

สุทธิลักษณ อําพันวงศ . (2548). การเลี้ยงกบ. กรุงเทพฯ : สถาบันวิทยบริการจุฬาลงกรณ

มหาวิทยาลัย.

อุดมศรี โชวพิทธพรชัย. (2543). ผลของการใช synthetic GnRH agonist ในการเพาะพันธุกบนา

(Rana tigerina).วารสารวิทยาศาสตร มศว. หนา 99-106.

Dani, N.P.B. Baliga, S.B. Kadkol and N.Z. Lahiry. (1996). Proximate Composition and

Nutritive Value of leg meat of two edible spicies of frogs, Rana hexadactyla

and R. tigerina. Jur. Of Food Sci. and Techn. 3(2) : 109-110.

Everhart, W.H., W.E. Alfred and D.Y. William. ( 1975) . Principles of Fishery Science.

Cornell University Press, London. 288p.Ricker, W.E. 1958. Handbook of

computations of biological statistics of fish population. Bull. Fish. Res.

Board.Can. No.119. 300 p.

Thongyun Thongkhlongsai and Withaya Kingko. (2001). Study on breeding technique

of Frogs (Rana tigerina) http://agris.fao.org/agris-search/search.

Page 44: 2562 - fulltext.rmu.ac.th

33

ภาคผนวก

Page 45: 2562 - fulltext.rmu.ac.th

34

ภาคผนวก

ภาพในการทําการทดลอง

Page 46: 2562 - fulltext.rmu.ac.th

35

ภาพท่ี ก.1 บอควบคุมอุณหภูมิพอแมพันธุกบ

ภาพท่ี ก.2 การเขาคูผสมพันธุกบนาลกูผสม

Page 47: 2562 - fulltext.rmu.ac.th

36

ภาพท่ี ก.3 ไขกบนาลูกผสม

Page 48: 2562 - fulltext.rmu.ac.th

37

ภาพท่ี ก.4 ลูกกบท่ีฟกเปนตัว

Page 49: 2562 - fulltext.rmu.ac.th

ประวัติผูวิจัย ช่ือ วาท่ีรอยตรีวุธเมธี วรเสริม วัน เดือน ป เกิด เกิดวันท่ี 1 เมษายน 2527 อายุ 35 ป ท่ีอยูปจจุบัน เลขท่ี 30 หมูท่ี 8

ตําบลแพง อําเภอโกสุมพิสัย จังหวัดมหาสารคาม สถานท่ีทํางาน คณะเทคโนโลยีการเกษตรมหาวิทยาลัยราชภัฏมหาสารคาม ตําแหนง นักวิทยาศาสตร ประจําสาขาวิชาเทคโนโลยีการเพาะเลี้ยงสัตวน้ํา หนวยงาน คณะเทคโนโลยีการเกษตรมหาวิทยาลัยราชภัฏมหาสารคาม 44000

โทรศัพท/โทรสาร 0-4372-5439 E-mail: [email protected]

ประวัติการศึกษา

พ.ศ. 2546 วิทยาศาสตรบัณฑิต (ว.ทบ.) สาขาวิชาเกษตรศาสตร มหาวิทยาลัยราชภัฏมหาสารคาม

พ.ศ. 2562 วิทยาศาสตรมหาบัณฑิต (ว .ทม .) สาขาวิชาเทคโนโลยีการเกษตร มหาวิทยาลัยราชภัฏมหาสารคาม