7
คําแนะนําในการเขียนบทความที่ดี ทนง โชติสรยุทธ บริษัท ซีเอ็ดยูเคชั่น จํากัด (มหาชน) จัดพิมพครั้งแรก ..2524 การเขียนบทความ คืออีกกลไกหนึ่งที่จะทําใหทานไดมีโอกาสถายทอดความรู และ ประสบการณ ใหแกคนในชาติไดในวงกวาง ลองทําตามคําแนะนํา แลวทานจะพบวามัน ไมยากอยางที่เคยคิด และทานก็จะกลายเปนอีกทรัพยากรหนึ่ง ที่มีคุณคายิ่งสําหรับ สังคมไทย การเขียนบทความนั้น เปนศิลปะอยางหนึ่ง เพราะการเขียนบทความ ก็คือ การใชตัวอักษรเปนสื่อระหวาง ผูเขียนและผูอาน เพื่อถายทอดขอความหรือสาระบางอยาง ที่ผูเขียนตองการใหผูอานไดรูไดเขาใจ เพียงแตวาความ พยายามของผูเขียนจะประสบผลสําเร็จอยางที่ตองการไดมากนอยเพียงใดเทานั้นเอง ถาประสบความสําเร็จ เราก็ มักจะถือวาเปนบทความที่ดี การเขียนบทความที่ดี ไมไดหมายความวาจําเปนตองใชภาษาที่เลอเลิศ หรือใชวลีที่หยดยอยเหมือนอยางใน บทกวีหรือในนวนิยาย สิ่งที่เราตองการมีเพียงวา เปนบทความที่อานแลวเขาใจไดงาย และชัดเจนเพียงพอที่ผูอานจะ ไดรับสาระอยางที่ผูเขียนตองการ ดังนั้น แมวาการเขียนบทความใหดีจริงๆ นั้น จะไมใชเรื่องงาย แตก็ไมไดยากเย็น แสนเข็ญอยางที่หลายทานเคยคิดเอาไว จากประสบการณที่ผานมา นักเขียนกวา 80 % ที่เขียนบทความลงในวารสาร ไมเคยเขียนบทความมากอนเลย และก็ไมเคยมั่นใจมากอนวาตนเองจะเขียนไดดี แตแรงดลใจที่อยากจะชวยกัน เผยแพรความรู อยากจะใหคนอื่นไดรูในสิ่งที่ตนรูและคิดวาเปนประโยชน ตลอดจนการไดทดลองเขียนและปรับปรุง ขอบกพรองอยูเสมอ ความเปนนักเขียนที่ดีจึงถูก สรางขึ้นมาไดเปนผลสําเร็จ ผมมั่นใจวาคนสวนใหญจะเขียนบทความไดดีกันทั้งนั้น ถามีคุณสมบัติขั้นตนเพียง 3 ประการ ประการแรก ตองมีความตั้งใจ และกลาที่จะเขียน ประการที่สอง ตองเต็มใจ และยินดีที่จะทํางานหนัก ประการที่สาม ตองรูและปฏิบัติตามแนวทางบางอยาง ทานทั้งหลายที่อานมาถึงตรงนี้อาจจะมีคุณสมบัติ 2 ประการแรกโดยสมบูรณอยูแลวในตัว เพียงแตวาบาง ทานอาจจะยังไมเคยเขียนบทความเชิงวิชาการเผยแพรสูนักอานทั่วไป และยังไมทราบวาจะเริ่มตนการเขียนบทความ อยางไรดี สงวนลิขสิทธิ..2524 โดย บริษัท ซีเอ็ดยูเคชั่น จํากัด (มหาชน) 1

คำแนะนำในการเขียนบทความที่ดี

Embed Size (px)

DESCRIPTION

 

Citation preview

Page 1: คำแนะนำในการเขียนบทความที่ดี

คําแนะนําในการเขียนบทความที่ดี

ทนง โชติสรยุทธ บริษัท ซีเอ็ดยูเคชั่น จํากัด (มหาชน)

จัดพิมพคร้ังแรก พ.ศ.2524

การเขียนบทความ คืออีกกลไกหนึ่งที่จะทําใหทานไดมีโอกาสถายทอดความรู และประสบการณ ใหแกคนในชาติไดในวงกวาง ลองทําตามคําแนะนํา แลวทานจะพบวามันไมยากอยางที่เคยคิด และทานก็จะกลายเปนอีกทรัพยากรหนึ่ง ที่มีคุณคาย่ิงสําหรับสังคมไทย การเขียนบทความนั้น เปนศิลปะอยางหน่ึง เพราะการเขียนบทความ ก็คือ การใชตัวอักษรเปนส่ือระหวางผูเขียนและผูอาน เพ่ือถายทอดขอความหรือสาระบางอยาง ท่ีผูเขียนตองการใหผูอานไดรูไดเขาใจ เพียงแตวาความพยายามของผูเขียนจะประสบผลสําเร็จอยางท่ีตองการไดมากนอยเพียงใดเทาน้ันเอง ถาประสบความสําเร็จ เราก็มักจะถือวาเปนบทความที่ดี

การเขียนบทความที่ดี ไมไดหมายความวาจําเปนตองใชภาษาที่เลอเลิศ หรือใชวลีท่ีหยดยอยเหมือนอยางในบทกวีหรือในนวนิยาย ส่ิงท่ีเราตองการมีเพียงวา เปนบทความที่อานแลวเขาใจไดงาย และชัดเจนเพียงพอท่ีผูอานจะไดรับสาระอยางท่ีผูเขียนตองการ ดังน้ัน แมวาการเขียนบทความใหดีจริงๆ น้ัน จะไมใชเร่ืองงาย แตก็ไมไดยากเย็นแสนเข็ญอยางท่ีหลายทานเคยคิดเอาไว จากประสบการณท่ีผานมา นักเขียนกวา 80 % ท่ีเขียนบทความลงในวารสารไมเคยเขียนบทความมากอนเลย และก็ไมเคยม่ันใจมากอนวาตนเองจะเขียนไดดี แตแรงดลใจท่ีอยากจะชวยกันเผยแพรความรู อยากจะใหคนอื่นไดรูในสิ่งท่ีตนรูและคิดวาเปนประโยชน ตลอดจนการไดทดลองเขียนและปรับปรุงขอบกพรองอยูเสมอ ความเปนนักเขียนท่ีดีจึงถูก “สราง” ขึ้นมาไดเปนผลสําเร็จ

ผมม่ันใจวาคนสวนใหญจะเขียนบทความไดดีกันท้ังน้ัน ถามีคุณสมบัติขั้นตนเพียง 3 ประการ ประการแรก ตองมีความตั้งใจ และกลาท่ีจะเขียน ประการที่สอง ตองเต็มใจ และยินดีท่ีจะทํางานหนัก ประการที่สาม ตองรูและปฏิบัติตามแนวทางบางอยาง

ทานทั้งหลายท่ีอานมาถึงตรงน้ีอาจจะมีคุณสมบัติ 2 ประการแรกโดยสมบูรณอยูแลวในตัว เพียงแตวาบางทานอาจจะยังไมเคยเขียนบทความเชิงวิชาการเผยแพรสูนักอานทั่วไป และยังไมทราบวาจะเร่ิมตนการเขียนบทความอยางไรดี

สงวนลิขสิทธ์ิ พ.ศ.2524 โดย บริษัท ซีเอ็ดยูเคช่ัน จํากัด (มหาชน) 1

Page 2: คำแนะนำในการเขียนบทความที่ดี

ทําไมจึงควรเขียนบทความ ดังท่ีกลาวมาแลววา แตละบุคคลตางก็มีความสามารถที่จะเขียนบทความกันไดแทบท้ังน้ัน แตการที่ตั้งใจและลงมือเขียนขึ้นมาจนจบไดน้ัน ก็มักจะตองมีส่ิงหน่ึงส่ิงใดเปนแรงกระตุน ในปจจุบันมีแรงกระตุนหลายๆ อยางท่ีชวยใหความรูเชิงวิชาการกระจายออกไปในลักษณะบทความ แรงกระตุนท่ีดูจะมีนํ้าหนักมากกวาอยางอื่น ไดแก

• เพ่ือชวยบุคคลอื่นท่ีมีความสนใจคลายคลึงกัน หรือเพ่ือนรวมอาชีพ ใหมีความรูมากยิ่งขึ้น หรือใหทํางานไดดียิ่งขึ้น

• เพ่ือชวยสรางภาพพจนท่ีดีใหกับหนวยงาน สถาบัน หรือบริษัทท่ีตนสังกัดอยู • เพ่ือยกระดับฐานะทางอาชีพ และสรางความกาวหนาใหแกตนเอง • เพ่ือเพ่ิมพูนความรูของตนใหลึกซ้ึงยิ่งขึ้น (ในกรณีท่ีเขียนบทความที่ตองมีการคนควาเพ่ิมเติมมากๆ) • เพ่ือเพ่ิมพูนรายได

อยางไรก็ตาม ไมวาจะเขียนดวยแรงกระตุนใด หรือหลายแรงกระตุนก็ตาม และไมวาการเขียนจะอยูในรูปการแปล การเรียบเรียง หรือการเขียนเองก็ตาม ขอเพียงแตมีความจริงใจท่ีจะทําใหบทความนั้นมีสาระประโยชนตอผูอานแลว ก็ขอใหตระหนักและภูมิใจไดวา ทานไดมีสวนชวยพัฒนาความรูความสามารถของบุคลากรในชาติไดอยางมากมาย ลองนึกภาพดูซิครับวา ถาบทความของทานไดรับการเผยแพรออกไป ก็เทากับทานไดใหความรูความคิดแกคนพรอมกันทีเดียวหลายพันคนขึ้นไป อยางเชน ถาลงในวารสารที่มีผูนิยมอานกวา 40,000 คน ก็เทากับถึงผูอานมากกวา 40,000 คน !

มีวิธีการอื่นใดบางไหม ท่ีทานจะมีโอกาสกระจายความรูออกไปถึงกลุมคนเจาะจงไดมากขนาดนี้ ?

การเขียนบทความ จึงนับไดวาเปนวิธีการเผยแพรความรูท่ีไดผลมากที่สุดวิธีหน่ึง ดังน้ัน อยาไดรีรอเลยครับ มาเขียนบทความ และชวยเพ่ิมคุณภาพใหแกคนในชาติเสียแตบัดน้ีกันเถิด

จะเขียนใหใครอานด ี ทานจะประสบความสําเร็จในการเขียนบทความไดงายขึ้น ถาไดทราบ แเละเขาใจวาผูอานของทานคือใคร เขาสนใจอะไร และทานจะเขาถึงกลุมผูอานเหลาน้ันไดอยางไร ดังน้ัน กอนจะลงมือเขียนบทความขึ้นมาสักช้ินหน่ึง จึงควรกําหนดจุดเร่ิมตนเหลาน้ีเสียกอน

1. เลือกกลุมผูอานท่ีตองการ ลองถามตนเองดูซิวา อยากเผยแพรขอเขียนของทานใหใครอาน มีหลายๆ บทความที่ผูอานสวนใหญอานได แตหลายๆ บทความก็ตองอาศัยพ้ืนฐานความรูสูงในระดับหน่ึง กําหนดลงไปใหแนชัดวาผูอานของทานเปนเด็กนักเรียน หรือครู หรือชาง หรือประชาชนทั่วไป ตองมีพ้ืนความรูในระดับไหน สาขาใด

2. เลือกหัวขอท่ีเหมาะสม ควรเลือกเขียนหัวขอท่ีทานมีความรูมากที่สุด หรือเลือกหัวขอท่ีเปนความรูใหมๆ หรือหัวขอท่ีทานมีอะไรดีๆ จะถายทอดได ขอสําคัญคือ จะตองเปนบทความที่ผูอานจะสนใจอานดวย

3. เลือกวารสารที่บริการผูอานในขอ 1 คําถามตอไปคือ เราจะเผยแพรบทความไปถึงมือผูอานเหลาน้ันไดอยางไร จะใชอะไรเปนส่ือกลาง หากสื่อน้ันเปนวารสาร จะตองหาทางทราบใหไดวา เราควรจะสงไปใหวารสารฉบับไหนดี จึงจะไปถึงกลุมผูอานที่ตองการไดมากที่สุด เพราะบทความแมจะดี แตถานําไปลงในวารสารที่ไมเหมาะสม อาจมีผูอานเพียงไมก่ีคน คุณคาของบทความก็จะไมสามารถกอใหเกิดประโยชนไดมากที่ควร ถาทานเปนหนอนหนังสืออยูแลวคงไมยากนักท่ีจะทราบ เพราะวารสารแตละฉบับมักจะมีนโยบายชัดเจนวา จะบริการผูอานกลุมไหน ในระดับใด

สงวนลิขสิทธ์ิ พ.ศ.2524 โดย บริษัท ซีเอ็ดยูเคช่ัน จํากัด (มหาชน) 2

Page 3: คำแนะนำในการเขียนบทความที่ดี

4. จัดแนวทางการเขียนใหเหมาะสม เพ่ือใหบทความของทานมีโอกาสไดรับการพิจารณานําลงในวารสารที่ตองการไดมากขึ้นน้ัน ควรจะศึกษารูปแบบ ลําดับการวางเนื้อเร่ืองของวารสารฉบับน้ันใหดีเสียกอน จะไดจัดรูปแบบของบทความของทานใหเหมาะสมยิ่งขึ้น วารสารบางฉบับอาจตองการบทความในรูปแบบของงานวิชาการอยางจริงจัง ตองมีคํานํา ตองมีรายช่ือหนังสืออางอิง เปนตน วารสารบางฉบับอาจตองการเนื้อหาท่ีเจาะลึกในรายละเอียดมากกวาฉบับอื่นๆ แตก็ยังตองการวิธีการเขียนท่ีชวนอานตั้งเเตตนจนจบ เปนตน

บทความควรยาวเพียงใด กลาวโดยทั่วไปแลว บทความที่ส้ัน มักจะไดรับความสนใจมากกวาบทความยาวๆ ดังน้ัน บทความหนึ่งๆ ควรยาวพอท่ีจะถายทอดขอมูลตางๆ ออกไป แตก็ไมควรยาวนัก บทความสวนใหญท่ีไดรับการนําลงในวารสาร มักจะอยูในชวงราว 3-5 หนาวารสาร แตถาบทความนั้นยาวและมีเน้ือหาที่นาสนใจ กองบรรณาธิการของวารสารฉบับน้ันอาจจะแบงนําลงเปนตอนๆ ไป หรือนําลงใหหมดเลยก็ได

10 ขั้นตอนสูความสําเร็จ จุดประสงคของบทความวิชาการที่ดีก็คือ ถายทอดขอมูลมาสูผูอานใหไดรวดเร็ว และเขาใจไดงาย มีผูเขียนหลายๆ ทานไมประสบความสําเร็จอันน้ี ก็เพราะพยายามทําใหบทความดูเปนจริงเปนจังมากเกินไป เขียนเปนทางการมากไปหนอย ดังน้ัน จึงไมสามารถถายทอดใหเขาใจไดงายเทาท่ีควร ลองปฏิบัติตามคําแนะนําตอไปน้ี แลวทานจะทราบวาการเขียนบทความไมไดยากอยางท่ีคิด

1. อยาเปนกังวล คนทุกคนเขียนบทความกันไดท้ังน้ันหากจะไมไปกังวลกับมันมากเกินไปนัก เทาท่ีเห็นมามักกังวลวาจะเขียนไดไมดี กังวลวาเขียนไปแลวคนที่เรียนสูงๆ จะมาคอยจับผิด หรือบางทีก็กังวลวาจะเขียนไดไมภูมิฐาน จงทําใจใหไดวาเราเขียนเฉพาะในเรื่องท่ีเราม่ันใจวาเรารูแลว เขียนในเรื่องท่ีเราเคยประสบมา เขียนในเร่ืองท่ีคิดวาจะเปนประโยชนตอผูอาน อยางนอยท่ีสุดเราก็ไดทําประโยชน โดยเสนอขอมูลท่ีเราคิดวาถูกตองท่ีสุดออกมา จงเขียนในทํานองเดียวกับท่ีทานพยายามจะอธิบายดวยคําพูดใหใครสักคนหนึ่งท่ีไมรูเร่ืองน้ีดีฟง

2. เลือกหัวขอท่ีจะเขียน บทความที่ดี ก็คือ บทความที่สามารถอธิบายบางสิ่งบางอยางท่ีใหประโยชนในแงใดแงหน่ึงแกผูอาน เชน ใหความรูรอบตัว ใหความรูท่ีนําไปใชงานได ใหแนวความคิดท่ีนาสนใจ เปนตน แตไมควรเปนบทความที่เพียงตั้งใจแสดงวาทานมีความรูสูงกวาผูอาน ดังน้ัน ควรเลือกหัวขอท่ีคิดวาผูอานจะสนใจ และไดรับประโยชน

3. วางแผนกอน จุดน้ีสําคัญมากสําหรับนักเขียนมือใหม การเขียนบทความนั้นไมยากนัก แตมักจะมายากเอาตรงท่ีไมรูจะเร่ิมตนเขียนอยางไร เพราะใจมัวแตกังวลอยากจะเขียนทีเดียวใหใชไดเลย กวาจะเขียนบรรทัดแรกหรือยอหนาแรกไดแตละที คิดแลวคิดอีก อะไรๆ ก็มักจะไปเรียบเรียงอยูในสมองกอน การเริ่มตนจึงดูยากเย็นแสนเข็ญ พลอยทําใหไมไดเร่ิมตนสักที มีหลักการเริ่มตนงายๆ อยูเพียงวา ควรวางเคาโครงหัวขอยอยตางๆ ท่ีตองการจะเขียนลงในเศษกระดาษกอน (ถาหัวขอละแผนก็จะสะดวกขึ้น) ในแตละหัวขอยอยอาจจะมีใจความสําคัญท่ีตองการใสลงไป อาจเขียนออกมาเปนทอนๆ ก็ได คือ นึกจุดสําคัญหรือประโยคสําคัญอะไรได ก็จับใสลงไปกอน จากนั้นจึงคอยมาจัดเรียงลําดับหัวขอยอยเหลาน้ัน (ลําดับแผนกระดาษ) และประโยคสําคัญเหลาน้ันตามลําดับความตอเน่ืองท่ีควรจะเปน เชน หัวขอไหนควรอยูกอนจึงจะอานเขาใจงาย ขอสําคัญคือ ไมควรเอาสวนปลีกยอยขึ้นกอน เพราะผูอานจะเบื่อเร็ว ควรจะเอาหัวขอท่ีกลาวรวมๆ ขึ้นมากอน แลวเก็บหัวขอท่ีเนนรายละเอียดเอาไวทีหลัง อยาลืมวาเน้ือเร่ืองตองเรียงลําดับตอเน่ืองกัน เพ่ือใหผูอานลําดับความคิด และติดตามเร่ืองไดงายขึ้น มาถึงขั้นน้ี ก็เหลือเพียงแตใสรายละเอียดลงไปในแตละหัวขอ และเพ่ิมคํานําในตอนตนเร่ืองสักหนอยก็เรียบรอยแลว

สงวนลิขสิทธ์ิ พ.ศ.2524 โดย บริษัท ซีเอ็ดยูเคช่ัน จํากัด (มหาชน) 3

Page 4: คำแนะนำในการเขียนบทความที่ดี

4. ไมตองเขียนรวดเดียวจบ ถาไมใชนักเขียนอาชีพจริงๆ แลว ยากที่จะเขียนใหจบรวดเดียวได ควรเขียนเพียงครั้งละ 1 หรือ 2 หัวขอท่ีสําคัญก็พอ อาจเขียนแตละหัวขอแยกกระดาษกันคนละแผนเลยก็ได แลวขยายแนวความคิดของแตละหัวขอยอยลงไปบนกระดาษ ไมจําเปนตองเขียนเรียงตามลําดับหัวขอ หัวขอไหนท่ียากหรือยังนึกไมออกวาจะเขียนอยางไรก็เก็บไวกอน เขียนหัวขอท่ีคิดวาจะเขียนไดเร็วกอน เขียนไปเขียนมาแลวมักจะนึกออกเองวาจะเขียนหัวขอท่ีเหลือน้ันอยางไร

5. เชื่อมโยงความคิดตางๆ เขาดวยกัน หลังจากเขียนเน้ือความของหัวขอสําคัญๆ ไปแลว ใหจัดเรียงกระดาษตามลําดับหัวขอท่ีไดวางแผนมากอน ลองอานทานดูวายังขาดขอความอะไรมาเชื่อมโยงแตละหัวขอเขาดวยกันหรือไม ถายังขาดอยูก็อาจเพ่ิมขอความหรือเพ่ิมหัวขอเขามาอีก ใหขอความของแตละหัวขอสัมพันธกัน ไมใชไปกันคนละเรื่อง ในการนี้อาจจะตองเพิ่มหรือเปล่ียนแปลงประโยคในตอนตนหรือตอนทายของแตละหัวขอไปบาง

6. ลงรูปท่ีจําเปน บรรดากราฟ ตาราง โมโนแกรม หรือรูปสเก็ตช จะชวยใหการอธิบายตางๆ งายขึ้น ชัดเจนขึ้น และยังชวยกระตุนความสนใจไดอีกดวย แตละรูปควรมีคําอธิบายอยูใตรูปดวยวาเปนอะไร ใชทําอะไร หรือตองการแสดงใหเห็นอะไร ถาเปนรูปสเก็ตชก็ไมจําเปนตองเขียนรูปใหวิจิตรบรรจงนัก เพราะเปนหนาท่ีแผนกศิลปของวารสารฉบับน้ันจะจัดการใหแลดูสวยงามเอง เพียงแตขอใหแนใจวาทานเขียนรูปเหลาน้ันชัดเจนเพียงพอ และไมสับสน

7. ใหรูปและเนื้อหาสอดคลองกัน ทุกครั้งท่ีขอเขียนอางถึงรูป ก็ควรอานตรวจสอบดวยวา ขอเขียนตรงกับขอมูลในรูปหรือไม ตัวอยางเชน ในบทความบอกวาจากรูปท่ี 1 อตราการขยายตัวของยางสังเคราะหท่ีอุณหภูมิ50 °ซ มากกวา 40 °ซ อยู 1.1 เทา ใหตรวจสอบดูวากราฟในรูปท่ี 1 แสดงอยางน้ันจริงๆ หรือเปลา

8. ตรวจชื่อบทความและขอความนําเร่ือง ถายังตั้งช่ือบทความและเขียนขอความในชวงตนๆ เร่ืองยังไมเรียบรอยดี ก็ใหยอนกลับไปใหม ผูเขียนบางทานอาจเขียนสวนน้ีกอน แตบางทานก็สะดวกที่จะเขียนทีหลังสุด เพราะเขียนตอนแรกอาจจะยังนึกขอความนําเร่ืองไมได ตรวจดูช่ือบทความและขอความนําเร่ืองวาช้ีนําผูอานหรือเปลาวา บทความนี้ชวยเขาไดอยางไร ใหประโยชนอะไรกับเขา ไมใชวาตองใหอานจนจบเรื่องกอนแลวจึงจะทราบวาบทความนี้เก่ียวกับอะไร แลวถาเปนไปไดก็ควรจะมีขอความตัวโตๆ สัก 1-2 บรรทัดโปรยอยูใตช่ือเร่ืองเพื่ออธิบายคราวๆ วา บทความนี้เก่ียวกับอะไร เปนการจูงใจใหผูอานสนใจอานมากขึ้น

9. แกสํานวน ในขั้นน้ีตองทําใจเปนผูอานใหได ลองอานทบทวนบทความของทานใหตลอดตั้งแตตนจนจบ ดูวาเน้ือหาพุงเขาหาเปาหมายตรงจุดหรือไม มีสํานวนที่อานแลวกํากวมหรือไม มีศัพทบางคํา หรืออักษรยอบางตัว ท่ีผูอานจะไมเขาใจบางหรือไม ซักตัวเองไปเรื่อยๆ จนกระทั่งแกไขไดบทความที่คิดวาคลุมเครือนอยท่ีสุด ถาไมแนใจตัวเอง ลองขอใหเพ่ือนสักคนหนึ่งซ่ึงรูเร่ืองน้ันนอยกวา มาลองอานดู ดูซิวาเขาสามารถเขาใจไดตลอดทั้งเร่ืองหรือไม ถาไม ก็ลองหาทางแกไขใหดีขึ้น

10. เขียนคําสรุป ไมจําเปนตองขึ้นหัวขอยอยอีกอันวา “สรุป” หรอก เม่ือใดท่ีเน้ือหาหมดแลวก็น่ันแหละท่ีส้ินสุดบทความแลว อันท่ีจริงขอความที่คุณคิดจะสรุปน้ัน ควรจะใสในขอความนําตอนตนเร่ืองไปหมดแลว

ขอแนะนําเพิ่มเติม นอกเหนือจาก 10 ขั้นตอนใหญๆ ท่ีกลาวมาแลว ยังมีเกร็ดเล็กเกร็ดนอยอีกหลายอยางท่ีอาจจะชวยใหบทความของทานนาอานยิ่งขึ้น และชัดเจนขึ้น ดังน้ัน กอนจะสงบทความไปไหนตอไหน ลองกัดฟนอานทวนอีกสักเท่ียวดูซิวา ยังมีอะไรควรแกไขตามคําแนะนําตอไปน้ีอีกบางไหม

สงวนลิขสิทธ์ิ พ.ศ.2524 โดย บริษัท ซีเอ็ดยูเคช่ัน จํากัด (มหาชน) 4

Page 5: คำแนะนำในการเขียนบทความที่ดี

1. ต้ังชื่อบทความใหนาอาน การเริ่มตนท่ีดี จะสามารถดึงดูดผูอาน ชวนใหติดตามอานไดงายขึ้น การเริ่มตนท่ีดีน้ัน ควรเร่ิมกันตั้งแตช่ือบทความกันเลย แลวตามดวยขอความยอหนาแรก และหัวขอยอยในบทความ ท้ังหมดน้ีควรจะบอกผูอานไดทันทีวาบทความนั้นสําคัญอยางไร นาสนใจอยางไร และจะใหประโยชนอะไร ลองดูตัวอยางช่ือบทความเหลาน้ีอาจจะชวยทานตั้งช่ือบทความไดบาง : 18 วิธีในการทําลายแอรหนาตาง, เช่ือมอยางไรจึงจะไมบิด, ยาไขความจริง, กระเทียม : พืชมหัศจรรย, ความลับของมันฝร่ัง, ยุทธการลาหิ่งหอย, วาระสุดทายของดวงอาทิตย, อาหารสําหรับอนาคต, ชีวิตหลังความตาย, วิเคราะหสามเหลี่ยมเบอรมิวดา, ควันหลงจากสํารวจดวงจันทร, สูวัยอันเปนอมตะ, ทองไปกับยานขนสงอวกาศ, วิธีเลนใหเปนแชมป, ฯลฯ

2. ไมควรใหขอความของแตละยอหนายาวเกินไป ถายาวมากไป สายตาผูอานจะลาเร็ว ยิ่งถายาวมากๆ กวาผูอานจะกลั้นลมหายใจอานจนจบได ก็แทบหนามืดตาลาย โดยทั่วไปอาจถือเปนเกณฑหยาบๆ ไดวาแตละยอหนาไมควรยาวเกินกวา 15 ถึง 20 บรรทัด ถาเขียนบทความเสร็จแลว พบวามีทอนใดท่ียาวเกินไป ลองอานทานดูซิวามีชวงใดที่พอจะตัดตอนใหขึ้นยอหนาใหมไดหรือไม

3. แบงเปนหัวขอยอย ถาบทความยาวพอสมควร ควรแบงเปนหัวขอยอย เพ่ือใหผูอานไดพักสายตาเปนระยะๆ นอกจากนั้นแลว หัวขอยอยยังชวยใหมีจุดสนใจขึ้นมาเปนชวง และชวยใหผูอานกวาดสายตาหาทอนหรือเน้ือหาท่ีเขาสนใจไดเร็วขึ้น ในกรณีท่ีตองการผอนคลายความจริงจังของบทความ หรือความเครียดของผูอานลง ก็อาจจะตั้งช่ือหัวขอยอยใหดูนาอานขึ้น โดยถือเอาขอความใดขอความหนึ่งในหัวขอน้ัน หรือหาขอความที่สามารถแสดงวาหัวขอน้ันเก่ียวกับอะไร แตอานแลวครึกครื้น มาตั้งเปนช่ือหัวขอยอยก็ได ตัวอยางเชน ในบทความเรื่องหน่ึงท่ีอธิบายเกี่ยวกับเทคนิคการกราวดในวงจรอิเล็กทรอนิกส ซ่ึงเปนบทความที่ยาวมาก และขณะอานน้ันผูอานตองใชความคิดตามไปตลอดเวลา ผูเขียนจึงลดความเครียดลง โดยการแบงเปนหัวขอยอยแตละหัวขอยอยยาวโดยเฉลี่ยไมเกินคร่ึงหนา

ลองดูช่ือหัวขอยอยท่ีเขาตั้งเรียงตามลําดับตอไปน้ีซิครับ อาจไดแนวทางไปใชงานกันบาง : กราวดคืออะไร ?, ไมจําตองเปนศูนย, มารรายในวงการอิเล็กทรอนิกส, เหตุแหงสัญญาณรบกวน, ยามเมื่ออยูใกลชิด, ระวังสวนท่ีมีกระแสไหลมาก, ปญหาจากสนามแมเหล็กไฟฟา, เม่ือกราวดไมใชกราวด, จุดเร่ิมตนของการแกไข, ใสเกราะใหสายสัญญาณ, หมอแปลงก็มีชีลด, ฝมือพ่ีไทย, กราวดเปนพระเอกในที่น้ี, จากทฤษฎีสูการปฏิบัติ, เราจะไมขออยูรวมกัน, หาผูตองสงสัยในระบบ... หรือจะเปนดวยกราวดลูป, ตําแหนงการวางก็มีผล, ยังไมจบเรื่องงายๆ เปนตน

4. ขีดเสนใตหรือขอความที่ตองการจะเนน แตไมควรเนนมากเกินกวาท่ีจําเปนจริงๆ มิฉะน้ันผูอานจะรําคาญ

5. ใชศัพทเทคนิคเทาท่ีจําเปน และพยายามใชภาษาอังกฤษใหนอยท่ีสุด ไมใชเขียนมายอหนาหน่ึง มีแตภาษาอังกฤษลานตา จนผูอานขยาดกันไปหมด ศัพทเทคนิคคําใดแปลเปนภาษาไทยไดก็แปลไปเลย เชน Air Conditioner ก็แปลวา เคร่ืองปรับอากาศ เปนตน แตถาแปลแลวไมแนใจวาผูอานจะเขาใจไดถูกตอง ก็ควรวงเล็บภาษาอังกฤษไวดวย เวนแตจนแตมจริงๆ ไมรูวาจะแปลเปนภาษาไทยวาอะไรดี ก็ใหทับศัพทเปนภาษาไทยแลววงเล็บภาษาอังกฤษกํากับไปอีกทีหน่ึง เชน Transducer ก็อาจเขียนวา ทรานสดิวเซอร (transducer )เปนตน ท้ังน้ีและท้ังน้ันก็ดวยจุดประสงคท่ีจะใหผูอานที่ไมสันทัดภาษาอังกฤษสามารถอานไดรูเร่ือง และเลียนคําอานภาษาอังกฤษได หากมีคําศัพทใดซํ้าก็ควรวงเล็บเพียงครั้งเดียวในตอนแรก

6. ตีกรอบแยกสวนเนื้อหา ถามีเน้ือหาบางสวนเก่ียวของกับบทความ แตไมสามารถเชื่อมเขาไปในบทความโดยตรง อาจแยกออกมาจากเนื้อเร่ืองปกติได โดยตีกรอบลอมรอบเน้ือหาสวนน้ันเอาไว ลองดูวารสารตางประเทศจะพบทํานองนี้บอย

สงวนลิขสิทธ์ิ พ.ศ.2524 โดย บริษัท ซีเอ็ดยูเคช่ัน จํากัด (มหาชน) 5

Page 6: คำแนะนำในการเขียนบทความที่ดี

7. อยาใหหวือหวามากเกินไป แมวาการแทรกอารมณขัน การใชศัพทแสลง จะชวยผอนคลายความเครียดขณะอานไปไดก็ตาม แตก็ไมควรใชมากเกินไปจนบทความเชิงวิชาการกลายเปนบทความหวือหวา ท่ีอานเอาแตความสนุกถายเดียว

8. พยายามใชคําธรรมดางายๆ ซ่ึงคนทั่วไปเขาใจไดงายและยังคงความถูกตองอยูได ตัวอยางเชน “...เราจะวัดความตางศักยของสายไฟบานได 220 โวลต...” ชาวบานคงจะงงกับคําวา “ความตางศักย” ซ่ึงเปนศัพทวิชาการ ในกรณีเชนน้ีการใชคําวา “แรงดันไฟฟา” คงอานเขาใจไดดีกวา

9. ใชประโยคกระชับ ไมกํากวม พยายามหลีกเล่ียงการใชประโยคยาวๆ ท่ีดูยืดยาด และประโยคซอนประโยคท่ีอาจทําใหเขาใจความหมายผิดไป ตัวอยางเชน “...นักเรียนสวนใหญรูสึกวาไมอยากเรียนหนังสือท่ียุงยากซับซอนจนทําใหเขาตองตกช้ัน....” ประโยคนี้ผูอานอาจตีความหมายได 2 อยางคือ นักเรียนสวนใหญตกช้ันเพราะรูสึกไมอยากเรียนหนังสือท่ียุงยากซับซอน หรือ นักเรียนรูสึกวาไมอยากเรียนหนังสือท่ียุงยากซับซอนซ่ึงอาจทําใหเขาตกชั้น ดังน้ัน เม่ือพบวามีประโยคกํากวมเชนน้ี ก็จะตองทําใหชัดเจนขึ้น

10. ใหเปนเหตุเปนผลตามลําดับท่ีควรจะเปน ตัวอยางเชน “...เน่ืองจากสบูน้ีสีฟา การขายจึงไมดีนัก...” ผูอานคงสงสัยแนๆ วาสีฟาไปมีผลอยางไร จึงทําใหการขายไมดี อยางน้ีควรหาทางขยายความอีกนิด

11. เน้ือหาใชไดกับปจจุบันหรือไม ? ลองพิจารณาดูวามีขอมูลใดท่ีอาจจะไมเปนจริงแลวหรือไม อยางเชน ถาทานเขียนบทความเกี่ยวกับดาวเสาร คงตองติดตามกันหนอยวามีขอมูลสวนไหนที่ลาสมัยไปบางหรือไม หรืออยางเชน ทานเขียนวาเยอรมันกาวหนาท่ีสุดในดานเทคโนโลยี ทานมั่นใจวาเปนอยางน้ันจริงๆ หรือเปลา เยอรมันอาจจะกาวหนาเพียงบางสาขาเทาน้ัน

จะเกิดอะไรขึ้น เมื่อสงบทความไปใหนําลง เอาละ ตอนนี้ทานก็ไดพยายามแกไขบทความจนสมบูรณท่ีสุดในความคิดของทานแลว จะเก็บเอาไวเฉยๆ ก็กระไรอยู จัดแจงสงไปถึงบรรณาธิการของวารสารที่ตองการไดเลย จะใชวิธีไปสงดวยตนเอง หรือจะสงทางไปรษณียก็ได ถาเปนไปรษณียละก็ควรลงทะเบียนดวย จะไดแนใจวาถึงมือบรรณาธิการแนๆ ไมสูญหายกลางทางเสียกอน แตถาสงสัยวาสงไปแลวเขาจะสนใจหรือไม ขอแนะนําใหตัดความสงสัยน้ีโดยการโทรศัพทไปคุยกับตัวบรรณาธิการเลยวา ผมมีบทความชื่อน้ันช่ือน้ี เก่ียวกับอะไร ยาวประมาณเทาน้ันเทาน้ีหนา คุณบรรณาธิการสนใจไหมครับ ถาเขาบอกวาสนใจและเชิญชวนใหสงมา ก็คงไมมีปญหาอะไรสงไปไดเลย แลวอยาลืมเขียนช่ือท่ีอยู ท่ีทํางาน และวิธีติดตอท่ีคิดวาจะติดตอกันไดสะดวกแนบไปดวย

เม่ือบรรณาธิการของวารสารฉบับน้ันไดรับบทความแลว เขาอาจจะพิจารณาเองหรือมอบหมายใหคนในกองบรรณาธิการซึ่งสันทัดในเรื่องประเภทนั้นชวยพิจารณาให หลังจากพิจารณาแลว ซ่ึงกินเวลาตั้งแต 10 นาที จนถึงเปนเดือน แลวแตระบบงานของวารสารฉบับน้ัน เขาจะสงจดหมายหรือโทรศัพท (ถาทานมี) แจงผลการพิจารณาใหทราบ ซ่ึงทานอาจจะไดรับคําตอบใดคําตอบหนึ่งดังน้ี

1. บทความไมผานการพิจารณา หรือ 2. บทความควรแกไขดัดแปลงบางตอน หรือ 3. บทความผานการพิจารณา

บทความที่ไมผานการพิจารณาเลยจะถูกสงกลับคืนไปให เหตุผลท่ีไมผานน้ันอาจจะเปนวาเน้ือหาไมเหมาะสมกับผูอานวารสารฉบับน้ัน อาจจะเปนเน้ือหาที่เคยนําลงแลว อาจจะเปนเน้ือหาที่ลาสมัย และไมนิยมท่ีจะมาพิจารณาตามเนื้อหาในบทความนั้นแลว อาจจะเปนบทความที่เหมาะจะเปนตําราเรียนมากกวาเพราะยาวเหยียด หรือมีแตพิสูจนสูตรกันทาเดียว หรืออาจจะเปนบทความที่ไมมีใครในกองบรรณาธิการวารสารฉบับน้ันอานเขาใจเลย

สงวนลิขสิทธ์ิ พ.ศ.2524 โดย บริษัท ซีเอ็ดยูเคช่ัน จํากัด (มหาชน) 6

Page 7: คำแนะนำในการเขียนบทความที่ดี

บางบทความอาจจะดีมาก แตยังคงมีบางสวนท่ียังไมเหมาะสม เชน อาจจะมีจุดบกพรองเล็กๆ นอยๆ ท่ีผูเขียนอาจจะมองขามไป เพราะอยูหรือคุนเคยกับปญหาน้ันมากไป แตกองบรรณาธิการคาดวาผูอานคงอยากจะทราบ หรืออาจจะมีบางขอความไมชัดเจนพอ ในกรณีน้ี เขาอาจจะขอใหทานชวยแกไขบางขอความ หรือใหเพ่ิมเติมบางสวน เพ่ือใหแนใจวาบทความของทานจะเปนประโยชนกับผูอานของเขามากขึ้น

ถาบทความของทานผานการพิจารณา เขาก็จะแจงใหทราบดวยเชนกัน และอาจกําหนดใหทานดวยวาจะนําลงใหไดในฉบับไหน หรือเดือนไหน อยางไรก็ตาม แมบทความของทานจะสมบูรณพอสมควร กองบรรณาธิการอาจขอสิทธิในการตั้งหรือดัดแปลงช่ือบทความใหนาอานขึ้น หรืออาจจะเพิ่มเติมขอความสั้นๆ โปรยใตช่ือบทความ หรือแกไขสํานวนบางทอนใหถูกตองตามหลักภาษา หรือเพ่ือใหชัดเจนยิ่งขึ้น บางทีถาบทความยาวมาก เขาก็อาจจะแบงออกเปนตอนๆ ตามความเหมาะสม

หลังจากที่บทความนั้นไดรับการตีพิมพแลว กองบรรณาธิการมักจะไมสงตนฉบับกลับคืนมาให เพราะความไมสะดวกหลายประการ แตจะสงวารสารฉบับท่ีนําลงแลวน้ันมาใหแทน พรอมกับสงคาสมนาคุณมาใหดวยทางธนาณัติ ซ่ึงมูลคาจะมากหรือนอยแลวแตกิจการของวารสารนั้นๆ

มาถึงยอหนาเกือบทายน้ี ทานคงไดอะไรๆ เปนแนวทางขั้นตนไปแลววาจะเร่ิมตนเขียนบทความที่ดีไดอยางไร และเขียนแลวจะใหไดรับการเผยแพรอยางไร

ดังน้ัน หากมีเวลาวางเมื่อใด ก็อยาลืมลองจับขยับปากกาขีดเขียนบทความในแนวที่ทานถนัดดูบาง

อยาเก็บคมเอาไวแตในฝกเลยครับ !

.......................................................................

สงวนลิขสิทธ์ิ พ.ศ.2524 โดย บริษัท ซีเอ็ดยูเคช่ัน จํากัด (มหาชน) 7