2
คาพิพากษาฎีกาเป็นที่มาของกฎหมายหรือไมโดย นางสาวกชพรรณ ภู่ภัทรสินธุโรงเรียนพระโขนงพิทยาลัย "Ubi sicietas ibi jus" ประโยควลี (ใช้คาว่าประโยค หรือ วลี อย่างใดอย่างหนึ่งดีกว่า ครับ) ข้างต้น เป็นคาที่รู้จักกันดีในเเวดวงของวิชากฎหมาย ความหมายของ มัน (ประโยค ดังกล่าว) ก็คือ "ที่ใดมีสังคม ที่นั่นมีกฎหมาย" นั่นเอง ซึ่งในสังคมใดๆก็ตามย่อมมีความคิดของ คนที่แตกต่างกันเป็นธรรมดา ซึ่งบางทีก็อาจนาไปสู่ความขัดแย้งได้ กฎหมายจึงได้เข้ามามี บทบาทสาคัญ ในการช่วยตัดสินปัญหาเหล่าน้นโดยการ พิพากษา (บางที่การยุติข้อพิพาทอาจ เกิดในชั้น ตารวจก็ได้ จึงอาจจะไม่มีการพิพากษา) ให้เป็นไปตามครรลองและความยุติธรรม การพิพากษาฎีกานั้น เปรียบเสมือนการตัดสินชี้ขาดและเป็นตัวกาหนดว่าให้บุคคลใดๆ ก็ตาม กระทาอย่างนั้นอย่างนี้ตามคาพิพากษาและในบางประเทศนั้น เช่นในประเทศอังกฤษก็ ถือเอาคาพิพากษามา จัก (คาผิด ... ต้องระวัง) ทาเป็นกฎหมาย คือ ใช้จารีตประเพณีมา พิจารณาคดีเเละเพื่อไม่ให้มีกรณีเดียวกันนี้เกิดขึ้นอีกจึงนาคาพิพากษานั้นมาจัดทาเป็น กฎหมายเพื่อให้ทุกคนปฏิบัติตาม แต่ในหลายประเทศคาพิพากษานั้นเป็นเพียงแนวทางในการ พิจารณาพิพากษาเพียงเท่านั้น ศษล (คาผิด ... ต้องระวัง) อาจใช้ดุลพินิจพิจารณาก่อน จึงไม่ ถือเอาคาพิพากษาของศาลอย่างเช่นประเทศไทยเราเป็นต้น นอกจากนี้เเล้วที่มาของกฎหมาย ยังประกอบไปด้วย ศีลธรรม จารีตประเพณี ศาสนา หลักความยุติธรรมและความคิกเห็น (คาผิด ... ต้องระวัง) ของนักปราชญ์ อีกด้วย การพิพากษาฎีกาอาจเป็นที่มาของกฎหมายได้ในบางประเทศ ทั้งนี้ก็ต้องขึ้นอยู่กับ รูปแบบการปกครองของประเทศ (ระบบกฎหมายของประเทศ) นั้นๆ ประชาชนในประเทศและ อีกหลากหลายปัจจัยดังที่ได้กล่าวไว้ข้างต้น คงไม่อาจบอกที่มาได้ทั้งหมดอย่างชัดเจน เเต่ อย่างไรก็ตามกฎหมายมีอยู่ที่ใดก็ย่อมก่อให้เกิดความสงบสุข ความเป็นธรรมแก่สังคมนั้นเป็น แน่แท้อยู่แล้ว จริงหรือ ... ถ้ากฎหมายอานวยความเป็นธรรมได้อย่างแน่แท้แล้ว จะมีการแก้ไข กฎหมายทาไม ...?)

คำพิพากษาฎีกาเป็นที่มาของกฎหมายหรือไม_กชพรรณ_พระโขนงพิทยาลัย

Embed Size (px)

DESCRIPTION

เวบติวเพื่อสอบเข้าคณะนิติศาสตร์ : สอบตรง & ภาคบัณฑิต ... ข้อมูลภายในเวบ อ่านฟรีครับTutorlawgroup.blogspot.com … เวบที่ผู้สอบเข้าคณะนิติศาสตร์พูดถึงมากที่สุด ณ ตอนนี้ข้อมูลต่าง ๆ จัดทำขึ้นโดย นิติศาสตร์บัณฑิต (เกียรตินิยม อันดับ 1) เนติบัณฑิตไทยเตรียมพร้อมสอบเข้าคณะนิติศาสตร์ทุกสถาบัน ...

Citation preview

Page 1: คำพิพากษาฎีกาเป็นที่มาของกฎหมายหรือไม_กชพรรณ_พระโขนงพิทยาลัย

ค าพิพากษาฎีกาเป็นที่มาของกฎหมายหรือไม่

โดย นางสาวกชพรรณ ภู่ภัทรสินธุ์ โรงเรียนพระโขนงพิทยาลัย

"Ubi sicietas ibi jus" ประโยควลี (ใช้ค าว่าประโยค หรือ วลี อย่างใดอย่างหนึ่งดีกว่า

ครับ) ข้างต้น เป็นค าที่รู้จักกันดีในเเวดวงของวิชากฎหมาย ความหมายของ มัน (ประโยค

ดังกล่าว) ก็คือ "ที่ใดมีสังคม ท่ีนั่นมีกฎหมาย" นั่นเอง ซึ่งในสังคมใดๆก็ตามย่อมมีความคิดของ

คนที่แตกต่างกันเป็นธรรมดา ซึ่งบางทีก็อาจน าไปสู่ความขัดแย้งได้ กฎหมายจึงได้เข้ามามี

บทบาทส าคัญในการช่วยตัดสินปัญหาเหล่านั้นโดยการ พิพากษา (บางที่การยุติข้อพิพาทอาจ

เกิดในชั้น ต ารวจก็ได้ จึงอาจจะไม่มีการพิพากษา) ให้เป็นไปตามครรลองและความยุติธรรม

การพิพากษาฎีกาน้ัน เปรียบเสมือนการตัดสินชี้ขาดและเป็นตัวก าหนดว่าให้บุคคลใดๆ

ก็ตาม กระท าอย่างนั้นอย่างน้ีตามค าพิพากษาและในบางประเทศนั้น เช่นในประเทศอังกฤษก็

ถือเอาค าพิพากษามา จัก (ค าผิด ... ต้องระวัง) ท าเป็นกฎหมาย คือ ใช้จารีตประเพณีมา

พิจารณาคดีเเละเพื่อไม่ให้มีกรณีเดียวกันน้ีเกิดขึ้นอีกจึงน าค าพิพากษาน้ันมาจัดท าเป็น

กฎหมายเพ่ือให้ทุกคนปฏิบัติตาม แต่ในหลายประเทศค าพิพากษาน้ันเป็นเพียงแนวทางในการ

พิจารณาพิพากษาเพียงเท่านั้น ศษล (ค าผิด ... ต้องระวัง) อาจใช้ดุลพินิจพิจารณาก่อน จึงไม่

ถือเอาค าพิพากษาของศาลอย่างเช่นประเทศไทยเราเป็นต้น นอกจากนี้เเล้วท่ีมาของกฎหมาย

ยังประกอบไปด้วย ศีลธรรม จารีตประเพณี ศาสนา หลักความยุติธรรมและความคิกเห็น(ค าผิด

... ต้องระวัง) ของนักปราชญ์ อีกด้วย

การพิพากษาฎีกาอาจเป็นท่ีมาของกฎหมายได้ในบางประเทศ ท้ังนี้ก็ต้องขึ้นอยู่กับ

รูปแบบการปกครองของประเทศ (ระบบกฎหมายของประเทศ) น้ันๆ ประชาชนในประเทศและ

อีกหลากหลายปัจจัยดังที่ได้กล่าวไว้ข้างต้น คงไม่อาจบอกท่ีมาได้ทั้งหมดอย่างชัดเจน เเต่

อย่างไรก็ตามกฎหมายมีอยู่ท่ีใดก็ย่อมก่อให้เกิดความสงบสุข ความเป็นธรรมแก่สังคมนั้นเป็น

แน่แท้อยู่แล้ว จริงหรือ ... ถ้ากฎหมายอ านวยความเป็นธรรมได้อย่างแน่แท้แล้ว จะมีการแก้ไข

กฎหมายท าไม ...?)

Page 2: คำพิพากษาฎีกาเป็นที่มาของกฎหมายหรือไม_กชพรรณ_พระโขนงพิทยาลัย

ดูในภาพรวมแล้ว พี่คิดว่า น้องยังเขียนเพิ่มเติมจากน้ีได้ครับ ที่เขียนมาดีแล้วครับ แต่

ถ้าเพิ่มเติมให้สมบูรณ์จะดีขึ้น ควรเขียนให้มีสัมพันธภาพระหว่างประโยค จะท าผู้ท่ีได้

อ่าน มีความเข้าใจมากขึ้น ระวังการเขียนค าผิดด้วยครับ ใช้ความระมัดระวัง และ

รอบคอบทุกครั้งครับ