21
การจัดการเครื่องจักรกลกอสราง (managing construction equipment) 13.1 เครื่องจักรกลกับการกอสราง การกอสรางในปจจุบันนีไดนําเอาเครื่องทุนแรงหรือเครื่องจักรกลตางๆ เขามาใชดําเนินการเปน จํานวนมาก นับวันยิ่งมีบทบาทเพิ่มมากขึ้นเรื่อยๆ ทั้งนี้เพราะตองการผลงานที่ไดมาตรฐานตรงตาม ขอกําหนดในรายการกอสราง(Specifications) ประการหนึ่ง อีกประการหนึ่งก็เพื่อลดคาใชจายโดยมุงหวัง เพื่อใหงานเสร็จทันตามกําหนดเวลาดวย ถึงแมวาแรงงานในประเทศของเราจะหาไดงาย คาแรงงานถูก เมื่อเปรียบเทียบกับประเทศที่พัฒนาแลวทั้งหลาย แตเหตุผลที่สําคัญในการนําเอาเครื่องจักรกลเขามาให ดําเนินการกอสรางนั้นเพราะวา 1. ประสิทธิภาพการทํางานบางอยางสูงกวาการใชแรงงาน เครื่องจักรกลบางชนิดใชแทนแรงงาน ไดหลายๆคน และเมื่อใชเครื่องจักรกลแลว คาใชจายจะต่ํากวาการใชแรงงานเสียอีก 2. การทํางานบางอยางซึ่งถาใชแรงงานแลว อาจจะทําใหเกิดความลาชา ไมสะดวกดวยประการ ทั้งปวง และไมสามารถทํางานใหเสร็จตามกําหนดเวลาได 3. ลักษณะของงานกอสรางบางอยาง ตองกระทําใหตรงตามมาตรฐานที่กําหนดไวในรายการ กอสรางเชน การบดอัด การตัดเกรด เปนตน ซึ่งแรงงานไมสามารถจะกระทําไดผลดีเทากับเครื่องจักรกล และในงานบางประเภทไมสามารถจะใชแรงงานไดเลย ตองใชเฉพาะเครื่องจักรกลเทานั้น 4. แนวโนมของคาจางแรงงานสูงขึ้นเรื่อยๆ จึงมีการคิดคนเครื่องจักรกลและเครื่องทุนแรงตางๆ เขามาใชแทนแรงงานเพื่อจะไดลดจํานวนคนงานลงได 5. การใชแรงงานเปนจํานวนมาก ยอมกอใหเกิดปญหาตางๆ ขึ้นไดเสมอ เชน ปญหาในเรื่องทีอยูอาศัย อุบัติเหตุ ขอพิพาทระหวางผูใชแรงงานดวยกันเอง การรียกรองผลประโยชนอื่นๆ ตลอดจนการ นัดหยุดงานเพื่อตอรองกับผูรับเหมากอสราง อันเปนปญหาแรงงานซึ่งจะสงผลกระทบตอเวลาและ คาใชจายของงานในโครงการอยางแนนอน ดังนั้น การใชเครื่องจักรกล จึงขึ้นอยูกับดุลพินิจของผูควบคุมงานหรือวิศวกรโครงการ (Project Engineer) วาควรจะใชเครื่องจักรกลชนิดไหนกับงานในรูปแบบใด หรือจะนําไปใชกับงานในภูมิประเทศ อยางไร ซึ่งเครื่องจักรกลแตละชนิด แตละแบบนั้นยอมมีความเหมาะสมกับงานแตละลักษณะของภูมิ ประเทศที่แตกตางกันไปดวย

เครื่องจักรกลในงานก่อสร้าง

Embed Size (px)

Citation preview

Page 1: เครื่องจักรกลในงานก่อสร้าง

การจัดการเครื่องจักรกลกอสราง (managing construction equipment)

13.1 เคร่ืองจักรกลกับการกอสราง

การกอสรางในปจจุบันนี้ ไดนําเอาเครื่องทุนแรงหรือเครื่องจักรกลตางๆ เขามาใชดาํเนินการเปนจํานวนมาก นบัวันยิ่งมีบทบาทเพิ่มมากขึ้นเรื่อยๆ ทั้งนี้เพราะตองการผลงานที่ไดมาตรฐานตรงตามขอกําหนดในรายการกอสราง(Specifications) ประการหนึ่ง อีกประการหนึ่งกเ็พื่อลดคาใชจายโดยมุงหวังเพื่อใหงานเสร็จทันตามกําหนดเวลาดวย ถึงแมวาแรงงานในประเทศของเราจะหาไดงาย คาแรงงานถูก เมื่อเปรียบเทียบกับประเทศที่พฒันาแลวทัง้หลาย แตเหตุผลที่สําคัญในการนําเอาเครื่องจักรกลเขามาใหดําเนินการกอสรางนั้นเพราะวา 1. ประสิทธิภาพการทํางานบางอยางสูงกวาการใชแรงงาน เครื่องจักรกลบางชนิดใชแทนแรงงานไดหลายๆคน และเมื่อใชเครื่องจักรกลแลว คาใชจายจะต่ํากวาการใชแรงงานเสียอีก 2. การทํางานบางอยางซึ่งถาใชแรงงานแลว อาจจะทําใหเกิดความลาชา ไมสะดวกดวยประการทั้งปวง และไมสามารถทํางานใหเสร็จตามกําหนดเวลาได 3. ลักษณะของงานกอสรางบางอยาง ตองกระทาํใหตรงตามมาตรฐานที่กําหนดไวในรายการกอสรางเชน การบดอัด การตัดเกรด เปนตน ซ่ึงแรงงานไมสามารถจะกระทําไดผลดีเทากับเครือ่งจักรกล และในงานบางประเภทไมสามารถจะใชแรงงานไดเลย ตองใชเฉพาะเครื่องจักรกลเทานั้น 4. แนวโนมของคาจางแรงงานสูงขึ้นเรื่อยๆ จึงมีการคิดคนเครื่องจักรกลและเครื่องทุนแรงตางๆ เขามาใชแทนแรงงานเพื่อจะไดลดจํานวนคนงานลงได 5. การใชแรงงานเปนจํานวนมาก ยอมกอใหเกิดปญหาตางๆ ขึ้นไดเสมอ เชน ปญหาในเรื่องที่อยูอาศัย อุบัตเิหตุ ขอพิพาทระหวางผูใชแรงงานดวยกันเอง การรียกรองผลประโยชนอ่ืนๆ ตลอดจนการนัดหยุดงานเพือ่ตอรองกับผูรับเหมากอสราง อันเปนปญหาแรงงานซึ่งจะสงผลกระทบตอเวลาและคาใชจายของงานในโครงการอยางแนนอน ดังนั้น การใชเครื่องจักรกล จึงขึ้นอยูกับดลุพินิจของผูควบคุมงานหรอืวิศวกรโครงการ (Project Engineer) วาควรจะใชเครื่องจักรกลชนิดไหนกับงานในรูปแบบใด หรือจะนําไปใชกับงานในภูมปิระเทศอยางไร ซ่ึงเครื่องจักรกลแตละชนิด แตละแบบนัน้ยอมมีความเหมาะสมกับงานแตละลักษณะของภูมิประเทศที่แตกตางกันไปดวย

Page 2: เครื่องจักรกลในงานก่อสร้าง

13.2 ประเภทของเครื่องจักรกล

เครื่องจักรกลที่ใชในการกอสราง มีอยูดวยกันหลายประเภทหลายชนดิ ซ่ึงแตละประเภท แตละชนิดมีขีดความสามารถและความเหมาะสมกับการใชงานแตละอยางไป ดังนั้น ผูดําเนินการกอสรางนอกจากจะตองมีความจัดเจนเกี่ยวกับวิธีการกอสรางเปนอยางดแีลว จะตองรูจักเลือกใชประเภท ชนิด และขนาดของเครื่องจักรกลใหเหมาะสมกบัสภาพงานนัน้ๆ ดวย จึงจะคุมคากับการลงทุน สําหรับการแบงประเภทของเครื่องจักรกลไดแบงออกเปนประเภทของการใชงาน ดังนี้คือ 1. เครื่องจักรกลที่ใชยกและขนถายวัสด ุ 2. เครื่องจักรกลที่ใชในงานดิน 3. เครื่องจักรกลที่ใชในงานคอนกรีต 4. เครื่องจักรกลที่ใชในงานถนน 5. เครื่องจักรกลที่ใชกับงานฐานราก 6. เครื่องจักรกลที่ใชในการขุดเจาะ การที่แบงเปนประเภทของการใชงานตามหัวขอขางตน ก็โดยพจิารณาเห็นวามีสาระครอบคลุมลักษณะการทาํงานตางๆ ไวอยางครบถวนแลว การจดัแบงหมวดหมูของงานหรือการแบงประเภทของเครื่องจักรกลตามลกัษณะการใชงานนั้น อาจจะแตกตางกันไปอยูบาง ทั้งนี้ขึ้นอยูกบัการพิจารณาของผูเขียนแตละทานวาอยางใดจงึจะเหมาะสม ประเด็นสําคญัก็คือทําอยางไรจึงจะเสนอรายละเอียดของเครื่องจักรกลตามลักษณะการใชงานไดครบถวนสมบรูณที่สุด ซ่ึงเปนเรื่องที่กระทาํไดยากยิ่ง เพราะมีรายเอียดตางๆ อยูเปนอันมาก 13.3 หลักการเลือกใชเคร่ืองจักรกล

เลือกใชเครื่องจักรกลที่มีคุณภาพดีเชื่อถือได มีบริการอะไหลพรอมเพรยีงอยางสม่ําเสมอ มีบริการซอมที่มีประสิทธิภาพ ทั้งนี้เพื่อลดเวลาการซอมบํารุงใหนอยลงจะไดมเีวลาทํางานมากขึ้น ซ่ึงจะเปนผลใหงานกอสรางเสร็จเร็วขึ้น และลดตนทุนการกอสรางใหถูกลงดวย โดยมีขอพิจารณาถึงดังตอไปนี ้ 1. เลือกขนาดของเครื่องจักรกลขนาดใด ชนิดไหนจึงจะเหมาะสมกับงานที่กระทําอยู ขอนี้ขึ้นอยูกับชนิดและปริมาณของงาน ระยะทางการขนถายวัสดุจากแหลงวัสดุไปยังบริเวณกอสราง หลักสาํคัญก็คือจะตองใหเครือ่งจักรกลตางๆ ทํางานสัมพันธกัน โดยไมตองหยดุรอเครื่องจักรกลบางเครื่องในขณะที่เครื่องจักรกลอื่นทํางานอยูทัง้นี้จะตองใหเครื่องจักรกลแตละเครื่องทํางานเต็มกําลังความสามารถ ดังนั้น การเลือกเครื่องจักรกลจึงตองพอเหมาะกับงาน ไมมีขนาดใหญหรือเล็กจนเกินไป 2. เลือกใชเครื่องจักรกลแตละชนิดใหถูกตองเหมาะสมกบัลักษณะของงานและสภาพของงาน เพื่อใหเครื่องจกัรกลมีอายุการใชงานยาวนาน เปนการลดตนทุนการซอมบาํรุงไปดวย เชน เครื่องจักรกลที่มีอุปกรณสําหรับงานดินกไ็มควรนําไปใชกับงานหนิ ซ่ึงจะทําใหอายกุารใชงานของเครื่องจักรกลนั้นสั้นลง

Page 3: เครื่องจักรกลในงานก่อสร้าง

หรือรถตักก็ไมควรนําไปใชกับงานดนัและตักดนิโดยไมไดกองดนิไวกอนโดยรถแทรกเตอร เปนตน ทั้งนี้เครื่องจักรกลแตละชนดิไดออกแบบเพื่อใชงานเฉพาะแตละอยางเทานั้น ถานําไปใชไมตรงตามวัตถุประสงคจะทําใหเกิดผลเสียมากกวาผลดี จึงเปนการไมคุมคากัน 3. ใชเครื่องจกัรกลใหเต็มความสามารถ แตตองไมเกินขีดความสามารถเปนอันขาด ทั้งนี้เพื่อใหไดประโยชนมากที่สุดจากการใชเครื่องจักรกลเหลานั้น บางครั้งอาจตองติดตั้งอุปกรณพิเศษชวย เพื่อใหเหมาะสมกับลักษณะของงาน เชน ใชริปเปอรติดทายรถแทรกเตอร เพือ่ขุดลากปรับสภาพของดินหรือหินซ่ึงแข็งเกินกวาที่จะใชใบมีดไถดันโดยตรง ลักษณะเชนนี้ยอมจะทําใหงานงายขึ้นและยังชวยใหอายุการใชงานของเครื่องจักรกลยาวนานขึ้นอีกดวย 4. ใชเครื่องจกัรกลตามขอแนะนําของผูผลิตอยางเครงครัดเพื่อรักษาเครื่องจักรกลใหอยูในสภาพที่ดีจะชวยลดการสกึหรอของเครื่องจักรกลได คาใชจายในการซอมบํารุงก็จะต่ําลง ทัง้นี้จะตองเลือกผูที่มีความชํานาญในการใชเครื่องจักรกลนั้นๆ เปนอยางดี โดยทําหนาทีเ่ปนพนักงานขับรถ ตลอดจนมีผูดูแลบํารุงรักษาประจํารถหรือเครื่องจักรกลนัน้ๆ ดวย 5. ในการกอสรางผูควบคุมควรมีความเขาใจถึงความเสียหายที่อาจจะเกิดขึ้นแกเครื่องจักรกลบางตามสมควร ถาเกิดการชํารุดเพียงเล็กนอยก็ควรหยุดเครือ่งตรวจสอบ และแกไขเพื่อปองกันการเสยีหายมากขึ้นจนตองหยุดซอมเครือ่งจักรกลเปนเวลาหลายๆ วนั ซ่ึงจะตองเสียคาใชจายมากขึ้น การทํางานตองชะงักลงดวย และแผนการทํางานของโครงการตองลาชากวาปกต ิ 13.4 อายุการใชงานของเครื่องจักรกล

ในการวางแผนงานกอสราง ส่ิงที่จําเปนตองทราบก็คือคาใชจายตางๆ และบรรดาคาใชจายทั้งหมดนั้นคาใชจายเกี่ยวกับเครื่องจักรกลนับวามีความสําคัญอยางยิ่ง ดังนัน้การทราบขอมูลหลายๆ ดานจึงชวยใหการวางแผนงานเปนไปอยางรัดกุม ถูกตองใกลเคียงความจริงมากที่สุด อายุการใชงานของเครื่องจักรกลจึงเปนเรื่องหนึ่งซึ่งสงผลกระทบกับคาใชจายของผูรับเหมากอสรางอยางแนนอน โดยจะพิจารณาถึงอายุการใชงานของเครือ่งจักรกลเปนชวงเวลาดงันีค้ือ 1. ชวงเวลาคุมคาสูงสุด (Economic Life) 2. ชวงเวลาสงผลกําไร (Profit Life) 3. อายุตามสภาพ (Physical Life)

Page 4: เครื่องจักรกลในงานก่อสร้าง

รูปท่ี 13.1 แสดงความสัมพันธระหวางผลกําไรกับอายุการใชงาน

1. ชวงเวลาคุมคาสูงสุด (Economic Life) หมายถึง ชวงอายกุารใชงานของเครื่องจักรกล ซ่ึงสามารถทํางานไดมีประสิทธิภาพสูงสุดตลอดอายุการใชงานของเครื่องจักรกลนั้น เนื่องจากเครือ่งจักรกลยังอยูในสภาพที่ใหม ไมมกีารสึกหรอ มีความคลองตัวสูง จึงเปนชวงเวลาที่เครื่องจักรกลทํางานใหผลคุมคาที่สุดชวงเวลานี้คิดอายขุองเครื่องจักรกลประมาณ 5 ป

2. ชวงเวลาสงผลกําไร (Profit Life) หมายถึง อายุการใชงานของเครือ่งจักรกลโดยที่เครื่องจักรกลนั้นยังสามารถทํางานไดอยางมีประสิทธิภาพ ถึงแมวาวาไมคลองตัวนกัก็ตาม ทั้งนีเ้พราะอาจมีการชํารุดสึกหรออยูบาง แตก็ไมกระทบตอประสิทธิภาพของงานมากนัก ผลผลิตที่ไดจึงนอยกวาชวงเวลาคุมคาสูงสุด การคิดอายุของเครื่องจักรกลตามกรณีนี้ประมาณไว 10 ป

3. อายุตามสภาพ (Physical Life) หมายถงึ อายุการใชงานของเครื่องจักรกลซึ่งสามารถจะใชงานตอไปไดอีกจนถึงอายุประมาณ 14 ป แตสภาพการใชงานของเครื่องจักรกลตามกรณีนี้อาจจะมีปญหาตอประสิทธิภาพของการทํางาน เพราะเครื่องจักรกลมีการสึกหรอไมคลองตัว จึงไมสามารถทํางานไดเต็มตามประสิทธิภาพ และอาจจะไมคุมคากับผลที่ได นอกจากนีอ้าจจะตองเสยีเวลาซอมบํารุง เพราะมีสภาพเกาเนื่องผานการใชงานมามาก ซ่ึงจะสงผลกระทบตอเวลาและคาใชจายเปนอยางมากดวย

13.5 เคร่ืองมือกอสราง (Construction Equipment) 13.5.1 ปนจั่น (Power Cranes) ปนจั่นทีใ่ชโดยท่ัวไปนั้น มอุีปกรณประกอบอยูหลายชนิด ซ่ึงสามารถจะเลือกใชกบังานตางๆ ไดตามความประสงค นับวาเปนเครื่องมือที่จําเปนและอํานวยความสะดวกกับการกอสรางเปนอยางยิ่ง ปนจั่นสวนมากจะใชสําหรับการยกของและใชเคลื่อนยายวัสดุตางๆ ผูที่คิดคนเปนคนแรกคือ William S.Otis ไดประดษิฐปนจั่นตกัมาตั้งแตป ค.ศ1836 โดยเลียนการเคลื่อนไหวของคนที่ขุดดินดวยพล่ัว ปนจัน่มีสวนประกอบที่สําคัญอยู 3 สวน คือ 1. ยานบรรทุก (Carrier or mounting) 2. โครงหมุน (Revolving Superstructure) 3. อุปกรณประกอบทางดานหนา (Front-end Attachment) สําหรับยานบรรทุกปนจั่นนัน้มีอยู 3 แบบ คือรถตีนตะขาบ (Crawler Mounting) รถบรรทุก (Truck Mounting) และรถลอยาง (Wheel Mounting) ซ่ึงมีลักษณะการใชงานที่แตกตางกันออกไป กลาวคือยานบรรทุกแบบตีนตะขาบเหมาะสําหรับพื้นดินที่รับน้ําหนักไมมากนัก ประมาณ 5-10 ปอนด/ตารางนิ้ว สามารถวิ่งไปบนพื้นที่ขรุขระไดสะดวกกวายานบรรทุกแบบอื่น มีการยึดเกาะพืน้ดนิไดแข็งแรงกวาและสามารถจะนําไปใชกับงานหนัก เชน งานขุดหนิไดดวย การเคลื่อนยายของยานบรรทุกแบบนี้เคลื่อนที่ไดไมเร็วนักซึ่งถาเปนแบบรถบรรทุกหรือแบบลอยางสามารถเลื่อนที่ไปไดเร็วกวา แตการยึดเกาะ

Page 5: เครื่องจักรกลในงานก่อสร้าง

ถนนไมมั่นคงเทารถตีนตะขาบ สวนมากจะใชสําหรับการขุดดินทั่วไปหรือการขุดผิวหนาถนนเทานั้น การเคลื่อนยายของยานบรรทุกทัง้สองแบนี้ จึงเคลื่อนยายหรือวิ่งไปตามถนนเพราะไมเหมาะกับพืน้ที่ขรุขระหรือพื้นที่รับน้าํหนักไดไมมากนักนั่นเอง อุปกรณประกอบ (Attachments) ตามรูปที่ 11.2 เปนชนิดตางๆ ของปนจั่น ช่ือของปนจั่นแตละชนิดจะเรียกไปตามอุปกรณที่นํามาประกอบทางดานหนา โดยเรยีกตามลักษณะการใชงาน ดังนัน้ปนจั่นที่ติดอุปกรณสําหรับขุดจึงเรียกวา “ปนจั่นขดุ” ทํานองเดยีวกันกับปนจัน่ที่ติดอุปกรณสําหรับตักก็เรียกวา “ปนจั่นตัก” เปนตน อยางไรก็ตาม ในปจจุบันนี้บริษัทที่ผลิตปนจั่นดงักลาวขางตน มีแนวโนมที่จะผลิตเพื่อใชงานกับเฉพาะอยางเทานั้น ตามปกติ การทํางานของปนจั่นจะทํางานโดยผานการบังคับตามสายเคเบิล(Cable) หรือบังคบัดวยระบบไฮโดรลิก(hydraulic) และเปนที่เชือ่กันแนวา ในอนาคตนั้นจะมีแนวโนมที่จะใชระบบ ไฮโดรลิกมากยิ่งขึน้ดวย รูปท่ี13.1 โครงหมุนและยานบรรทุกปนจั่น (Revolving Superstructure and Mounting)

Page 6: เครื่องจักรกลในงานก่อสร้าง

รูปท่ี13.2 ชนิดของปนจัน่

13.5.2 ปนจั่นยกของ (Crane) ประกอบดวยโครงของปนจั่น (Crane Boom) และตะขอเกี่ยว (Hook) ดังไดแสดงไวตามรูปที่ 13.2 แรกเริ่มเดิมทีนั้นใชสําหรับการยกของ และเคลื่อนยายของในทางราบตามตําแหนงที่ตองการ อุปกรณที่นํามาประกอบกับตะขอเกีย่วมีอยูหลายชนิด ซ่ึงสามารถจะเลือกใชใหเหมาะกับงานแตละอยาง โปรดพิจารณารูปที่13.3 สําหรับรูปที่ 13.4 เปนรูปของปนจั่นทีแ่สดงถึงสวนประกอบตางๆ เชน โครงปนจั่น โครงหมุน และยานที่ใชบรรทุก เปนตน การทํางานของปนจั่นอาจบังคับเคลื่อนดวยระบบไฮโดรลิก สายเคเบิลที่ใชตามรูปนี้ไดผูกติดกับตะขอเกี่ยว สามารถจะเลื่อนใหสูงขึ้นหรือลดใหต่ําลงได จึงเปนปนจั่นทีใ่ชสําหรับยกของทั่ว ๆ ไป ปนจั่นทีใ่ชยกของนั้นมีแบบอื่นๆ อีกหลายแบบ อาทิ แบบรถบรรทุกแบบลอยาง(ตามรูปที่ 13.5) และปนจั่นที่ใชในการกอสรางอาคารซึ่งเรียกกนัทัว่ไปวา Tower Crane ตามรูปที่ 13.6 และ Tower Crane นี้แบงออกเปน 2 แบบ คือ แบบที่เคลื่อนยายได (Mobile Crane) ซ่ึงติดตั้งอยูบนรถบรรทุกหรือรถตีนตะขาบ อีกแบบหนึ่งนั้นเปนแบบตดิตัง้อยูกับที่(Stationary Crane)

Page 7: เครื่องจักรกลในงานก่อสร้าง

รูปท่ี 13.3 อุปกรณประกอบปนจั่น

รูปท่ี 13.4 สวนประกอบของปนจั่น

Page 8: เครื่องจักรกลในงานก่อสร้าง

รูปท่ี 13.5 ปนจั่นยกของหนักแบบรถลอยาง

รูปท่ี 13.6 ปนจั่น : Tower Crane นอกจากนี้ยังมปีนจั่นทีใ่ชสําหรับงานตางๆ สวนมากจะขึน้อยูกับลักษณะของอุปกรณที่นํามาประกอบไวตรงสวนหนา จึงมีลักษณะการทํางานแตกตางกันออกไป มีทั้งชนิดที่เปนรถลอยางและรถตีนตะขาบ โดยทํางานดวยระบบไฮโดรลกิทั้งสิ้น ดังนี ้ 1. ปนจั่นขุดแบบ Clamshell เปนปนจัน่ทีใ่ชสําหรับการขุดดิน แตเปนการขุดโดยวธีิการตัก เหมาะสําหรับการขุดดินออนๆ เชน ขุดเลน ลอกคลอง ขุดดินฐานราก หรือใชสําหรับการเคลื่อนยายวัสดุและการยกสิ่งของ เปนตน 2. ปนจั่นตกั (Shovels) โดยทั่วไปใชสําหรับตักกรวด หิน ดิน ทราย หรือตักวัสดุที่กองไวไปยงัตําแหนงทีต่องการ หรือตักใสรถบรรทกุ เปนตน 3. ปนจั่นที่ขุดแบบ Dragline ใชสําหรับขุดดินออนๆ เชน ขุดสระน้ํา ขุดทางระบายน้ํา แตเปนลักษณะการขดุโดยวิธีลาก

Page 9: เครื่องจักรกลในงานก่อสร้าง

4. ปนจั่นขุดแบบ hoe หรือ Excavator ใชสําหรับขุดดนิที่แข็ง ขุดหนิ ขุดกรวด เปนตน สําหรับแบบทีท่ําเปนรถนั้น บางรุนจะมีเฉพาะที่ขุดอยางเดียว แตบางรุนจะมีที่ขดุและที่ตักอยูในคนัเดียวกัน หรือที่เรียกกนัทั่วไปวา “รถตักหนาขุดหลัง” 5. ปนจั่นตอกเสาเข็ม (Pile Driver) ใชสําหรับตอกเสาเข็มทําฐานรากในงานกอสรางทุกประเภทและใชทั้งตอเสาเข็มไม เสาคอนกรีตเสริมเหล็ก หรือเสาเหล็ก โดยมตีุมน้ําหนกัเปนตัวตอก ตุมน้ําหนกันี้จะผูกติดกับสายเคเบิลซ่ึงสามารถบังคับใหเล่ือนขึ้นลงได นอกจากจะใชตอกเสาเข็มดังกลาวแลวยงัใชตอกแผนเหล็กกันดินพังใชทุบทาํลายถนน อาคาร กําแพง หรือโครงสรางที่ไมตองการอีกดวย

รูปท่ี13.7 รถรถตักลอยาง

รูปท่ี13.8 รถขุดแบบลอยาง

Page 10: เครื่องจักรกลในงานก่อสร้าง

รูปท่ี13.9 รถตักหนาขดุหลัง

รูปท่ี13.10 ปนจั่นตอกเสาเข็ม

Page 11: เครื่องจักรกลในงานก่อสร้าง

รูปท่ี13.11 รถแทรกเตอรตีนตะขาบตดิใบมีดและอุปกรณทําลาย

รูปท่ี 13.12 ลักษณะการทํางานของอุปกรณทําลาย

13.5.3 รถแทรกเตอร (Tractor) เปนรถที่ขับเคลื่อนดวยตัวเอง มีทั้งชนิดที่เปนลอยางและตีนตะขาบ ใชกับงานปรับพืน้ที่ดันดนิ ถางปา โดยมีอุปกรณหรือใบมีดติดไวตรงสวนหนาเพื่อใชปฏิบัติงานตางๆ ซ่ึงเรียกวา Dozerหรือ

Page 12: เครื่องจักรกลในงานก่อสร้าง

Bulldozer นอกจากนี้รถแทรกเตอรยังใชกบังานอื่นๆ เชน ลากจูงอุปกรณบดถนน ลากจูงรถขุด และอาจจะเปลีย่นอุปกรณสวนหนาเปนอุปกรณสําหรับการตักหรือขุดดนิก็ได รถแทรกเตอรชนิดตีนตะขาบเหมาะใชกับงานทั่วไป และเหมาะกับพื้นดินที่มีความตานทานไมมากนัก (ประมาณ 6-9 ปอนด/ตารางนิ้ว) จึงสามารถขับเคลื่อนไปไดโยสะดวกแทบทุกทองที่และสามารถนําไปใชกบัพืน้ที่ที่ลาดเอียงถึง 45 องศาไดดวย แตถานาํไปใชงานในระยะไกลๆแลว ควรบรรทุกไปบนรถบรรทุก จะเปนการสะดวกและประหยดักวา สวนรถแทรกเตอรแบบลอยางนั้นวิง่ไปไดเร็วกวาแตไมเหมาะกับพื้นที่ที่เปนดินออน การใชงานก็เชนเดียวกันกับรถตีนตะขาบ รถลอยางนี้มีทั้งแบบสี่ลอและสองลอ ชนิดสองลอจะใชเปนรถลากจูงเครื่องมือชนิดอื่นๆ เชน ลากจูงเครื่องมือบดอัดถนน ลากจูงรถขุด เปนตน รูปท่ี 13.13 อุปกรณที่ใชกบัรถแทรกเตอร

รูปท่ี 13.14 รถขุดดิน (Scraper) ลากจูงดวยรถลอยาง

ใบมีดที่เปนอปุกรณติดกับรถแทรกเตอรมีอยูดวยกนั 4 แบบ คือ (รูปที่ 13.13) 1. แบบเหยียดตรง (Straight Blade) ใบมีดแบบนี้ใชสําหรับงานปรับพื้นทีท่ั่วไปหรือใชเคลื่อนยายดนิ

ดันดินในระยะทางสั้นๆ

Page 13: เครื่องจักรกลในงานก่อสร้าง

2. แบบเหลี่ยม (Angle Blade) ใชงานเชนเดยีวกันกับใบมดีเหยียดตรง แตจะเหมาะมากกับงานกลบหลุม กลบทองรอง กลบคูคลองหรือตักดนิตามไหลเขา เปนตน

3. แบบทั่วไป (Univeersal Blade) ใชกับงานเคลื่อนยายวัสดุ เชน ดิน หนิ กรวด ทราย โดยขนยายไปไดคร้ังละมากๆ และสามารถนําไปไดในระยะไกลๆ อีกดวย

4. แบบรองรับน้ําหนัก (Cushion Blade) ใบมีดแบบนี้ใชเปนอุปกรณประกอบสําหรับการผลักหรือลากจูงเครื่องมอืชนิดอื่นๆ โดยมีระบบปองกันการสั่นสะเทือนหรือปองกันการสึกหรอ และนํามาใชกับงานปรับพื้นที่บริเวณไดอีกดวย

13.5.4 รถขูดหรือรถไส (Scraper)

ใชสําหรับไสดินหรือตักดิน และบรรทุกดินที่ไดจากการไสหรือการตักนั้นไปเทยังตําแหนงที่ตองการปกติจะลากจูงดวยรถลอยางที่ใชกบัรถไสโดยเฉพาะ หรือลากจูงดวยรถแทรกเตอรลอยางกไ็ด 13.5.5 เคร่ืองมือเก่ียวกับการบดอัด (Compaction)

การบดอัดดนิเปนกระบวนการอยางหนึ่งทีจ่ะเพิ่มความหนาแนนหรือความตานทานของดินขึ้น โดยพยายามไมใหมีชองวางของอากาศแทรกอยู และขับไลน้ําใหออกไปจากชองวางเหลานั้น เพื่อใหพื้นดนิเกิดความมั่นคงสามารถรับน้ําหนักไดมากขึ้น ซ่ึงถาปลอยใหเปนไปตามธรรมชาติแลว ตองใชเวลาแรมเดือน แรมปหรือเปนระยะเวลาหลายๆ ปจนกวาพื้นดนิจะแนน การบดอัดจึงมีความตองการใหดนิเกิดความมั่นคงแข็งแรงในชวงระยะเวลาสั้นๆ ฉะนั้น การบดอัดดนิตองกระทําใหบังเกิดผลดังตอไปนี้ คือ

1. เพิ่มความแข็งแรงของดินใหสามารรับแรงไดตามความประสงค 2. มีการยุบตวัของดินนอยมาก 3. มีการเปลี่ยนลักษณะและมีปริมาตรของดินเพิ่มขึ้น 4. ลดการซึมของน้ํา หรือน้ําซึมเขาไปไดนอยลงกวาแตกอน การบดอัดดนิใหเกิดผลดังกลาวขางตนไดนัน้ จําเปนตองใชเครื่องมือที่มีประสิทธิภาพ ชนิดของ

เครื่องมือที่ใชในการบดอดัดนิโดยทัว่ไปแลวแบงออกเปน 6 ประเภท คือ 1. ลูกกลิ้งแบบกระทุง (Tamping Foot Rollers) ลูกกลิ้งแบบนี้จดัอยูในประเภทเดยีวกันกับลูกกลิง้

แบบตีนแกะ (Sheepsfoot Roller) ใชรวมกับเครื่องมือบดแบบอื่น สวนที่ยืน่ออกมาจากลูกกลิ้งโดยรอบนั้นมผีลตอการบดอัดดินเปนอันมาก เพราะทําหนาที่กระทุงใหแนน และทาํใหดนิเกดิการแยกตัวอกจากกอนอีกดวย

2. ลูกกลิ้งแบบตาขาย (Grid or Mesh Roller) การบดอัดดนิของลูกกลิ้งแบบนี้ไมสามารถทําใหดินเกิดการแยกตัวไดดีที่เทาลูกกลิ้งแบบกระทุง เหมาะสําหรับการบดอดัที่มุงหวงัใหดินเกดิการทรดุตัว สามารถจะใชบดอัดดินไดดวย

Page 14: เครื่องจักรกลในงานก่อสร้าง

3. เครื่องสั่นสะเทือน (Vibratory Compactors) มีหลายชนดิหลายขนาด ตั้งแตชนิดทีเ่ปนเครื่องใชมือเข็น จนกระทัง่เปนรถขับเคลื่อนขนาดใหญ เปนเครื่องมือที่ใหผลในการบดอัดไดด ี ซ่ึงตองขึ้นอยูกับขนาดและความถี่ของการสั่นสะเทือนดวย เหมาะกับการบดอัดดินที่มีความชื้นหรือดนิที่คอนขางแหง

4. ลูกกลิ้งเหล็กเรยีบ (Smooth Steel Drums) เปนเครื่องมือที่ใชกับการบดอัดโดยทัว่ไป ซ่ึงเปนที่นิยมใชกันมาก ใชสําหรับการบดอัดพื้นผิวช้ันสุดทายกอนจะลาดยางมะตอย

5. ลูกกลิ้งลม (Pneumatic Rollers) ใชสําหรับการบดอัดชัน้พื้นดนิที่เทไวหนาๆ และพื้นดินที่มีความหนาแนนสูง ปกติจะใชสําหรับการบดอดัพื้นผิวคร้ังสดุทายกอนที่จะลาดยางมะตอย หรือบดอัดทับพื้นผิวที่ลาดยางมะตอยไปแลวก็ได

6. ลูกกลิ้งปลองหรือลูกกลิ้งแบบเปนขอ (Segmented Pad Rollers) ใชงานเชนเดียวกนักับลูกกลิ้งตนีแกะ แตสามารถขับเคลื่อนไปไดดวยตวัเองเปนสวนมาก ซ่ึงถาเปนลูกกลิ้งแบบกระทุงหรือแบบตนีแกะแลวจะใชรถแทรกเตอรเปนตัวลากจูง การบดอัดดนิไดผลดีไมเทากับลูกกลิ้งตีนแกะ เพราะทาํใหดนิแยกตวัไดนอยกวานัน่เอง

13.5.6 รถเกลี่ยดิน (Grader)

เปนรถที่ใชเกลี่ยปรับแตงผิวดิน สวนมากจะใชกับงานทาํถนน การเกลี่ยปรับผิวดินนี้เปนขั้นตอนทํางานหลังจากการขุดแตงและการบดอัดดนิในชั้นแรกๆ ใบมดีที่ใชเกลี่ยดนิจะตดิไวใตทองรถตอนชวงกลางและสามารถจะปรับหนัทิศทางไดตามตําแหนงทีต่องการ นอกจากนี้ยังมเีครื่องมือที่ใชกับงานในสนามอีกหลายชนิด เชน เครื่องผสมคอนกรีต รถผสมคอนกรีต รถขนสงคอนกรีต เครื่องสูบคอนกรีต เครื่องปาดหนาคอนกรีต รถพนยางมะตอย รถผสมยางมะตอย รถน้ํา รถเททาย รถลากจูง รถยกของ รถบริการ เครื่องตบดิน เครือ่งสูบน้ํา เครื่องปนไฟ เครื่องเจาะและยอยหนิ เครื่องเปาลมในงานทําถนนลาดยาง เปนตน เครื่องมือที่กลาวมาเพยีงยอๆ นี้ ลวนเปนเครื่องมือหนกัที่ใชกับงานในสนามเปนสวนใหญ เปนเครื่องมือที่มีราคาสูง จึงตองรูจักการใช การบํารุงรักษา และตองพิจารณาใหรอบคอบอยางยิ่งกอนจะตัดสินใจซื้อมาไวในครอบครอง เพราะเนื่องจากตองมคีาใชจายตางๆ เกี่ยวกับการใชเครื่องมือชนิดนั้นๆ และคาใชจายที่เกิดขึ้นตามกรณีดังกลาวนี้โดยทัว่ไปแลวจะคิดเปนราคาตนทุนของการดําเนินงานกอสรางในแตละงานดวย

Page 15: เครื่องจักรกลในงานก่อสร้าง

รูปท่ี13.15 ประเภทของเครือ่งมือบดอัดดนิ

รูปท่ี13.16 รถเกลี่ยดิน 13.6 การจัดการ (Managing)

“การซื้อและการเชาเครื่องมือเพื่อนํามาใชกับงานกอสรางนั้น อยางไหนจึงจะอํานวยประโยชนไดมากกวากัน” คําถามนี้คงจะตอบไปไดหลายทาง และตองขึ้นอยูกับความตองการและเวลาของผูใชดวย ผูรับเหมากอสรางบางครั้งมีความจําเปนตองซื้อเครื่องมือไวใชงาน แตในบางโอกาสก็จาํเปนตองเชา

Page 16: เครื่องจักรกลในงานก่อสร้าง

เหมือนกนั โดยหลักทัว่ไปผูรับเหมาจะพจิารณาซื้อเครื่องมือที่มีความจําเปนตองใชงานเกือบทุกวัน และจะเชาหรือทําสัญญาเชาเฉพาะเครื่องมือชนิดพิเศษเทานั้น ตามขอเท็จจรงิผูรับเหมาที่รับเหมาเฉพาะงานกอสรางอาคาร จะเปนเจาของเครือ่งมือนอยกวาผูรับเหมางานสรางถนนหรืองานกอสรางขนาดใหญ ที่เปนดังนีเ้พราะวางานกอสรางอาคารนั้นมีเครื่องมือกระจกุกระจิกอยูมากมาย ผูเปนเจาของเครื่องมือเหลานี้ไดแก พวกชางฝมือ ผูรับเหมาจะเปนเจาของเครื่องมือใหญๆ เชน รถขุด เครื่องผสมคอนกรีต เครื่องสั่นคอนกรีต รถบรรทุก รถยก รถแทรกเตอร เครื่องสูบน้ําปนจั่น และเครื่องมือทางงานไฟฟา เปนตน สําหรับการเชาหรือการทําสัญญาเชาเครื่องมือ ผูรับเหมาอาจจะเชาตั้งแตเครื่องมือขนนาดเล็กจนกระทั่งถึงเครื่องมือขนาดใหญ เชน ปนจัน่ยกของ (Tower Crane) เปนตน การตัดสินใจเชาเครื่องมือแตละอยางแตละชนดิ จะตองมแีผนการใชเครื่องเหลานั้นใหรัดกุมรอบคอบ ตองพิจารณามากกวาการเชา เพราะราคาคาเชาเปนราคาที่กําหนดไวคงที่แลว จึงไมมีขอทีพ่ิจารณาถึงมากนัก เพียงแตผูเชาตองวางแผนการทํางาน หรือจัดลําดับขั้นตอนทาํงานใหสอดคลองกับการใชเครื่องมือไดอยางมีประสิทธิภาพและคุมกบัคาเชาที่ตองจายไปเทานั้น การซื้อเครื่องมือมาใชงานจึงตองวิเคราะหไปตามหลักทางเศรษฐศาสตร 13.6.1 ราคาครอบครองและราคาปฏิบัติการ (Owning and Operating Cost)

เรียกกนัโดยทัว่ไปวา “ราคาโอแอนดโอ” (O & O Cost) ราคาดังกลาวนี้จะคิดคํานวณไปตามชัว่โมงการทํางาน ราคาตอหนวยของผลผลิต หรือการทํางานไดของเครื่องมือแตละชนิดนัน้ จะพิจารณาจากอัตราการทํางานไดและจากการทีค่รอบครองเครื่องมือเหลานั้นไว การคิดคํานวณหาราคาตอหนวยจึงมีความสําคัญและใชเปนขอมลูสําหรับการเสนอราคากอสรางของผูรับเหมาดวย

1. ราคาครอบครอง (Owning Costs) หมายถึง การซื้อเครื่องมือมาไวใชงานหรือซ้ือไวเปนเจาของการคิดคํานวณราคาครอบครองจะคิดไปตามแตละชั่วโมง ถึงแมวาเครื่องมือนั้นจะถูกใชงานหรอืไมก็ตาม โดยจะคิดรวมคาใชจายตางๆ ดังตอไปนี้ คอื ก. คาเสื่อมราคา (Depreciation) ข. คาการลงทุน (Investment Cost) ค. ภาษี (Taxes) ง. การประกัน (Insurance) จ. การเก็บรักษาและอื่นๆ (Storage and Miscellaneous) ก. คาเสื่อมราคา (Depreciation) หมายรวมถึง การลดลงในคุณคา การหมดคา การสูญเสียของทรัพยสิน ตลอดระยะเวลาที่ครอบครองอยูนั้น การคดิคํานวณหาคาเสื่อมราคา จึงมีจุดหมายเปนหลักใหญอยู 3 ประการ คือ

Page 17: เครื่องจักรกลในงานก่อสร้าง

- การพิจารณาถึงสวนประกอบของราคาครอบครองและราคาปฏิบัติการ ตามความโนมเอียงของราคาในระหวางชวงเวลานั้น

- การพิจารณาคาเสื่อมราคาระหวางเวลาทีใ่ชงาน - การประเมนิผลภาระทางภาษี การเสื่อมราคาที่เห็นไดชัดในเบื้องตน กค็ือ คาตกต่ําของเครื่องมือตามระยะเวลาที่ครอบครองอยู

นั้น (Salvage Value ใชตัวยอ S) ซ่ึงเปนราคาหรือเปนคาสุดทายของเครื่องมือที่หมดอายกุารใชงานแลว (Useful Life ใชตัวยอ L) หรือเปนราคาที่จะขายเลหลัง (Auction Price) นั่นเอง สําหรับอายุการใชงานของเครื่องมือกอสรางแตละชนิดจะกําหนดไปตามชนิดและสัญลักษณของการใชเครื่องมอืนั้นๆ โดยหลักทั่วไปจะคิดอายุการใชงานประมาณ 5 ป และคิดคาตกต่ําของเครื่องมือ (Salvage Value) ไมต่ํากวา 10% ของ ราคาเบื้องตน (Initial Cost)

ดังนั้น ราคาเบื้องตน (Initial Cost ใชตัวยอ C) ที่จะใชเปนเกณฑคํานวณหาคาเสื่อมราคา (Depreciation ใชตัวยอ D) จึงเปนเรื่องสําคัญมาก ตองกําหนดขอบขายใหแนชัดวา จะรวมราคาใชจายดานใดบาง ปกติราคาเบื้องตนไดคิดรวมคาขนสง คาประกัน คาออกของ คาประกอบและติดตั้ง คาบริการ คาภาษีการคาและคาใชจายทางธุรการดวย หรือเปนราคา C.I.F. (Cost, Insurance and Freight) นั่นเอง

วิธีการคิดคํานวณหาคาเสื่อมราคามีอยูหลายวิธี อยางไรก็ตาม วิธีทั้งสามที่จะกลาวถึงตอไปนี้นั้นเปนวิธีที่นยิมใชกันอยูทัว่ไป คือ

1. วิธีเสนตรง (Straight Line and Method) 2. วิธีรวมตัวเลขของแตละป (Sum-of-the-Years-Digist-Method) 3. วิธีถดถอย (Double Declining Balance Method) (1) วิธีเสนตรง (Straight Line Method)

การคํานวณหาคาเสื่อมราคาของเครื่องมือโดยวิธีนี้ ตองนําเอาราคาเบื้องตนลบดวยคาตกต่ําของเครื่องมือและหารดวยอายกุารใชงาน ซ่ึงเขียนเปนสมการไดดังนี ้ คาเสื่อมราคา = ราคาเบื้องตน – ราคาตกต่าํของเครื่องมือ อายุการใชงาน หรือเขียนเปนสูตรไดดังนี ้ D = C – S L (2) วิธีรวมตัวเลขของแตละป (Sum-of-the-Years-Digits-Method)

Page 18: เครื่องจักรกลในงานก่อสร้าง

วิธีตามขอนี้มลัีกษณะการคดิคํานวณคลายๆ กับวิธีทางตรง กลาวคือ ใชจํานวนทีห่กัดวยคาตกต่ํา (ราคาเบื้องตน - คาตกต่ําของเครื่องมือ) เปนตัวคูณกับจํานวนทีแ่ปรผันไปแตละป (จํานวนของแตละป / ผลรวมของทุกป) ตามสมการ ดังนี ้ คาเสื่อมราคาแตละป (Dn) = จํานวนของแตละป x จํานวนที่หกัดวยคาตกต่ําแลว ผลรวมของทุกป ผลรวมของทุกปซ่ึงใชเปนตวัหาร ไดแก ผลรวมของแตละปตามอายุการใชงานของเครื่องมือนั้นๆ ซ่ึงถากําหนดใหอายุการใชงานเทากับ 5 ป ผลรวมของทุกปจะเปน 1+2+3+4+5 = 15 เลขจํานวน 15 ใชเปน ตัวหาร เพื่อหาคาเสื่อมราคาของแตละป และจํานวนของแตละปซ่ึงใชเปนตัวตั้งจะมีจํานวนตรงกันขามกับอายุการใชงาน ดังนั้น ถาคดิคาเสื่อมราคาเมื่อส้ินปแรก ตัวตั้งจึงเปนเลข 5 และในทาํนองเดียวกนั ถาคิดคาเสื่อมราคาเมื่อส้ินปที่สอง ตัวตั้งตองเปนเลข 4 ดังนี้เร่ือยไปตามลําดับจนกระทั่งสิ้นสุดอายุการใชงาน (3) วิธีถดถอย (Double Declining Balance Method) ในการใชวิธีลดคาดุลยภาพนี้ อัตราของคาเสื่อมราคาตอปตองคิดจากจาํนวน 200 และหารดวยอายุการใชงานของเครื่องมือนั้นๆ แลวนําเอาผลลัพธที่ไดไปคูณกับราคาเบื้องตน จึงจะเปนคาเสื่อมราคาเมื่อส้ินปแรก สําหรับคาเสื่อมราคาเมื่อปที่สอง ตองเอาคาเสื่อมราคาของปแรกหกัออกจากราคาเบื้องตน กอนที่จะคูณกบัอัตราของคาเสื่อมราคาตอป เชนเดยีวกับการคํานวณหาคาเสื่อมราคาเมื่อส้ินปที่สาม กลาวคือ ตองนําเอาคาเสื่อมราคาของปที่สองหักออกจากราคาที่เหลือเมื่อส้ินปแรก ซ่ึงเขียนเปนสมการไดดังนี ้ คาเสื่อมราคา (Dn) = 200 x ราคาทุกสิ้นปซ่ึงเปนราคาเริ่มตนของปถัดไป N 13.6.2 การตัดสินใจเปล่ียนเครื่องมอืแทนเครื่องเกา

( The Replacement Decision ) การพิจารณาเลือกชวงที่ดีทีสุ่ดสําหรับการเปลี่ยนชิ้นสวนเครื่องมือกอสราง หรือซ้ือเครื่องมือแทนเครื่องเกานั้น เปนผลทาํใหไดผลงานเพิ่มมากขึ้น ดกีวาที่จะปลอยใหสภาพของเครื่องมือเครื่องจักรอยูในลกัษณะที่ชํารุดทรุดโทรม ตัวอยางเชน ผูรับเหมากอสรางจะพิจารณาเปลี่ยนเครื่องมือใหม กต็อเมื่อเครื่องมือที่ใชอยูเดิมนั้นมีรายการที่ตองซอมมาก หรือตองยกเครื่องอยูบอยๆ และตองใชคาใชจายเงนิไปเปนจํานวนมากกรณีดังกลาวนี้ผูรับเหมากอสรางจะตองตดัสินใจซอเครือ่งมือมาใชงานแทนเครื่องเกา หรือมีโครงการใหมที่จะกอสราง การซอเครื่องมือมาใชแทนเครื่องเกา จึงตองกระทําดวยความรอบคอบโดยคํานึงถึงหลักทาง

Page 19: เครื่องจักรกลในงานก่อสร้าง

เศรษฐศาสตรประกอบกันไปดวย ทั้งนี้ก็เพื่อประโยชนใหมีผลตอบแทนที่คุมคานั้นเอง ซ่ึงมีขอควรพิจารณาดังตอไปนี ้

1. คาเสื่อมราคาและคาเปลี่ยนเครื่องมือใหม (Depreciation and Replacement Cost ) 2. คาการลงทุน ( Investment Cost ) 3. คาซอม ( Repair Cost ) 4. คาลดลงตามประสิทธิภาพของการทํางาน ( Down Time Cost ) 5. คาความเกาตามสภาพของเครื่องมือ ( Obsolescence Cost ) สําหรับคาลดลงตามประสิทธิภาพของการทํางาน ( Down Time Cost) หมายถึง

ประสิทธิภาพของในการทํางานของเครื่องมือ ซ่ึงอยูกับสภาพการใชงานของเครื่องมือแตละปและตามขอเท็จจริงประสิทธิภาพของเครื่องมือมีแนวโนมลดต่ําลงทุกป ดังนัน้ การคิดคํานวณหาคาลดลงตามสภาพดังกลาวนัน้ กระทําไดโดยเอาเปอรเซ็นตที่เครื่องมือทํางานลดลงแตละป คูณดวยช่ัวโมงตามแผนการทํางานแตละปของเครื่องนั้นและคูณดวยราคาตอช่ัวโมงของเครื่องมือใหมหรือเครื่องมือที่เชามาทํางานแทน คาความเกาตามสภาพของเครื่องมือ ( Obsolescence Cost ) ความเกาของเครื่องมือนอกจากจะมีปญหาเกี่ยวกับการซอม การบํารุงรักษา และเวลาที่สูญเสียไปเนื่องจากการซอมหรือยกเครื่องแลวความเกาของเครื่องมือยังเปนผลกระทบตอประสิทธิภาพของการทํางานอีกดวย ซ่ึงประสิทธิภาพยอมสูเครือ่งใหมไมได ความเกาของเครื่องมือจึงเปนลักษณะคลายๆ กนักับคาลดลงตามประสิทธิภาพในขอที่ 4 อายุของเครื่องมือเครื่องจักรจึงเปนสวนสําพันธกนักับราคาของเครื่อง เพราะเครื่องมือเกายอมหยอนประสิทธิภาพในการทํางาน ดังนั้นการคํานวณหาคาความเกาตามสภาพของเครื่องมือจึงสามารถกระทําได โดยเอาเปอรเซ็นตของผลผลิตที่สูญเสียไป คูณดวยช่ัวโมงตามแผนการดําเนนิงานแตละปของเครื่องมือนั้น คูณดวยราคาตอช่ัวโมงของเครื่องมือใหม ฉะนั้นการพิจารณาถึงชวงเวลาที่เหมาะสมที่สุดจะตัดสินใจเปลี่ยนเครื่องมือ จึงตองคิดคํานวณหาคาจากองคประกอบทั้ง 5 ประการดังกลาวขางตน โดยใชวิธีคิดคาแบบสะสม ( Cumulative Cost Method ) ซ่ึงจะเปนการหาชวงเวลาที่เหมาะสมนัน้เอง 13.7 การจัดการซอมบํารุงรักษา ( Maintenance Management )

ผูบริหารเครื่องจักรกลการกอสรางจะตองมองเห็นถึงความสําคัญของการซอมบํารุงรักษา ในบรรดาคาใชจายทั้งหมดที่เกี่ยวของกับเครื่องจักรกลกอสราง คาใชจายในการซอมบํารุงรักษาเปนสิ่งที่ควบคุมงายทีสุ่ด แตก็มักถูกมองขามบอยคร้ังที่สุด ทั้งๆ ที่คาใชจายในการซอมบํารุงรักษาตลอดอายุการใชงานมักจะสูงกวาราคาของเครื่องจักรกล สาเหตุของการมองขามความสําคัญของคาใชจายในการซอมบํารุงรักษาอาจเปนเพราะ - คาใชจายเหลานี้เปนสิ่งที่คาดหวังวาตองเกิดขึ้นอยูแลว - เปนคาใชจายที่คอยๆ พอกพูนขึ้นทีละนอยๆ ตลอดชวงอายุการใชงานของเครื่องจักรกล

Page 20: เครื่องจักรกลในงานก่อสร้าง

- มักถูกละเลยไมมีการแสดงรายละเอียด และเสนอตอผูบริหาร - คาใชจายในสวนของการบาํรุงรักษาประจําวันมกัต่ําจนมองไมเห็นหรือรูสึกได - การใชจายทีต่องเสียไปเนือ่งจากเครื่องจกัรกลหยดุการทํางาน มักไมนํามารวมอยูในรายการบํารุงรักษาและการซอมแซม การจัดการบํารุงรักษาและการซอมแซมที่ดี จะตองมแีผนงานที่เปนระบบทําใหผูที่เกีย่วของทุกฝาย ทั้งฝายซอมบํารุงรักษา และฝายปฏบิัติงานสามารถคาดหวังในสิ่งที่จะเกิดขึ้นได นั้นคือจะตองมีการเก็บขอมูลตาง ๆ เชน คาใชจาย และจํานวนชัว่โมงหรือระยะทางที่ปฏิบัติงานเพื่อกําหนดขั้นตอนในการบํารุงรักษาใหทุกๆฝายปฏิบัติอยางสม่ําเสมอเปนระบบเพื่อลดคาใชจาย และเพิ่มประสิทธิภาพของการทํางาน หัวใจของการจัดการซอมบํารุงรักษาก็คือ การซอมบํารุงรักษาอยางมีแผน หรือ การซอมบํารุงตามหมายกําหนดการ ( Scheduled Maintenance ) หากการซอมบํารุงกระทําตามคําเรียกรองของผูใชเครื่องจักรกลเฉพาะเมื่อเกิดปญหาขึ้น ก็จะเปนกากรแกปญหาที่ไมมีวันจบ หนวยงานที่รับผิดชอบการซอมบํารุงรักษาจะตองวางหมายกําหนดการตรวจทําความสะอาด และซอมเครื่องจักรกลเสมอ โดยแจงใหกบัผูที่เกี่ยวของกับการใชเครือ่งจักรกลทราบหมายกําหนดการนั้น ขณะเดียวกันผูที่ใชเครื่องจักรกลจะตองรายงานและบันทึกสิ่งบกพรองและอุปกรณที่เกิดขึ้นขณะใชเครื่องทุกครั้ง ตลอดจนขอเสนอแนะในการปรับปรุงใหหนวยซอมบํารุงรักษาทราบ

13.7.1 ประเภทของการซอมบํารุงรกัษา การบํารุงรักษาและการซอมแซมอาจแบงระดับประเภทออกเปน 1. การบํารุงรักษาแบบปองกัน ( Preventive Maintenance ) 2. การซอม ซ่ึงแบงออกเปน

ก. การซอมยอยหรือซอมในสนาม ข. การซอมใหญหรือการซอมในโรงงาน

3. การยกเครื่อง ( Overhauls ) ซ่ึงหมายถึงการหยุดใชเครื่องจักกล เพื่อถอดชิ้นสวนมา ทดสอบปรับปรุงและซอมแซมขนาดใหญทั้งระบบ การซอมบํารุงรักษาบางประเภทไมจําเปนตองทําโดยเจาของโครงการหรือเจาของเครื่องจักรกล เชน การซอมใหญ และการยกเครื่อง มักจะทําโดยผูจัดจําหนายหรือบริษัทรับจางซอมทางดานนี้โดยเฉพาะ เปนตน 13.7.2 การบันทึกประวัติการซอมบํารุงรกัษา เพื่อใหการซอมบํารุงรักษาเครื่องจักกลเปนไปอยางมีระบบ จะตองมกีารบันทึกคาใชจายและรายละเอียดการบํารุงรักษาที่ทําเปนประจํา การซอม การยกเครื่อง ตลอดจนจํานวนชั่วโมงที่ใชงาน การบันทึกขอมลูเหลานี้ ควรจะมีแบบฟอรมทีเ่ขาใจงาย สะดวกตอการใช หากเปนไปไดควรจะมีรายการที่

Page 21: เครื่องจักรกลในงานก่อสร้าง

เปนประโยชนตอผูกรอกซึ่งเปนผูที่ใชเครื่องจักรดวย จะทําใหผูกรอกเห็นความสําคญัของขอมูลนั้นและปฏิบัติหนาที่ดวยความรับผิดชอบ ทําใหไดขอมูลที่ถูกตองและเปนไปตามความเปนจริงมากขึ้น การบันทึกแบบฟอรมเหลานี้นอกจากจะมีลายเซ็นของหัวหนางานกาํกับดวยเพื่อเปนการตรวจสอบขอมูลที่บันทึกอีกทางหนึ่ง โดยทั่วไปจะประกอบไปดวยขอมูลเหลานี้ - ประวัติของการซอมของเครื่องจักรกล - ใบสั่งการซอมในโรงงาน - ขอมูลการบํารุงรักษาแบบปองกัน - รายงานจากหนวยบริการ - รายงานประจําวันของผูใชเครื่องจักรกล - รายงานขอบกพรองของเครื่องจักรกลโดยผูใชเครื่อง แบบฟอรมมาตรฐานในการบันทึกขอมูลเหลานี้ มีอยูทัว่ไปจากบริษทัของผูจัดจําหนายเครื่องจักรกล หรือผูรับจางซอมบํารุงรักษา แตสามารถสรางใหมตามความเหมาะสมก็ได